The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

7_ภูเขาไฟระเบิด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patcharee01k, 2022-05-04 19:19:57

7_ภูเขาไฟระเบิด

7_ภูเขาไฟระเบิด

ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6

นางพชั รี คูณทอง
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ



ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 จัดทาข้ึนเพื่อเปน็ สื่อนวตั กรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรดู้ ้วยตนเอง นาไปใชใ้ นการเรียนการสอนซ่อมเสรมิ ได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย น ของผู้ เรี ย น กลุ่ มส าร ะการ เรี ยน รู้ วิทย าศาส ตร์ เป็น น วัตกรร มท่ีช่ว ยล ดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซง่ึ สอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร การตัดสินใจ การนา
ความร้ไู ปใช้ในชีวติ ประจาวนั ตลอดจนสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมีจติ วทิ ยาศาสตรค์ ณุ ธรรมและค่านิยมท่ี
ถกู ตอ้ งเหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นส่ือท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตรได้

พัชรี คณู ทอง

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ก

ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

สำรบญั

เรอ่ื ง หนำ้
คำนำ ก
สำรบญั ข
คำชแี้ จงเกยี่ วกับกำรใชช้ ดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ค
แผนภูมลิ ำดับขั้นตอนกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ง
คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรบั ครู จ
คำชแ้ี จงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั นกั เรยี น ช
1
สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด 1
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2
แนวความคิดต่อเน่อื ง 4
สาระสาคญั 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 8
บตั รเนอื้ หา ชุดท่ี 7 เร่อื ง ภูเขาไฟระเบดิ 29
บตั รกจิ กรรมที่ 7.1 เรอ่ื ง ความสัมพนั ธข์ องตาแหนง่ การเกิดภูเขาไฟบนแผ่นธรณี 34
บัตรกจิ กรรมท่ี 7.2 ผังมโนทศั น์ เรื่อง ภเู ขาไฟระเบิด 35
บตั รกจิ กรรมที่ 7.3 ถอดบทเรียน เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบิด 36
แบบฝกึ หดั เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด 38
แบบทดสอบหลงั เรียน 41
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน 42
บรรณำนกุ รม 43
ภำคผนวก
เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 7.1 เร่อื ง ความสัมพันธ์ของตาแหน่งการเกิดภูเขาไฟบน 44
49
แผน่ ธรณี 50
เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 7.2 ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด 51
เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 7.3 ถอดบทเรยี น เรอื่ ง ภูเขาไฟระเบิด 53
เฉลยแบบฝกึ หัด เร่ือง ภูเขาไฟระเบิด 54
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
ประวตั ยิ ่อผ้จู ัดทำ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ ข

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด

คำชแี้ จงเกย่ี วกบั ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกทเี่ หมาะสมกับระดับ
และวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ
ส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกดิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีสารวจตรวจสอบข้อมูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชดุ ดังน้ี

ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งช้นั โครงสร้างโลก
ชดุ ที่ 2 เรอ่ื ง การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลก
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลื่อนและหลักฐานสนบั สนนุ
ชุดท่ี 4 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมทุ รและหลกั ฐานสนับสนนุ
ชดุ ท่ี 5 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี
ชุดที่ 6 เร่ือง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคล่ือนท่ีของแผ่น
ธรณี
ชุดท่ี 7 เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบดิ
ชดุ ที่ 8 เรอ่ื ง แผน่ ดนิ ไหว
ชดุ ที่ 9 เรื่อง สนึ ามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้เป็น ชุดท่ี 7 เรื่อง ภูเขำไฟระเบิด ใช้เวลำ 2
ชัว่ โมง
3. ผูใ้ ช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นีค้ วรศึกษาข้นั ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
อยา่ งละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดน้ี จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการ เรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มคี ณุ ภาพมากยง่ิ ขน้ึ ตอ่ ไป

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ ค

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

แผนภมู ลิ ำดับขัน้ ตอนกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์

อ่านคาชแี้ จงและคาแนะนาในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ศกึ ษาตัวชีว้ ัดและจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพนื้ ฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผมู้ ีพน้ื ฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามขนั้ ตอน

ประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรียนร้จู ากชุดกิจกรรม

ไมผ่ ำ่ น ทดสอบหลงั เรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์เรอื่ งตอ่ ไป

แผนภมู ิลำดบั ข้นั ตอนกำรเรียนโดยใชช้ ดุ กิจกรรมกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์
ชุดที่ 7 เรื่อง ภูเขำไฟระเบดิ

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ ง

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

คำชแ้ี จงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรบั ครู

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ท่คี รูผสู้ อนไดศ้ กึ ษาตอ่ ไปน้คี ือ ชดุ ท่ี 7 เรือ่ ง ภูเขำไฟ
ระเบิด ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทาง
กระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมี
ประสิทธภิ าพ ครผู ้สู อนควรดาเนินการดงั น้ี

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื ท่ีครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

2. ครผู ้สู อนเตรยี มสอื่ การเรียนการสอนให้พรอ้ ม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซ่ึงนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเวน้ สอ่ื การสอนท่ีต้องใชร้ ่วมกนั
4. ครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
ดงั นี้

4.1 ศกึ ษาบทบาทของนกั เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพ่ือจะได้ทราบ
วา่ จะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมอะไร อย่างไร

4.3 นักเรียนต้องต้ังใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ไมร่ บกวนผูอ้ ืน่ และไม่ชักชวนเพ่อื นใหอ้ อกนอกลู่นอกทาง

4.4 หลงั จากปฏบิ ตั ิกจิ กรรมแลว้ นักเรยี นจะตอ้ งจัดเกบ็ อุปกรณท์ ุกชิน้ ใหเ้ รยี บร้อย
4.5 เมอื่ มีการประเมินผลนกั เรยี นต้องปฏิบตั ติ นอยา่ งตงั้ ใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) แบ่งออกเป็น
7 ข้นั ตอน ดงั น้ี
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรูเ้ ดิม
5.2 ขน้ั ที่ 2 ขัน้ สร้างความสนใจ
5.3 ข้นั ท่ี 3 ข้นั สารวจและคน้ หา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ จ

ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ
5.4 ขน้ั ที่ 4 ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป
5.5 ขั้นที่ 5 ข้นั ขยายความรู้
5.6 ข้นั ท่ี 6 ขน้ั ประเมิน
5.7 ขนั้ ท่ี 7 ขัน้ นาความรไู้ ปใช้
6. ขณะท่ีนักเรียนทุกกลุม่ ปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบคุ คล ตอ้ งไม่รบกวนกจิ กรรมของนกั เรียนกลุ่มอืน่
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลุ่มใดมีปญั หาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหาน้ันคล่ีคลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตวั แทนของกลมุ่ รว่ มกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากทส่ี ดุ
9. ประเมินผลการเรียนร้ขู องนักเรยี น เพอ่ื ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ฉ

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

คำช้แี จงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตรส์ ำหรับนักเรียน

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ที่นกั เรียนไดศ้ ึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดที่ 7 เรื่อง ภูเขำไฟ
ระเบิด ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้
กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือให้เกิด
ประโยชน์สงู สดุ นกั เรียนควรปฏิบตั ติ ามคาช้แี จง ดังตอ่ ไปน้ี

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 7 เร่ือง ภูเขำไฟระเบิด ใช้เวลำในกำร
ทำกิจกรรม 2 ชว่ั โมง

2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากจิ กรรมเป็นรายกลุ่มและศกึ ษาวิธดี าเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นกั เรยี นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นกั เรยี นทากจิ กรรมในชดุ กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้ครบ
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ข้อ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ช

ชุดท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

ชุดท่ี 7

ภเู ขาไฟระเบิด

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมท้ังผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสงิ่ แวดลอ้ ม

ตัวชี้วดั
ว 3.2 ม.6/4 อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพ้ืนที่
เสี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตน
ใหป้ ลอดภัย

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายสาเหตุ และกระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบดิ ได้ (K)
2. อธบิ ายปัจจยั ที่ทาให้ความรนุ แรงของการปะทแุ ละรปู ร่างของภูเขาไฟแตกตา่ งกนั ได้ (K)
3. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอข้อมูลพ้ืนที่เสี่ยงภัย และผลจากการเกิดภูเขาไฟระเบิด พื้นที่

เสยี่ งภัยภูเขาไฟระเบดิ ได้ (P)
4. สืบค้นข้อมูล ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย

จากภูเขาไฟระเบิดได้ (P)
5. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิด ในการร่วมกิจกรรม

การเรียนการสอนและนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน (A)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 1

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบิด

6. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื ได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนื่อง

ธรณพี บิ ัตภิ ยั

ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิ เป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากกระบวนการ
เปล่ยี นแปลงทางธรณวี ทิ ยาแบบฉับพลันและรนุ แรง ซ่งึ ผลตอ่ ส่ิงมชี วี ิตและสิง่ แวดล้อม



ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาบนผิวโลกตามช่องว่างหรือรอย
แตกของเปลือกโลกโดยส่วนใหญ่จะมีตาแหน่งสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนท่ี
เข้าหากันหรือแนวมุดตัวของแผ่นธรณี และยังมีภูเขาไฟท่ีเกิดขึ้นในบริเวณแผ่นธรณีแยกตัว
ภูเขาไฟในบางบริเวณอาจเกิดจากการแทรกดันของแมกมาจากจุดร้อนที่บริเวณกลางแผ่น
ธรณี



ภูเขาไฟระเบิดส่งผลต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม ในบางครั้งส่งผลกกระทบอย่าง
รุนแรงและเป็นบริเวณกว้าง ดังน้ันการสร้างระบบเตือนภัย และแนวการเฝ้าระวงั และปฏิบัติ
ตนใหป้ ลอดภยั จากภเู ขาไฟระเบดิ จึงมีความจา เปน็ อย่างยิง่



แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากเม่ือแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีจะเกิดการเสียดสีและ/หรือชน
กันระหว่างแผ่นธรณีสองแผ่น หินจะสะสมพลังงานไว้จนกระทั่งเกิดการแตกหักและเคลื่อน
ตัวอย่างกระทันหัน และปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือนทาให้
พื้นผิวโลกเกิดการสั่นสะเทือน และอาจเกิดจากสาเหตุอ่ืนได้อีก เช่น ภูเขาไฟระเบิด
การทดลองระเบิดนิวเคลยี ร์

เม่ือเกิดแผ่นดินไหวคล่ืนไหวสะเทือนที่ถูกปลดปล่อยออกมาจะเคล่ือนที่จากศูนย์
เกิดแผ่นดินไหว ไปทุกทิศทุกทาง ทา ใหบ้ ริเวณต่าง ๆ ได้รับผลกระทบไม่เท่ากัน บริเวณบน
พ้ืนผิวโลกท่ีจะได้รับผลกระทบมากท่ีสุด คือ จุดเหนือศูนย์เกิดผ่นดินไหว ซ่ึงเป็นจุดบน
พื้นผิวโลกทีอ่ ยเู่ หนือบริเวณศูนยเ์ กิดของแผ่นดนิ ไหวภายในโลก



โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 2

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

ปริมาณของพลังงานท่ีถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของการส่ันสะเทือนที่ส่งผ่าน
มายงั ผิวโลก สงั เกตไดจ้ ากค่าแอมพลจิ ูดของคล่ืนแผ่นดินไหวทีต่ รวจวดั ได้ และนามาคานวณ
เป็นขนาดของแผ่นดินไหว ขนาดของแผ่นดินไหวรายงานโดยใช้มาตราริกเตอร์
และมาตราขนาดโมเมนต์แผน่ ดนิ ไหว



ผลของแผ่นดินไหวที่ทา ให้คนรู้สึกถึงการสั่นสะเทือน ลักษณะที่วัตถุหรืออาคาร
เสียหาย หรือสภาพภูมิประเทศเปล่ียนแปลง สามารถนา มาประเมินเป็นความรุนแรง
ของแผ่นดินไหว ความรุนแรงจะเกดิ มากท่ีสดุ บรเิ วณใกล้เหนือศูนยเ์ กดิ แผ่นดินไหวและลดลง
ตามระยะทางท่ีห่างออกมา มาตราวัดความรุนแรงที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ มาตราเมอร์คัลลี
ปรับปรุงใหม่



พนื้ ที่เส่ียงภัยแผ่นดินไหวท่ีเกิดข้ึนบนโลกส่วนใหญ่อยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่น
ธรณี ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีหลายประเทศที่เป็นศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี ทา ให้ประเทศไทยได้รับแรงสั่นสะเทือน
จากแผน่ ดินไหวทเ่ี กดิ ข้ึนจากบริเวณดงั กล่าว



ประเทศไทยไม่ได้ต้ังอยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี แต่มีโอกาสเป็นศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวได้เนื่องจากการเคล่ือนตัวของรอยเลื่อนมีพลังภายในประเทศท่ีมีการสะสม
พลังงานจากการเคลือ่ นท่ีของแผ่นธรณี



แผ่นดินไหวมีผลกระทบต่อการดา เนินชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นเราควรศึกษาวิธีการ
ปฏิบัติตนท้ังการรับมือก่อนเกิด ระหว่างเกิด และหลังจากเกิดแผ่นดินไหว ให้เข้าใจ
และสามารถปฏบิ ตั ติ นได้อย่างถูกต้อง



สึนามิมักจะเกิดข้ึนบริเวณชายฝ่ังโดยรอบของมหาสมุทรแปซิฟิกเนื่องจากมีแนว
รอยต่อของแผ่นธรณีเป็นทางยาวหรือท่รี จู้ ักกันในชื่อ วงแหวนไฟ ซ่ึงเปน็ บริเวณท่เี กดิ การมุด
ตัวของแผ่นธรณีและทา ให้เกิดแผ่นดินไหวได้และอาจเกิดสึนามิถ้าเหตุการณ์แผ่นดินไหว
ดังกลา่ ว เกิดการเลือ่ นตัวของเปลือกโลกในแนวดงิ่



โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 3

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบิด

สนึ ามิเปน็ คลน่ื ท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวโดยในบริเวณท่ีความลึกของมหาสมุทรมาก ๆ
สึนามิจะมีความสูงคล่ืนน้อย แต่มีความยาวคลื่นมากและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
เม่ือเคลื่อนเข้าสู่บริเวณน้าตื้น ความยาวคลื่นและความเร็วคล่ืนจะลดลงแต่ความสูงคล่ืน
เพมิ่ ขึ้นทาใหเ้ กดิ คลื่นขนาดใหญ่ปะทะเข้ากับแผ่นดนิ



สึนามิทาให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหายจานวนมาก นอกจากน้ียังทาให้เกิด
ความเสยี หายแก่ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทัง้ ในดา้ นเศรษฐกิจเปน็ อย่างมาก



สึนามิเป็นภัยพิบัติท่ีไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ ดังน้ันวิธีการป้องกัน
ความเสียหาย คือ การเฝ้าระวังและเตือนภัยก่อนท่ีสึนามิจะเคล่ือนท่ีมาถึงชายฝั่ง
กระบวนการเตือนภัยสึนามิประกอบด้วยข้ันตอนหลัก 3 ข้ัน คือ การตรวจวัดข้อมูล
การประมวลผลจากขอ้ มลู การประกาศเตอื นภยั



สึนามิมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นเราควรศึกษาวิธีการ
ปฏิบัติตน ท้ังการรับมือก่อนเกิด ระหว่างเกิด และหลังจากเกิดสึนามิ ให้เข้าใจและสามารถ
ปฏบิ ัติตนไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

สาระสาคัญ

ภเู ขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาข้ึนมาบนผิวโลกตามช่องว่างหรือรอยแตก
ของเปลือกโลก โดยส่วนใหญ่จะมีตาแหน่งความสัมพันธ์กับรอยต่อของแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีเข้าหากัน
หรือแนวมุดตัวของแผ่นธรณี โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ มหาสมุทรแปซิฟิก และยังมีภูเขาไฟท่ีเกิดข้ึน
ในบริเวณแผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน ภูเขาไฟในบางบริเวณอาจเกิดจากการแทรกดันของแมกมา
จากจุดร้อนที่บริเวณกลางแผ่นธรณี ภูเขาไฟมีรูปร่างและความรุนแรงในการระเบิดแตกต่างกัน
ซ่งึ ขึ้นอยูก่ ับองค์ประกอบของแมกมา เป็นสาคัญ แมกมาท่ีมีองค์ประกอบของซิลกิ าสูงจะมีความหนืด
มากจะทาให้ภเู ขาไฟมีรูปรา่ งสูงชนั และระเบิดรุนแรง ส่วนแมกมาท่ีมีองค์ประกอบของซิลิกาต่าจะมี
ความหนืดนอ้ ยและลาวาไหวไปรอบ ปากปลอ่ งภเู ขาไฟจงึ มีฐานกว้างไมส่ ูงมากและระเบิดไมร่ ุนแรง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 4

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

แบบทดสอบกอ่ นเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบดิ
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104

คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทใ่ี ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องทสี่ ดุ แลว้ เขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. เหตุใดบรเิ วณแผน่ เปลือกโลกใตม้ หาสมุทรมดุ ตัวใต้เปลือกโลกส่วนทเ่ี ป็นทวีปจงึ เกิดภูเขา
ไฟง่ายกวา่ บริเวณอนื่ ๆ

ก. เพราะหินหนดื ใตเ้ ปลอื กโลกแทรกตัวข้ึนมาไดง้ า่ ยกว่า
ข. เพราะบริเวณดังกลา่ วเกิดการกระทบกระแทกกันได้งา่ ยทาใหเ้ ปลือกโลกขยายตวั ไม่

สม่าเสมอ
ค. เพราะเปลือกโลกส่วนทมี่ ุดตวั ลงไปจะหลอมเหลวเปน็ หนิ หนืดท่มี ีอุณหภูมแิ ละแรงดนั

สงู มาก
ง. ไมม่ ีข้อถูก

2. ภูเขาไฟ เกิดจากสาเหตใุ ด
ก. เปลอื กโลกส่วนลา่ งขยายตัวได้เรว็ กวา่ เปลอื กโลกส่วนบน
ข. รอยแตกในชั้นหนิ แยกตัวออกจากกัน ทาใหห้ ินหนดื ดนั ขนึ้ มา
ค. แผน่ เปลอื กโลกเคล่ือนที่ตามแนวระดับเกิดการกระทบกระแทก
ง. หนิ หนดื ใตเ้ ปลือกโลกถกู แรงอัดทาใหแ้ ทรกรอยแตกขน้ึ สู่ผวิ โลก โดยมีแรงประทุ
เกดิ ขนึ้

3. เพราะเหตุใด ก่อนภูเขาไฟระเบดิ มักจะเกิดแผ่นดนิ ไหว
ก. การขยายตัวของหนิ หนดื แตล่ ะช้ันตา่ งกนั
ข. เกิดคลืน่ ลมในทะเลท่ีมแี รงดันมาก
ค. การปรับตัวของหนิ หนดื กับชั้นหนิ
ง. หินหนดื ทมี่ แี รงดันสูงเคลอื่ นตัว

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 5

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

4. จากคากลา่ ว ภเู ขาไฟมพี ลัง มคี วามหมายตรงกบั ข้อใด
ก. ภูเขาไฟทเี่ กดิ ขึ้นมานานมาก
ข. ภูเขาไฟที่มกี ารระเบดิ คอ่ นข้างถ่ี
ค. ภูเขาไฟมีการระเบิดอย่างรุนแรง
ง. ภเู ขาไฟที่กาลังก่อตัวแต่ยังไมม่ กี ารระเบดิ

5. เม่อื ภูเขาไฟระเบิดขึน้ ของเหลวที่ไหลออกมาจากเปลือกโลกชั้นใด
ก. ชั้นแมนเทลิ
ข. ชั้นแก่นโลก
ค. เปลือกโลกช้ันบน
ง. เปลอื กโลกชั้นลา่ ง

6. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ ิ่งทเ่ี กดิ ขน้ึ เมอ่ื เกดิ ภูเขาไฟระเบดิ
ก. แผน่ ดินไหว
ข. ทุกข้อเปน็ สง่ิ ทีเ่ กิดข้นึ เมื่อเกดิ ภเู ขาไฟ
ค. แมกมาไหลออกมาเป็นลาวาและลาวาจะกลายเปน็ หนิ
ง. ไอน้า ฝนุ่ ละออง เศษหิน กา๊ ซตา่ ง ๆ รวมทงั้ ก๊าซพิษ เช่น CO และ S2O

7. บริเวณใดท่ีมกั เกดิ แผ่นดินไหวและภเู ขาไฟระเบดิ มากทสี่ ุด
ก. บริเวณภูเขาสูง
ข. สามารถเกิดไดท้ ุกท่ี
ค. บรเิ วณใตม้ หาสมทุ รเทา่ น้นั
ง. บริเวณรอยตอ่ ระหวา่ งแผ่นเปลือกโลก

8. ปรากฏการณ์ใดที่ทาใหน้ กั วทิ ยาศาสตร์ทราบวา่ ภายในโลกยังรอ้ นระอุ
ก. เกดิ ลมพายุ
ข. แผ่นดินไหว
ค. ภูเขาไฟระเบดิ
ง. ดนิ แตกระแหง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 6

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ
9. ขอ้ ใดเป็นแนวทางทถี่ ูกต้องในการปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากภเู ขาไฟระเบิด

ก. ปิดวทิ ยแุ ละโทรทัศน์เพ่ือป้องกันไม่ให้เกดิ ไฟฟ้ารว่ั
ข. ใส่หน้ากากอนามัยเพ่ือปอ้ งกันเถา้ ภูเขาไฟ
ค. ควรเกบ็ เครื่องมือสอ่ื สารไว้ภายในอาคาร
ง. ควรหลบอย่ใู นสง่ิ ก่อสร้าง
10. ข้อใดไม่ใชป่ ระโยชน์ท่เี กิดจากการระเบดิ ของภูเขาไฟ
ก. เป็นแหลง่ เกิดนา้ พรุ ้อน
ข. ทาให้เกิดท่รี าบสูงต่างๆ
ค. ทาใหเ้ กดิ ภาวะเรือนกระจก
ง. ทาใหเ้ กิดดินที่เหมาะแกก่ ารเพาะปลูก

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 7

ชดุ ที่ 7 ภเู ขาไฟระเบิด

บัตรเนอื้ หา
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

หินหนืดท่ีอยู่ใต้เปลือกโลกน้ันมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก หินหนืดจะถูกแรงดันอัดให้
แทรกรอยแตกข้ึนสู่ผิวโลกโดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดข้ึน เรียกว่าการเกิดภูเขาไฟ แรงอัดท่ีถูก
ปล่อยออกมาจะบ่งบอกถึงความรนุ แรงของการระเบิดของภเู ขาไฟ หินหนดื ที่พุ่งขน้ึ มาจากการระเบิด
ของภูเขาไฟน้ีเรียกว่า ลาวา ซ่ึงจะไหลลงสู่บริเวณที่อยู่ระดับต่ากว่าและสร้างความเสียหายให้แก่
มนุษยส์ ิ่งมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อมเป็นอยา่ งมากนอกจากหินหนืดทพ่ี ุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟแลว้ ยงั มี
ส่ิงอ่ืนปะปนออกมาอีกมากมายมีท้ังไอน้าฝุ่นละอองเศษหินและก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ แก็สไนโตรเจน เป็นต้น

นอกจากนี้นักธรณีวิทยาสังเกตพบว่าก่อนที่ภูเขาไฟจะระเบิดมักมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น
ก่อน ทั้งนี้เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นอาจมีจุดอ่อน เช่น อาจมีรอยแตกหรือรอยแยกของชั้นหิน
ร่องรอยเหล่านเ้ี มื่อได้รบั แรงดันจากหินหนืดชั้นหินบรเิ วณนน้ั จงึ เคลื่อนได้ และภายหลงั จากทีภ่ ูเขาไฟ
ระเบิดแล้วก็จะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นเช่นเดียวกัน ซึ่งเกิดจากการปรับตัวระหว่างหินหนืดกับช้ันหิน
บริเวณข้างเคียง แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจะเป็นบริเวณท่ีมีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิด
มากกว่าบริเวณที่อยู่ถัดเข้าไปภายในแผ่นทวีปทั้งนี้เพราะบริเวณรอยต่อนี้จะมีขอ บทวีปส่วนหน่ึงมุด
จมลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหน่ึง ส่วนที่มุดลงไปนี้จะหลอมเหลวเป็นหินหนืด มีอุณหภูมิและ
แรงดันสงู มาก จงึ ดันแทรกตัวขนึ้ มาตามรอยแยกไดง้ ่ายกว่าบรเิ วณอื่น

ภูเขาไฟ คือ ลักษณะธรณีสัณฐานท่ีเกิดจากการปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้าภูเขาไฟจาก
ภายในโลก ภูเขาไฟมีรูปร่างแตกต่างกันหลายลักษณะข้ึนอยู่กับความรุนแรงในการปะทุ มักพบ
หนาแน่นบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นธรณี ซึ่งผลจากการระเบิดของภูเขาไฟมีท้ังประโยชน์และโทษ
จงึ ตอ้ งศึกษาแนวทางในการเฝา้ ระวังและการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภยั

ภูเขาไฟระเบิด เกิดจากการแทรกดันตัวของหินหนืดขน้ึ มาตามส่วนเปราะบางหรือรอยแตก
บนเปลือกโลกมักพบหนาแน่นบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นธรณี ทาให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นท่ีเส่ียง
ภัย ความรุนแรงของการปะทแุ ละรูปรา่ งของภูเขาไฟท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั องคป์ ระกอบของหินหนืด
ผลจากภูเขาไฟระเบิดมที ้ังประโยชน์และโทษ จึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังและการปฏบิ ัติตน
ให้ปลอดภยั

ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านข้ึนมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมัก
เกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น
เรียกว่า จดุ รอ้ นภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot)

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 8

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด
ภูเขาไฟ (Volcano) คือ ช่องระบายของเปลือกโลกที่ให้หินหลอมเหลวและ ส่ิงต่างๆ จาก
ภเู ขาไฟแทรก ซอนผ่านขึ้นมาได้ ภูเขาไฟ และปรากฏการณ์ทเี่ กี่ยวข้องอาทเิ ช่น พแุ กส๊ (Fumaroles)
และน้าพุร้อน (Hot Spring) ล้วนเป็นปรากฏการณ์ท่ีน่าสนใจหน่ึงในบรรดากระบวนการทาง
ธรณวี ิทยาทั้งหลายโดยท่ัวไปภเู ขาไฟ มีรูปทรงกรวยท่ีเรียกว้าปากปล่องภูเขาไฟ (Crater)รปู กรวยอยู่
เหนือปล่องภูเขาไฟได้ผ่านต่อลงไปทางลาปล่องหรือรางท่อถึงห้องโถงหินหนืดใต้โลกและในช่วงที่
ปะทุไอน้า ฝุ่นเถ้าธุลีภูเขาไฟ (ash) ก้อนหิน หิน หลอมเหลวเรียกว่า ลาวา พวยพุ่ง คละคลุ้งข้ึนจาก
ปล่อง ซึ่งห้องโถงหินหนืดอยู่ลึกลงไปใต้ผิวโลกเป็นแอง่ ที่บรรจุวัสดุหินหลอมเหลวร้อนระอุ ซ่ึงอาจท้ัง
แทรกซอนสู่เปลือกโลกหรือปะทุขึ้นมาบนพ้ืนผิว มี 2 ลักษณะ คือ ปะทุพ่น (Effusive) และ ปะทุ
ระเบิด (Explosive)

รูปท่ี 7.1 แบบจาลองช่องระบายของเปลือกโลกทใ่ี ห้หนิ หลอมเหลวไหลจากภเู ขาไฟ
ทมี่ า : http://www.pw.ac.th/emedia/media/social/global_napaporn/globalEdUnit2.pdf
การกระจายของภเู ขาไฟ

ภูเขาไฟบนโลกปรากฏแออัดอยู่ในแดนหรือเขตภูมิศาสตร์ได้กาหนดชัดเจน เขตภูเขาไฟ
เหล่านี้ ปรากฏแน่นขนดมากท่ีสุดในพ้ืนท่ีภายใน เปลือกโลกไม่เสถียรหรือย่านปรากฏการณ์
กอ่ เทือกเขาในสมัย ปัจจุบัน เรยี กว่า วงแหวนแห่งไฟ (ring of fire) แบ่งออกได้ 2 แนวหลกั คอื

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 9

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ
1. แนววงรอบแปซิฟิก (Circum-Pacific belt) ต้ังอยู่รอบมหาสมุทรแปซิฟิกถือว่าสาคัญ
ท่ีสุด เขตน้ีประกอบด้วยภูเขาไฟอเมริกาใต้และอเมริกากลาง อะลาสกา ฮาวายและอะซอร์ส
(Azores) บรรดาหมู่เกาะ ญ่ปี นุ่ ไตห้ วนั ฟลิ ปิ ปินส์
2. แนววงรอบเมดิเตอร์เรเนียน (Circum-Mediterranean belt) แผ่ขยายไปทางทิศ
ตะวนั ออก-ตก ประกอบด้วยภเู ขาไฟท่ลี ุ่มเมดิเตอรเ์ รเนียน อินเดยี ตะวันตก
ซ่ึงทั้งสองแนวนี้มักเกิดร่วมกับรอยเลื่อนขนาดใหญ่หรือเขตรอยแตกบนเปลือกโลก
แนววงรอบแปซฟิ ิก นอกจากแนววงรอบทั้งสองนีภ้ ูเขาไฟก็ต้งั อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนตกิ และอินเดีย
เกาะไอซ์แลนด์ และในแอนตาร์กตกิ

รปู ท่ี 7.2 วงแหวนแห่งไฟ (ring of fire)
ท่ีมา : https://www.tnews.co.th/foreign/214185/
วงแหวนแห่งไฟ (Pacific Ring of Fire หรือ the Ring of fire) เป็นบริเวณในมหาสมุทร
แปซิฟิกท่ีเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยคร้ัง มีลักษณะเป็นเส้นเกือกม้า ความยาวรวม
ประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวร่องสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผ่นเปลือก
โลก โดยมภี เู ขาไฟทต่ี ั้งอยู่ภายในวงแหวนแหง่ ไฟทัง้ หมด 452 ลูก และเปน็ พื้นที่ทมี่ ภี ูเขาไฟคุกกรนุ่ อยู่
กว่า 75% ของภูเขาไฟคุกกรุ่นท้ังโลก ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า circum-Pacific belt หรือ circum-
Pacific seismic belt

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 10

ชดุ ท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบิด

แผ่นดินไหวประมาณ 90% ของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นท่ัวโลกและกว่า 80% ของแผ่นดินไหว
ขนาดใหญ่ เกดิ ขน้ึ ในบริเวณวงแหวนแหง่ ไฟ นอกจากวงแหวนแหง่ ไฟ ยงั มแี นวแผ่นดินไหวอกี 2 แห่ง
ได้แก่ แนวเทือกเขาอัลไพน์ ซึ่งมีแนวต่อมาจากเกาะชวาสู่เกาะสุมาตรา ผ่านเทือกเขาหิมาลัย และ
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แนวแผ่นดินไหวแห่งน้ีมีแผ่นดินไหวเกิดข้ึน 17% ของท้ังโลก และอีกแห่งคือ
แนวกลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ซง่ึ มีแผ่นดนิ ไหวเกิดขึ้น 5-6% ของทงั้ โลก

วงแหวนแห่งไฟเป็นผลมาจากการเคล่ือนท่ีและการชนกันของแผ่นเปลือกโลกแบ่งเป็นส่วน
วงแหวนทางตะวันออก มีผลมาจากแผ่นนาซคาและแผ่นโคคอส ที่มุดตัวลงใต้แผ่นอเมริกาใต้ ส่วน
ของแผ่นแปซิฟิกท่ีติดกับแผ่นฮวนดีฟูกา ซึ่งมุดตัวลงแผ่นอเมริกาเหนือ ส่วนทางตอนเหนือที่ติดกับ
ทางตะวันตกเฉียงเหนือของแผ่นแปซิฟิก มุดตัวลงใต้บริเวณเกาะเอลูเชียนจนถึงทางใต้ของประเทศ
ญ่ีปุ่น และส่วนใตข้ องวงแหวนแห่งไฟเป็นส่วนที่มีความซับซอ้ นของแผ่นเปลือกโลก มแี ผ่นเปลือกโลก
ขนาดเลก็ มากมายทต่ี ดิ กบั แผน่ แปซิฟกิ ซงึ่ เร่ิมตัง้ แต่หมู่เกาะมาเรียน่า ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ เกาะบวั เกน
วิลเล ประเทศตองกา และประเทศนิวซีแลนด์ แนววงแหวนแห่งไฟยังมีแนวต่อไปเป็น แนวอัลไพน์
ซึ่งเร่ิมต้นจากเกาะชวา เกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย รอยเล่ือนท่ีมีชื่อเสียงที่ตั้งบนวงแหวนแห่งไฟน้ี
ได้แก่ รอยเล่ือนซานอันเดรียส ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการเกิดแผ่นดินไหว
ขนาดเล็กอยู่เป็นประจา รอยเลื่อนควีนชาร์ลอตต์ ทางชายฝ่ังตะวันตกของหมู่เกาะควีนชาร์ลอตต์
รัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ซึ่งทาให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 3 ครั้ง ได้แก่ แผ่นดินไหว
ขนาด 7 ริกเตอร์เม่ือ ค.ศ. 1929 แผ่นดินไหวขนาด 8.1 ริกเตอร์ในปี ค.ศ. 1949 (แผ่นดินไหวคร้ัง
ใหญ่ทีส่ ุดในประเทศแคนาดา) และแผน่ ดินไหวขนาด 7.4 รกิ เตอรใ์ นปี 1970

ภเู ขาไฟที่มีชอ่ื เสียงท่ตี ั้งอยู่ในวงแหวนแหง่ ไฟ เช่น ภูเขาไฟวิลลารร์ กิ า ประเทศชิลี ภเู ขาไฟ
เซนต์เฮเลนส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเคยเกิดการระเบิดครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ.
1980 ได้พ่นเถ้าถ่านออกมากว่า 1.2 ลูกบาศก์กิโลเมตร ภูเขาไฟฟูจิ ประเทศญ่ีปุ่น ระเบิดคร้ังล่าสุด
เมือ่ ค.ศ. 1707 ภูเขาไฟพินาตูโบ มายอน ทาล และคานลายอน ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ ซึ่งภูเขาไฟพินาตู
โบเคยเกิดระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดเมื่อปี ค.ศ. 1991 ภูเขาไฟแทมโบรา เคลูด และเมราปี ในประเทศ
อินโดนเี ซยี ภูเขาไฟลูอาเปทู ประเทศนิวซแี ลนด์ และภูเขาไฟเอเรบสั ทวปี แอนตาร์กตกิ า

ภูเขาไฟอยู่หนาแน่นบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี
รูปแบบต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่จะพบบริเวณแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีเข้ามาในเน่ืองจากการมุดตัวของแผ่น
ธรณีทาให้เกิดการหลอมของแผ่นธรณีและกลายเปน็ แมกมาแล้วเคล่ือนที่ขน้ึ สู่ผวิ โลกเกดิ เป็นภูเขาไฟ
ดงั รูป 7.3 (ก) นอกจากน้ยี ังเห็นว่าแนวของตาแหน่งภเู ขาไฟน้นั กระจายตวั ต่อเนื่องบริเวณขอบทวีป
รอบมหาสมุทรแปซิฟิกซึง่ มีลกั ษณะคลา้ ยวงแหวนจึงเรยี กว่าวงแหวนไฟ (ring of fire) ดังรูป 7.3 (ข)
ร่องลึกก้นสมุทรแนว

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชีย่ วชาญ 11

ชดุ ท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบิด

รูปที่ 7.3 การเกดิ ภเู ขาไฟจากการมดุ ตัวของแผน่ ธรณี
ทมี่ า : หนังสอื เรียนรายวิชาเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 84)

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร
นอกจากน้ียังพบภูเขาไฟที่บริเวณรอยต่อที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกจากกัน เนื่องจากบริเวณ
ดังกล่าวมีรอยแตกหรือเป็นบริเวณที่เปลือกโลกบาง ทาให้แมกมาแทรกตัวขึ้นมาสู่ผิวโลกได้จึงเกิด
เป็นภเู ขาไฟ ดงั รูป 7.4

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 12

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด

รปู ที่ 7.4 การเกดิ ภูเขาไฟบริเวณที่แผน่ ธรณีเคล่ือนทแ่ี ยกออกจากกัน
ทม่ี า : หนังสอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 84)

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
การเกิดภูเขาไฟระเบิดส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของแผ่นธรณี แต่มีบางกรณีที่พบ
ภเู ขาไฟระเบิดอยู่ภายในแผ่นธรณี ซึ่งเป็นบริเวณที่แมกมาปะทุข้ึนมายังผิวโลก จุดที่แมกมาเคลื่อนที่
ขึ้นมาบินผิวโลก เรียกว่า จุดร้อน (hot spot) ดังรูป 7.5 เช่น หมู่เกาะฮาวาย อุทยานแห่งชาติ
เยลโลสโตนส์

รปู ที่ 7.5 หมเู่ กาะฮาวายทเ่ี กดิ จากการเคล่ือนทขี่ องแผ่นธรณีผ่านเหนือจดุ ร้อน
ท่มี า : หนังสอื เรียนรายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 85)

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 13

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด
ภูเขาไฟระเบดิ

ภูเขาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก ซ่ึงแผ่นธรณีทวีปดันกันทาให้ชั้นหิน
คดโค้ง (Fold) เป็นรูปประทุนคว่าและประทุนหงายสลับกัน ภูเขาที่มียอดแบนราบอาจเกิดจากการ
ยกตัวของเปลือกโลกตามบริเวณรอยเล่ือน (Fault) แต่ภูเขาไฟ (Volcano) มีกาเนิดแตกต่างจาก
ภเู ขาท่วั ไป ภูเขาไฟเกดิ จากการยกตัวของแมกมาใตเ้ ปลือกโลก

รปู ที่ 7.6 โครงสรา้ งของภเู ขาไฟ
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
แมกมา

เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่เข้าหากัน หรือปะทะกับแผ่นธรณีทวีป แผ่นธรณีมหาสมุทร
ซึ่งมีความหนาแน่นกว่าจะจมลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค และหลอมละลายกลายเป็นหินหนืดหรือแมกมา
(Magma) โดยมีปจั จยั ที่เร่งให้เกิดการหลอมละลาย ได้แก่

 ความร้อน : เมื่อแผ่นธรณีปะทะกันและจมลงสู่ช้ันฐานธรณีภาค แรงเสียดทานซ่ึงเกิดจาก
การท่ีแผ่นธรณีท้ังสองเสียดสีกันจะทาให้เกิดความร้อน เร่งให้ผิวชั้นบนของเปลือกโลกมหา
สมทุ รท่จี มตัวลง หลอมละลายกลายเปน็ แมกมาได้งา่ ยขึน้

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 14

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

 น้าในชั้นฐานธรณีภาค : หินเปียก (Wet rock) มีจุดหลอมเหลวต่ากว่าหินแห้ง (Dry rock)
เม่ือหินในเปลือกแผ่นมหาสมุทรจมลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค โมเลกุลของน้าซ่ึงเปลี่ยนสถานะ
เป็นไอนา้ จะชว่ ยเรง่ ปฏกิ ิริยาใหห้ นิ เกดิ การหลอมเหลวได้งา่ ยขึ้น

 การลดความกดดัน : ตามปกติหินใต้เปลือกโลกจะหลอมละลายยากกว่าหินบนเปลือกโลก
เนื่องจากความกดดันสูงป้องกันหินไม่ให้เปลี่ยนสถานะเปน็ ของเหลว อย่างไรก็ตามอุณหภูมิ
สูงของชั้นฐานธรณีภาค ทาให้หินหลอมละลาย ขยายตัวออก แล้วยกตัวลอยตัวสูงข้ึน
เม่ือหินหนืดร้อนขยายตัวความกดดันจะลดลง ทาให้หินท่ีอยู่ในหน้าสัมผัสบริเวณรอบข้าง
หลอมละลายได้งา่ ยขึน้

แหลง่ กาเนดิ ของแมกมา
แมกมาไม่ได้กาเนิดข้ึนท่ัวไปทุกหนแห่งของโลก หากมีอยู่แต่บริเวณที่รอยต่อของแผ่นธรณี

บางชนิด และบรเิ วณจดุ ร้อนของโลก
 รอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน: แมกมาจากช้ันฐานธรณีภาคลอยตัวขึ้นสู่
พื้นผิวโลก แรงดันท่ีลดลงช่วยทาให้เปลือกโลกท่ีอยู่ด้านบนหลอมละลายเกิดเป็นสันเขาใต้
สมุทร และดันตัวออกทางด้านข้าง กลายเป็นแผ่นธรณีมหาสมุทรซ่ึงกาเนิดมาจากแมกมา
หนิ บะซอลต์ ดังรูปที่ 7.7 ตัวอย่างเช่น สนั เขาใต้มหาสมทุ รแอตแลนติก อย่างไรก็ตามในบาง
แหง่ แมกมากย็ กตวั ขึน้ ส่แู ผ่นธรณีทวีป เช่น ทะเลสาบมาลาวี ในทวปี แอฟริกา

รปู ที่ 7.7 แหล่งกาเนดิ แมกมาบรเิ วณสันเขาใต้มหาสมุทร
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

 รอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน: การชนกันของแผ่นธรณีสองแผ่นในแนวมุด
ตัว (Subduction zone) ทาให้แผ่นที่มีความหนาแน่นมากกว่าจมตัวลงตัวสู่ช้ันฐานธรณี
ภาค แรงเสียดทานซ่ึงเกิดจากการท่ีแผ่นธรณีทั้งสองเสียดสีกันจะทาให้เกิดความร้อน น้าใน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 15

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด

แผ่นหินซึ่งระเหยกลายเป็นไอ ประกอบกับแรงกดดันท่ีลดลง ช่วยให้หินหลอมละลาย
กลายเป็นแมกมาได้เร็วขึ้น และแทรกตัวออกจากผิวโลกทางปล่องภูเขาไฟ ดังรูปที่ 7.8
ยกตัวอย่างเชน่ ภูเขาไฟฟจู ิ ในประเทศญี่ป่นุ

รปู ที่ 7.8 แหลง่ กาเนดิ แมกมาในเขตมุดตัว
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

 จุดร้อน (Hotspot): แก่นโลกชั้นนอกมีความร้อนไม่เท่ากัน ในบางจุดของแก่นโลกมีความ
ร้อนสูง จึงทาให้เนื้อโลกช้ันล่างเหนือบริเวณนั้นหลอมละลาย และแทรกตัวลอยขึ้นมาตาม
ชอ่ งแมกมา (Magma plume) จุดรอ้ นจะอยู่ ณ ตาแหนง่ เดิมของแกน่ โลก แตเ่ ปลือกโลกจะ
เปล่ียนทิศทางการเคลื่อนที่ผ่านจุดร้อน แมกมาท่ีโผล่ข้ึนสู่พ้ืนผิวโลก จึงทาให้เกิดหมู่เกาะ
เรียงตัวกันเป็นแนว ดังเช่น หมู่เกาะฮาวาย โดยที่เกาะท่ีมีอายุมากจะอยู่ห่างจากจุดร้อน
เกาะท่ีเกิดขึ้นมาใหม่จะอยู่บนจุดร้อนพอดี ทิศทางการเรียงตัวของหมู่เกาะจะขึ้นอยู่กับทิศ
ทางการเคล่อื นทขี่ องแผ่นธรณี ดงั รปู ท่ี 7.9

 แมกมาแกรนิต และ แมกมาบะซอลต์ : ปกติแมกมาที่เกิดจากช้ันหินในเปลือกโลก
มหาสมุทรหลอมละลายในชั้นฐานธรณีภาคจะเป็นแมกมาบะซอตล์ (Basaltic magma)
แต่เมื่อแมกมาบะซอลต์ลอยตัวสูงข้ึนดันเปลือกโลกทวีปซึ่งมีองค์ประกอบหลักเป็น
หินแกรนิตก็จะหลอมละลายกลายเป็นแมกมาแกรนิต (Granitic magma) แต่เน่ืองจาก
หนิ แกรนิตซึ่งมีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิกาซึ่งมจี ุดหลอมเหลวต่ากว่าหินบะซอลต์ เราจึงมัก
พบว่า แมกมาแกรนิตมักเปล่ียนสถานะเป็นของแข็งภายในเปลือกโลก (Pluton) กลายเป็น
หินอัคนีแทรกซอน ส่วนแมกมาบะซอลตม์ ักเย็นตัวบนพ้ืนผิวโลกเรียกว่า ลาวา (Lava) และ
กลายเปน็ หนิ อคั นพี ใุ นทีส่ ดุ

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 16

ชดุ ท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

รปู ท่ี 7.9 แหลง่ กาเนดิ แมกมาบนจดุ รอ้ น
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ประเภทของภูเขาไฟ

ภูเขาไฟมีรูปร่างสัณฐานต่างๆ กัน เนื่องจากเกิดข้ึนจากแมกมาซึ่งมีแหล่งกาเนิดแตกต่างกัน
และมีองค์ประกอบของแร่แตกต่างกัน เราจาแนกชนิดของภูเขาไฟตามลักษณะทางกายภาพได้ 4
ประเภท ดงั นี้

 ท่ีราบสูงลาวา (Basalt Plateau): เกิดจากแมกมาบะซอลต์แทรกตัวข้ึนมาตามรอยแตก
ของเปลือกโลกแล้วกลายเป็นลาวาไหลท่วมบนพื้นผิว ในลักษณะเช่นเดียวกับน้าท่วม เม่ือ
ลาวาเย็นตัวลงก็จะกลายเป็นที่ราบสูงลาวาขนาดใหญ่ประมาณ 100,000 ถึง 1,000,000
ตารางกิโลเมตร เชน่ เกาะสกาย ประเทศอังกฤษ ดงั รปู ท่ี 7.10

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 17

ชดุ ท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

รปู ที่ 7.10 ทร่ี าบสูงลาวา (เกาะสกาย)
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

 ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano): เกิดขึ้นจากแมกมาบะซอลต์ที่มีความหนืดสูง ไหล
ออกมาฟอร์มตัวเป็นท่ีราบสูงลาวา แต่ความหนืดทาให้แมกมาก่อตัวเป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่
และอาจสูงได้ถึง 9,000 เมตร แต่มีลาดชันเพียง 6 - 12 องศา ภเู ขาไฟรูปโลม่ ักเกิดขน้ึ จาก
แมกมาซึ่งยกตัวขึ้นจากจุดร้อน ( Hotspot) ในเน้ือโลกช้ันล่าง ( Lower mantle)
ตวั อยา่ งเช่น ภูเขาไฟมอนาคีบนเกาะฮาวาย ที่กลางมหาสมุทรแปซิฟกิ ดงั รูปท่ี 7.11

รูปท่ี 7.11 ภูเขาไฟรูปโล่ (มอนาค)ี
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 18

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด

 กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder cone): เป็นภูเขาไฟขนาดเล็กมาก สูงประมาณ 100 - 400
เมตร ความลาดชันปานกลาง เกิดจากการสะสมตัวของแก๊สร้อนในแมกมาที่ยกตัวข้ึนมา
เม่ือมีความดันสูงเพียงพอ ก็จะระเบิดทาลายพ้ืนผิวโลกด้านบนเกิดเป็นปลอ่ งภูเขาไฟ กรวด
และเถ้าภูเขาไฟ กระเด็นขึ้นสู่อากาศแล้วตกลงมากองทับถมกันบริเวณปากปล่องเกิดเป็น
เนินเขารูปกรวย ดังรูปท่ี 7.12 ข้อสังเกตคือ ภูเขาไฟแบบน้ีไม่มีธารลาวาซึ่งเกดิ ข้ึนจากแมก
มาไหล แต่จะมีลักษณะเป็นกรวดกลมๆ พุ่งออกมาจากปากปล่อง แล้วกองสะสมกันทาให้
เกิดความลาดชันประมาณ 30 - 40 องศา เช่น กรวยภูเขาไฟในรัฐโอรีกอน ประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า

รปู ท่ี 7.12 กรวยกรวดภเู ขาไฟ
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

 ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น (Composite cone volcano): เป็นภูเขาไฟขนาดปานกลาง
ท่ีมีรูปทรงสวยงามเป็นรูปกรวยคว่า สูงประมาณ 100 เมตร ถึง 3,500 เมตร เรียงตัวอยู่
บริเวณเขตมุดตัว (Subduction zone) เกิดขึ้นจากแผ่นธรณีมหาสมุทรท่ีหลอมละลายเป็น
แมกมา แล้วยกตวั ขึ้นดันเปลือกโลกขึน้ มาเป็นแนวภูเขาไฟรปู โคง้ (Volcanic arc) ส่ิงทภ่ี ูเขา
ไฟพ่นออกมามีทง้ั ธารลาวา และกรวดเถ้าภเู ขาไฟ สลบั ช้ันกันไป เนอ่ื งจากในบางครั้งแมกมา
แขง็ ตวั ปดิ ปากปล่องภูเขาไฟ ทาให้เกดิ แรงดันจากแก๊สร้อน ดนั ใหภ้ ูเขาไฟระเบดิ และเปลี่ยน
รูปทรง ตัวอย่าง เช่น ภูเขาไฟฟูจิ ประเทศญี่ปุ่น ดังรูปท่ี 7.13 ภูเขาไฟพินาตูโบ ประเทศ
ฟิลิปปินส์, ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน รัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ภูเขาไฟรูปกรวยเป็น
แนวภเู ขาไฟรปู โค้ง (Volcano arc) ซึ่งเกดิ ขึ้นจากแมกมาในบรเิ วณเขตมุดตัวของเปลอื กโลก
มหาสมุทรทห่ี ลอมละลาย ประเภทน้ีระเบิด จะมีความรุนแรงสูงและกอ่ ให้เกิดความเสียหาย
เปน็ อย่างมาก

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 19

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

รปู ที่ 7.13 ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น (ฟจู ิ)
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
การประทขุ องภูเขาไฟ

ภูเขาไฟไม่มคี าบการระเบดิ ที่แน่นอน ท้ังน้ีข้ึนอย่กู ับแรงดนั ภายใน คุณสมบัติและปริมาณหนิ ที่
กดทับโพรงแมกมา อย่างไรก็ตามนักธรณีวิทยาสามารถทาการพยากรณ์อย่างคร่าวๆ โดยการ
วิเคราะห์ความถ่ีของคลื่นไหวสะเทือน ความรุนแรงของแผ่นดินไหว ความเป็นกรดของน้าใต้ดินซ่ึง
เกดิ จากแมกมาอุณหภูมสิ ูงทาให้แรธ่ าตุละลายตวั และความผิดปกตขิ องพฤติกรรมสัตว์

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 20

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

รูปท่ี 7.14 การปะทขุ องภเู ขาไฟ
ทมี่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano

การปะทขุ องภเู ขาไฟท่รี ุนแรงเกิดข้ึน เมื่อแมกมาบะซอลตย์ กตวั ข้ึนลอยตัวขน้ึ จากชน้ั ฐานธรณี
ภาค จะทาให้แผ่นเปลือกโลกธรณีซึ่งเป็นหินแกรนิตหลอมละลายกลายเป็นแมกมาแกรนิต
แล้วดันพื้นผิวโลกให้โก่งตัวข้ึน ดังรูปที่ 7.14 (ก) แรงอัดของแก๊สร้อนดันให้ปากปล่องภูเขาไฟ
ระเบิด พ่นฝุ่นเถ้าภูเขาไฟ (Pyroclastic flow) ซึ่งมีคามร้อนถึง 900 องศาเซลเซียสข้ึนสู่ชั้น
บรรยากาศ ดังรปู ท่ี 7.14 (ข) แลว้ ตกลงมาทบั ถมกันท่ีบริเวณเนนิ ภเู ขาไฟ ดงั รปู ที่ 7.14 (ค) ทั้งลาวา
ทีไ่ หลออกมาและเศษวสั ดุทีต่ กลงมาทับถมกนั ทาใหบ้ รเิ วณรอบปากปล่องภูเขามนี า้ หนกั มาก จงึ ทรุด
ตัวกลายเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (Caldera) เม่ือเวลาผ่านไปน้าฝนตกลงมาสะสมกัน ทาให้เกิด
เปน็ ทะเลสาบ ดงั รปู ท่ี 7.14 (ง)
การเกดิ ภูเขาไฟ

ภูเขาไฟ (Volcano) เกิดจากหินหนืดในชั้นแมนเทิลซึ่งอยู่ใต้ผิวโลก มีความร้อนและความ
ดันสูงมาก พยายามดันข้ึนมาตามรอยแตกและแทรกตัวข้ึนมาสู่ผิวโลก โดยจะมีแร่ปะทุหรือระเบิด
เกิดข้ึนทาให้หินหนืดไหลออกมาสู่ผิวโลก ท่ีเรียกว่า ลาวา (Lava) ไหลมาจากท่ีสูงลงสู่ท่ีต่า
สิ่งท่ีพุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟนอกจากลาวาแล้วยังมีเถ้าถ่าน ฝุ่นละออง เศษหิน ไอน้าก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ กา๊ ซไนโตรเจน และกา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์

บริเวณท่ีเกิดภูเขาไฟ แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจะเป็นบริเวณท่ีมีโอกาสเกิดภูเขา
ไฟระเบดิ มากกวา่ บรเิ วณทอ่ี ยถู่ ัดเข้าไปภายในแผ่นทวีป

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 21

ชุดท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

การจาแนกภเู ขาไฟตามรูปร่าง
ปกติจะมีการจาแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง ตามส่วนประกอบท่ีทาให้เกิด และชนิดของการปะทุ

โดยสรุปแลว้ เราจะจาแนกภูเขาไฟได้ 4 ลักษณะคอื
1. ภูเขาไฟแบบกรวยสงู (Steep cone) เกิดจากลาวาท่ีมีความเป็นกรด หรอื Acid lava

cone รูปกรวยคว่าของภูเขาไฟเกิดจากการทับถมของลาวาท่ีเป็นกรด เพราะประกอบด้วยธาตุ
ซิลิกอนมากกว่าธาตุอ่ืนๆ ลาวามีความเข้มข้นและเหนียว จึงไหลและเคล่ือนตัวไปอย่างช้าๆ แต่จะ
แขง็ ตวั เร็ว ทาให้ไหลเ่ ขาชนั มาก ภเู ขาไฟแบบน้ีจะเกดิ จากการระเบดิ อย่างรุนแรง

2. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น (Composite Cone Volcano) เป็นภูเขาไฟซ่ึงเกิดจากการ
สลับหมุนเวียนของช้ันลาวา และเศษหิน ภูเขาไฟชนิดน้ีอาจจะดันลาวาไหลออกมาเป็นเวลานาน
และจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประทุอย่างกะทันหัน ภูเขาไฟชนิดนี้ที่มีช่ือ เช่น ภูเขาไฟฟูจิ (ญ่ีปุ่น),
ภเู ขาไฟมายอน (ฟลิ ปิ ปนิ ส์) และ ภูเขาไฟเซนตเ์ ฮเลน (สหรัฐอเมรกิ า)

3. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ โดยพ้ืนฐานแล้วภูเขาไฟ
ชนิดน้ีเกิดจาก ลาวาชนิดบาซอลท์ทไ่ี หลด้วยความหนืดต่า ลาวาทีไ่ หลมาจากปล่องกลาง และไม่กอง
สูงชัน เหมือนภูเขาไฟชนิดกรวยสลับช้ัน ภูเขาไฟชนิดนี้มักจะเป็นภูเขาไฟท่ีใหญ่ เช่น ภูเขาไฟ
Mauna Loa (ฮาวาย)

4. กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone) ภูเขาไฟชนิดน้ีจะสูงชันมาก และเกิดจากลาวา
ที่พุ่งออกมาทับถมกัน ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะเป็นลาวาลูกกลมๆ
ที่พุ่งออกมาจากปล่องเด่ียว และทับถมกันบริเวณรอบปล่อง ทาให้ภูเขาไฟชนิดนี้ไม่ค่อยก่อให้เกิด
ความสญู เสียชวี ิตมากมาย

ภูเขาไฟมพี ลงั
ภูเขาไฟมีพลัง (active volcano) คอื ภูเขาไฟที่มกี ารระเบดิ คอ่ นข้างถี่ และอาจจะระเบิดอีก

โดยมีประวัติการระเบิดไม่เกิน 10,000 ปีท่ีผ่านมา ปัจจุบันน้ีทั่วโลกยังภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ประมาณ
1,300 ลูก เป็นภูเขาไฟที่เคยมีประวัติถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น จัดว่าเป็นภูเขาไฟยังมีพลังอยู่
เช่น ภูเขาไฟเอตนา(Mount Etna) ต้ังอยู่ในประเทศอิตาลีบนเกาะซิชิลี ห่างจากเมืองกาตาเนียเพียง
29 กิโลเมตร เป็นภูเขาไฟท่ียังไมด่ ับที่สูงท่ีสดุ ในทวีปยุโรป มีความสูง 3,323 เมตร วัดฐานโดยรอบได้
150 กโิ ลเมตร บนยอดมหี มิ ะปกคลุมปีละเก้าเดือน

การเกดิ ภูเขาไฟระเบดิ
ภูเขาไฟระเบิด เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีร้ายแรงอย่างหน่ึง การระเบิดของภูเขาไฟ แสดง

ให้เห็นว่าใต้เปลือกโลกลงไปมีความร้อนสะสมอยู่มาก ภูเขาไฟเกิดจากหินหนืดร้อน เหลว (แมกมา)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 22

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

ท่ีอยู่ในส่วนลึกใต้เปลือกโลก เคล่ือนตัวด้วยแรงดันออกมาสู่ผิวของเปลือกโลก ทาให้มีการ
เปล่ยี นแปลงทางกายภาพ และทางเคมภี ายในเปลอื กโลกข้นึ อตั ราความรุนแรง ของการระเบิดขน้ึ อยู่
กับความรุนแรงของการระเบิด ความดันของไอ และความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมาก ๆ อัตรา
ความรนุ แรงของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟระเบิด มใิ ชม่ ีแต่ลาวาที่ไหลออกมา
เท่าน้ัน ยังมีไอน้า ก๊าซ ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่าง ๆ ออกมาด้วย พวกไอน้าจะควบแน่นกลายเป็นน้า นาเอา
ฝุ่นละอองเถ้าต่าง ๆ ท่ีตกลงมาด้วยกันไหลบ่ากลายเป็นโคลนท่วมในบริเวณเชิงเขาต่าลงไป ย่ิงถ้า
ภูเขาไฟน้นั มีหิมะปกคลมุ อยู่ มนั จะละลายหมิ ะ นาโคลนมาเปน็ จานวนมากได้ ภูเขาไฟมักเกิดขน้ึ ตาม
แนวขอบของแผ่นเปลือกโลก ตามแนวเทือกเขาริมฝั่งมหาสมทุ รของทวีปต่าง ๆ รวมท้ังในบริเวณหมู่
เกาะในมหาสมุทร บริเวณรอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิกจะมีภูเขาไฟเป็นจานวนมากตามแนวขอบของ
มหาสมุทรแปซิฟิก จนถูกขนานนามว่าเป็น “วงแหวนแห่งไฟ” (Ring of Fire) นอกจากน้ีก็มีที่
มหาสมุทรอินเดียทางตอนเหนือและพบเพียงเล็กน้อยในทะเลแคริเบียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ
บนเกาะไอซแ์ ลนด์

ผลกระทบจากภูเขาไฟระเบิด
 แรงสั่นสะเทือนที่ส่ันมาก ทั้งการเกิดแผ่นดินไหวเตือน แผ่นดินไหวจริง และ

แผ่นดินไหวติดตาม ประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันเกิดความสูญเสียชีวิตและ
ทรพั ยส์ นิ

 การเคล่ือนท่ีของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่องภูเขาไฟเคลื่อนที่รวดเร็วถึง 50
กิโลเมตรต่อชว่ั โมง มนุษยแ์ ละสตั วอ์ าจหนีภยั ไม่ทันเกิดความสญู เสียอยา่ งใหญห่ ลวง

 เกิดเถ้าภูเขาไฟ ระเบิดขึ้นสู่บรรยากาศ ครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ภูเขาไฟ และลม
อาจพัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟระเบิดหลายพันกิโลเมตร เช่น ภูเขาไฟพินาตูโบระเบิดท่ีเกาะลู
ซอนประเทศฟิลิปปินส์ ฝุ่นภูเขาไฟยังตกทางจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดสงขลา
นราธิวาส และปัตตานี เกิดมลภาวะทางอากาศและแหล่งน้ากินน้าใช้ของประชาชน รวมทั้งฝุ่นภูเขา
ไฟได้ขึ้นไปถึงบรรยากาศขั้นสตราโตสเฟียร์ ใช้เวลานานหลายปี ฝุ่นเหล่านั้นถึงจะตกลงบนพ้ืนโลก
หมด

 เกิดคลื่นสึนามิ ขณะเกิดภูเขาไฟระเบิด โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องมหาสมุทร คลื่นน้ี
จะโถมเข้าหาฝั่งสงู กว่า 30,000 เมตร

 หลงั จากภเู ขาไฟระเบิด เถา้ ภูเขาไฟจะถลม่ ลงมา ทาใหพ้ ืน้ ทีใ่ กลเ้ คยี งถูกทาลาย

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 23

ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด
เหตุการณ์ภูเขาไฟระเบิดในพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก เช่น เม่ือเดือนพฤษภาคา 2557 ภูเขาไฟ
ซิงาบุง บนสุมาตรา ประเทศอินโดนิเซีย ดังรูป 7.15 ได้ปะทุพ่นตะกอนภูเขาไฟข้ึนปกคลุมท้องฟ้า
มีความสูงประมาณ 3 กิโลเมตร ตะกอนเถ้าถ่านได้ตกลงมาทับถมไหล่เขาเป็นพื้นท่ีกว้างไกลออกไป
ทางด้านตะวันตกถึง 4.5 กโิ ลเมตร ทาใหป้ ระชาชนบาดเจ็บและเสียชวี ิต

รปู ที่ 7.15 การปะทุของภเู ขาไฟชนิ าบงุ ประเทศอินโดนเิ ซีย
ท่ีมา : หนงั สือเรียนรายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หนา้ 86)

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
เมอ่ื เดือนมถิ ุนายน 2557 ภูเขาไฟคิลาเว บนเกาะฮาวายปะทุข้ึน ดงั รปู 7.16 ลาวาไหลจาก
ปากปล่องเป็นระยะทาง ประมาณ 1 กิโลเมตร ทาให้ชาวบ้านในหมู่บ้านปาเฮาต้องอพยพออกจากที่
อยู่อาศัย บ้านเรือนประชาชนเสียหาย 1 หลัง ลาวาจากการปะทุครั้งน้ันหยุดไหลเม่ือเดือนมีนาคม
2558 ประชาชนจงึ กลบั ไปยงั บา้ นเรือนและใชช้ วี ิตไดต้ ามปกติ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 24

ชดุ ที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

รปู ที่ 7.16 การไหลของลาวาจากภูเขาไฟคิลาเว บนเกาะฮาวาย
ทม่ี า : หนังสอื เรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 86)

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประโยชน์ของการเกิดภเู ขาไฟ

 แผ่นดนิ ขยายกว้างข้นึ หรือสงู ขึ้น
 เกดิ เกาะใหม่ภายหลังทีเ่ กิดการปะทุใต้ทะเล
 ดนิ ท่ีเกิดจากภเู ขาไฟระเบดิ จะอุดมสมบรู ณ์ด้วยแร่ธาตตุ ่างๆ
 เป็นแหลง่ เกดิ น้าพรุ ้อน
 การระเบิดของภูเขาไฟชว่ ยปรับระดับของเปลือกโลกให้อยูใ่ นภาวะสมดุล
 การเคล่ือนที่ของลาวาจากการระเบดิ ของภูเขาไฟ ทาใหห้ นิ อัคนีและหินชนั้ ซ่ึงอยใู่ ต้ท่ี
ลาวาไหลผ่าน เกิดการแปรสภาพเปน็ หินแปรที่แข็งแกรง่ ขึ้น
 แหลง่ ภูเขาไฟระเบิด ทาใหเ้ กิดแหลง่ แรท่ ่สี าคัญข้ึน เชน่ เพชร เหล็กและธาตุอ่ืน ๆ อีก
มากมาย
 แหลง่ ภเู ขาไฟระเบดิ จะเป็นแหล่งดินดที เี่ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู เช่น ดินที่อาเภอทา่
ใหม่ จังหวัดจันทบุรี เป็นต้น
 แหล่งภเู ขาไฟ เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวท่สี าคญั เช่น อุทยานแหง่ ชาติฮาวาย ในอเมรกิ า
หรอื แหล่งภกู ระโดง ภูอังคาร ในจังหวดั บรุ ีรมั ยข์ องไทย เป็นต้น

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 25

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

 ฝ่นุ เถา้ ภเู ขาไฟท่ลี ่องลอยอยู่ในชั้นสเตรโตสเฟยี ร์ ทาให้บรรยากาศโลกเยน็ ลง ปรับ
ระดบั อุณหภมู ขิ องบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี ร์ของโลกท่ีกาลังร้อนขน้ึ

ข้อควรปฏิบตั เิ ม่อื ภูเขาไฟเรม่ิ ปะทุ
1. ก่อนเกดิ เหตุ ควรสร้างช่องทางติดต่อส่ือสารฉุกเฉิน ตกลงกันในครอบครัววา่ จะติดต่อกัน

อยา่ งไรดว้ ยวธิ ีไหน ถ้าเกิดเหตุการณฉ์ ุกเฉนิ จะไปเจอกนั ทไี่ หน
2. ติดตามข่าวสารจากทางราชการและเมื่อทางการสั่งอพยพให้อพยพออกจากพื้นท่ีทันที

อาจไปรวมตวั กันท่ีสถานท่ีหลบภัยทันที
3. ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารส่ิงก่อสร้างเพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหวหรือเถ้าภูเขาไฟ

ได้
4. เตรียมอุปกรณ์ยังชีพใหพ้ ร้อม
 ไฟฉาย และ ถ่านที่ใช้งานได้
 ยาสามัญประจาบ้าน และ ต้องรวู้ ิธีใช้
 นา้ อาหารแห้ง หรืออาหารที่สามารถใชก้ นิ ได้ยามฉุกเฉิน
 หน้ากากกนั ฝนุ่ หรือหนา้ กากอนามัยและแวน่ ตาเพื่อปอ้ งกนั เถ้าของภเู ขาไฟ
 เสอื้ แขนยาว และ กางเกงขายาว
 วิทยทุ ฟี่ ัง AM-FM ได้

ประโยชนแ์ ละโทษของภเู ขาไฟ
ภูเขาไฟระเบิดใกล้ชุมชนทาให้เกิดมหันตภัยครั้งย่ิงใหญ่ แผ่นดินไหวทาให้อาคารพังพินาศ

ถนนขาด และไฟไหม้เน่ืองจากท่อแก๊สถูกทาลาย ธารลาวา กรวดและเถ้าภูเขาไฟที่ไหลลงมา
(Pyroclastic flow) สามารถทับถมหมู่บ้านและเมืองท่ีอยู่รอบข้าง ถ้าภูเขาไฟอยู่ชายทะเล
แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวจะทาให้เกิดคล่นื สนึ ามิขนาดยักษ์กระจายตัวออกไปได้ไกลหลายร้อย
กิโลเมตร ฝนุ่ และเถา้ ภเู ขาไฟสามารถปลวิ ไปตามกระแสลมเป็นอปุ สรรคตอ่ การจราจรทางอากาศ แต่
อย่างไรก็ตามภูเขาไฟระเบิดหนึ่งเป็นส่วนหน่ึงของวัฏจักรธรณีแปรสัณฐาน ซ่ึงหมุนเวียนธาตุอาหาร
ให้แก่ผิวโลก ดินที่เกิดจากการสลายตัวของหินภูเขาไฟ มีความอุดมสมบูรณ์สูงใช้ปลูกพืชพรรณได้
งอกงาม แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งปล่อยออกมาจากปลอ่ งภูเขาไฟ ทาให้พืชสามารถสังเคราะหธ์ าตุ
อาหารด้วยแสง แมกมาใต้เปลือกนาแร่ธาตุและอัญมณีท่ีหายาก เช่น เพชร พลอย ข้ึนมา เป็นต้น
และด้วยเหตทุ ีภ่ ูเขาไฟนามาซึ่งความม่งั คัง่ อุดมสมบรู ณ์ ดังนน้ั ชมุ ชนจึงมักต้ังอยทู่ ี่เชิงภูเขาไฟ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 26

ชุดท่ี 7 ภูเขาไฟระเบิด

รปู ท่ี 7.17 กรวดและเถ้าภูเขาไฟ (Pyroclastic flow)
ท่ีมา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/volcano
ภเู ขาไฟในประเทศไทย

 ภูเขาไฟดอยผาคอกจาปา่ แดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จงั หวดั ลาปาง
 ภเู ขาพระองั คาร ตาบลเจริญสุข อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั บุรรี ัมย์
 ภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทยั
 ภเู ขาพนมสวาย (วนอุทยานแหง่ ชาติพนมสวาย) จังหวดั สรุ นิ ทร์
 ภเู ขาพนมร้งุ จังหวดั บุรรี มั ย์
 เขากระโดง จังหวดั บุรีรมั ย์
 เขาทา่ เพชร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ภูเขาไฟในประเทศไทยเป็นภูเขาไฟท่ีดับสนิทและเกิดการผุพังไปบางส่วน แต่ยังมีหลักฐาน
ร่องรอยให้เห็นว่าเปน็ ปากปล่องภูเขาไฟ เช่น เขากระโดง และเขาพนมรุ้ง จังหวดั บุรรี ัมย์ นอกจากนี้
โครงสร้างท่เี กดิ จากการแข็งตัวของลาวากลายเป็นเสาหิน เช่น เสาหินที่วัดแสนตุ่ม จังหวดั ตราด เสา
หินบะซอลต์ จังหวัดบุรีรัมย์ เสาหินท่ีม่อนหินกอง จังหวัดแพร่ มีลักษณะภูมิทัศน์ที่น่าสนใจจึงทาให้
กลายเป็นแหลง่ ท่องเที่ยว

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 27

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

รูปที่ 7.18 อญั มณีท่เี จียระไนจากพลอยดิบทถ่ี ูกหนิ บะซอลต์พาข้ึนมา
ที่มา : หนังสือเรยี นรายวิชาเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 94)

สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

รปู ที่ 7.19 เสาหินบะซอลต์ อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวดั บรุ ีรมั ย์
ทีม่ า : หนังสอื เรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 94)

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 28

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

บตั รกิจกรรมที่ 7.1
เรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ของตาแหนง่ การเกดิ ภเู ขาไฟบนแผ่นธรณี

จดุ ประสงค์กิจกรรม
1. วิเคราะหแ์ ละระบุตาแหน่งภูเขาไฟบนแผน่ ธรณี
2. ระบแุ ละอธบิ ายประเภทแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีทส่ี มั พนั ธก์ ับตาแหน่งภูเขาไฟ

วสั ดุ-อุปกรณ์
1. แผนท่ตี าแหน่งภูเขาไฟ
2. แผนทแี่ สดงประเภทแนวรอยต่อและลกั ษณะการเคล่อื นของแผ่นธรณี

แผนท่ีตาแหน่งภเู ขาไฟ
วิธกี ารทากิจกรรม

1. พิจารณาแผนท่ีแสดงตาแหน่งของภูเขาไฟ ดังรูป 1 ตามชื่อภูเขาไฟท่ีกาหนดในตาราง
แล้วระบุตาแหน่งภูเขาไฟลงบนแผนท่ีแสดงประเภทแนวรอยต่อ และลักษณะการ
เคล่อื นท่ขี องแผน่ ธรณี ดงั รปู 2
โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 29

ชุดท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบิด

2. วิเคราะห์ข้อมูลจากความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งของภูเขาไฟบนแผ่นธรณีพร้อมชื่อ
แผน่ ธรณที ่ีเกีย่ วขอ้ ง ลงในตารางบันทึกผล สรปุ และนาเสนอผลการทากจิ กรรม

3. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการท่ีทาให้เกิดภูเขาไฟ ณ บริเวณรอยต่อของแผ่น
ธรณี

ตารางบันทกึ ผล

ประเภทแนวรอยต่อ
ของแผ่นธรณี

ภูเขาไฟท่พี บ ตาแหน่งบนแผน่ ธรณี เค ่ืลอนท่ีเ ้ขา
หา ักน
เค ่ืลอนท่ี

แยกจากกัน
เค ่ืลอนท่ี
ผ่าน ักน

ภูเขาไฟกรากะตวั  อยู่บนแผ่นธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศอนิ โดนีเซีย ……………………………. ธรณี………………………

และ………………..…….

ภเู ขาไฟพินาตโู บ  อยบู่ นแผ่นธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ ……………………………. ธรณี………………………

และ………………..…….

ภเู ขาไฟฟูจิ  อย่บู นแผ่นธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศญ่ีปุ่น ……………………………. ธรณี………………………

และ………………..…….

ภเู ขาไฟคารมิ สกี  อยบู่ นแผ่นธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศรัสเซีย ……………………………. ธรณี………………………

และ………………..…….

ภเู ขาไฟพาฟลอฟ  อย่บู นแผน่ ธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศ ……………………………. ธรณี………………………

สหรัฐอเมริกา และ………………..…….

ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน  อยบู่ นแผน่ ธรณี  รอยต่อของแผ่น

ประเทศ ……………………………. ธรณี………………………

สหรฐั อเมริกา และ………………..…….

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 30

ภเู ขาไฟท่ีพบ ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

ประเภทแนวรอยต่อ
ของแผ่นธรณี

ตาแหน่งบนแผ่นธรณี เค ่ืลอนท่ีเ ้ขา
หา ักน
เค ่ืลอนท่ี

แยกจากกัน
เค ่ืลอนท่ี
ผ่าน ักน

ภูเขาไฟ  อยบู่ นแผน่ ธรณี  รอยต่อของแผ่น
เยลโลว สโตน ……………………………. ธรณี………………………
และ………………..…….
ประเทศ  อยู่บนแผน่ ธรณี
สหรัฐอเมริกา …………………………….  รอยต่อของแผ่น
ภเู ขาไฟคลิ าเว ธรณี………………………
เกาะฮาวาย  อย่บู นแผ่นธรณี และ………………..…….
…………………………….
ประเทศ  รอยต่อของแผ่น
สหรัฐอเมริกา  อยบู่ นแผน่ ธรณี ธรณี………………………
ภูเขาไฟโกลิมา ……………………………. และ………………..…….
ประเทศเม็กซโิ ก  รอยต่อของแผ่น
 อยบู่ นแผ่นธรณี ธรณี………………………
ภเู ขาไฟคลั บโู ก ……………………………. และ………………..…….
ประเทศชิลี  รอยต่อของแผ่น
 อยู่บนแผ่นธรณี ธรณี………………………
ภเู ขาไฟเฮกลา ……………………………. และ………………..…….
ประเทศไอซแ์ ลนด์  รอยต่อของแผ่น
 อยู่บนแผ่นธรณี ธรณี………………………
ภเู ขาไฟเอตนา ……………………………. และ………………..…….
ประเทศอติ าลี  รอยต่อของแผ่น
 อยู่บนแผ่นธรณี ธรณี………………………
ภเู ขาไฟแคเมอรูน ……………………………. และ………………..…….
ประเทศแคเมอรนู  รอยต่อของแผ่น
ธรณี………………………
ภูเขาไฟ และ………………..…….
เออรต์ าอัลเล
ประเทศเอธิโอเปีย

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 31

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

ผลการทากิจกรรม

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 32

ชดุ ท่ี 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

สรปุ ผลการทากจิ กรรม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................. .................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

คาถามท้ายทากิจกรรม
1. ตาแหน่งใดบา้ งของแผน่ ธรณีท่พี บภูเขาไฟ และพบภูเขาไฟหนาแนน่ ที่ตาแหนง่ ใด

..............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. พบภูเขาไฟท่ีแนวรอยต่อของแผน่ ธรณที ง้ั 3 รปู แบบหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. แนวรอยต่อที่พบภเู ขาไฟหนาแน่นมีกระบวนการทางธรณใี ดเกิดขน้ึ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................... ....................
..............................................................................................................................................................

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 33

ชดุ ที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

บตั รกิจกรรมที่ 7.2
แผนผังมโนทัศน์ เร่ือง ภเู ขาไฟระเบดิ

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “ภูเขาไฟระเบิด” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept
Mapping) ในกระดาษทีแ่ จกให้แล้วนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 34

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

บัตรกจิ กรรมท่ี 7.3
ถอดบทเรียน เร่อื ง ภเู ขาไฟระเบิด

คาช้ีแจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เก่ียวกับ “ภูเขาไฟระเบิด” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งเป็น ในกระดาษชาร์ตท่ีกาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปตดิ ป้ายนเิ ทศหน้าชนั้ เรียน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 35

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบิด

แบบฝกึ หัด
เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด

1. ภเู ขาไฟแต่ละแห่งมลี ักษณะเหมอื นกันหรือไม่
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. ภูเขาไฟทอี่ ยูบ่ รเิ วณแนวรอยต่อของแผ่นธรณแี ละอยู่ในแผ่นธรณี มลี กั ษณะเฉพาะ อะไรบ้าง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. สิง่ ทีป่ ะทุออกมาจากภเู ขาไฟท่ีอยู่บรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณแี ละอยู่ในแผ่นธรณี
เหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร

..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 36

ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

4. ปจั จยั ในการปะทุของภูเขาไฟได้แก่อะไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

5. นอกจากการเกิดภูเขาไฟระเบดิ จะเกดิ ความเสยี หายแล้ว นักเรยี นคิดวา่ ภูเขาไฟระเบิด ส่งผลดี
อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .......................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 37

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

แบบทดสอบหลังเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
เร่ือง ภเู ขาไฟระเบิด
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวชิ า ว30104

คาช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องที่สดุ แล้วเขียนเครอื่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. ภเู ขาไฟ เกิดจากสาเหตใุ ด
ก. เปลอื กโลกส่วนลา่ งขยายตวั ไดเ้ รว็ กวา่ เปลือกโลกส่วนบน
ข. รอยแตกในชนั้ หินแยกตัวออกจากกนั ทาใหห้ นิ หนืดดันขึ้นมา
ค. แผ่นเปลอื กโลกเคล่ือนที่ตามแนวระดบั เกดิ การกระทบกระแทก
ง. หนิ หนดื ใตเ้ ปลือกโลกถูกแรงอัดทาใหแ้ ทรกรอยแตกขน้ึ ส่ผู ิวโลก โดยมีแรงประทุเกดิ ขึ้น

2. เพราะเหตใุ ด ก่อนภเู ขาไฟระเบดิ มักจะเกิดแผ่นดนิ ไหว
ก. การขยายตัวของหินหนืดแต่ละชั้นตา่ งกนั
ข. เกิดคลนื่ ลมในทะเลท่ีมีแรงดันมาก
ค. การปรับตัวของหนิ หนืดกับชั้นหนิ
ง. หนิ หนืดทีม่ ีแรงดนั สงู เคล่อื นตัว

3. จากคากล่าว ภูเขาไฟมพี ลัง มคี วามหมายตรงกบั ข้อใด
ก. ภเู ขาไฟทเี่ กิดขน้ึ มานานมาก
ข. ภเู ขาไฟท่ีมกี ารระเบิดค่อนข้างถ่ี
ค. ภูเขาไฟมีการระเบิดอย่างรุนแรง
ง. ภเู ขาไฟที่กาลังก่อตัวแตย่ ังไม่มกี ารระเบดิ

4. เมอ่ื ภเู ขาไฟระเบดิ ขน้ึ ของเหลวทีไ่ หลออกมาจากเปลือกโลกช้ันใด
ก. ชั้นแมนเทิล
ข. ช้ันแกน่ โลก
ค. เปลอื กโลกชั้นบน
ง. เปลือกโลกช้ันลา่ ง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 38

ชุดที่ 7 ภเู ขาไฟระเบดิ

5. ขอ้ ใดไมใ่ ชส่ งิ่ ท่ีเกดิ ขนึ้ เมือ่ เกดิ ภเู ขาไฟระเบิด
ก. แผน่ ดินไหว
ข. ทกุ ข้อเปน็ ส่ิงทเี่ กดิ ขึน้ เมื่อเกดิ ภเู ขาไฟ
ค. แมกมาไหลออกมาเปน็ ลาวาและลาวาจะกลายเป็นหิน
ง. ไอน้า ฝุ่นละออง เศษหิน ก๊าซต่าง ๆ รวมทั้งกา๊ ซพิษ เชน่ CO และ S2O

6. บรเิ วณใดที่มกั เกดิ แผน่ ดนิ ไหวและภูเขาไฟระเบิดมากทีส่ ุด
ก. บริเวณภเู ขาสงู
ข. สามารถเกดิ ไดท้ ุกท่ี
ค. บรเิ วณใตม้ หาสมทุ รเท่านัน้
ง. บริเวณรอยต่อระหวา่ งแผ่นเปลือกโลก

7. ปรากฏการณใ์ ดทท่ี าใหน้ ักวิทยาศาสตรท์ ราบวา่ ภายในโลกยังรอ้ นระอุ
ก. เกิดลมพายุ
ข. แผน่ ดนิ ไหว
ค. ภเู ขาไฟระเบิด
ง. ดนิ แตกระแหง

8. ข้อใดเปน็ แนวทางทีถ่ ูกต้องในการปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัยจากภเู ขาไฟระเบิด
ก. ปดิ วิทยุและโทรทัศนเ์ พ่ือปอ้ งกันไม่ใหเ้ กิดไฟฟ้าร่ัว
ข. ใสห่ นา้ กากอนามยั เพื่อปอ้ งกันเถ้าภูเขาไฟ
ค. ควรเกบ็ เคร่ืองมือส่ือสารไวภ้ ายในอาคาร
ง. ควรหลบอยู่ในส่งิ ก่อสรา้ ง

9. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชน์ท่เี กดิ จากการระเบิดของภูเขาไฟ
ก. เป็นแหลง่ เกิดนา้ พรุ อ้ น
ข. ทาให้เกิดทร่ี าบสูงต่างๆ
ค. ทาให้เกดิ ภาวะเรือนกระจก
ง. ทาให้เกดิ ดนิ ที่เหมาะแก่การเพาะปลูก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 39

ชดุ ที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ
10. เหตุใดบริเวณแผน่ เปลอื กโลกใตม้ หาสมทุ รมุดตัวใตเ้ ปลอื กโลกส่วนทเี่ ป็นทวปี จึงเกิดภูเขา
ไฟงา่ ยกว่าบริเวณอืน่ ๆ

ก. เพราะหินหนืดใต้เปลอื กโลกแทรกตัวขึ้นมาไดง้ า่ ยกวา่
ข. เพราะบริเวณดงั กลา่ วเกิดการกระทบกระแทกกนั ได้งา่ ยทาใหเ้ ปลือกโลกขยายตัวไม่

สมา่ เสมอ
ค. เพราะเปลือกโลกสว่ นท่มี ุดตวั ลงไปจะหลอมเหลวเป็นหินหนืดทมี่ อี ุณหภมู แิ ละแรงดนั

สูงมาก
ง. ไม่มีขอ้ ถูก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 40

ชุดที่ 7 ภูเขาไฟระเบดิ

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

ชดุ ท่ี 7 ภูเขาไฟระเบดิ

แบบทดสอบก่อนเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ข้อ ก ข ค ขอ้ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 41


Click to View FlipBook Version