แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-51
5. ผลกระทบ เป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลความหมายของข่าวสารโดยใช้กรอบอ้างอิง ได้แก่
มสธความรู้สึก ความเช่ือ ปทัสถาน ความรู้ ความสามารถ บุคลิกลักษณะส่วนตัว และความเหมือนหรือความ
คล้ายคลึงกัน (homophily) และความแตกต่างกัน (heterophily) ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร เช่น เพศ
อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ถิ่นที่อยู่อาศัย ความเช่ือ ค่านิยม ฯลฯ รวมท้ัง
อุดมการณ์ของผู้รับสาร ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการรับรู้ เรียนรู้ และประสบการณ์ทั้งมวลท่ีส่ังสมมาตั้งแต่เกิด
มสธ มสธมผี ลตอ่ การแปลความหมายของผรู้ บั สารในสารของผสู้ ง่ สารทเ่ี ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เกดิ ความนา่ เชอื่ ถอื
ไว้เนื้อเช่ือใจ รู้สึกหวาดระแวงไม่ไว้วางใจรวมถึงการประสบความส�ำเร็จหรือล้มเหลวได้
6. ผลย้อนกลับ เป็นการย้อนกลับของการไหลของข่าวสารในตัวสารที่ท�ำให้ผู้ส่งสารกลายมาเป็น
ผู้รับสาร ซ่ึงก่อประโยชน์ในการส่ือสารได้ 2 ประการ ส�ำคัญ คือ
1) ท�ำให้ผู้ส่งสารสามารถทราบและรับรู้ได้ว่าการส่ือสารในคร้ังนั้นประสบผลส�ำเร็จหรือไม่
มากน้อยเพียงใด
มสธ2) ท�ำให้ผู้ส่งสารสามารถน�ำผลย้อนกลับดังกล่าวมาปรับปรุงหรือพัฒนาการส่ือสารในคร้ัง
ต่อไปให้ประสบผลส�ำเร็จมากยิ่งขึ้นไปอีก
ส�ำหรบั ปฏกิ ริ ยิ าของผลยอ้ นกลบั นี้แสดงออกใหเ้ หน็ ไดท้ ั้งในทางบวก เชน่ ได้รบั คำ� กลา่ วแสดงความ
ชื่นชม น�ำไปเป็นตัวอย่างเพ่ือปฏิบัติให้เกิดผลส�ำเร็จตาม การมอบรางวัล หรือแม้เพียงแค่เสียงปรบมือก็ตาม
มสธ มสธเป็นต้น
นอกจากน้ี ยังแสดงให้เห็นได้ในทางลบอีก คือ การพูดจาดูถูกเหยียดหยาม เดินออกจากท่ีประชุม
ส่งเสียงอึกทึกครึกโครม ฯลฯ
ยิ่งไปกว่าน้ัน ยังสามารถแสดงได้ในลักษณะท่ีไม่ใช่ภาษาพูดหรือภาษาเขียน ดังยกตัวอย่างมาแล้ว
ข้างต้นในย่อหน้าทั้งสองที่เพิ่งผ่านสายตาท่านผู้อ่านมา รวมทั้งยังแสดงออกในลักษณะภาษาพูด ภาษาเขียน
ได้อีก เช่น การพูดชมเชย การเขียนจดหมายแสดงความคิดเห็นคล้อยตาม เป็นต้น
มสธหลงั จากศึกษาเนอื้ หาสาระเร่อื งที่ 8.2.2 แลว้ โปรดปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 8.2.2
มสธ มสธ มสธในแนวการศึกษาหนว่ ยท่ี8ตอนที่8.2เร่ืองที่8.2.2
8-52 การวิเคราะห์การเมือง
มสธตอนที่ 8.3
ผลกระทบและแนวโน้มการส่ือสารทางการเมือง
มสธ มสธโปรดอ่านแผนการสอนประจำ� ตอนที่ 8.3 แล้วจงึ ศกึ ษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบตั ิกจิ กรรมในแตล่ ะเร่อื ง
หัวเรอ่ื ง
เร่ืองที่ 8.3.1 ผลกระทบของการสื่อสารทางการเมือง
เรื่องท่ี 8.3.2 แนวโน้มของการสื่อสารทางการเมือง
มสธแนวคดิ
1. ความกา้ วหนา้ ของวทิ ยาการการสอื่ สารไดพ้ ฒั นาจนกระทง่ั ถงึ ยคุ แหง่ การปฏวิ ตั กิ ารสอ่ื สาร
เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคปัจจุบันน้ันท�ำให้อุปสรรคด้านเวลาและระยะทาง กลายเป็น
เรื่องท่ีไร้ความหมาย
2. ในอดีตท่ีผ่านมาขอบเขตความชัดเจนของแนวคิดและองค์ความรู้ทางด้านการสื่อสาร
มสธ มสธทางการเมือง เคยจ�ำกัดตัวอยู่แต่เฉพาะในประเด็นเรื่องกระแสการไหลเวียนของข้อมูล
และขา่ วสาร ซง่ึ สว่ นใหญม่ กั ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากผลงานของสำ� นกั คดิ ทฤษฎจี กั รวรรดนิ ยิ ม
ทางวัฒนธรรม
วตั ถุประสงค์
เม่ือศึกษาตอนที่ 8.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
มสธ1. อธิบายและวิเคราะห์ผลกระทบของการสื่อสารทางการเมืองได้
มสธ มสธ มสธ2. อธิบายและวิเคราะห์แนวโน้มของการส่ือสารทางการเมืองได้
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-53
มสธเร่อื งที่ 8.3.1 ผลกระทบของการสอื่ สารทางการเมือง
ความก้าวหน้าของวิทยาการการส่ือสารได้พัฒนาจนกระทั่งถึงยุคแห่งการปฏิวัติการส่ือสาร
มสธ มสธเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคปัจจุบันนั้นท�ำให้อุปสรรคด้านเวลาและระยะทาง กลายเป็นเรื่องท่ีไร้ความหมาย
การมีโทรศัพท์ท�ำให้เราสามารถที่จะติดต่อส่ือสารกับบุคคลท่ีอยู่ห่างไกลได้ตลอดเวลา ระบบโทรทัศน์ท�ำให้
เราเห็นและได้ยินเรื่องราวท่ีอยู่ไกลตัวภายในเวลาอันรวดเร็วย่ิงข้ึน การเกิดข้ึนของการถ่ายทอดรายการสด
ผ่านดาวเทียมท�ำให้คนที่อยู่ห่างไกลจากเหตุการณ์นับเป็นหม่ืน ๆ ไมล์ได้เห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา
จริงอย่างแทบไม่น่าเช่ือ อาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีการสื่อสารนั้นเข้ามาช่วยขยายประสบการณ์ด้านการรับ
สัมผัสของมนุษย์ให้กว้างขวางออกไป64
มสธความก้าวหน้าเหล่านี้น�ำมาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงท้ังในศักยภาพและพลังอ�ำนาจอิทธิพลของสื่อ แม้
กระท่ังพรมแดน กองทัพและอ�ำนาจอธิปไตยของแต่ละรัฐไม่สามารถเป็นก�ำแพงขวางก้ันได้ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งความก้าวหน้าของการส่ือสารผ่านทางคล่ืนอากาศ (airwave) และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า (electro-
magnetic) เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงสู่ผู้ชม การเดินทางของข้อมูลข่าวสาร
มสธ มสธสามารถเคล่ือนที่ได้อย่างรวดเร็วจนก่อให้เกิดความจริงฉับพลันที่สัมผัสได้ (virtual reality) หรือเกิดเป็น
ชุมชนเสมือนจริง (virtual community) ก่อให้เกิดพื้นท่ีซึ่งไม่มีตัวตน (space without place)65
อทิ ธพิ ลของการสอื่ สารโทรคมนาคมทมี่ คี วามสะดวกตดิ ตอ่ กนั งา่ ยขนึ้ เชน่ น้ี ทำ� ใหก้ ระแส “โลกาภวิ ตั น”์
และ “การเปิดเสรี” ได้ขยายวงกว้างทั่วโลก ส่งผลให้การรับรู้ข่าวสารมีความรวดเร็ว และมีลักษณะ
คล้ายคลึงกัน หรือเกิดเป็นลักษณะ “หมู่บ้านโลก” (global village) กระแสดังกล่าวเกิดจากการส่งผ่าน
วาทกรรมความคิด “ลัทธิเสรีนิยมใหม่” (Neo-Liberalism) ทางสื่อทันสมัยในยุคโลกาภิวัตน์จากประเทศ
มสธตะวันตก และถูกผลักดันโดยบรรษัทข้ามชาติซึ่งเป็นตัวแสดงที่มีความส�ำคัญในยุคโลกาภิวัตน์ในรูปของ
แนวคดิ ทฤษฎี ดว้ ยการสนบั สนนุ ใหร้ ฐั บาลประเทศพฒั นาแลว้ ซงึ่ มสี หรฐั อเมรกิ าเปน็ แกนนำ� ดำ� เนนิ การผลกั ดนั
กระแสความคิดโลกไร้พรมแดนข้ึนมาเป็นหลักการพัฒนาประเทศ ผ่านการประโคมทางสื่อว่าทิศทางนี้
จะสร้างความเจริญและความเสมอภาคให้แก่ประเทศต่าง ๆ ภายใต้กรอบการแข่งขันอย่างเสรี เป้าหมาย
ของลัทธิเสรีนิยมใหม่ จะประกอบด้วย
มสธ มสธลัทธิเสรีนิยมใหม่ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การลงทุนข้ามชาติ การเปิดเสรีทางการเงิน การค้าเสรีและ
ตลาดเสรี
64 Marshall, McLuhan, and Stevenson, Nich. (1998). Understanding Media Culture. London: Sage
Publication. p. 101.
มสธ65 ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2541). ประชารัฐกับการเปล่ียนแปลง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา. น. 3.
8-54 การวิเคราะห์การเมือง
ส่วนลัทธิเสรีนิยมใหม่ทางการเมือง ได้แก่ การท�ำให้เป็นประชาธิปไตย (Democratization)
มสธธรรมาภิบาล (Good Governance) และการแปรรูปบริการของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจให้เป็นธุรกิจเอกชน
(Privatization) เพ่ือให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ยอมรับและปฏิบัติตาม
ขณะทล่ี ัทธิเสรนี ิยมใหมท่ างสงั คมและวฒั นธรรม ไดแ้ ก่ การสร้างวัฒนธรรมโลก (Global Culture)
ท่ีหล่อหลอมคนทั้งโลกให้มีวัฒนธรรมเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งทางด้านการอุปโภค บริโภค และการด�ำเนินชีวิต
มสธ มสธประจ�ำวัน เช่น การบริโภคอาหารขยะ การชมภาพยนตร์ฮอลีวูด หรือชมการถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาจาก
ต่างประเทศ การฟังดนตรีทางเลือก ดนตรีร่วมสมัย จนกระท่ังกลายเป็น “วฒั นธรรมประชา” (pop culture)
ทถี่ กู สรา้ งขนึ้ จากมวลประชามหาชนจำ� นวนมากทว่ั โลกใหเ้ ปน็ แบบเดยี วกนั มากกวา่ ทจ่ี ะถกู สรา้ งโดย “รฐั ชาต”ิ
ดังเช่นในอดีต หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัฒนธรรม Mc World น่ันเอง
ในอนาคต แนวความคิดเร่ืองหมู่บ้านโลก (Global Village) หรือโลกไร้พรมแดน ก�ำลังได้รับ
การขานรับจากบรรษัททุนข้ามชาติขนาดใหญ่ มีความพยายามจะผลักดันและสนับสนุนให้บังเกิดข้ึนจริง
มสธโดยวิธีการรวมศูนย์อ�ำนาจทางเศรษฐกิจการเมือง และสร้างเครือข่ายอ�ำนาจทุนข้ามชาติที่พัฒนาสู่ระบบ
เผด็จการรปู แบบใหม่การปกครอง น่ันคอื จกั รวรรดิทนุ นยิ มช้ันสงู สดุ อนั ประกอบด้วย เครอื ข่ายทุนข้ามชาติ
ท่ีผสานเข้ากับทุนในชาติต่าง ๆ โดยมีศูนย์บัญชาการส�ำคัญอยู่ที่ย่านธุรกิจวอลล์ สตรีท ของสหรัฐอเมริกา
นั่นเอง
มสธ มสธการมีอิทธิพลเหนือเครือข่ายสารสนเทศในโลกแห่งข้อมูลข่าวสารดังเช่นปัจจุบัน มีส่วนส�ำคัญท่ีจะ
ช่วยในการได้มาและรักษาอ�ำนาจทางการเมืองไว้ การพัฒนาองค์กรทางการเมืองในระบบทุนนิยมสมัยใหม่
ทำ� ใหอ้ ำ� นาจการเมอื งเขา้ ไปโยงใยกบั ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ มากยงิ่ ขนึ้ การชงิ ชยั ทางการเมอื งดว้ ยการหาเสยี ง
เชงิ ประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งในอดตี เรมิ่ เบย่ี งเบนไปสู่ “การหาเสยี งในเชงิ การโฆษณาและใชก้ ารสอื่ สารการตลาด”
เพ่ือรักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของกลุ่มมาแทนที่ การหาเสียงด้วยการลงทุนจึงขยายตัวออกไปเป็น
ลักษณะธุรกิจการเมือง และใช้กลอุบายคล้ายคลึงกับการโฆษณาทางธุรกิจ ผู้สมัครรับเลือกต้ังจึงไม่ได้
มสธแตกต่างไปจากสินค้าท่ีถูกน�ำมาเสนอขายด้วยย่ีห้อ โดยพรรคการเมืองเป็นเสมือนบริษัทธุรกิจที่ต้องวางแผน
ทางการตลาดเพ่ือรักษาตลาดของการเลือกตั้งไว้ ดังน้ันการหาเสียงจึงมีลักษณะเด่นเช่นเดียวกับแบบแผน
การโฆษณาผบู้ รโิ ภค ตวั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ โดยตรงในฐานะผบู้ รโิ ภคเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจและยอมรบั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้
(สนิ คา้ ) ภาพลักษณข์ องพรรคการเมือง (ย่ีหอ้ ) และกิจกรรมซง่ึ เปน็ ผลงานทผี่ ่านมารวมทง้ั กจิ กรรมในอนาคต
หลังจากได้รับเลือกตั้งแล้ว66
มสธ มสธเทคโนโลยกี ารส่ือสารทีม่ กี ารพัฒนากา้ วหน้าไปไมห่ ยุดย้งั นนั้ มีความสมั พันธ์กับอ�ำนาจดา้ นการเมือง
และการปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมอยา่ งใกลช้ ดิ และเมอื่ มกี ารปฏวิ ตั ดิ า้ นเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารแบบใหม่ ๆ
ข้ึนจะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงในลักษณะใหม่ ๆ ตามมา67 ทั้งนี้สามารถอธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว
ได้โดยใช้ทฤษฎีเทคโนโลยีเป็นตัวก�ำหนด (technology determinism) เป็นกรอบในการอธิบายได้ดัง
ต่อไปนี้
66 สุรพงษ์ โสธนเสถียร. (2534). อ้างแล้ว. น. 268-269.
มสธ67 McQual, D. (1995). Mass Communication Theory (3rd ed.). London: Sage Publication. p. 121.
เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการส่ือสารที่ถือได้ว่าแนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-55
มสธเป็นผลมาจากการปฏิวัติครั้งที่สี่ คือการปฏิวัติระบบอิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล อันอาจมีผลท�ำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงบางประการในสังคม ซึ่งการเปล่ียนแปลงนี้จะมีผลต่อการพัฒนาทางด้านการเมืองในทาง
ตรงอันจะส่งผลไปถึงการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป ในท้ายท่ีสุดการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคมน้ันก็อาจก่อให้เกิดผลต่อการพัฒนาการเมืองในทางอ้อม และน�ำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี
มสธ มสธการส่ือสารได้อีกครั้งหนึ่งโดยสามารถสรุปให้อยู่ในรูปของตัวแบบได้ดังน้ี
มสธการส่ือสารส่ืออิเล็กทรอนิกส์พัฒนาการทางพัฒนาการ
เศรษฐกิจ และสังคม ทางการเมือง
สองทาง
มสธ มสธภาพท่ี 8.8 ตัวแบบการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยกี ารสอื่ สารซึง่ มผี ลกระทบความรู้
ตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมทัศนคติ ค่านิยม ความเช่ือ
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ผลกระทบดังกล่าว อาจพิจารณาได้จากจุดเปลี่ยนด้านความรู้ข่าวสารท่ีส�ำคัญ 2 ช่วง ซึ่งก่อให้เกิด
การเคลื่อนไหวท้ังในแง่ท่ีเปิดเผยและในแง่ท่ีซ่อนเร้นของบรรษัททุนข้ามชาติขนาดใหญ่ซึ่งสนับสนุนการเปิด
พรมแดนประเทศต่าง ๆ ด้วยการกล่าวอ้างเหตุผลหลายประการอย่างต่อเน่ือง รวมทั้งการรวมตัวของบรรษัท
มสธทุนขนาดใหญ่ด้านการส่ือสาร การเงิน อุตสาหกรรม และพลังงานในสหรัฐอเมริกาเป็นเครือข่ายผลประโยชน์
ร่วมกัน
ประการแรก ความคิดชี้น�ำของนักวิชาการชั้นน�ำของสหรัฐอเมริกาคือ อัลวิน ทอฟฟ์เลอร์ (Alvin
Toffer) ซ่ึงน�ำเสนองานเขียนเร่ือง คลื่นลูกท่ีสาม (The Third Wave) ใน ค.ศ. 1980 ผลงานชิ้นส�ำคัญของ
เขาได้รับการเผยแพร่ไปท่ัวโลก ด้วยการพิมพ์เป็นภาษาต่างๆ มากมาย จุดเด่นของหนังสือเล่มน้ีล้วนตอบ
มสธ มสธสนองผลประโยชนข์ องระบบทนุ นยิ มโดยตรง กระทั่งผบู้ รหิ ารและเจา้ ของบรรษัทตา่ ง ๆ ในสหรัฐอเมรกิ าและ
ท่ัวโลกต่างออกมาสนับสนุนแนวความคิดน้ีกันอย่างกว้างขวาง แม้แต่นักวิชาการก็ขานรับจินตภาพโลก
ไร้พรมแดนว่า โลกก�ำลังพัฒนาก้าวไปสู่หมู่บ้านโลก ท่ีสร้างสรรค์อารยธรรมสูงสุดของมนุษย์ชาติ โดยอาศัย
เทคโนโลยีการสื่อสารดาวเทียม อินเทอร์เน็ตและระบบสารสนเทศท่ีรวดเร็ว
บรรดาธุรกิจขนาดใหญ่ของประเทศพัฒนาแล้วต่างหยิบฉวยเอาจินตภาพส�ำคัญของทอฟฟ์เลอร์ท่ี
เป็นประโยชน์แก่ตนมาใช้ และสิ่งที่พวกเขาพยายามผลักดันให้เกิดขึ้นก็คือ ทิศทางโลกท่ีไร้พรมแดน โดย
มสธไม่มีกฎหมายหรือระบบภาษีปกป้องคุ้มครองอาชีพหรือธุรกิจภายในแต่ละประเทศ บรรษัททุนข้ามชาติได้
8-56 การวิเคราะห์การเมือง
ผลักดันความคิดน้ีผ่านออกมาในรูปทฤษฎี ด้วยการสนับสนุนให้รัฐบาลประเทศพัฒนาแล้ว ซ่ึงมีรัฐบาล
มสธสหรัฐอเมริกาเป็นแกนน�ำ ด�ำเนินการผลักดันกระแสความคิดโลกาภิวัตน์ (Globalization) หรือทิศทางโลก
ที่ไร้พรมแดน ข้ึนมาเป็นหลักการพัฒนาประเทศ โดยโหมประโคมทางสื่อว่าทิศทางนี้จะสร้างความเจริญและ
ความเสมอภาคให้แก่ประเทศต่าง ๆ ในการแข่งขันอย่างเสรี และเรียกหลักคิดนี้ว่า สิทธิเสรีนิยมใหม่ (Neo
-Liberalism)
มสธ มสธอยา่ งไรกต็ าม เจตนาทแ่ี ทจ้ รงิ ของบรรษทั ทนุ ขา้ มชาตไิ ดแ้ ฝงเรน้ ไวด้ ว้ ยความตอ้ งการเปดิ ประตคู วาม
เป็นรัฐชาติของประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก เพ่ือเปิดกว้างแก่โอกาสในการเข้าไปลงทุนได้อย่างเสรี และในที่สุด
บรรษัทเหล่านี้ก็สามารถเปิดพรมประเทศต่าง ๆ ได้ส�ำเร็จ ท�ำให้กระแสทุนนิยมโลกไหลไปท่ัวทุกหนทุกแห่ง
แต่ความส�ำเร็จในด้านการชักจูงโฆษณาให้คล้อยตามกระแสโลกาภิวัตน์ดังกล่าวข้างต้น ไม่ส�ำคัญเท่ากับ
กศุ ลโลบายในเชงิ บบี บงั คบั ใหป้ ระเทศตา่ ง ๆ ตอ้ งยนิ ยอมปฏบิ ตั ติ ามแนวทางลทั ธเิ สรนี ยิ มใหมอ่ ยา่ งหลกี เลย่ี ง
ไม่ได้ ถ้าหากยังต้องการติดต่อค้าขายหรืออยู่ร่วมกับประชาคมโลก น่ันคือ รัฐบาลประเทศพัฒนาแล้ว
มสธมบี ทบาทสำ� คญั ในการกอ่ ตง้ั และควบคมุ การดำ� เนนิ งานขององคก์ รการเงนิ และการคา้ ระหวา่ งประเทศทสี่ ำ� คญั
ไม่ว่าจะเป็น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) องค์การค้าโลก (WTO) ธนาคารเพื่อพัฒนา
เอเชีย (ADB) ด้วยเหตุนี้ ลัทธิเสรีนิยมใหม่จึงกลายเป็นนโยบายและหลักปฏิบัติขององค์กรระหว่างประเทศ
ซ่ึงใช้เป็นเง่ือนไขให้ประเทศต่าง ๆ ท่ีเป็นสมาชิกต้องปฏิบัติตาม รวมถึงเป็นเง่ือนในการปล่อยเงินกู้หรือให้
มสธ มสธความช่วยเหลือในด้านอ่ืน ๆ แก่ประเทศสมาชิก ซึ่งต้องยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขทางเศรษฐกิจการเมืองอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้
ส่ิงเหล่านี้เป็นวิธีการของทุนนิยมข้ามชาติหรือเครือข่ายประเทศทุนนิยม ท่ีมุ่งสลายความเป็นรัฐของ
สมาชิก เพ่ือเปิดทางให้บรรษัททุนข้ามชาติเข้าไปแผ่อิทธิพลได้สะดวก โดยมีจักรวรรดินิยมสหรัฐอเมริกาเป็น
ผู้น�ำในการแผ้วถางโลกไร้พรมแดนด้วยเครื่องมือท่ีส�ำคัญคือ การสื่อสารทางการเมืองระหว่างประเทศ ผ่าน
เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยในยุคโลกาภิวัตน์ ดังที่ โจฮาน กัลตุง (Johan Galtung) กล่าวว่า อนาคต
มสธของระบบจักรวรรดินิยมจะข้ึนอยู่กับการใช้สื่อสารระหว่างประเทศเป็นหลัก ลักษณะส�ำคัญที่สุดของระบบ
ดังกล่าวอยู่ตรงที่ว่า การสื่อสารระหว่างประเทศจะกลายสะพานเชื่อมสัมพันธ์ระหว่าง “ศูนย์กลาง” ของ
ประเทศต่าง ๆ มากยิ่งขึ้นทุกที ซึ่งเขาเรียกว่า “ระบบจักรวรรดินิยมใหม่” (Neo-Colonialism)68
ประการทสี่ อง การสื่อสารที่พัฒนาจากทุนขนาดใหญ่ เป็นจักรวรรดินิยมการสื่อสารที่เป็นเครือข่าย
การขยายอิทธิพลของส�ำนักข่าว CNN (Cable News Network) ในแง่การมีอ�ำนาจและบทบาทครอบง�ำ
มสธ มสธข่าวสารท่ัวโลก กรณีสงครามอ่าวเปอร์เซีย เมื่อเดือน มกราคม ค.ศ. 1911 ด้วยวิธีการท่ีเรียกว่า การส่ือสาร
ทางเดียว (one–way communication) โดยใช้อดีตนายทหารเป็นนักวิเคราะห์ข่าว และเสนอข่าวด้านเดียว
ท่ีเข้าข้างกองทัพอเมริกา ซึ่งลักษณะเช่นนี้ ภายหลังยังมีการน�ำมาใช้ในการเสนอข่าวสงครามอิรักเมื่อต้นปี
ค.ศ. 2003 ที่ผ่านมา โดยสหรัฐอเมริกาและ CNN ไม่สนใจเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากประชาชนทั่วโลก
มสธ68 บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2537). ฐานันดรท่ีส่ี: จากระบบโลกถึงรัฐไทย. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-57
อย่างไรก็ดี ในอีกด้านหนึ่งจะเห็นว่า บทเรียนจากการบุกเบิกเครือข่ายข่าวสารท่ีสามารถกระจาย
มสธออกไปท่ัวโลก โดยอาศัยเทคโนโลยีทันสมัย ได้สนับสนุนและสร้างอ�ำนาจให้ CNN เป็นส�ำนักข่าวท่ีมีอิทธิพล
ที่สุดในสหรัฐอเมริกา และเป็นจักรวรรดินิยมการสื่อสารโลกที่บุคคลทุกระดับ โดยเฉพาะบรรดาผู้น�ำประเทศ
ต่าง ๆ จะต้องติดตามดู และมีลูกค้ากระจัดกระจายไปทั่วมุมโลก อ�ำนาจการสื่อสารของ CNN ครั้งนั้น
ส่งผลกระทบต่อประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปหลายประเทศ ดุลอ�ำนาจข่าวสารระดับโลกเปล่ียนไปอยู่ในมือ
มสธ มสธสหรัฐอเมริกา อีกท้ัง CNN ยังเป็นสถานีท่ีคุกคามทางด้านวัฒนธรรมและความรู้เท่าทันสถานการณ์ในชีวิต
ประจ�ำวันไปทุกประเทศ ส่งผลกระทบกระเทือนทางธุรกิจการค้าที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกันท้ังโลก จากสาเหตุ
ดังกล่าว ประเทศพัฒนาในยุโรปจึงต้งั เครือขา่ ยข่าวโทรทัศน์ขนึ้ มาแขง่ ขนั เช่น BBC (British Broadcasting
Corporation) ของอังกฤษ TV 5 ของฝรั่งเศส Bloomberg ของเยอรมนี และสถานีโทรทัศน์ด้านความรู้
และบันเทิงอีกมากมาย อันปรากฏเป็นภาพรวมของโลกไร้พรมแดนว่า เป็นยุคท่ีวัฒนธรรมและข่าวสารของ
ตะวันตกได้คุกคามและเข้าครอบง�ำวัฒนธรรมประเทศอื่น ๆ ไปโดยปริยาย
มสธโดยภาพรวมจะเห็นว่า จักรวรรดินิยมการส่ือสาร (Media Imperialism) นั้น ก่อก�ำเนิดข้ึนมาเอง
ตามกระบวนการพัฒนาความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศช่วงหลังสงครามโลกครง้ั ที่ 2 พรอ้ ม ๆ กบั การขยายตัว
ของการลงทุนข้ามชาติ และการพัฒนาเทคโนโลยีการส่ือสารสมัยใหม่ท่ีรวดเร็ว เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
ไปทั่วโลก โดยมีนักวิชาการชาวอเมริกันสร้างกระแสความคิดช้ีน�ำน้ีขึ้น และเกิด “ทฤษฎีความทันสมัย”
(Modernization) อันเป็นผลิตผลของกระบวนการดังกล่าวท่ีเน้นหลักการว่า การขยายตัวของส่ือมวลชนจะ
มสธ มสธน�ำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมือง ควบคู่ไปกับหลักการลงทุนเสรีหรือทุนไร้พรมแดนซึ่งเปิดประตู
ประเทศต่าง ๆ ด้วยการท�ำธุรกรรมในตลาดหลักทรัพย์ การลงทุนข้ามชาติ การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศเพื่อการส่งออก และการเปิดเสรีทางการเงิน การเงินการลงทุนเสรีจึงผ่านเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ได้เป็น
ส่วนใหญ่ก่อให้เกิดการเช่ือมโยงเศรษฐกิจทุนนิยมโลกเข้าด้วยกัน
ในดา้ นวาทกรรมของการสอื่ สารมวลชน ประเทศทนุ นยิ มไดผ้ ลกั ดนั ทฤษฎกี ารสอื่ สารมวลชน (Mass
Communication Theory) ให้เป็นศาสตร์ที่ต้องศึกษาไปท่ัวโลกและเป็นเครื่องมือในการโฆษณาสินค้า
มสธเร่งเร้าลัทธิบริโภคนิยมไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างกว้างขวาง โดยอาศัยองค์กรระดับโลกเป็นเครื่องมือ พัฒนาการ
ขั้นส�ำคัญก็คือ ในทศวรรษท่ี 1960 การพัฒนาสื่อมวลชนกลายเป็นนโยบายหลักขององค์การศึกษาวิทยา
ศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกท่ีถูกขนานนามว่า “ประเทศก�ำลัง
พัฒนา” ล้วนได้รับค�ำแนะน�ำจากองค์การสหประชาชาติ ให้พยายามพัฒนาระบบการสื่อสารมวลชนของตน
อย่างจริงจัง โดยก�ำหนดว่าอย่างน้อยท่ีสุด ควรจะมีหนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ วิทยุ และโทรทัศน์ เป็นสื่อหลัก
มสธ มสธของประเทศเพ่ือเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานส�ำคัญของการพัฒนาไปสู่การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยไม่ค�ำนึงว่า
บุคคลใดหรือกลุ่มใดจะเป็นเจ้าของหรือผู้ควบคุมเนื้อหาของสื่อมวลชน
ผลลัพธ์ด้านหนึ่งก็คือ กลไกของรัฐในประเทศที่ “ก�ำลังพัฒนา” พากันเข้าถือครองอ�ำนาจใน
สื่อมวลชน ท้ังโดยตรงและโดยอ้อม ภายใต้การกล่าวอ้างวาทกรรม “ความมั่นคงแห่งชาติ” โดยไร้การตรวจ
สอบทางทฤษฎี เช่น การเข้าถือครองคล่ืนวิทยุและโทรทัศน์ของกองทัพในประเทศก�ำลังพัฒนาแถบเอเชีย
แอฟริกา และลาตินอเมริกา ในเวลาเดียวกัน บรรษัทข้ามชาติด้านการสื่อสารมวลชนก็แผ่อิทธิพลของตน
มสธทั่วโลกอย่างเสรี
8-58 การวิเคราะห์การเมือง
การจะแพรก่ ระจายของระบบทนุ นยิ มโลกหรอื ทนุ เสรขี ยายตวั ออกอยา่ งกวา้ งขวาง จนสามารถเขา้ ไป
มสธแปรรูปทรัพยากรในประเทศต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลกเป็นสินค้าเพ่ือท�ำก�ำไรสูงสุดได้นั้น จ�ำเป็นต้องท�ำลายระบบ
การปกครองแบบชาตนิ ิยม ศักดินานยิ ม สังคมนิยม หรอื เผด็จการในรปู แบบตา่ ง ๆ เพ่อื เปดิ โอกาสใหท้ นุ ชาติ
หรือทุนนิยมภายในประเทศน้ัน มีโอกาสเติบโตข้ึนมา และพัฒนาไปในทิศทางเดียวกันและเป็นส่วนหน่ึงของ
ทุนนิยมโลกได้
มสธ มสธกว่าก่ึงศตวรรษท่ีผ่านมา ชัยชนะของประชาชนท่ีเรียกร้องประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม จนนำ� ไปสู่
การปกครองที่มีรัฐบาลมาจากการเลือกต้ังในเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกาหลายประเทศ เปิดโอกาสให้
ทนุ นยิ มเสรภี ายในประเทศเติบโตข้ึนอย่างรวดเรว็ ไปทวั่ โลก และเชอื่ มเขา้ เป็นส่วนหน่งึ ของระบบทนุ นยิ มโลก
โดยผ่านระบบตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงินเสรี การค้าในตลาดโลก องค์การการค้าระหว่างประเทศ
เทคโนโลยีการส่ือสารผ่านดาวเทียม คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฯลฯ แนวคิดโลกไร้พรมแดน
หรือโลกาภิวัตน์ (Globalization) ก็ได้รับการตอบรับอย่างกว้างขวาง แต่ท่ามกลางความเจริญในกระแส
มสธโลกาภวิ ตั นต์ ามแนวคดิ ตะวนั ตก แทจ้ รงิ แลว้ กลบั เปน็ มายาคติ (myth) ทแ่ี ฝงไวด้ ว้ ยการครอบงำ� เขา้ ยดึ ครอง
จิตส�ำนึก การแสวงหาผลประโยชน์อย่างใหญ่หลวงทั้งด้านธุรกิจส่ือมวลชนของการลงทุนไร้พรมแดน
ประเทศท่ีเปิดเสรีส่วนใหญ่ก็ถูกกวาดเข้าไปอยู่ภายใต้จักรวรรดินิยมวัฒนธรรมของสหรัฐอเมริกานั่นเอง
ใน ค.ศ. 1980 สหรัฐอเมริกาได้พัฒนาระบบสื่อมวลชนไปสู่การผูกขาดการน�ำเสนอข่าวสารโลก โดย
มสธ มสธจัดตั้งบริษัทอุตสาหกรรมวัฒนธรรมขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นแหล่งข่าวสารทั่วโลกท่ีทรงอ�ำนาจมากท่ีสุด
และมีอิทธิพลต่อการครอบง�ำความรู้สึกนึกคิดของประชากรโลก เม่ือ เท็ด เทอร์เนอร์ ได้ตั้งเครือข่ายเคเบิล
CNN (Cable News Network) ขึ้นที่เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอร์เจีย ต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นส�ำนักข่าวหรือ
สถานีโทรทัศน์ CNN ที่มีบทบาทก�ำหนดทิศทาง การเสนอข่าวของสื่อมวลชนท้ังในอเมริกาและท่ัวโลก โดย
เข้าไปปฏิบัติการทั่วทุกทวีปจ�ำนวนนับร้อยประเทศ และมีบทบาทอิทธิพลในการเสนอข่าวสารท่ีมีผลกระทบ
ต่อเศรษฐกิจการเมืองของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นอกจากน้ี ข่าวสารของ CNN ยังได้รับการถ่ายทอดต่อไป
มสธโดยส่ือมวลชนอ่ืน ๆ ในประเทศต่าง ๆ อีกมากมาย
CNN เป็นเครือข่ายโทรทัศน์ท่ีก�ำหนดโชคชะตาโลกเอาไว้ในก�ำมือ เพราะเป็นธุรกิจที่ชี้น�ำความคิด
ของบุคคลชั้นน�ำและประชากรโลกส่วนหนึ่งเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นประธานาธิบดี กษัตริย์ ราชินี หัวหน้า
พรรคการเมือง นายกรัฐมนตรี ผู้น�ำทางศาสนา นายธนาคาร นักการทูต นักธุรกิจ นักวิชาการ ของประเทศ
ต่าง ๆ ล้วนเป็นลูกค้าของ CNN ข่าวสารที่ CNN เลือกสรรและกลวิธีน�ำเสนอ รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์
มสธ มสธของโฆษกหรอื ผู้ด�ำเนนิ รายการ จึงเขา้ ครอบง�ำ หรอื เป็นวาทกรรมหลกั (dominant discourse) อันหมายถึง
การตรึงสารท่ี CNN สร้างขึ้นให้ด�ำรงอยู่ และเป็นท่ียอมรับในสังคมวงกว้าง หรือประชากรโลกที่เป็นลูกค้า
ไม่น้อยกว่า 150 ล้านคนในปัจจุบัน
บทบาทของ CNN ที่กุมข่าวสารโลก และเศรษฐกิจข่าวสารอันใหญ่หลวงเอาไว้ ท�ำให้เกิดการแข่งขัน
กนั สรา้ งจกั รวรรดนิ ยิ มการสอื่ สารของประเทศตะวนั ตก ดงั เชน่ BBC (British Broadcasting Corporation)
ในองั กฤษทม่ี กี ารจดั ตง้ั เครอื ขา่ ยขา่ วโทรทศั นข์ า้ มชาตทิ เ่ี รยี กวา่ World Service Television (WSTV) เพราะ
มสธบทบาทของ CNN ในสงครามอ่าวเปอร์เซียสามารถก�ำหนดการเมืองทั่วโลกได้ โดยส่ืออเมริกันสามารถสร้าง
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-59
ประชามติชาวโลกให้เห็นด้วยกับการลงโทษประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน ของประเทศอิรัก ทั้งชักจูงใจให้
มสธยอมรับการท�ำสงครามของสหรัฐฯ กับอิรักให้กลายเป็นสิ่งถูกต้อง ท้ังยังได้รับฉันทานุมัติจากประชาชนคน
อเมริกันเองด้วย จนกล่าวกันว่า ชัยชนะในสงครามอ่าวเปอร์เซียไม่ใช่ความส�ำเร็จของรัฐบาลสหรัฐฯ หากแต่
มาจาก CNN มากกว่า
ต่อมา WSTV ได้ขยายตัวในทั้งยุโรปและเอเชีย และมีลูกค้าทั่วโลกกว่า 120 ล้านคน นับเป็น
มสธ มสธจักรวรรดินิยมการส่ือสารส�ำคัญอีกเครือข่ายที่กลายเป็นจักรวรรดินิยมการสื่อสารประเทศตะวันตก หรือ
จักรวรรดินิยมการสื่อสารของคนผิวขาวที่ครอบง�ำความหลากหลายทางวัฒนธรรมโลกเอาไว้
ขณะเดียวกัน ความหลากหลายของส่ืออเมริกันหรือชาติตะวันตกต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นส่ือส่ิงพิมพ์
วิทยุ หรือส�ำนักข่าว เช่น Times, Newsweek, VOA, BBC หรือส�ำนักข่าวท่ีมีช่ือเสียงระดับโลก เช่น
รอยเตอร์ของอังกฤษ เอเอฟพีของฝร่ังเศส เอพีและยูพีไอของสหรัฐอเมริกา รวมท้ังทาสส์ของสหภาพโซเวียต
และส�ำนักข่าวซินหัวของจีน ล้วนมีอิทธิพลต่อการก�ำหนดความรับรู้ด้านข่าวสารของผู้อ่านหนังสือพิมพ์
มสธนิตยสาร หรือวิทยุโทรทัศน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บรรดาสื่อเหล่านี้ได้เสนอวิธีคิดแบบตะวันตก ซึ่งส่วนใหญ่
ต้ังอยู่บนพื้นฐานของการแข่งขันของบริษัทที่ลงทุนทางวัฒนธรรมท้ังสิ้น
การเสนอข่าวจึงเป็นสินค้าเพื่อแสวงหาก�ำไรมากกว่าการแสวงหาความจริง หรือมีจุดยืนเพื่อ
ผลประโยชน์และความสงบสุขของมนุษยชาติ ดังน้ัน จรรยาบรรณสื่อมวลชน รวมไปถึงระเบียบข่าวสารโลก
มสธ มสธ(World Information Order) ทย่ี ตุ ธิ รรม เสนอขา่ วสองดา้ นและหลกั วเิ คราะหว์ จิ ารณบ์ นจดุ ยนื ของประชาชน
หรือมนุษยชาติจึงไม่อาจเกิดขึ้นได้จริงในยุคโลกาภิวัตน์ของข้อมูลข่าวสาร ความหมายของส่ือมวลชนจึงอาจ
นิยามใหม่ให้สอดคล้องกับผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจริงในปัจจุบันได้ว่า
ส่ือสารมวลชน (Mass Communication) ในนิยามใหม่ ก็คือเคร่ืองมือของนายทุนหรือบริษัท
อตุ สาหกรรมวฒั นธรรม ในการแขง่ ขนั แสวงหาผลกำ� ไรสงู สดุ สถาปนาอำ� นาจของตนเหนอื หรอื ครอบงำ� ความ
รับรู้ของประชาชนหรือกระท่ังประชากรท่ัวโลก พิทักษ์ปกป้องและเป็นเครื่องมือกระตุ้นลัทธิบริโภคนิยมของ
มสธระบบทุนนิยม บิดเบือนหรือไม่เสนอข่าวสารที่ขัดกับวัตถุประสงค์ของตน นักการเมือง สถาบัน และบริษัท
ธุรกิจท่ีอยู่ในเส้นทางเดียวกันโดยเลือกสรรข่าวสารไปตามอ�ำเภอใจมากกว่ามีจุดยืนเพื่อรับใช้
สาธารณประโยชน์ และพิทักษ์สิทธิมนุษยชนอย่างมีจิตส�ำนึก
ดว้ ยเหตนุ ้ี วกิ ฤตดา้ นขา่ วสารจงึ เกดิ ขนึ้ และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบทส่ี ำ� คญั ในดา้ นสทิ ธกิ ารรบั รขู้ า่ วสาร
ของมนุษยชาติ พร้อมกับสงครามส่ือสารมวลชนที่ท�ำลายเศรษฐกิจและการเมืองในประเทศต่าง ๆ ดังนั้น
มสธ มสธหากวเิ คราะหก์ ารเมอื งโลกในอนาคต มคี วามเปน็ ไปไดว้ า่ วกิ ฤตการเสนอขา่ วสารอาจจะนำ� ไปสสู่ งครามระหวา่ ง
ประเทศได้
อย่างไรก็ตาม ในยุคโลกาภิวัตน์แม้ทุนจะสามารถครอบง�ำส่ือมวลชนได้ง่าย แต่ส�ำหรับผลกระทบ
ของเทคโนโลยีการส่ือสารในด้านบวกที่มีต่อระบบการเมืองก็ยังคงมีให้เห็นได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ
เทคโนโลยีการสื่อสาร เช่น โทรทัศน์และเทปวีดิทัศน์มีส่วนยับยั้งอ�ำนาจของผู้ปกครองที่เป็นเผด็จการไว้ได้
ตวั อยา่ งเชน่ ในเหตกุ ารณ์จราจลที่จตรุ ัสเทยี นอนั เหมนิ ใน ค.ศ. 1989 น้นั นักศึกษาชาวจนี ในซานฟรานซิสโก
มสธสามารถส่งข่าวสารท่ีรายงานโดยส�ำนักข่าวของสหรัฐอเมริกา ผ่านทางเครื่องโทรสารกลับไปให้เพ่ือนที่อยู่ใน
8-60 การวิเคราะห์การเมือง
ประเทศจีนได้รับรู้ว่าเกิดอะไรข้ึนบ้างในเหตุการณ์คร้ังน้ัน เนื่องจากในขณะนั้นรัฐบาลจีนเซ็นเซอร์ข่าวสารใน
มสธสื่อมวลชนจีนทั้งหมด69
การเลือกต้ังในประเทศอินโดนีเซีย เม่ือ ค.ศ. 1999 เป็นอีกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบ
ของเทคโนโลยีการส่ือสารที่มีต่อระบบการเมือง ประชาชนชาวอินโดนีเซียที่อยู่ภายใต้การปกครอง ในระบอบ
เผด็จการมาเป็นเวลายาวนานได้กระตือรือร้นที่จะไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง อันเป็นผลมาจากการได้รับรู้
มสธ มสธจากการเปิดรับข่าวสารการเมืองจากโลกภายนอก ท�ำให้พวกเขาอยากจะมีส่วนร่วมในการเลือกต้ังที่ถือว่า
เป็นสัญลักษณ์ของประชาธิปไตย70 หรือในวาระครบรอบ 10 ปีของการจลาจลท่ีจตุรัสเทียนอันเหมิน
เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1999 ซึ่งชาวจีนท่ัวโลกต่างมีปฏิกิริยาต่อรัฐบาลจีนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของผลกระทบจากเทคโนโลยีการสื่อสารต่อระบบการเมืองในแง่ของการท�ำให้
เกิดจิตส�ำนึกร่วมหรือปฏิกิริยาย้อนกลับในรูปแบบต่าง ๆ โดยไม่ค�ำนึงถึงพรมแดนทางด้านภูมิศาสตร์71
อาจสรุปได้ว่าพัฒนาการของเทคโนโลยีการส่ือสารในยุคโลกาภิวัตน์ส่งผลกระทบต่อสังคมการเมือง
มสธในแง่ของการเพ่ิมช่องทางเลือกในการรับรู้ข่าวสารของประชาชนให้มากข้ึน ส่วนในระดับปัจเจกบุคคลน้ัน
พฒั นาการของเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทำ� ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ เกดิ ทศั นคตติ ลอดจนจติ สำ� นกึ ทางการเมอื งในเรอื่ งใด
เรื่องหน่ึงร่วมกันโดยไม่มีข้อจำ� กัดในเร่ืองพรมแดน รัฐบาลและอำ� นาจอธิปไตยอีกต่อไป ในทางตรงข้าม หาก
ทุนในยุคโลกาภิวัตน์สามารถช้ีน�ำการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารของสื่อได้แล้ว ก็อาจส่งผลกระทบทางลบให้กับ
มสธ มสธการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารของประชาชนทวั่ โลก จนกระทง่ั ไมม่ พี ลงั อำ� นาจใดแมก้ ระทง่ั รฐั ชาตทิ จ่ี ะตา้ นทานอทิ ธพิ ล
และพลังของการโฆษณาและการตลาดอันเป็นเคร่ืองมือท่ีส�ำคัญของทุนในการครอบง�ำทั้งทางด้านการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคมได้
หากพจิ ารณาภาพรวมแลว้ จะพบวา่ ปจั จยั ทางการเมอื งทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ในยคุ ขอ้ มลู ขา่ วสาร จะมใิ ชเ่ พยี ง
แคร่ ะบบการเมอื งมเี สถยี รภาพทางการเมอื งโดยอาศยั การสอื่ สารทางการเมอื งผา่ นสอ่ื ทนั สมยั ในการสง่ ขอ้ มลู
ข่าวสารเท่าน้ัน หากแต่เป็นการให้ความส�ำคัญกับรูปแบบใหม่ของความสัมพันธ์ “ข้ามรัฐ” การเปลี่ยนแปลง
มสธอ�ำนาจท้ังทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม จากตัวแสดงที่เป็นรัฐไปเป็นบรรษัทข้ามชาติ การ
ส่ือสารผ่านดาวเทียมและอินเทอร์เน็ต และปรากฏการณ์ “ลอดรัฐ” เช่น การค้าชายแดน และการติดต่อของ
ประชาชนทม่ี เี ชอื้ ชาติ ภาษา วฒั นธรรมใกลเ้ คยี งกนั ซงึ่ แตเ่ ดมิ ถกู กดี กนั้ โดยเขตแดนตามหลกั อธปิ ไตยของรฐั
ย่อมก่อให้เกิดสภาพการณ์ท่ีจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและความสัมพันธ์ด้านอ�ำนาจระหว่างรัฐ สถาบันทาง
สังคม ชุมชน และปัจเจกชน
มสธ มสธความแตกตา่ งทสี่ ำ� คญั อยา่ งยง่ิ ระหวา่ งรฐั ในปจั จบุ นั และรฐั ในอนาคต คอื รฐั ปจั จบุ นั ตอ้ งการควบคมุ
และครอบง�ำประชาชนภายใต้อ�ำนาจอธิปไตยของรัฐ ซ่ึงมีอาณาเขตที่แน่นอนข้ึนต่ออ�ำนาจศูนย์กลาง แต่รัฐ
69 Warren, K. Agree et al. (1991). Global Impact of The Media in Introduction to Mass Communication
(11th ed.). New York, NY: Harper Collins Publishers.
70 David, T. Hill and Krishna, Sen. (2000). The Internet in Indonesia’s New Democracy Democratization,
(n.p.). pp. 120-121.
71 สุกัญญา สุดบรรทัด. (2542). เมืองสารสนเทศในกระบวนทัศน์ใหม่. วารสารนิเทศศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มสธน.6.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-61
ในอนาคตจะตกอยู่ในสภาวการณ์ท่ีไม่อาจควบคุมและครอบง�ำประชาชนได้ เพราะการข้ามรัฐจะเป็น
มสธปรากฏการณ์ที่กลายเป็นเรื่องธรรมดา ชุมชนในอนาคต จะเป็นชุมชนท่ีไม่จ�ำเป็นต้องยึดติดกับสถานที่แต่จะ
เปน็ “ชมุ ชนเสมอื นจรงิ ” (Virtual Community) เชน่ ชมุ ชนบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ (cyber space) เปน็ ตน้
ในอดีตการพัฒนาเป็นการพัฒนาโดยรัฐแต่อ้างว่ากระท�ำเพื่อประชาชน แนวโน้มในอนาคต คือ
การปรับเปลี่ยนไปเป็นการพัฒนาของประชาชน เพื่อประชาชนและโดยประชาชน เมื่อเป็นเช่นนี้โลกยุคใหม่
มสธ มสธจึงจะให้ความส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนมากกว่าท่ีเคยเป็นมาและเป็นการมีส่วนร่วมโดยตรง
(participatory democracy) โดยไม่จ�ำเป็นต้องผ่านตัวแทน โลกอนาคตจึงจะไม่แยกประชาธิปไตยกับ
การพัฒนาออกจากกัน แต่จะเช่ือมโยงกันโดยประชาชนจะได้รับการยอมรับจากรัฐว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญของ
ความส�ำเร็จแห่งการพัฒนา โดยภาครัฐและภาคธุรกิจจะยอมให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
อย่างเต็มตัว แทนที่จะตกเป็นฝ่ายรับหรือเป็นเหยื่อของการพัฒนาแต่เพียงฝ่ายเดียว
ลักษณะของชุมชนใหม่นี้ จะเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง เพราะชุมชนยุคใหม่แม้จะอยู่คนละพ้ืนที่
มสธมีภาษาต่างกัน เช้ือชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างกัน แต่ก็มีการเช่ือมโยงกัน โดยมีความสนใจ รสนิยม
ตลอดจนการเก่ียวโยงกับประเด็นปัญหาที่เห็นร่วมกัน ต้องการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ชุมชนแบบใหม่นี้จะเกิด
ข้ึนมากมายหลากหลายซ้อนไปกับครอบครัวและชุมชนแบบด้ังเดิม โดยท่ีครอบครัวยังคงเป็นสถาบันหลัก
รัฐจะมีหน้าที่ใหม่คือ สานสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันเก่าแก่กับชุมชนท่ีเกิดข้ึนใหม่ โดยเฉพาะ
มสธ มสธชุมชนที่เกิดจากเทคโนโลยีทางการสื่อสาร
การเคลื่อนไหวทางสังคมเชิง “สงครามในพ้นื ท่ี (Ground War)” ที่เคยพบในอดีต เช่น การชุมนุม
ประทว้ ง มอ็ บ จะหมดความสำ� คญั ลงไป แตจ่ ะเปน็ การเคลอื่ นไหวโดยไมจ่ ำ� เปน็ จะตอ้ งมกี ารรวมคนจำ� นวนมาก
ผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมท่ีทันสมัย เช่น ชุมชนบนโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงสู่ผู้ชม
และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จนอาจกลายเป็น “สงครามสื่อทางอากาศ” (Air War) ท่ีรัฐไม่อาจควบคุมได้
การเมืองในอนาคตจึงจะเป็นการเมืองท่ีมีประเด็นปัญหาหลากหลายและมีกลุ่มผู้เรียกร้องท่ีชัดเจนแต่จะมี
มสธจ�ำนวนน้อยและกระจัดกระจายไม่เป็นกลุ่มมวลชนดังท่ีเคยเป็นมาในอดีต ซ่ึงในปัจจุบันก็เริ่มปรากฏให้เห็น
ได้ในรูปของการ “ต้ังประเด็นสนทนา”ในกระดานสนทนา (web broad) ห้องสนทนา (chat room) หรือ
แม้กระทั่งการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เพ่ือสร้างข่าวสร้างกระแสทางการเมืองที่
ไม่สามารถจะส่งผ่านส่ืออ่ืน ๆ นอกจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในยุคโลกาภิวัตน์ซ่ึงมีเสรีภาพสูง
มสธ มสธหลงั จากศกึ ษาเน้อื หาสาระเรื่องที่ 8.3.1 แลว้ โปรดปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 8.3.1
มสธในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 8 ตอนที่ 8.3 เรือ่ งที่ 8.3.1
8-62 การวิเคราะห์การเมือง
มสธเรอื่ งที่ 8.3.2 แนวโนม้ ของการสื่อสารทางการเมือง
ในอดีตที่ผ่านมาขอบเขตความชัดเจนของแนวคิดและองค์ความรู้ทางด้านการสื่อสารทางการเมือง
มสธ มสธเคยจ�ำกัดตัวอยู่แต่เฉพาะในประเด็นเร่ืองกระแสการไหลเวียนของข้อมูลและข่าวสาร ซ่ึงส่วนใหญ่มักได้รับ
อิทธิพลมาจากผลงานของส�ำนักคิดทฤษฎีจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม (Cultural Imperialism theory)
อย่างไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นตั้งแต่การส้ินสุดลงของ “สงครามเย็น” ในช่วง พ.ศ. 2532-2534
ท�ำให้การส่ือสารทางการเมืองในระดับโลกได้พัฒนาก้าวหน้าไปในทิศทางซึ่งเหล่านักวิชาการในอดีต อาจ
คาดคิดไม่ถึงหรือไม่เคยนึกว่าเป็นไปได้
ส�ำนักคิดทฤษฎีจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม ได้เน้นย�้ำและให้ความส�ำคัญกับเรื่องของ “ระบบ”
มสธว่า สามารถท�ำให้เกิดผลกระทบตามมาภายหลัง รวมทั้งก�ำหนดความสัมพันธ์ต่าง ๆ ดังน้ัน เมื่อสร้างระบบ
ข้ึนมาแล้ว สื่อมวลชนจึงท�ำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารตามต้นต�ำรับ ซ่ึงสอดรับกับวิถีพัฒนาแบบตะวันตก
หรือ กระบวนการพัฒนาที่เรียกว่า “การพัฒนาไปสู่ความทันสมัย” (Modernization) ซ่ึงโดยทั่วไปแล้วเป็น
ส่ิงที่ตามมากับระบบธุรกิจ การจัดการทางการค้าขาย เครือข่ายการเงิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้ง
มสธ มสธโครงสร้างและกระบวนการด้านเทคโนโลยีของสิ่งเหล่านี้ น่ีคือสิ่งท่ีริเร่ิมและเป็นสาเหตุของการท�ำให้ทันสมัย
ซึ่งครอบคลุมไปถึงโครงสร้างขององค์การ ระบบการบริหาร รวมถึงเครื่องมือและกระบวนการต่าง ๆ
การต่อสู้เพื่อเอาชนะการครอบง�ำจากภายนอกประเทศ รวมท้ังอ�ำนาจท่ีอยู่ในมือผู้ปกครองภายใน
จึงเป็นการต่อสู้กับการวางนโยบายในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับบุคคล ภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ
ซง่ึ ปญั หาพนื้ ฐานตา่ ง ๆ ในดา้ นการสอื่ สารทางการเมอื งทกุ วนั นี้ ลว้ นแลว้ แตม่ ที ม่ี าจากความสมั พนั ธด์ งั กลา่ วน้ี
ทงั้ สน้ิ ระบบอาณานคิ มทส่ี ลายตวั ไปอยา่ งรวดเรว็ ในฐานะเครอื่ งมอื การครอบงำ� กลบั มชี วี ติ และเตบิ โตภายใต้
มสธความสัมพันธ์การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรมดังเช่น กรณีของ CNN ท่ีมีบทบาทส�ำคัญใน
การก�ำหนดทิศทางของข่าวในสื่อมวลชนต่าง ๆ ท้ังในอเมริกาและในโลก ขณะที่ผู้ส่ือข่าวอเมริกันจำ� นวนมาก
พากันดู CNN แล้วยึดเป็นกรอบในการปฏิบัติงานของตน รวมท้ังผู้สื่อข่าวต่างประเทศจ�ำนวนมาก
ซ่ึงประจ�ำอยู่ในกรุงวอชิงตัน ดีซี ต่างก็ท�ำอย่างเดียวกัน นั่นหมายความว่าอิทธิพลของ CNN ได้รับการส่งต่อ
ไปยังส่ือมวลชนอื่น ๆ
มสธ มสธสื่อสารมวลชนหลายประเทศต้องการลอกเลียนความส�ำเร็จของ CNN รวมทั้งมีเป้าหมายที่จะก่อต้ัง
เครือข่ายข่าว 24 ชั่วโมงข้ึนมา “หากจักรวรรดินิยมแห่งศตวรรษท่ี 19 มีเรือปืนเป็นอาวุธและศตวรรษท่ี 20
ยดึ ระเบดิ นวิ เคลยี รเ์ ปน็ หลกั ในศตวรรษที่ 21 ตวั แปรสำ� คญั คอื “ดาวเทยี มซงึ่ เปน็ รากฐานของจกั รวรรดนิ ยิ มใหม่
ท่ีจะก้าวข้ามยุคแห่งการข่มขู่กายภาพเข้าสู่สมัยแห่งการครอบง�ำจิตส�ำนึกมากยิ่งขึ้น”72
มสธ72 บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2539). ฐานันดรท่ีส่ี: จากระบบโลกถึงรัฐไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-63
สถานีข่าวโทรทัศน์ CNN จึงเติบโตข้ึนมาบนโครงสร้างที่กลุ่มส่ือสารมวลชนตะวันตกมีความได้
มสธเปรียบเหนือกว่าเหล่าประเทศก�ำลังพัฒนา อันส่งผลต่อเน่ืองไปสู่ปัญหาเรื่องการรุกรานทางวัฒนธรรม ซ่ึงมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองโลกและการตกอยู่ภายใต้ระบบ “อาณานิคมทาง
อิเล็กทรอนิกส์”73 ในทางกลับกัน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์สื่อมวลชนทางเลือกหรือสื่อมวลชนท้องถ่ิน
กลับถูกลดทอนอิทธิพลลงไป ดังเช่นกรณีท่ีสื่อมวลชนของกลุ่มประเทศโลกอาหรับขาดความเข้มแข็ง จึง
มสธ มสธเท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้สื่อจากตะวันตกเขียนเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ง่าย รวมท้ัง
ยังอาจใช้ประโยชน์จากความไม่เท่าเทียมของกระแสการไหลเวียนข้อมูลข่าวสาร เพ่ือการสร้างประโยชน์ต่อ
กลุ่มประเทศตะวันตกและชาติพันธมิตร
ในภาวะที่สื่อตะวันตกครอบครองพ้ืนที่ในการรายงานข่าวต่างประเทศอยู่เป็นส่วนใหญ่ ผลส�ำเร็จ
จากการออกอากาศเทปคำ� ให้สัมภาษณ์ของโอซามา บินลาเดน ผู้นำ� ของเครือข่ายอัลเคด้าและการนำ� เสนอข่าว
เกี่ยวกับกลุ่มตาลีบันของอัฟกานิสถานอย่างต่อเนื่อง ช่วยท�ำให้สถานีอัลจาซีรา ซ่ึงเป็นสถานีโทรทัศน์เอกชน
มสธที่มีส�ำนักงานใหญ่ต้ังอยู่ ณ นครโดฮา ประเทศกาตาร์ ที่เร่ิมเปิดด�ำเนินการผลิตข่าวโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
ตลอด 24 ชั่วโมงมาต้ังแต่ พ.ศ. 2539 มีชื่อเสียงโด่งดังข้ึนมาภายในเวลาช่ัวข้ามคืน เพราะเป็นสื่อโทรทัศน์
เพียงแห่งเดียวซ่ึงได้ “ข่าวเจาะ” ในขณะท่ีส�ำนักข่าวอ่ืนทั่วโลก ต่างไร้หนทางเข้าถึงแหล่งข่าวคู่กรณี
ในตะวันออกกลาง
มสธ มสธการถือก�ำเนิดเกิดขึ้นมาของสถานีโทรทัศน์อัลจาซีรา ในมุมมองของกลุ่มประเทศตะวันตก ถือว่า
เป็นสัญญาณท่ีบ่งบอกให้รู้ถึงข้อจ�ำกัด รวมท้ังอิทธิพลการเสนอข่าวท่ีลดลงของบรรดาส่ือโลก ไม่ว่าจะเป็น
AP AFP รอยเตอร์ รวมท้ังสถานีโทรทัศน์ BBC และ CNN ซ่ึงไม่เพียงแต่สูญเสียสิทธิของการ “ผูกขาด”
เน้ือหาเร่ืองราวและวิธีการน�ำเสนอข่าวสารความเป็นไปของโลกเท่าน้ัน แต่ยังหมายถึงโอกาสท่ีต้องตกอยู่ใน
สภาพจ�ำยอม จนอาจถูกท้าทายจาก “สื่อทางเลือก” ได้ตลอดเวลา
สถานีโทรทัศน์อัลจาซีราก�ำลังเดินก้าวหน้าข้ึนไปอีกข้ันหนึ่ง อันเนื่องมาจากการประกาศตัวเป็นสื่อ
มสธสากล ด้วยบริการภาคภาษาอังกฤษและมีก�ำหนดออกอากาศประมาณปี พ.ศ. 2549 โดยมีกรุงกัวลาลัมเปอร์
เมืองหลวงของมาเลเซีย เป็นสถานที่ตั้งของส�ำนักงานประจ�ำสาขาเอเชีย ปรากฏการณ์ส�ำคัญครั้งนี้ ย่อมส่ง
ผลกระทบต่อประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างมิอาจหลีกเล่ียงได้ เพราะมีโอกาสทำ� ให้
กระแสการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารเกิดการปะทะสังสรรค์กันอย่างเข้มข้นรุนแรงและรวดเร็ว ชนิดที่
ไม่เกิดข้ึนมาก่อนในประวัติศาสตร์ชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความมุ่งหวังของอัลจาซีราคร้ังนี้ อยู่ท่ี
มสธ มสธการเสนอข่าวสารเพ่ือคานอ�ำนาจสื่อมวลชนตะวันตก โดยเน้นกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาและกลุ่มประชาชาติ
อิสลามเป็นหลักการเลือกให้มาเลเซียเป็นสถานที่ต้ังส�ำนักงานสาขาเอเชีย จึงมีนัยส�ำคัญอย่างยิ่งต่อดุลยภาพ
การเมืองและสงั คมเศรษฐกจิ ของเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เพราะต้องไม่ลืมว่าประเทศมุสลิมใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก
คือ อินโดนีเซีย มีสถานท่ีตั้งอยู่ในบริเวณแถบนี้ด้วยเช่นกัน
มสธ73 McPhail T.L. (2006). Global Communication: Theories, Stakeholders and Trends. UK: Blackwell.
8-64 การวิเคราะห์การเมือง
สถานีอัลจาซีรา สาขามาเลเซีย ยังอาจส่งผลให้กลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซียน ต้องเข้าไปใกล้ชิด
มสธติดพันกับปัญหาในตะวันออกกลางมากยิ่งข้ึน ทั้งความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ การฟื้นฟูอิรัก
และอัฟกานิสถานภายหลังสงคราม หรือภัยจากการก่อการร้ายสากล สื่ออัลจาซีราจึงเป็นผลผลิตของ
การส่ือสารในยุคโลกาภิวัตน์ เนื่องจากการเชื่อมต่อถึงกันแบบไร้พรมแดน จนมีผลท�ำให้สถานีน้ีมีลักษณะ
ท่ีผสมผสานอยู่ตรงกลางระหว่างโลก (global) กับท้องถ่ิน (local) เพราะในแง่หนึ่งอัลจาซีราอาจท�ำให้
มสธ มสธกลุ่มประเทศตะวันตกต้องรู้สึกขวางหูขวางตา เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสถานะ ความน่าเช่ือถือของสื่อโลก
ที่มีอันต้องโยกคลอน แต่ขณะเดียวกันรัฐบาลของประเทศอาหรับก็ต้องล�ำบากใจไปกับรายงานข่าวของ
อัลจาซีราด้วย เพราะวิธีปฏิบัติและมุมมองที่ผิดแผกแตกต่างไปจากส่ือท้องถ่ินท่ัวไปในตะวันออกกลาง74
นอกจากน้ี อิทธิพลของส่ือทันสมัยรูปแบบอื่น เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต นับว่าเป็นอีกช่องทางท่ีจะ
ส่งผลกระทบต่อการส่ือสารทางการเมืองของไทยมากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารในเว็บไซต์
ท่ีมีลักษณะเป็นกระดานสนทนา (web board) ไม่ว่าจะเป็น www.pantip.com, www.prachatai.com
มสธหรือเว็บไซต์เพื่อการส่งข้อมูลข่าวสารและแสดงความคิดเห็นเฉพาะกลุ่ม (web blog) เช่น www.oknation.
net/blog www.bloggang.com หรือการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายทางสังคม (social networking) เช่น
www.hi5.com ซ่ึงปรากฏการณ์เช่นน้ีจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายและรวมกลุ่มกันเป็นชุมชนเสมือนจริง
(virtual community) กระบวนการในการสื่อสาร รวมไปถึงการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความสนใจของ
มสธ มสธคนเฉพาะกลุ่มในชุมชนเสมือนจริงเหล่านี้จะก่อให้เกิดการจัดตั้งมวลชนขึ้นในโลกแห่งความเป็นจริง เช่น
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในประเด็นทางการเมือง ประเด็นทางสิ่งแวดล้อม ประเด็นการพิทักษ์สิทธิ
ชุมชนท้องถิ่น การต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์และทุนนิยมโลก เป็นต้น อีกท้ังยังเป็นช่องทางในการส่ือสาร
ระหว่างเครือข่ายกลุ่มทางสังคมต่าง ๆ มากขึ้นในอนาคต
อย่างไรก็ตาม การน�ำอินเทอร์เน็ตมาใช้ก็ต้องมีความระมัดระวังในประเด็นเร่ืองความหลากหลาย
ท่วมท้นของข้อมูลท่ีกระจัดกระจายเป็นส่วน ๆ (fragmented) และไม่มีการเช่ือมโยงทั้งในด้านกาลและเทศะ
มสธ(time and space) อาจก่อให้เกิดความสับสนต่อการรับรู้ของประชาชน เพราะในด้านหนึ่งท�ำให้ประชาชน
ไม่สามารถตัดสินใจใด ๆ ได้ภายใต้กระแสข้อมูลดังกล่าวจนอาจน�ำมาซ่ึงความเบ่ือหน่ายทางการเมือง หรือ
ต่อเรื่องราวข่าวสารทางการเมือง แม้ว่าสื่ออาจจะสามารถปลุกเร้ามหาชนให้มีส่วนร่วมกับประเด็นสาธารณะ
ได้ แต่ก็ไม่ใช่การเข้าไปมีส่วนร่วมในลักษณะของพลเมืองท่ีกระตือรือร้นและมีคุณภาพ (active and radi-
cal citizens) แต่การปลุกเร้าในลักษณะดังกล่าวของส่ือ กลับน�ำไปสู่การปลุกระดมฝูงชนให้เข้ามีส่วนร่วม
มสธ มสธทางการเมืองอย่างขาดสติ (mob)75
74 อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (ม.ป.ป.). สถานีโทรทัศน์อัลจาซีรา: ส่ือมวลชนสากลของโลกอาหรับ. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
75 ไชยันต์ ไชยพร. (2545). พัฒนาการของส่ือกับปรัชญาสิทธิเสรีภาพและพ้ืนที่สาธารณะ แง่คิด บทเรียนและปัญหา
บางประการจากสังคมตะวันตก, เอกสารประกอบวิชาสัมมนาเร่ือง สื่อ พื้นท่ีสาธารณะ โลกาภิวัตน์กับประชาธิปไตย. คณะรัฐศาสตร์
มสธจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. น. 48.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-65
แนวโนม้ ของการสอื่ สารทางการเมอื งในกระแสโลกาภวิ ตั นย์ งั กอ่ ใหเ้ กดิ การสง่ ผา่ นขอ้ มลู ขา่ วสารจาก
มสธต่างประเทศท่ีมีผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศอีกด้วย เช่น กรณีของ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ซ่ึงมี
ภาพพจน์ทดี่ ีในฐานะผเู้ ขา้ มาแก้ปญั หาความขดั แยง้ ทางการเมอื งเพอ่ื ปอ้ งกันความรุนแรงทจี่ ะเกดิ ขึน้ กไ็ ม่ชว่ ย
ให้รอดพ้นจากการถูกตีตราว่าเป็นผู้ท�ำลายประชาธิปไตย จากการได้รับการเสนอช่ือเข้าชิงรางวัล Bad
Democracy Award ประจ�ำเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ในเว็บไซต์ www.opendemocracy.net76
มสธ มสธสังคมการเมืองภายใต้กระแสหลังสมัยใหม่ (Post-modern) การให้ความส�ำคัญกับประเด็นเรื่อง
สิทธิของคนชายขอบ (Marginal man) คนด้อยสิทธิต่าง ๆ เช่น คนพิการ เด็ก คนสูงอายุ สตรี ชาวนา
ชาวเขา ชนกลุ่มน้อย เป็นสิ่งท่ีถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวาง ความต้องการให้มี “พ้ืนท่ีสาธารณะ” เพ่ือคนกลุ่ม
ตา่ ง ๆ ในสงั คมเหลา่ นจ้ี งึ มปี รมิ าณทม่ี ากขน้ึ แมว้ า่ จะเปน็ ทยี่ อมรบั กนั วา่ การสนบั สนนุ สอ่ื สำ� หรบั กลมุ่ ดงั กลา่ ว
ยังมีอยู่ในระดับท่ีน้อย เน่ืองจากกลุ่มผู้รับข้อมูลข่าวสารข้างต้นมีขนาดเล็กและมีก�ำลังซ้ือไม่มากนัก จึง
ไม่เป็นท่ีสนใจของผู้ผลิตหรือผู้สนับสนุน ส่ือภายใต้อิทธิพลของทุนที่มีอยู่ในปัจจุบันมักมีข้อเรียกร้องว่า
มสธไม่ได้ตอบสนองความต้องการของคนกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างแท้จริง องค์กรภาคประชาชน เช่น สถาบัน
ต้นกล้า มูลนิธิเครือข่ายครอบครัว จึงมีความเคล่ือนไหวให้คนกลุ่มนี้มีโอกาสใช้สื่อมากขึ้นและให้เหมาะสม
กับวิถีชีวิต ขณะเดียวกันก็ต้องการให้คนใช้สื่อในทุกกลุ่มได้รับความยุติธรรมในการรับรู้ข้อมูลในสิ่งท่ีเขา
ควรรู้ เช่น ชาวนาควรมีโอกาสรู้ราคาข้าวได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว เป็นต้น รวมทั้งกรณีการอ้างอิงเร่ือง
มสธ มสธชาติพันธุ์ที่สื่อได้สร้างความหมายเชิงสัญลักษณ์ให้กับคนบางกลุ่มในสังคมโดยเฉพาะสัญลักษณ์ในทางที่
ไม่ดี เช่น ชาวเขากับยาบ้า หรือกรณีม็อบของชาวบ้านก็มีการพาดหัวข่าว “ม็อบอีกแล้ว” “ม็อบไม่เลิก”
สอื่ เองกค็ วรทจ่ี ะนำ� เสนอในรปู แบบทหี่ ลกี เลย่ี งประเดน็ ดงั กลา่ วซงึ่ เปน็ เรอื่ งทล่ี ะเอยี ดออ่ น ดงั นนั้ จะทำ� อยา่ งไร
ไม่ให้สื่อน�ำเสนอจนท�ำให้เกิดอคติหรือทัศนคติให้เกิดความหมายท่ีไม่ดีแก่คนกลุ่มต่าง ๆ
ก้าวใหม่ของการสื่อสารทางการเมือง ย่อมมีผลสะเทือนต่อประเทศไทยไม่มากก็น้อย ด้วยเหตุว่าใน
อดีตท่ีผ่านมา “โลกทัศน์” และ “ทัศนคติ” ของประชาชนไทยส่วนใหญ่ มักได้รับความคิดอิทธิพลจาก
มสธชาตติ ะวนั ตก ทงั้ ยโุ รปและอเมรกิ ามาเปน็ ระยะเวลายาวนานนบั รอ้ ยปี การมสี อื่ ทางเลอื ก เชน่ โทรทศั นอ์ าหรบั
ภาคภาษาอังกฤษ ติดต้ังด�ำเนินการอยู่ใกล้บ้าน การมีสื่อทันสมัย เช่น อินเทอร์เน็ต ที่สามารถส่งผ่าน
ปรากฏการณ์ “ข้ามรฐั ” การให้ความสำ� คัญกบั กระแสหลังสมยั ใหม่ จงึ เปน็ พฒั นาการแปลกใหม่ส�ำหรับสงั คม
การเมืองไทย ในการรับรู้และเข้าใจเหตุการณ์ท้ังระหว่างประเทศและภายในประเทศจากแหล่งข้อมูลอ่ืน
ส่ิงเหล่านี้ถือเป็นบททดสอบส�ำคัญของไทยในการปรับตัวกับสิ่งท้าทายจากโลกภายนอก ภายใต้บริบทของ
มสธ มสธสังคมสารสนเทศแห่งยุคโลกาภิวัตน์ด้วย
การเพม่ิ อำ� นาจใหก้ บั ประชาชนและสรา้ งพลเมอื งใหม้ คี วามเขม้ แขง็ กเ็ ปน็ ปจั จยั สำ� คญั อกี ประการหนงึ่
ต่อการรับกระแสท้าทายในยุคโลกาภิวัตน์และพัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ เมื่อพิจารณาถึงกระบวนการ
เพ่ิมอ�ำนาจประชาชนและการพัฒนาพลเมืองจะพบว่า การให้การศึกษาเป็นรากฐานส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะเปิด
โอกาสให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิ มีช่องทางในการแสวงหาความรู้ อีกทั้งสามารถน�ำความรู้น้ันไปใช้ให้
76 ภัควดี วีระภาสพงษ์. (2550). รัฐประหารไทยในสายตาสื่อเทศ. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการ. รัฐประหาร 19 กันยา.
มสธกรุงเทพฯ: เพ่ิงอ้าง. น. 245.
8-66 การวิเคราะห์การเมือง
เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมโดยรวมควบคู่กับการมีคุณธรรมและจริยธรรม ก็จะเป็นการสร้างสังคมที่
มสธมคี วามเขม้ แขง็ อยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป อยา่ งไรกต็ าม การศกึ ษาหาความรอู้ าจมไิ ดม้ ขี อ้ จำ� กดั เพยี งการแสวงหาความรู้
ได้ในระบบ หรือในชั้นเรียนเท่าน้ัน แต่การแสวงหาความรู้ยังบังเกิดขึ้นได้ในทุกที่ทุกเวลาเป็นการศึกษา
ตลอดชีวิต หรือเป็น “การศึกษานอกระบบ” น่ันเอง การศึกษานอกระบบดังกล่าวจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมี
ช่องทาง หรือ “สื่อสาธารณะ” ท่ีเป็นของประชาชนพลเมืองอย่างแท้จริง และปราศจากการแทรกแซงของ
มสธ มสธกลุ่มทุน ตลอดจนอ�ำนาจธุรกิจการเมืองท่ีขาดความชอบธรรม จึงจะเป็นสื่อท่ีสามารถเป็นช่องทางในการให้
การศึกษาโดยเฉพาะอย่างย่ิง “การศึกษาทางการเมือง” เพ่ือสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพ อันจะน�ำมาซ่ึง
“ประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ” ในอนาคต
แรงผลักดันท่ีก่อให้เกิดแนวคิดส่ือสาธารณะขึ้นในโลก มีที่มาจากปัจจัยทางเทคนิคด้านคล่ืนที่มีอยู่
อย่างจ�ำกัด การส่งผ่านข้อมูลข่าวสารท่ีมีผลกระทบสูงต่อระบบการเมือง สังคม และวัฒนธรรม รัฐจึงต้องเข้า
มาควบคมุ และความไมเ่ ชอื่ มนั่ ในกลไกตลาดวา่ จะทำ� ใหร้ ะบบการออกอากาศเปน็ ไปเพอื่ การบรกิ ารสาธารณะได้
มสธซ่ึงส่ือสาธารณะท่ีแท้จริงควรมีลักษณะดังนี้ ประการแรกเข้าถึงประชาชนทุกคน (Universality)
ประการที่สอง มีความหลากหลาย (Diversity) ประการท่ีสาม มีความเป็นอิสระ (Independence) และ
ประการสุดท้าย มีความแตกต่าง (Distinctiveness) ตัวอย่างส่ือสาธารณะในต่างประเทศ ท้ัง BBC ของ
อังกฤษ PBS ของสหรัฐอเมริกา และ NHK ของญ่ีปุ่นต่างมีลักษณะดังกล่าวข้างต้นเป็นพ้ืนฐาน โดยมีเนื้อหา
มสธ มสธรายการท่ีเป็นกลางและให้สิ่งท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อการบริการและผลประโยชน์ของสาธารณะจากบทเรียนของ
ตา่ งประเทศ รปู แบบสอ่ื สาธารณะทมี่ ศี กั ยภาพและเปน็ ของประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ คอื ประชาชนตอ้ งมสี ว่ นรว่ ม
เป็นเจ้าของ โดยการเก็บ “ค่าธรรมเนียมการรับชม/รับฟัง” (License Fee) เป็นหลัก ซ่ึงต้องมีจ�ำนวนมาก
พอ เป็นอิสระและยุติธรรม ส�ำหรับแนวทางการสนับสนุนสื่อสาธารณะในประเทศไทย มีความเป็นไปได้ท้ัง
การจัดระบบสถานีวิทยุและโทรทัศน์ที่มีอยู่ หรือสร้างสถานีใหม่ข้ึนมาเพ่ือเป็นสื่อสาธารณะโดยเฉพาะ
แนวคิดทางวิชาการในเรื่องสื่อสาธารณะ มีหลักการส�ำคัญคือ สื่อสาธารณะจะต้องยึดถือประโยชน์
มสธของสาธารณะเป็นหลัก โดยมุ่งน�ำเสนอเน้ือหาท่ีมีประโยชน์แก่ประชาชน โดยมีความเป็นอิสระและมีจุดเด่น
ซ่ึงเป็นปรัชญาท่ีแตกต่างจากสื่อเชิงพาณิชย์นอกจากน้ียังต้องมีหลักการส�ำคัญ คือ ประชาชนทุกคนสามารถ
เข้าถึงและมีส่วนร่วมได้ โดยไม่มองประชาชนเป็นเพียงผู้บริโภค การศึกษาประสบการณ์ของส่ือสาธารณะ
ในต่างประเทศ ท�ำให้มองเห็นกลไกส�ำคัญท่ีท�ำให้การด�ำเนินงานของส่ือสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ คือ
การมีคณะกรรมการบริหารจัดการที่มีความสามารถและเป็นอิสระจากรัฐและกลุ่มทุน ประกอบกับการวาง
มสธ มสธระบบโครงสร้างในด้านต่าง ๆ ที่เข้มแข็ง ไม่ว่าจะเป็นการก�ำหนดภารกิจและเน้ือหาท่ีชัดเจน การมีกลไก
ตรวจสอบการท�ำงานที่รับฟังความคิดเห็นจากประชาชน และการมีแหล่งเงินทุนสนับสนุนท่ีเพียงพอในการ
ดำ� เนนิ งาน สำ� หรบั ประเทศไทย การสนบั สนนุ สอื่ มวลชนใหท้ ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ สอื่ สาธารณะไดส้ มบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ จำ� เปน็
อย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการจัดระบบต่าง ๆ ให้ชัดเจนและเหมาะสม77
77 ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์, และวีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง ส่ือสาธารณะ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มสธมหาวิทยาลัย.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-67
กลไกการตรวจสอบสอ่ื ทง้ั สอ่ื กระแสหลกั และสอื่ ทางเลอื กทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กลไก
มสธการตรวจสอบของภาคประชาชน จะสามารถติดตามและตรวจสอบส่ือได้น้ันจะต้องมีการรับรู้ข่าวสารที่
รอบด้านและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ข่าวเรื่องกองทุนหมู่บ้าน ทุกข่าวจะลงเฉพาะด้านดีของกองทุนหมู่บ้าน
เพียงดา้ นเดยี ว แตถ่ า้ สอ่ื สามารถให้ขอ้ มลู รอบด้านได้ เช่น มีหม่บู า้ นใดบา้ งทีไ่ ม่ตอ้ งการไดเ้ งนิ ด้วยเหตผุ ลใด
แลว้ หมบู่ า้ นนน้ั เสนอทางออกอยา่ งไร ดงั นนั้ ถา้ สงั คมสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู เหลา่ นี้ โอกาสทจ่ี ะเกดิ การตงั้ คำ� ถาม
มสธ มสธอย่างต่อเน่ืองของสังคมก็จะเกิดข้ึนได้ กลไกการตรวจสอบจะช่วยให้สังคมเกิดการตั้งค�ำถามต่อเนื้อหาสาระ
ที่สื่อเสนอ และน�ำไปสู่การเสนอทางออกให้สังคม ทั้งน้ีเป้าหมายก็เพ่ือการที่คนในสังคมได้รับข้อมูล
ท่ีรอบด้านและเป็นธรรมซึ่งเป็นข้อจ�ำกัดของสื่อกระแสหลักในปัจจุบัน
ในด้านภาคประชาสังคม ควรมีการส่งเสริมให้เกิดองค์กรหรือการรวมกลุ่มเพ่ือท�ำหน้าที่ตรวจสอบ
กระบวนการสื่อสารและการเมือง เช่น ศูนย์รวมข้อมูลเพ่ือความโปร่งใส ทั้งเร่ืองที่เก่ียวกับส่ือ ธุรกิจ และ
นักการเมือง มีข้อมูลว่าสื่อใด มีบุคคลใดถือหุ้นบ้าง เพ่ือเป็นตัวกระตุ้นให้ประชาชนมีเคร่ืองมือในการติดตาม
มสธและตรวจสอบอีกทางหนึ่ง
ในกระแสโลกาภิวัตน์หรือยุคแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศปัจจุบัน ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นส่ิงที่มีความ
ส�ำคัญเป็นอย่างย่ิงในฐานะที่จะ “สร้างอ�ำนาจและสร้างผลประโยชน”์ ให้เกิดขึ้นกับผู้ที่มี “ความสามารถใน
การเข้าถึง ครอบครอง และรู้จักใช้งานข้อมูลข่าวสารน้ัน” การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จึงเป็นปัจจัย
ส�ำคัญประการหนึ่งในการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการด�ำเนินการ เสนอแนะข้อคิดเห็น ตลอดจน
มสธ มสธการก�ำหนดและตรวจสอบการน�ำนโยบายนั้นไปปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นช่องทางการสื่อสารอีกช่องทางหน่ึงท่ีจะช่วย
สร้างอ�ำนาจและผลประโยชน์ให้กับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ หรือเป็นการใช้เทคโนโลยีในพัฒนา
การเมอื งเพอ่ื สรา้ งอำ� นาจและผลประโยชนใ์ หก้ บั สว่ นรวม แทนทจ่ี ะใชค้ วามกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี รา้ งอำ� นาจ
ใหก้ บั คนเพยี งสว่ นใดสว่ นหนงึ่ ของสงั คมเพอื่ สรา้ งผลประโยชนส์ ว่ นตวั ดว้ ยบทบาทของเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร
ที่มีความส�ำคัญมากโดยเฉพาะกระแสท่ีประชาชนต้องการรับรู้ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง จึงควรมีการนำ� เอา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเมืองของไทยให้ดีขึ้น
มสธส�ำหรับแนวทางในการแก้ไขปัญหาการส่ือสารทางการเมืองในกระแสโลกาภิวัตน์นั้น อาจพิจารณา
ได้จากแนวคิดเรื่องโลกาภิบาล องค์กรอิสระที่ท�ำหน้าท่ีตรวจสอบควบคุมการส่ือสาร และส่ือทางเลือกใน
ยุคโลกาภิวัตน์ ได้ดังน้ี
โลกาภิบาล (Global Governance) และองค์กรอิสระตรวจสอบควบคุมการส่ือสารในกระแส
โลกาภวิ ัตน์
มสธ มสธโลกาภิบาล เป็นค�ำศัพท์ใหม่ทางวิชาการที่ใช้เรียกการมีปฏิสัมพันธ์ทางการเมืองโดยมีจุดประสงค์
เพื่อแก้ไขปัญหาซ่ึงอาจจะมีผลกระทบมากกว่าหนึ่งประเทศหรือหนึ่งภูมิภาค เมื่อไม่มีกฎระเบียบหรืออ�ำนาจ
ใดมาบังคับควบคุมแนวทางการปฏิบัติ แต่เดิม ค�ำว่า “Governance” มีที่มาจากค�ำว่า “การปกครอง”
(governing) หรือ หมายถึง อ�ำนาจในทางการเมือง หรือสถาบันท่ีท�ำหน้าที่ควบคุม ดังนั้น Governance
จึงมีความหมายถึง สถาบันทางการเมืองที่เป็นทางการ ซ่ึงมีเป้าหมายในการประสานสัมพันธ์และควบคุม
มสธความสัมพันธ์ทางสังคมท่ีมีการพ่ึงพาอาศัยกันของแต่ละหน่วยท่ีมีความสามารถในการออกค�ำสั่ง
8-68 การวิเคราะห์การเมือง
“Global Governance” ได้ถูกให้ค�ำจ�ำกัดความโดยนักวิชาการหลายต่อหลายท่าน เช่น James
มสธRosenau กล่าวว่า หมายถึง การออกข้อบังคับท่ีผลบังคับใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในกรณีท่ีไม่มี
อ�ำนาจทางการเมืองใดก�ำหนดหรือระบุไว้
Adil Najam ให้ค�ำจ�ำกัดความว่า เป็นการจัดการเกี่ยวกับกระบวนการของโลกในฐานะท่ีเป็นรัฐบาล
ของโลก และ Thomas G. Weiss ได้ให้ความหมายว่า เป็นความพยายามร่วมกันของนานาชาติในการระบุ
มสธ มสธเข้าใจ และแก้ไขปัญหาระดับนานาชาติหรือปัญหาระดับโลกท่ีอยู่นอกเหนือความสามารถของประเทศใด
ประเทศหน่ึงแต่เพียงผู้เดียวจะแก้ไขได้
ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า โลกาภิบาล ก็คือความพยายามท่ีจะสร้างเครือข่ายระดับนานาชาติเพ่ือ
แก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนในโลกเมื่อไม่มีอ�ำนาจทางการเมืองใดก�ำหนดหรือระบุไว้น่ันเอง
ตัวอย่างหนึ่งของ Global Governance ท่ีเห็นได้ชัดในปัจจุบัน ก็คือ องค์การสหประชาชาติ
(United Nations: UN) ซ่ึงเป็นองค์กรอิสระระดับนานาชาติท่ีต้ังขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายในการช่วยเหลือ
มสธมนุษยชาติ แก้ไขปัญหาสังคมในระดับนานาชาติ แก้ไขปัญหาความยากจนอดอยากในประเทศด้อยพัฒนา
โดยอาศัยความช่วยเหลือจากนานาประเทศ ผ่านเครือข่ายของ “หมู่บ้านโลก” ท่ีเทคโนโลยีในปัจจุบันนี้
สามารถติดต่อส่ือสารกันได้อย่างรวดเร็ว ฉับไว Global Governance จะท�ำให้เกิดความรู้สึกเป็นอันหน่ึง
อนั เดยี วกนั ระหวา่ งคนตา่ งชาตติ า่ งเผา่ พนั ธไ์ุ ดอ้ ยา่ งดี และสมานฉนั ท์ ภายใตบ้ รรทดั ฐานและแบบแผนปฏบิ ตั ิ
มสธ มสธอย่างเดียวกัน ไม่มีการเหยียดเช้ือชาติ สีผิว มีแต่ความร่วมมือร่วมใจกันในการท่ีจะแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ลุล่วง
ไปได้
นอกจากนี้ กระบวนการตรวจสอบควบคุมทางสังคมบนชุมชนออนไลน์ที่เห็นได้ชัดอีกกรณี คือ
การตรวจสอบควบคุมในชุมชน Wikipedia ซึ่งเป็นเว็บไซต์สารานุกรมที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ท่ัวโลกสามารถมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์เนื้อหาสาระในเว็บไซต์ www.wikipedia.org ในภาษาต่าง ๆ
ทว่ั โลก รวมทง้ั สามารถเพม่ิ เตมิ หรอื ถอดเนอื้ หาสาระทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งออกจากเวบ็ ไซตไ์ ด้ อยา่ งไรกต็ าม ในปจั จบุ นั
มสธเร่ิมมีการตั้งค�ำถามเกี่ยวกับความถูกต้องน่าเช่ือถือของเน้ือหาใน Wikipedia เน่ืองจากเว็บไซต์นี้อาจกลาย
เป็นพ้ืนท่ีให้กับกลุ่มต่าง ๆ เข้ามาแทรกแซง ครอบง�ำการน�ำเสนอเน้ือหาท่ีเป็นประโยชน์ของกลุ่มตนเอง
ดังน้ัน จึงมีการเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาชุมชนออนไลน์น้ี โดยให้มีการนับระยะเวลาของข้อความ
ท่ีสามารถอยู่ในเว็บไซต์ได้นานโดยไม่ถูกถอดออก ข้อความเนื้อหาสาระใดที่อยู่นานก็จะมีแต้มมากและได้
รับความน่าเช่ือถือสูง กรณีนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของการตรวจสอบควบคุมทางสังคมในพื้นที่ซ่ึงไม่มีอ�ำนาจทาง
มสธ มสธการเมืองใดหรืออ�ำนาจของประเทศใดประเทศหน่ึงแต่เพียงผู้เดียวจะแก้ไขปัญหาได้
ในประเด็นของการมีองค์กรตรวจสอบควบคุม จะเห็นได้ว่าสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศท่ีมีความ
กา้ วหนา้ ทางการส่อื สารสงู ได้ก่อตงั้ องค์กรอสิ ระท่ีท�ำหน้าที่ดแู ลกจิ การการส่อื สาร คอื “คณะกรรมาธิการกลาง
การสื่อสาร” (Federal Communications Commission: FCC) เป็นองค์กรอิสระท่ีเป็นตัวแทนของรัฐบาล
สหรัฐฯ รับผิดชอบโดยตรงต่อสภาคองเกรส FCC ก่อตั้งข้ึนโดยกฎหมายการสื่อสาร ค.ศ. 1934 และถูก
ก�ำหนดใหม้ หี นา้ ท่ดี แู ลกำ� กบั การสื่อสารระหวา่ งรฐั และระหวา่ งประเทศ ไม่วา่ จะเปน็ วทิ ยุ โทรทศั น์ การสือ่ สาร
มสธทางดาวเทยี ม และทางสายเคเบลิ ซงึ่ อำ� นวยการโดย คณะกรรมาธกิ าร 5 คน ทไี่ ดร้ บั แตง่ ตง้ั จากประธานาธบิ ดี
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-69
และได้รับการรับรองจากวุฒิสภา มีวาระสมัยละ 5 ปียกเว้นเม่ือก�ำหนดให้ไม่มีก�ำหนดวาระ ประธานาธิบดี
มสธแต่งต้ังให้หน่ึงในคณะกรรมาธิการนั้นเป็นประธาน และห้ามไม่ให้มีกรรมาธิการท่ีเป็นสมาชิกพรรคการเมือง
เดียวกันเกิน 3 คน และห้ามไม่ให้ผู้ที่มีผลประโยชน์ในธุรกิจท่ีจะต้องเก่ียวข้องกับการท�ำงานของ
คณะกรรมาธิการ78
ส่อื ทางเลือกในยุคโลกาภวิ ตั น์
มสธ มสธในอดีตแนวคิดและองค์ความรู้ทางวิชาการด้านส่ือสารมวลชนระหว่างประเทศเคยมีขอบเขตชัดเจน
ในประเด็นเร่ืองกระแสการไหลเวียนของข้อมูลและข่าวสาร ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผลมาจากส�ำนักคิดทฤษฎี
จักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม การก่อก�ำเนิดเกิดขึ้นมาของสถานีโทรทัศน์ข่าวผ่านดาวเทียม
24 ช่ัวโมง ภาษาอาหรับ ชื่อว่า “อัลจาซรี า” (Al Jazeera) ตั้งแต่ พ.ศ. 2539 เป็นต้นมาจนกระท่ังถึงปัจจุบัน
ได้พลิกโฉมหน้าวงการส่ือสารมวลชนโลกขนานใหญ่ เนื่องจากความแปลกใหม่ทั้งในด้านรูปแบบและเนื้อหา
จากเดิมท่ีกิจการส่ือสารมวลชน คือ หนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ เคยเป็นตัวกลางในการสนับสนุนและ
มสธส่งเสริมการติดต่อสื่อสารต่าง ๆ ตามท่ีจักรวรรดินิยมต้องการ ช่วงเปลี่ยนผ่านนับจากสมัยสงครามเย็น
มาจนถึงยุคปัจจุบัน ท�ำให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสถานีโทรทัศน์ช่องใหม่ ๆ อย่างเช่น อัลจาซีรา กลายเป็น
ปรากฏการณ์ครั้งส�ำคัญของสื่อสารมวลชนแห่งยุคโลกาภิวัตน์ การถือก�ำเนิดเกิดข้ึนของอัลจาซีรา ถือว่าเป็น
สัญญาณบ่งช้ีถึงข้อจ�ำกัดและอิทธิพลท่ีลดลงของส่ือสารมวลชนตะวันตกทั้งหลาย เช่น AP AFP BBC
มสธ มสธCNN รวมถึงรอยเตอร์ ซ่ึงไม่เพียงต้องเสียสิทธิการผูกขาดเน้ือหาเร่ืองราวและวิธีการน�ำเสนอข่าวสารของ
โลกเทา่ นนั้ แตย่ งั หมายถงึ การถกู ทา้ ทายจากสอ่ื ทางเลอื กใหม่ ๆ ไดต้ ลอดเวลา การประสบความสำ� เรจ็ ภายใน
ระยะเวลาเพียงไม่ก่ีปีของอัลจาซีรา จึงเป็นกรณีศึกษาหนึ่งซึ่งเป็นเร่ืองน่าสนใจในระดับภูมิภาคและระหว่าง
ประเทศ เนื่องจากสถานีโทรทัศน์แห่งนี้ได้ก้าวข้ึนมามีบทบาทในวงการส่ือสารมวลชนระดับโลกได้อย่าง
เต็มภาคภูมิ โดยอาศัยภูมิหลังพ้ืนฐานทางด้านสังคมวัฒนธรรม ผนวกเข้ากับความรู้ความช�ำนาญที่ได้รับ
การถ่ายทอดและสั่งสมจากการท�ำงานร่วมกับส่ือค่ายตะวันตก มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการ
มสธของผรู้ บั สารทอ้ งถน่ิ ถงึ แม้ กลมุ่ ผชู้ มเปา้ หมายของอลั จาซรี าสว่ นใหญค่ อื ชาวอาหรบั และผนู้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
แต่ความส�ำคัญของสถานีโทรทัศน์แห่งนี้มีขอบข่ายกว้างไกลและสามารถสร้างความสั่นสะเทือนไปจนถึง
ในระดับโลก79
นอกจากนี้ ยังมีสื่อทางเลือกอ่ืนในยุคโลกาภิวัตน์ซึ่งเทคโนโลยีมีต้นทุนท่ีต�่ำลงและมีความสะดวก
มากยิ่งข้ึน เช่น วิทยุทางอินเทอร์เน็ต (Internet Radio) ท่ีออกอากาศผ่านทางเว็บไซต์ (web casting) หรือ
มสธ มสธโทรทัศน์ทางอินเทอร์เน็ต สื่อทางเลือกเหล่าน้ีจะเป็นตัวแย่งชิงเวลาซึ่งมีอยู่อย่างจ�ำกัดตายตัวไปจากส่ือหลัก
อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนส่ิงพิมพ์ ในต่างประเทศน้ันมีการริเริ่มส่ือทางเลือกเหล่านี้และ
มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จนกระท่ังระยะหลังเริ่มถูกมองจากกลุ่มมืออาชีพว่าเป็นทิศทางท่ีน่าลงทุน
เช่น อดีตผู้บริหาร MTV อดีตผู้บริหาร AOL และบริษัทลงทุนบางแห่ง บริษัทที่คนกลุ่มน้ีมาร่วมกันผลักดัน
คือ “เน็กซท์ นิว เน็ตเวิร์กส” เพ่ือท�ำสถานีอินเทอร์เน็ต ทีวี ด้วยเงิน 8 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ ราว 280
78 ไชยันต์ ไชยพร. (2545). อ้างแล้ว. น. 76.
มสธ79 อัศวิน เนตรโพธ์ิแก้ว. (ม.ป.ป.). อ้างแล้ว.
8-70 การวิเคราะห์การเมือง
ล้านบาท โดยเปิดตัวข้ึนมาพร้อมกัน 5 สถานี ประกอบด้วย fastlanedaily.com น�ำเสนอข่าวรายวันส�ำหรับ
มสธคนรักรถ threadbanger.com เป็นรายการเก่ียวกับการตัดเสื้อผ้าและเย็บปักถักร้อย channelfrederator.
com เป็นรายการแอนิเมช่ัน VODCars.com ที่เป็นเร่ืองส�ำหรับคนรักรถ สุดท้ายคือ pulpsecret.com
เสนอข่าวสารและความเคล่ือนไหวในแวดงวงหนังสือการ์ตูน เน้ือหาสาระของสถานีท้ังห้าน้ีเป็นส่ิงท่ีหาไม่ได้
จากทีวีโดยท่ัวไป ท�ำขึ้นมาเจาะตลาดใหม่ซ่ึงเป็นตลาดเฉพาะกลุ่ม โดยกลุ่มที่ท�ำหวังว่าน่าจะเป็นธุรกิจท่ี
มสธ มสธให้ผลตอบแทนได้ดี80 มีผู้ชมวิดีโอจากอินเทอร์เน็ตกันอย่างมหาศาลด้วยข้อพิสูจน์จากเว็บ youtube.com
และในอนาคตจะมีสื่อทางเลือกเช่นนี้เกิดข้ึนมาให้เลือกชมได้โดยไม่ต้องพ่ึงพาอาศัยสื่อมวลชนกระแสหลัก
ทั้งหลายท่ียากจะกลายเป็นส่ือเสรีท่ียืนอยู่ข้างประชาชนและผู้เสียเปรียบได้อย่างจริงจัง
การแก้ไขปัญหาการคุกคามส่ือมวลชนจากอาณาจักรทุน ผ่านงบโฆษณาที่ก�ำลังเกิดขึ้นใน
สหรฐั อเมรกิ าปจั จบุ นั น้ี หรอื แมก้ ระทง่ั การครอบงำ� สอื่ มวลชนดว้ ยอำ� นาจรฐั ผา่ นการใชม้ าตรการทางกฎหมาย
และการใช้ก�ำลัง ก็ยังถูกควบคุมทางสังคมตามกระบวนการท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ เช่น ส่ือทางเลือก เพ่ือก่อ
มสธให้เกิด “ดลุ อ�ำนาจในสงั คม” อีกด้วย โดยเมื่อถึงจุดหน่ึง ประชาชนจะพากันปฏิเสธเน้ือหาสาระของสื่อท่ีถูก
ควบคุมและแทรกแซงโดยอาณาจักรทุน หรือเนื้อหาสาระท่ีถูกครอบง�ำโดยอ�ำนาจรัฐ ท้ังน้ี เพราะเนื้อหาดัง
กล่าวจะไม่สามารถตอบสนองความสนใจหรือผลประโยชน์ของประชาชนได้เท่าท่ีควร เน่ืองจากแนวคิดพ้ืน
ฐานของระบบทุนนิยม หรืออ�ำนาจรัฐ จะมุ่งตอบสนองตามความพอใจของกลุ่มธุรกิจ หรือกลุ่มผู้มีอ�ำนาจรัฐ
มสธ มสธเป็นส�ำคัญ โดยมิได้ตระหนักถึง “ประโยชน์ของสาธารณะ” เป็นท่ีต้ัง และเมื่อถึงจุดนั้น ทุกอย่างก็จะกลับคืน
สู่สภาวะปกติ อย่างไรก็ตาม สิ่งท่ีกล่าวมาจะเกิดขึ้นเองไม่ได้ ทว่าจะต้องมีการกระตุ้นเตือน
จากสังคมเพื่อช่วยกันก�ำจัดสิ่งเหล่านี้ ท้ังในส่วนของประชาชนและสื่อมวลชน เพื่อสร้างประชาสังคมที่มีความ
เข้มแข็งในการเหน่ียวร้ังพลังของตลาด และลดอ�ำนาจรัฐเพ่ิมอ�ำนาจประชาชนน่ันเอง
ปรากฏการณ์ “สงครามสอื่ ” ในการชุมนุมประท้วงรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ช่วงปลาย พ.ศ.
2548–2549 มีการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตท่ีทันสมัยผ่านทางเว็บไซต์ กระดานสนทนาหรือเว็บบอร์ดจากทั้ง
มสธฝา่ ยตอ่ ตา้ น เชน่ เวบ็ ไซตผ์ จู้ ดั การออนไลน์ (www.manager.co.th) เวบ็ ไซตไ์ ทยอนิ ไซดเ์ ดอร์ ฝา่ ยสนบั สนนุ
รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เช่น เว็บไซต์รีพอร์ตเตอร์ (www.reporter.co.th) ได้กลายเป็นส่ือที่มีบทบาท
และความส�ำคัญเนื่องด้วยคุณสมบัติเฉพาะตัวท่ีมีเสรีภาพค่อนข้างสูงท�ำให้ยากต่อการตรวจสอบควบคุม
ไม่ว่าจากฝ่ายรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หรือฝ่ายต่อต้าน รวมถึงความคงทนถาวรของเน้ือหาสาระ
ที่ผู้รับสารหรือผู้อ่านสามารถเข้าชมได้ตลอดเวลาไม่ว่าจากสถานที่ใดก็ตาม ในทางตรงข้าม ด้วยความมี
มสธ มสธเสรีภาพและปราศจากการควบคุม บางคร้ังส่ือทันสมัยเหล่าน้ีจึงถูกใช้ไปในทางการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารท่ี
ไม่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง แต่กลับกลายเป็นเคร่ืองมือใน “การปั่นภาพ” (spin doctoring) สร้าง
วาทกรรมเพ่ือท�ำลายศัตรูทางการเมืองอีกฝ่ายหน่ึง หรือกลายเป็นเวทีโต้ตอบกันไปมาระหว่างคู่ตรงข้าม
ทางการเมือง ดังเช่น กรณีวาทกรรม “คู่ตรงข้าม” ที่พยายามแบ่งฝ่ายและให้เลือกข้างระหว่าง “คนดี” กับ
“คนไม่ดี” รวมท้ังการกล่าวถึง “วาทกรรมการซื้อขายเสียง” ความสุจริตโปร่งใส การคอร์รัปชันเชิงนโยบาย
มสธ80 ศิริพงษ์ วิทยวิโรจน์. (2550). อินเทอร์เน็ต ทีวี. มติชนรายวัน. 12 มีนาคม 2550, น. 6.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-71
และผลประโยชน์ทับซ้อน อันเป็นความล�ำเอียงของคนในเมืองท่ีน�ำเอามาตรฐานของตนไปตัดสินให้คุณค่า
มสธคนในชนบทและสนับสนุนการปกครองของชนช้ันน�ำ81
การต่อสู้ทางวาทกรรมได้ปรากฏชัดทางสื่อเฉพาะกลุ่มรูปแบบต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
ASTV วิทยุชุมชน FM 92.25 กระดานสนทนาของเว็บไซต์ประชาไท (www.prachatai.com) และ
ห้องราชด�ำเนินซ่ึงเป็นกระดานสนทนาของเว็บไซต์พันทิป (www.pantip.com) ท่ีต่อมาก็ยังเป็นเวทีในการ
มสธ มสธโต้ตอบกันระหว่างฝ่ายสนับสนุนและฝ่ายต่อต้านการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 และคณะมนตรี
ความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) อีกด้วย
สงครามส่ือในคร้ังน้ัน นอกจากฝ่ายต่อต้านแล้ว ฝ่ายสนับสนุนรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ยังมี
การใช้สื่อแบบครบวงจรด้วยการเปิดตัวหนังสือพิมพ์ เดอะรีพอร์ตเตอร์ รายสัปดาห์ขึ้นมาด้วย ตลอดจน
การเตรียมขอเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม NSS 6 ของเนเธอร์แลนด์ และไทยคม 3 เพ่ือน�ำเสนอข่าวโทรทัศน์
ผ่านดาวเทียมช่องใหม่ ซ่ึงถือเป็นความเคลื่อนไหวในสงครามส่ือระหว่าง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รักษาการ
มสธนายกรัฐมนตรีและหัวหน้าพรรคไทยรักไทย กับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย โดยมีเป้าหมาย
เพ่ือตอบโต้กับนายสนธิ ล้ิมทองกุล ผู้ก่อต้ังหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ หนึ่งในแกนน�ำประท้วงระบอบทักษิณ
เนื่องจากสถานีโทรทัศน์ ASTV ของกลุ่มผู้จัดการนั้นเช่าดาวเทียม NSS 6 ของเนเธอร์แลนด์ด้วยเช่นกัน
การสื่อสารทางการเมืองของไทยในกระแสโลกาภิวัตน์มีการพัฒนาจากยุคสมัยที่ส่ือถูกควบคุม
มสธ มสธก�ำหนดเน้ือหาสาระของข่าวสารโดยอ�ำนาจรัฐ มาสู่ลักษณะท่ีไม่แตกต่างจากกระแสการส่ือสารทางการเมือง
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทวั่ โลกภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของการครอบงำ� จากกลมุ่ ทนุ ผนวกกบั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในภาวะท่ีกลุ่มทุนสามารถมีบทบาทและอิทธิพลในการใช้อ�ำนาจรัฐ ในทางตรงข้ามพลังของอ�ำมาตยาธิปไตย
ซ่ึงเป็นผู้กุมอ�ำนาจรัฐอยู่แต่เดิมก็มีการตอบโต้ด้วยการพยายามควบคุมสื่อให้เป็นเคร่ืองมือในการส่ือสาร
ระหว่างระบบราชการกับมวลชนมากกว่าท่ีจะเป็นเครื่องมือของกลุ่มทุน เช่น การออกมาตรการหรือกฎหมาย
ตา่ ง ๆ ทจ่ี ะปอ้ งกนั การครอบงำ� สอ่ื จากกลมุ่ ทนุ การสรา้ งสอื่ สาธารณะทส่ี ามารถดำ� เนนิ การไดโ้ ดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ ง
มสธอาศยั รายไดจ้ ากการโฆษณามากนกั สภาพการณเ์ ชน่ นส้ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ในสงั คมการเมอื งทม่ี ลี กั ษณะเปลย่ี นผา่ น
(Prismatic society) ประชาชนบริโภคข้อมูลข่าวสารท่ีหลั่งไหลในยุคโลกาภิวัตน์โดยปราศจากวิจารณญาณ
เช่นประเทศไทยนั้น สื่อสารมวลชนจึงเป็นเครื่องมือกลไกท่ีมีความส�ำคัญในการเร่งเร้าหรือระดมมวลชน
มีบทบาทเป็นผู้ก�ำหนดวาระทางการเมืองและสังคม ตลอดจนประชาชนก็ถูกอิทธิพลของสื่อ “ตัดสินและคิด
แทน” รวมท้ังสร้างภาพลักษณ์หรือท�ำลายภาพลักษณ์ของฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตราบนั้น
มสธ มสธความพยายามในการ “ช่วงชิงพ้ืนที่สื่อ” ก็ยังคงเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดควบคู่กับการเมืองไทยในทุกยุคสมัย
น่ันเอง
หลงั จากศึกษาเน้อื หาสาระเรื่องที่ 8.3.2 แลว้ โปรดปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 8.3.2
ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 8 ตอนที่ 8.3 เรื่องที่ 8.3.2
81 ธงชัย วินิจจะกูล. (2550). ข้ามไม่พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา: ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชนกับการ
มสธรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการ. รัฐประหาร 19 กันยา. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน. น. 47-49.
8-72 การวิเคราะห์การเมือง
บรรณานุกรม มสธกมลรฐั อนิ ทรทศั น.์ (2017). เทคโนโลยสี ารสนเทศและทฤษฎกี ารสอ่ื สาร. http://www.stou.ac.th/Thai/Schools/
มสธ มสธsca/MA_TEXT/UNIT10.txt ค้นคืนเม่ือ September 20, 2017)
กาญจนา แก้วเทพ. (2541). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กิติมา สุรสนธิ. (ม.ป.ป.). ความรู้ทางการส่ือสาร. เอกสารโรเนียวเย็บเล่ม คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กีรติ บุญเจือ. (ม.ป.ป.). ปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์นเล่มต้น เริ่มรู้จักปรัชญา. กรุงเทพฯ: แผนกพิมพ์และผลิต
เอกสารมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
มสธชวนะ ภวกานันท์. (2548). การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางการส่ือสาร. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวิธีการศึกษา
ทางรัฐศาสตร์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
. (2555). ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมือง. ใน ประมวลสาระชุดวิชาการสื่อสารทางการเมือง. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2541). ประชารัฐกับการเปล่ียนแปลง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.
มสธ มสธไชยันต์ ไชยพร. (2545). พัฒนาการของสื่อกับปรัชญาสิทธิเสรีภาพและพ้ืนที่สาธารณะ แง่คิด บทเรียนและปัญหา
บางประการจากสังคมตะวันตก. เอกสารประกอบวิชาสัมมนาเรื่อง ส่ือ พ้ืนที่สาธารณะ โลกาภิวัตน์กับ
ประชาธิปไตย. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์, และวีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง สื่อสาธารณะ. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2550). ข้ามไม่พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา: ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชนกับการ
มสธรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน ธนาพล อ๋ิวสกุล บรรณาธิการ. รัฐประหาร 19 กันยา. กรุงเทพฯ:
ฟ้าเดียวกัน.
บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. (2537). ฐานันดรท่ีสี่: จากระบบโลกถึงรัฐไทย. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
. (2539). ฐานันดรที่สี่: จากระบบโลกถึงรัฐไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
บุณฑริกา เจ่ียงเพ็ชร์. (2543). พฤติกรรมการส่ือสารทางการเมืองผ่านส่ือมวลชน สื่อบุคคล ส่ืออินเทอร์เน็ต และ
ทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และกิจกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง
มสธ มสธท่ีเกยี่ วกับการเลอื กตัง้ ระบบใหมข่ องกลุ่มผูใ้ ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธว์ ารสารศาสตร
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัสนัย นุตาลัย. (2540). การสื่อสารทางการเมืองของชนชั้นกลาง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัควดี วีระภาสพงษ์. (2550). รัฐประหารไทยในสายตาสื่อเทศ. ใน ธนาพล อ๋ิวสกุล บรรณาธิการ. รัฐประหาร 19
กันยา. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
มสธรจิตลักษณ์ แสงอุไร. (2548). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แนวคิดการสื่อสารทางการเมือง 8-73
วัชรา ไชยสาร. (2017). การรณรงค์หาเสียงเลือกต้ัง: กลยุทธ์การสื่อสารการตลาด. http://www.thaitopic.com/
มสธmag/pol/imc01.htm ค้นคืนเม่ือ September 20, 2017
ศิริพงษ์ วิทยวิโรจน์. (2546). อินเทอร์เน็ต ทีวี. มติชนรายวัน. 12 มีนาคม 2550, น. 6.
สถิต นิยมญาติ. (2524). สังคมวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สมเกียรติ ต้ังมโน. (2017). Baudrillard: เจ้าพ่อสื่อหลังสมัยใหม่ เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเท่ียงคืน. สืบค้นจาก http://
มสธ มสธwww.midnightuniv.org/midculture44/newpage7.html สืบค้นเม่ือ September 20, 2017
สุกัญญา สุดบรรทัด. (2542). เมืองสารสนเทศในกระบวนทัศน์ใหม่. วารสารนิเทศศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
น. 6.
สุภาภรณ์ ติ่งอินทร์. (2553). กลยุทธ์การสื่อสารของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ท่ีเคยด�ำรงต�ำแหน่งก�ำนัน. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรพงษ์ โสธนเสถียร. (2534). การโฆษณาหาเสียงกับพฤติกรรมการเลือกต้ัง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษา
ประชาธิปไตยและการพัฒนา.
มสธ . (2545). การสื่อสารกับการเมือง. กรุงเทพฯ: ประสิทธิ์ภัณฑ์ แอนด์ พริ้นต้ิง.
เสถียร เชยประทับ. (2540). ความรู้เกี่ยวกับการส่ือสารทางการเมืองในสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
อลงกรณ์ อรรคแสง. (2553). พัฒนาการและการสื่อสารแนวคิดการมีส่วนร่วมทางการเมืองในสังคมไทย ต้ังแต่ปี
มสธ มสธพ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัศวิน เนตรโพธ์ิแก้ว. (ม.ป.พ.). สถานีโทรทัศน์อัลจาซีรา: สื่อมวลชนสากลของโลกอาหรับ. กรุงเทพฯ:
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Agree, W.K., Ault P.H., & Emery, E. (1976). Introduction to mass communication. New York,
NY: Harper & Row.
Almond, G.A., & Coleman, J.S. (1960). The Politics of the Developing Area. Princeton: Princeton
University Press.
มสธAnura Goonasekara. (1997). Asia and the Information Revolution. Asian Journal of Communication,
7(2):
Bertrand de Jourenel. (1693). On the Nature of Political Science The Pure Theory of Politics.
New Haven: Yale University Press.
David K. Berio. (1960). The Process of Communication. New York, NY: Holt, Rihehart and Winston,
มสธ มสธInc.
David T. Hill & Krishna Sen. (2000). The Internet in Indonesia’s New Democracy Democrati-zation,
7(1). n.p.
Everett, M. Rogers. (1973). Communication Strategies for Family Planning. New York, NY: Free
Press.
. (1976). Communication and Development: The Passing of Dominant paradigm,
มสธCommunication Research.
8-74 การวิเคราะห์การเมือง
F.E.X. Dance. (1967). Human Communication Theory. New York, NY: Holt.
มสธHarold, D Lasswell. (1948). The Structure and Functional of Communication In Society. The Com-
munication of Ideals, Lyman Brysoned. New York, NY: Harper and Row Publishers.
Heinz, Eulau. (1963). The Behavioral Persuasion in Politics. New York, NY: Random House.
Ithiel de Sola Pool. (1967). Contemporary Political Science: Toward Empirical Theory. New York,
มสธ มสธNY:McGraw-Hill.
J.T. Klapper, (1954). The Effects of Mass Communication. New York, NY: Prentice-Hall.
Jim, Ericson. (1998). The World on a Wire. Asia Week. (April 17, 1998): 45
John, Fiske. (1962). Introduction to Communication Studies. New York, NY: Methuen & Co. Ltd.
Marshall, McLuhan & Stevenson, Nich. (1&998). Understanding Media Culture. London: Sage
Publication.
McNair, B. (2003). An Introduction to Political Communication (2nd ed.). New York, NY: Routledge.
มสธMcPhail, T.L. (2006). Global Communication: Theories, Stakeholders and Trends. UK: Blackwell.
McQual, D. (1995). Mass Communication Theory (3rd ed.) London: Sage Publication.
Melvin L. De Fleur. (1966). Theories of Mass Communication. New York, NY: David McRay.
P.R.R. Sinha. (1976). Relationship Between Communication Theory and Practice. A Report Edited
มสธ มสธby Guy de Fontgalland, Singapore Seminar.
Pye, Lucian W. (1972). Introduction. In Communication and Political Development. New Jersey.
NJ: Princeton University Press.
Ray Robert. (1964). Rhetorica, The Work of Aristotle W.D. Rossed. London: Oxford University.
Rinehart, & Winston & Brent, D. Ruben (1967). Communication and Human Behavior.
New York, NY: Macmillan Publishing Company.
Robert, E. Denton, Jr. & G.C. Woodward. (1998). Political communication in America (3rd ed.).
มสธNew York, NY: Praeger.
Rush, M., & Althoff, P. (1971). An Introduction to Political Sociology. London: ThomasNelson and
Sons.
Warren, K. Agree et al. (1991). Global Impact of The Media in Introduction to Mass Communication
(11th ed.). New York, NY: Harper Collins Publishers.
มสธ มสธWilbur, Schramm & Deniel, Lerner. (1976). Communication and Change: The last Ten Years and
the Next. Honolulu: East-West Center.
Wilbur, Sehramm. (1967). Mass Media and National Development. Stanford: Stanford University
มสธPress.
9 มสธหนว่ ยที่
มสธ มสธรัฐศาสตร์กับจติ วทิ ยา
รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณทิพย์ ศริ วิ รรษบุศย์
มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธช่ือ
วุฒิ
ต�ำแหน่ง
มสธหน่วยทเี่ขยี น
รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณทพิ ย์ ศิรวิ รรษบุศย์
ค.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
M.Ed. (การประถมศึกษา) University of North Carolina
Ph.D. (พัฒนาการมนษุ ย)์ University of North Carolina
รองศาสตราจารย์ประจำ� คณะจติ วิทยา
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หนว่ ยท่ี 9
9-2 การวิเคราะห์การเมือง
รัฐศาสตร์กบั จิตวทิ ยมา สธหนว่ ยท่ี9
มสธ มสธเคา้ โครงเนอื้ หา
ตอนท่ี 9.1 ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา
9.1.1 ความหมายและความเป็นมาของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา
9.1.2 ทฤษฎีการศึกษาวิจัยสหวิทยาการรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา
ตอนที่ 9.2 อิทธิพลของกระบวนการอบรมกล่อมเกลาทางสังคมที่มีต่อรัฐศาสตร์
มสธ 9.2.1 การปลูกจิตส�ำนึก การจูงใจ และการสร้างความรับผิดชอบทางการเมือง
9.2.2 จิตวิทยาและพฤติกรรมทางการเมือง: การเลือกต้ังและการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
ตอนท่ี 9.3 ทฤษฎีบุคลิกภาพผู้น�ำทางจิตวิทยาและบุคลิกภาพผู้น�ำทางการเมือง
มสธ มสธ 9.3.1 จิตวิทยาผู้น�ำทางการเมือง
9.3.2 การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำ
9.3.3 จิตวิทยาผู้ตามในวิถีประชาธิปไตย
ตอนที่ 9.4 จิตวิทยาการสื่อสารและการจัดการความขัดแย้งทางการเมือง
9.4.1 ทฤษฎีจิตวิทยาการส่ือสารกับพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชน
9.4.2 การจัดการความขัดแย้งทางการเมืองและสันติวิธี
มสธ มมสสธธ มสธแนวคิด
1. ศกึ ษาแนวคดิ ทว่ั ไปของรฐั ศาสตรก์ บั จติ วทิ ยาในแงข่ องความหมาย ความเปน็ มาและ ความ
สัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา นอกจากน้ีให้ภาพวิวัฒนาการของทฤษฎีทาง
รัฐศาสตร์ที่ผสมผสานกับความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาในการอธิบายพฤติกรรมของผู้น�ำ
และพฤติกรรมทางการเมืองการปกครองในโลกยุคปัจจุบันและอนาคต
2. เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์และจิตวิทยา โดยให้รายละเอียดเนื้อหาของ
ทฤษฎีจิตวิทยาท่ีสัมพันธ์กับวิชารัฐศาสตร์ เช่น ทฤษฎีการเรียนรู้ของอัลเบิร์ต แบนดูรา
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันด์ ฟรอยด์ และทฤษฎีผู้น�ำของนิกโกโล แมคเคียเวลล่ี
3. เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา โดยการใช้ทฤษฎีทาง
จิตวทิ ยา อธิบายพฤตกิ รรมทางการเมืองของบคุ คล ท�ำความเข้าใจระบบการเมอื งที่ เหมาะ
สมกับลักษณะวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของบุคคล ตลอดจนการใช้กระบวนการกล่อมเกลา
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-3
มสธ มสธ มสธทางสงั คม พฒั นาบคุ คลไปสเู่ ปา้ หมายทางการเมอื งทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนการใชท้ ฤษฎี
ทางจิตวิทยาแก้ไขความขัดแย้งทางการเมืองและสร้างสันติสุขในสังคม
วัตถุประสงค์
เม่ือศึกษาหน่วยท่ี 9 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
มสธ1. อธิบายความหมาย ความเป็นมาและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยาได้
2. อธบิ ายทฤษฎตี า่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั ศาสตรก์ บั จติ วทิ ยา เชน่ ทฤษฎี
การเรียนรู้ทางสังคมของอัลเบิร์ต แบนดูรา หรือทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพของอีริค อีริคสัน
และสามารถน�ำองค์ความรู้จากทฤษฎีทางจิตวิทยามาอธิบายพฤติกรรมทางการเมืองและ
มสธ มสธใช้พัฒนาระบบการเมืองให้มีคุณภาพได้
3. อธิบายลักษณะของผู้น�ำและกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำ และความส�ำเร็จใน
มสธ มมสสธธ มสธการน�ำการพัฒนาสันติวิธีโดยผู้น�ำได้
9-4 การวิเคราะห์การเมือง
มสธตอนท่ี 9.1
ความหมายและความสัมพันธร์ ะหว่างรฐั ศาสตรก์ บั จิตวทิ ยา
มสธ มสธโปรดอ่านแผนการสอนประจ�ำตอนที่ 9.1 แลว้ จงึ ศึกษาเนือ้ หาสาระ พรอ้ มปฏบิ ตั ิกิจกรรมในแต่ละเรือ่ ง
หวั เร่อื ง
เร่ืองที่ 9.1.1 ความหมายและความเป็นมาของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา
เรื่องที่ 9.1.2 ทฤษฎีการศึกษาวิจัยสหวิทยาการรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา
มสธแนวคดิ
1. การศึกษาเกี่ยวกับรัฐศาสตร์กับจิตวิทยา มีพ้ืนฐานความคิดร่วมกัน นั่นคือหลักเหตุและ
ผลทางรัฐศาสตร์และจิตวิทยา มีพ้ืนฐานความคิดเกิดร่วมกันจากแนวคิดปรัชญาของ
เพลโต อริสโตเติล และโสกราตีส และจิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
โดยวิธีวิทยาศาสตร์ ฉะน้ัน จึงสามารถใช้อธิบายพฤติกรรมการเมืองของบุคคลได้
มสธ มสธ2. แนวทางการศึกษาเก่ียวกับรัฐศาสตร์และจิตวิทยา ได้รับความสนใจมานานแล้ว และใน
ปัจจุบันศึกษาในกลุ่มเล็ก ๆ ไม่แพร่หลาย แต่ได้มีการพยายามฟื้นฟูโดยการใช้หลักการ
เรียนรู้พฤติกรรมการจัดระบบการเมืองในอนาคตให้ดีกว่าในปัจจุบันท่ีพัฒนาระบบ
การเมืองโดยรูปแบบและทฤษฎีทางการเมือง แต่ไม่เชื่อมโยงกับการกินดีอยู่ดีของสมาชิก
สังคม
มสธวตั ถุประสงค์
เม่ือศึกษาตอนท่ี 9.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความหมายและความเป็นมาของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับจิตวิทยาได้
มสธ มสธ มสธ2. อธิบายการใช้ทฤษฎีจิตวิทยาอธิบายพฤติกรรมทางการเมืองได้
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-5
มสธเร่อื งท่ี 9.1.1 ความหมายและความเปน็ มาของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
รัฐศาสตรก์ ับจิตวิทยา
มสธ มสธรัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ศึกษามาเป็นระยะเวลานานในเชิงของปรัชญา ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณใน
ทวีปยุโรป โดยศึกษาแนวความคิดของนักปรัชญา เช่น เพลโต อริสโตเติล ล็อค เจฟเฟอร์สัน มาร์กซ์ เลนิน
ต่อมาศาสตร์นี้พัฒนาไปสู่สังคมศาสตร์ โดยการพัฒนาทฤษฎีข้อสมมติฐานทางพฤติกรรมการเมืองได้มีการ
ศึกษาวิจัยพฤติกรรมองค์การในเชิงสร้างองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ท่ีอาจไม่เกิดประโยชน์โดยตรง
กับมนุษย์และสังคม แต่เป็นองค์ความรู้ที่ผู้ศึกษาสนใจและอยากรู้ การศึกษาวิจัยในลักษณะนี้เกิดข้ึนทั้งใน
มสธยุโรป และแผ่ขยายเข้าไปในทวีปอเมริกา ในสหรัฐอเมริกาวิชารัฐศาสตร์สามารถเป็นศาสตร์ท่ีสอนใน
มหาวิทยาลัยหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ในคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ตอนปลายซึ่งเป็นผลจากงานของวูดโรว์ วิลสัน
(Woodrow Wilson) (1885) เรื่อง Congressional Government และการสอนยังคงเป็นลักษณะศึกษา
ทฤษฎที างการเมอื งในแนวปรชั ญา วอลเลอร์ ลปิ ปแ์ มนน์ (Waller Lippmann) (1914) เสนอแนวคดิ วา่ ความ
คิดหรือทฤษฎีทางการเมืองอาจมีความผิดพลาดสูง เพราะการเขียนทฤษฎีนั้นปราศจากข้ออ้างอิงพฤติกรรม
มสธ มสธมนุษย์ในเชิงประจักษ์ ฉะนั้น นักรัฐศาสตร์รุ่นใหม่ในสหรัฐอเมริกาจึงหันมาสนใจศึกษารัฐศาสตร์แนว
พฤติกรรมนิยมมากข้ึน ซ่ึงแนวพฤติกรรมนิยมนี้ส่วนหน่ึงคือ ทฤษฎีทางจิตวิทยาน่ันเอง นักรัฐศาสตร์ให้
ความสนใจศึกษาในเชิงการกระท�ำที่สอดคล้องกับทฤษฎี เช่น จะพัฒนาพฤติกรรมประชาธิปไตยในเยาวชน
ได้อย่างไร พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนท่ัวไปเกิดขึ้นเพราะอะไร ในช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 การ
ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองเร่ิมเกิดขึ้นแต่เฉพาะเมื่อนักรัฐศาสตร์สนใจศึกษาว่าคนเลือกตั้งด้วยเหตุผล
อะไร หรือศึกษาในลักษณะท่ีพัฒนาระบบการเมืองตามทฤษฎี โดยศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีทางการเมืองเท่าน้ัน
มสธมิได้มีการศึกษาพัฒนาระบบการเมืองท่ีสอดคล้องกับการเป็นอยู่อันดีของประชาชนที่อยู่ใต้การปกครองนั้น
ในการศึกษาวิทยาศาสตร์ นกั วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษาสาเหตกุ ารเกดิ ภยั ธรรมชาติตา่ ง ๆ เพือ่ ปอ้ งกนั และ
แก้ไขภัยจากธรรมชาติ เป็นการศึกษาวิธีเตือนภัยและการป้องกันตนเองจากคล่ืนสึนามิ (TSUNAMI) หรือ
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แต่ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมานักรัฐศาสตร์ยังมิได้ศึกษารูปแบบการปกครองท่ีจะ
ท�ำให้เด็กและเยาวชนมีความเป็นอยู่อันดี หรือศึกษาความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน มิได้ศึกษาวิธีการป้องกัน
มสธ มสธความขัดแย้งรุนแรงที่อาจน�ำมาซ่ึงความหายนะของประชาชนและประเทศชาติท้ัง ๆ ท่ีมีประวัติศาสตร์
การเมืองเป็นวัฏจักรที่สอนเราอยู่ซ้ําแล้วซ้ําเล่า
ฮัน เจ เอลเซนก์ (Han J. Eysenck)1 แสดงความเห็นว่า ในความสงบสุขของประเทศชาติ
และสังคมนั้นเกิดจากความสงบสุขในจิตใจของมนุษย์นั่นเอง ความรุนแรง ขัดแย้ง จลาจล ก็เกิดจากความ
รุนแรง ขัดแย้งและก้าวร้าวในใจของคนนั่นเอง
มสธ 1 Han J. Eysenck. (1999). The Psychology of Politics. New Jersey, N.J.: Transaction Pub.
9-6 การวิเคราะห์การเมือง
สมการทางจิตวิทยาที่แสดงถึง ผลกรรมของมนุษย์ที่เกิดจากพฤติกรรม ได้แก่
มสธB = f(OE)
โดย B = พฤติกรรม O = พฤติกรรมท่ีสังเกตได้ E = สิ่งแวดล้อม นั่นคือ พฤติกรรมของมนุษย์
เป็นผลรวมของปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์ (organism) และส่ิงแวดล้อม (environment) ซ่ึงหมายรวมถึง
มสธ มสธพฤติกรรมทางการเมืองด้วย
ปัจจุบันในยุคของนักจิตวิทยารุ่นใหม่ เช่น อัลเบิร์ต แบนดูรา (Albert Bandura)2 อธิบายผลกรรม
ในลักษณะสมการปฏิสัมพันธ์ตาม ภาพท่ี 9.1 ดังน้ี
B
มสธP E
มสธ มสธภาพที่9.1แสดงพฤตกิ รรมตามทฤษฎขี องแบนดูรา
แบนดูรา3 ได้อธิบายว่า พฤติกรรมของบุคคล (B) จะเป็นเช่นไรน้ันอยู่ท่ีสิ่งแวดล้อม (E) คือ
กระบวนการถ่ายทอดทางสังคมของครอบครัว โรงเรียน ระบบการเมือง และระบบสังคมที่เขาอยู่ปฏิสัมพันธ์
กับความเป็นตัวของเขาเอง (P) และการปฏิสัมพันธ์นี้จะส่งผลต่อทิศทางการแสดงออกของพฤติกรรมของเขา
ตามตารางท่ี 9.1
มสธตารางท่ี 9.1 ตารางแสดงพฤตกิ รรมบุคคลทางการเมอื ง
สิ่งแวดล้อมของสังคมประชาธิปไตย เผด็จการ
บุคคล
มีคุณภาพ คับข้องใจ
มสธ มสธศักยภาพสูง สูง
สูง
คับข้องใจ ผู้ตาม
ศักยภาพสูง ท่ีเช่ือฟัง
ตํ่า
มสธ 2 A. Bandura. (1991). Self-Efficacy. New York, N.Y.: W.H. Freeman and Co.
3 Ibid.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-7
มสธทฤษฎีทางรฐั ศาสตรท์ ่ีอยู่บนพนื้ ฐานทางจิตวิทยา
ในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 20 นักรัฐศาสตร์ให้ความสนใจศึกษาทฤษฎีทางการเมืองบนพื้นฐานทาง
จิตวิทยา เช่น ดอว์สัน (Dawsan) และเปอร์วิท (Prewitt) ได้เขียนหนังสือ ช่ือ The Political Socialization
(1969) ซึ่งอธิบายถึงพฤติกรรมทางการเมืองท่ีเป็นผลมาจากการอบรมเล้ียงดู หรือสถาบันทางศาสนา ผลการ
วิจัยทางจิตวิทยาเป็นจ�ำนวนมากช้ีให้เห็นว่า ทัศนคติทางการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคลเป็น
มสธ มสธผลมาจากกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมของแต่ละบุคคล
อีริค อีริคสัน (1969) ผู้เขียนหนังสือคลาสสิก ชื่อ Childhood and Society (1963) ได้ศึกษา
บุคลิกภาพและแนวทางการด�ำเนินชีวิตของ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง (Matin Luther King) (1998) และคานธี
(Gandhi) (1969) และช้ีให้เห็นว่าคุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองของผู้น�ำทางการเมืองพัฒนามาจากวิถี
ทางด�ำเนินชวี ิตของเขา และข้อมลู ทางประวัตศิ าสตรก์ ารเมืองยืนยันแนวคิดของนักรัฐศาสตร์ยุคใหม่ เชน่ พ้นื
ฐานการท�ำงานเก่ียวกับศาสนาของ วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) มัลคอล์ม เอ็กซ์ (Malcolm, X) และ
มสธมาร์ติน ลูเธอร์ คิง (Martin Luther King) พ้ืนฐานทางกฎหมายของ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) หรือพ้ืน
ฐานการเป็นชาวนาของ อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) ส่งผลต่อลักษณะความเป็นผู้น�ำของท่าน
ผู้น�ำในอดีตท่ีกล่าวมานี้ ในปัจจุบัน สแตนลี เอ เรนชอน (Stanly A. Renshon)4 ได้เขียนบทความเร่ือง
William Jefferson Clinton's Psychology และมาร์กาเร็ต จี เฮอร์แมนน์ ((Margaret G. Hermann)5
มสธ มสธเขียนเรื่อง William Jefferson Clinton's Leadership Style โดยใช้ทฤษฎีบุคลิกภาพทางจิตวิทยาเป็น
แนวทางในการศึกษาวิจัยแนวทางการศึกษาทฤษฎีรัฐศาสตร์บนพื้นฐานทางจิตวิทยาน้ีได้มีการแบ่งแนวทาง
ไว้ 3 แนวทาง คือ
1. แนวทางที่น�ำข้อค้นพบจากทฤษฎีและงานวิจัยทางจิตวิทยาเก่ียวกับมนุษย์ชีววิทยามาศึกษา
พฤติกรรมบุคคล
2. แนวทางท่ีน�ำข้อค้นพบจากทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวกับการเรียนรู้ทางสังคมมาอธิบายทิศทาง
มสธของพฤติกรรมบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
3. แนวทางที่น�ำข้อค้นพบจากทฤษฎีและงานวิจัยท่ีศึกษาสภาพแวดล้อมในสังคมท่ีส่งผลจูงใจและ
ส่งผลทางอ้อมให้บุคคลเกิดพฤติกรรม
1. แนวทางท่ีน�ำข้อค้นพบจากทฤษฎีและงานวิจัยทางจิตวิทยาเก่ียวกับมนุษย์ชีววิทยามาศึกษา
พฤตกิ รรมบคุ คล ในการศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ย์ นกั จติ วทิ ยา เชน่ ดารว์ นิ (Darwin) ฟรอยด์ (Freud) อธบิ าย
มสธ มสธพฤติกรรมบุคคลที่เป็นผลจากพันธุกรรมและสรีรวิทยา หรือระบบการท�ำงานของสมอง ฟรอยด์ อธิบายว่า
พฤติกรรมของมนุษย์หลายอย่างเกิดจากแรงขับทางเพศและกลไกทางสรีรวิทยา แต่นักจิตวิทยารุ่นหลัง เช่น
แอดเลอร์ (Adler) อธิบายว่า พฤติกรรมบุคคลนั้นน่าจะมาจากอิทธิพลของกระบวนการทางสังคมมากกว่า
4 S. A. Renshon. (1999). William Jefferson Clinton’s Psychology. In Jerrold M. Post. The Psychological
Assessment of Political Leaders. Ann Arbor: The University of Michigan Press.
มสธ 5 Margaret G. Hermann. William Jefferson Clinton’s Leadership Style. In ibid.
9-8 การวิเคราะห์การเมือง
แต่ต่อจากแอดเลอร์ ฟรอยดไ์ ดอ้ ธบิ ายวา่ สงั คมประกติ หรือการอบรมกล่อมเกลาทางสงั คม* (socialization)
มสธส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนโดยมีปฏิสัมพันธ์กับความเติบโตของความเข้มแข็งของตนเอง (growth of self-
strength) นักจิตวิทยาท่ีศึกษาความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์อีกคนคือ อับราฮัม มาสโลว์ (Abraham
Maslow) อธิบายว่า ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ได้แก่ ความต้องการทางสรีระ (physical) ความม่ันคง
ในชีวิต (security) ความรักจากสังคม (social affection) ความภูมิใจในตน (self-esteem) และความ
มสธ มสธตระหนักในคุณค่าของตน (self-actualization) และมาสโลว์อธิบายว่า เมื่อบุคคลไม่ได้รับการตอบสนอง
ความต้องการพ้ืนฐานน้ัน มนุษย์อาจมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนเพื่อแสวงหาความต้องการพื้นฐานนี้ ซ่ึงสามารถ
น�ำมาอธิบายพฤติกรรมทางการเมืองได้ ดังน้ี บุคคลใดท่ีท้องยังหิวเขาไม่แสวงหาประชาธิปไตยหรือให้ความ
สนใจการเมืองได้ บุคคลที่รู้สึกว่าไม่เป็นที่ต้องการของใครก็ไม่สามารถจะท�ำงานเสียสละเพื่อส่วนรวมได้
2. แนวทางที่น�ำข้อค้นพบจากทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวกับการเรียนรู้ทางสังคมมาอธิบายทิศทาง
ของพฤตกิ รรมบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คล ทฤษฎที างจติ วทิ ยาของพาฟลอฟ (Pavlov) วตั สนั (Watson) สกนิ เนอร์
มสธ(Skinner) แบนดูรา (Bandura) อธิบายว่าพฤติกรรมของบุคคลต้องมีสาเหตุ พฤติกรรมใดท�ำแล้วมีผลดี
ตามมา บุคคลมีแนวโน้มท่ีจะท�ำพฤติกรรมนั้นเพ่ิมขึ้น แต่ถ้าท�ำแล้วมีผลร้าย พฤติกรรมน้ันก็จะลดน้อยลง
นอกจากน�ำทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมมาอธิบายทิศทางของพฤติกรรมบุคคลแล้ว ทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์
ของฌ็อง พีอาเจต์ (Jean Piaget) อีริค อีริคสัน (Erik Erikson) เรเน สปิทซ์ (Rene Spitz) แฮรี่ ฮาร์โลว์
มสธ มสธ(Hary Harlow) ก็สามารถน�ำมาอธิบายทิศทางของพฤติกรรมบุคคลได้ เช่น ลอว์เรนช์ โคลห์เบอร์ก (Law-
rence Kolhberg)6 อธิบายว่า พฤติกรรมของบุคคลจะพัฒนาขึ้นตามวุฒิภาวะของเขา ใน 6 กฎเกณฑ์ทาง
จริยธรรม ซ่ึงเร่ิมตั้งแต่วัยเด็กจนถึงอายุประมาณ 16 ปี ซึ่งได้แก่
1) หลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ
2) ท�ำเพ่ือให้ได้มาซ่ึงรางวัล
3) ท�ำเพ่ือให้ได้การยอมรับจากกลุ่ม
มสธ4) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม
5) ปฏิบัติตามกติกาของสังคมและชุมชน
6) ท�ำส่ิงที่ถูกต้องเพ่ือส่วนรวม
บคุ คลจะพฒั นาจรยิ ธรรมไปตามระดบั วฒุ ภิ าวะของตนเอง และพฤตกิ รรมจรยิ ธรรมจะพฒั นา ควบคู่
ไปกับการพัฒนาทางสติปัญญาของบุคคล
มสธ มสธ3. แนวทางท่ีนำ� ขอ้ ค้นพบจากทฤษฎแี ละงานวิจยั ทศ่ี กึ ษาสภาพแวดลอ้ มในสงั คมท่สี ง่ ผลจูงใจและ
ส่งผลทางอ้อมให้บุคคลเกิดพฤติกรรม การศึกษาการจูงใจหรือการโน้มน้าวพฤติกรรมนี้จะเน้นพฤติกรรม
*ค�ำว่า aocialization น้ัน ส�ำหรับนักจิตวิทยาในอดีตมักใช้เป็นค�ำภาษาไทยว่า “สังคมประกิต” หรืออาจใช้ว่า “การถ่ายทอด
ทางสังคม” แต่นักรัฐศาสตร์นิยมใช้ว่า “การอบรมกล่อมเกลาทางสังคม” ส�ำหรับชุดวิชานี้บรรณาธิการโดยความเห็นขอบของคณะ
กรรมการผลิตและบริหารชุดวิชาจึงขอใช้ค�ำว่า “การอบรมกล่อมเกลาทางสังคม”
6 อ้างใน พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2547). การเปรียบเทียบพฤติกรรมจริยธรรมทางการเมืองระหว่างนักการเมืองไทยและ
มสธคนไทยผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง. รายงานการวิจัยทุนรัชดาภิเษกสมโภช โรเนียวเย็บเล่ม. คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-9
สังคมหรือพฤติกรรมกลุ่มที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของบุคคล เราจะพบว่า วัฒนธรรมของแต่ละสังคมส่งผลต่อ
มสธพฤติกรรมของบุคคลแตกต่างกัน คนเอเชียจะกลืนเลือดตัวเอง เพื่อรักษาหน้าสถานะทางเศรษฐกิจของตน
ในขณะที่คนอเมริกันจะแสดงฐานะและสภาพแท้จริงของเศรษฐกิจและแสดงความต้องการของตนเองอย่าง
ชัดแจ้ง วัฒนธรรม ค่านิยมและวิธีการอบรมเลี้ยงดูจะสะท้อนออกในพฤติกรรมของบุคคลในแต่ละสังคม
โดยสรุปเราจะพบว่า ในการศึกษาอดีตเราอาจมีข้อมูลพฤติกรรมทางการเมืองของผู้น�ำในอดีต ช่วย
มสธ มสธเสริมประสบการณ์ทางการเมืองให้เรา แต่ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ทางจิตวิทยาจะช่วยให้เราสามารถ อธิบาย
สาเหตุของพฤติกรรมนั้น ๆ ได้ และสามารถท�ำนายพฤติกรรมทางการเมืองในอนาคตได้ในระดับหน่ึง
หลงั จากศึกษาเน้ือหาสาระเรื่องที่ 9.1.1 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 9.1.1
ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 9 ตอนที่ 9.1 เรื่องที่ 9.1.1
มสธ มสธ มสธเรอ่ื งท่ี 9.1.2 ทฤษฎีการศึกษาวจิ ยั สหวิทยาการรัฐศาสตร์กบั
จติ วทิ ยา
ในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 19 นักรัฐศาสตร์ศึกษาการเมืองในลักษณะการพยายามอธิบายความม่ันคง
และไม่มั่นคงหรือการเป็นประชาธิปไตยหรือไม่เป็นประชาธิปไตยทางการเมือง โดยมิได้ให้ความสนใจใน
มสธพฤติกรรมของบุคคล ชาร์ลส์ เมอร์เรียม (Charles Merriam) เป็นนักรัฐศาสตร์คนแรกที่น�ำหลักวิชาทาง
จิตวิทยาและสรีรวิทยามาเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาการเมือง แต่มิได้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย คนที่น�ำศาสตร์ทาง
จิตวิทยามาเช่ือมโยงกับรัฐศาสตร์เพ่ือท�ำนายอนาคตทางการเมือง โดยศึกษาจากพฤติกรรมบุคคล ได้แก่ ฮา
โรลด์ ดไวท์ ลาสเวลล์ (Harold Dwight Lasswell) (1902) และมีนักรัฐศาสตร์อีกหลายคนท่ีศึกษาตามแนว
ทฤษฎีของเขา หนังสือที่ได้รับการอ้างอิงอย่างแพร่หลายของลาสเวลล์ คือ Psychology and Politics (1930)
มสธ มสธเขาระบุว่า นักการเมืองคือผลผลิตของแรงผลักดันภายในของบุคคลท่ีสนใจในส่วนรวม (public interest)
ตอ่ มาในหนงั สอื ชอ่ื Power and Society (1990) ทฤษฎกี ารตอบสนองทางจติ วทิ ยาถกู นำ� มาอธบิ ายพฤตกิ รรม
ทางการเมืองและการท�ำนายอนาคตทางการเมืองชัดเจนข้ึน ในความสนใจเบื้องต้นนั้น ลาสเวลส์สนใจที่จะ
วิเคราะห์กลุ่มชนช้ันสูงท่ีมีทุกสิ่งที่อยากได้และเห็นว่าตนเองมีค่ากว่ามวลชน ในหนังสือ Democratic Char-
acter (1991) เขาได้เน้นความจ�ำเป็นของการแบ่งปันอ�ำนาจ การให้ความนับถือและค่านิยมประชาธิปไตย
โดยเฉพาะความไม่เท่าเทียมกันระหว่างชนชั้นหรือการเหยียดผิว ความคิดของเพลโต มาร์กซ์ และเลนินใน
มสธคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้แสดงออกชัดเจนในงานของลาสเวลส์ในคริสต์ศตวรรษท่ี 19 โดยเขาชี้ว่าความส�ำเร็จ
9-10 การวิเคราะห์การเมือง
ของการศึกษาวิเคราะห์ทางการเมืองต้องน�ำทฤษฎีทางจิตวิทยามาใช้ โดยเฉพาะการศึกษาพฤติกรรมทางการ
มสธเมืองของบุคคล
เฮอร์เบิร์ต ไฮเเมน (Herbert Hyman) (1959) ได้เขียนหนังสือเล่มแรกท่ีแสดงถึงการพัฒนาบุคคล
ต้ังแต่เกิดจนเติบใหญ่เป็นประชากรท่ีมีความรับผิดชอบทางการเมือง คือ กระบวนการสังคมประกิตทางการ
เมืองหรือกระบวนการอบรมกล่อมเกลาทางการเมือง (political socialization) ที่จะอธิบายถึงการท่ีคนจะ
มสธ มสธเป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ มีความรับผิดชอบทางการเมืองหรือไม่นั้นอยู่ท่ีเขาได้รับการอบรมเลี้ยงดู ได้รับการ
ศึกษาและอยู่ในระบบสังคมเช่นไร เช่นเดียวกันจากการศึกษาของ เจมส์ เดวิด บาร์เบอร์ (Jame David
Barber) (1972) ได้ทําการศึกษาประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาต้ังแต่ประธานาธิบดีนิกสัน (Nixon) พบว่า
รูปแบบของบุคลิกภาพและลักษณะการเป็นผู้น�ำ สามารถท�ำนายได้จากการอบรมกล่อมเกลาของเขาตั้งแต่
เยาว์วัย การศึกษาค้นคว้าวิจัยโดยใช้ทฤษฎีจิตวิทยาจึงน่าจะเป็นแนวทางท่ีเราจะวางหลักรัฐศาสตร์ในอนาคต
ให้ดีกว่าปัจจุบันได้ เพราะหากเราใช้หลักการเรียนรู้พฤติกรรมมนุษย์ เราอาจจัดระบบการเมืองในอนาคตให้
มสธดีกว่าในปัจจุบันได้ นักจิตวิทยาในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้เสนอแนวคิดทางการเมืองไว้ เช่น แนวคิด
ทางการเมือง Walden Two ของสกินเนอร์ หรือในหนังสือ Beyond freedom and Dignity ท่ีสกินเนอร์
ได้เขียนไว้ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 แสดงให้เห็นถึงระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยท่ีลดช่องว่าง
ระหว่างผู้ใช้แรงงานกับชนช้ันสูงเพ่ือขจัดความขัดแย้งระหว่างชนช้ัน ขจัดโจรผู้ร้าย และน�ำมาซ่ึงสังคมที่
มสธ มสธสันติสุข หากนักรัฐศาสตร์สามารถน�ำกฎของสกินเนอร์มาใช้ในระบบการเมืองในอนาคตได้ สังคม
ประชาธิปไตยของไทยน่าจะดีกว่าสังคมปัจจุบัน
การคาดการณ์ระบบการปกครองในอนาคตตามแนวอนาคตนิยมน้ัน อาจกระท�ำได้โดยศึกษา
ประวัติศาสตร์พร้อมไปกับแนวคิดของนักคิดในปัจจุบันและกระบวนการถ่ายทอดค่านิยม ความเชื่อทัศนคติ
ให้แก่เยาวชน ซึ่งเป็นประชากรที่รับผิดชอบระบบการเมืองการปกครองในอนาคตนั่นเอง
มสธหลังจากศกึ ษาเนื้อหาสาระเรือ่ งที่ 9.1.2 แลว้ โปรดปฏิบตั กิ ิจกรรม 9.1.2
มสธ มสธ มสธในแนวการศกึ ษาหนว่ ยที่9ตอนท่ี9.1เรือ่ งที่9.1.2
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-11
มสธตอนท่ี 9.2
อทิ ธพิ ลของกระบวนการอบรมกลอ่ มเกลาทางสงั คมทมี่ ตี อ่ รฐั ศาสตร์
มสธ มสธโปรดอา่ นแผนการสอนประจำ� ตอนท่ี 9.2 แล้วจึงศึกษาเนอื้ หาสาระ พร้อมปฏบิ ตั ิกจิ กรรมในแตล่ ะเรื่อง
หัวเรื่อง
เรื่องที่ 9.2.1 การปลูกจิตส�ำนึก การจูงใจ และการสร้างความรับผิดชอบทางการเมือง
เร่ืองท่ี 9.2.2 จิตวิทยาและพฤติกรรมทางการเมือง: การเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
มสธแนวคิด
1. รัฐศาสตร์และการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการอบรมกล่อมเกลา อันเป็นแนวทางในการ
ปลูกจิตส�ำนึกและสร้างแรงจูงใจให้เกิดความรับผิดชอบทางการเมือง
2. กระบวนการอบรมกล่อมเกลาทางสังคมเป็นศาสตร์ทางจิตวิทยาท่ีสามารถใช้พัฒนา
มสธ มสธพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลให้มีความรับผิดชอบ และมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่าง
มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 9.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายการปลูกจิตสำ� นึก การจูงใจ และการสร้างความรับผิดชอบทางการเมืองของบุคคล
มสธได้
มสธ มสธ มสธ2. ใช้ทฤษฎีจิตวิทยาอธิบายการพัฒนาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคลได้
มสธเรือ่ งที่ 9.2.1 การปลกู จติ สำ� นกึ การจงู ใจและการสรา้ งความรบั ผดิ ชอบ9-12 การวิเคราะห์การเมือง
ทางการเมือง
มสธ มสธบุคลิกภาพของคนพัฒนาจากกระบวนการอบรมกล่อมเกลาทางสังคมของบุคคล* (socialization
process) กระบวนการอบรมกล่อมเกลาทางสังคมที่มีผลต่อบุคลิกภาพของคนมี ดังน้ี
1. การอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว
2. การศึกษาในสถาบันการศึกษา
3. อิทธิพลของการรับสารจากสื่อและอิทธิพลของชุมชนและสังคม
มสธ4. วัฒนธรรมพฤติกรรมกลุ่มอาชีพ
5. ระบบการปกครองและวัฒนธรรมการเมืองของประเทศ
คนและระบบการเมืองจึงมีความสัมพันธ์กัน ตามภาพท่ี 9.2 ดังนี้
มสธ มสธเผด็จการ ระบบการปกครอง
เผด็จการ ประชาธิปไตย
มสธภาพที่ 9.2 ความสมั พันธข์ องลกั ษณะคนและระบบการปกครอง
1. เผด็จการ 2. ล้มเหลว
1. ถ้าคนถูกกล่อมเกลาจากสังคมให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพเผด็จการ และอยู่ในระบบการปกครองแบบ
คนเผด็จการเบ็ดเสร็จก็จะได้สังคมเผด็จการเบ็ดเสร็จ
2. ถ้าคนถูกกล่อมเกลาจากสังคมระบบเผด็จการ เราต้องการพัฒนาสังคมให้มีระบบการเมืองประชาธิปไตย 3. ปฏิรูป4. ประชาธิปไตย
มสธ มสธประชาธิปไตยย่อมเป็นไปไม่ได้และเกิดความล้มเหลว
3. ถ้าคนถูกกล่อมเกลาโดยวิถีทางประชาธิปไตย แต่ระบบการเมืองเป็นเผด็จการ การปฏิวัติหรือ
ปฏิรูปโดยประชาชนจะตามมา
4. ถ้าคนถูกกล่อมเกลาโดยวิถีทางประชาธิปไตยและระบบการเมืองเป็นระบบประชาธิปไตย เราจะ
ได้สังคมประชาธิปไตยท่ีดี
มสธ *ศัพท์จิตวิทยา จะใช้ค�ำว่า “กระบวนการสังคมประกิต” หรือ “กระบวนการถ่ายทอดทางสังคม”
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-13
การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำเพ่ือก้าวไปสู่การเป็นผู้น�ำที่ย่ิงใหญ่น้ันมิอาจท�ำได้ในช่วงเวลาส้ันภาย
มสธใต้ การบริหารยุคใหม่และการจัดการทางการเมือง แต่เป็นประสบการณ์ที่สะสมการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มี
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ท�ำให้ผู้น�ำได้เรียนรู้และปรับตน ประสบการณ์เหล่าน้ีท�ำให้ผู้น�ำเกิดการเรียนรู้
และพัฒนา ผู้น�ำลักษณะน้ีเราเรียกว่าเป็นผู้น�ำจากการสะสมประสบการณ์ (earned leader) ผู้น�ำโดยก�ำเนิด
(born leader) นั้นเกิดเฉพาะการสืบทอดอ�ำนาจจากผู้ให้ก�ำเนิด เช่น เกิดเป็นลูกของประธานกรรมการบริษัท
มสธ มสธหรือเป็นโอรสของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้ที่เกิดมาด้วยการก�ำหนดภาระหน้าที่ไว้ล่วงหน้าแล้วนี้ก็มิได้หมายความ
ว่าจะมีลักษณะและบุคลิกภาพความเป็นผู้น�ำติดตัวมาด้วย แต่บุคลิกภาพความเป็นผู้น�ำจะเกิดได้โดยการ
ฝึกฝนเรียนรู้จากตัวแบบคือ บิดาของเขาเองหรือครอบครัวต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ เช่นเดียวกับผู้น�ำ
ที่มาจากการเรียนรู้และสะสมประสบการณ์ แน่นอนที่สุดการเรียนรู้ลักษณะและทักษะความเป็นผู้น�ำนี้ต้องมี
ทุนเบื้องต้น (entering behaviors) เช่น ต้องมีอาการครบ 32 ประการ มีสติปัญญาที่เรียนรู้ระดับสูงได้คือ
IQ 120 โดยประมาณ และผู้น�ำในยุคปัจจุบันต้องมีวิสัยทัศน์ (visions) ท่ีพร้อมจะรับการเปลี่ยนแปลงใน
มสธอนาคต ต้องใจกว้างยอมรับและมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาความรู้ใหม่ นายกรัฐมนตรี ทักษิณ
ชินวัตร บรรยายท่ีสถาบันพระปกเกล้า วันที่ 28 สิงหาคม 2543 ว่า ผู้น�ำทางการเมืองในปัจจุบันต้องมีลักษณะ
เป็นผู้น�ำแบบมีส่วนร่วม (participate leader) เนื่องจากรัฐธรรมนูญช้ีน�ำไปในทิศทางให้มีการบริหารแบบ
ประชาชนมีส่วนร่วม ฉะน้ัน ผู้น�ำในปัจจุบันต้องมีลักษณะ 3 ประการ คือ 1) ต้องพร้อมท่ีจะปรับสู่การ
มสธ มสธเปลี่ยนแปลง (adapted to change) 2) ต้องบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม และ 3) ต้องมีการคิดนอกกรอบ
และในขณะเดียวกันผนู้ ำ� ในปจั จุบันจะคดิ ถึงก�ำไรขาดทนุ ในลกั ษณะของการจัดการบรษิ ทั ใหญ่ไมไ่ ด้ พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า การบริหารประเทศต้องยอมขาดทุนเพ่ือก�ำไร น่ัน
คือ ลงทุนขาดทุนในระยะสั้น แต่ต้องหวังผลก�ำไรในระยะยาว เช่น การลงทุนทางการศึกษา ต้องไม่หวังผล
ก�ำไรในลักษณะต้นทุนก�ำไร แต่ต้องยอมขาดทุนเพ่ือก�ำไรของชาติ ในอนาคตที่จะมีคนมีคุณภาพมาพัฒนา
ประเทศ เป็นต้น
มสธการปลูกฝังจิตส�ำนึก การจูงใจ ความรับผิดชอบทางการเมืองต้องเป็นกระบวนการที่พัฒนามนุษย์
มาตั้งแต่เยาว์วัย
ในการพัฒนามนุษย์นั้น สังคมมีบทบาทในการถ่ายทอดคุณลักษณะ ค่านิยม ทัศนคติและความเช่ือ
สังคมจะหล่อหลอมบุคลิกภาพของมนุษย์โดยการท่ีมนุษย์จะรับและถ่ายทอดส่ิงต่าง ๆ จากสังคมมา โดย
กระบวนการอบรมกล่อมเกลา (socialization process) หน่วยแรกของสังคมท่ีเป็นตัวแทนสถาบันสังคมใน
มสธ มสธการถ่ายทอดค่านิยม ทัศนคติ และคุณลักษณะต่าง ๆ ของสังคมให้แก่สมาชิกของสังคมนั้นคือ ครอบครัว
ฉะนั้น ครอบครัวจึงเป็นหน่วยของสังคมหรือองค์กรที่มีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการสร้างและพัฒนาประชากร
ของสังคม นั่นหมายถึง การสร้างและพัฒนาประชากรของประเทศนั่นเอง
“ครอบครัว” ความหมายตามพจนานุกรม หมายถึงผู้ร่วมครัวเรือน ได้แก่ สามีภรรยาและบุตร
นอกจากน้ีนักสังคมวิทยา นักจิตวิทยา ต่างก็ให้ความหมายของครอบครัวในลักษณะที่แตกต่างกัน ในความ
หมายทางสังคมวิทยา ครอบครัวคือรูปแบบของการที่บุคคล 2 คน หรือกลุ่มบุคคลสร้างแบบ (pattern) หรือ
มสธโครงสร้าง (structure) ของการอยู่ร่วมกัน ในความหมายของนักจิตวิทยา ครอบครัวคือสถาบันทางสังคม
9-14 การวิเคราะห์การเมือง
แห่งแรกท่ีมนุษย์สร้างข้ึนจากความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน เพื่อเป็นตัวแทนของสถาบันสังคมภายนอกท่ีจะปลูกฝัง
มสธความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติกับสมาชิกรุ่นใหม่ของสังคม หน้าที่ของครอบครัวเดิมนั้น นักสังคมวิทยาได้
ศึกษาว่าต้องปลูกฝังด้านเศรษฐกิจ ให้ความรู้ด้านต่าง ๆ ปกป้องสวัสดิภาพ สันทนาการ นอกเหนือจากน้ีใน
ปัจจุบันครอบครัวต้องปลูกฝังค่านิยม หน้าที่ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติด้วย7
นอกเหนือจากการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ อุปนิสัยด้านเศรษฐกิจจะถูกบ่มเพาะจากครอบครัว ถ้า
มสธ มสธเด็กเติบโตมาในครอบครัวที่มีวินัยทางการเงิน เด็กก็จะเป็นคนมีวินัยในการใช้จ่าย
เด็กท่ีถูกเล้ียงดูมาในครอบครัวประชาธิปไตยก็จะมีจิตส�ำนึกประชาธิปไตย โดยการเลียนแบบ
พฤติกรรมของพ่อแม่หรือบุคคลอ่ืนที่ใกล้ชิดในครอบครัว ส่วนเด็กท่ีเติบโตมาในครอบครัวเผด็จการจะ
เป็นคนมีวิญญาณประชาธิปไตยในอนาคตได้ยากมาก
นอกเหนือจากสถาบันครอบครัว โรงเรียนและสถานการศึกษาก็เป็นแหล่งการบ่มเพาะลักษณะนิสัย
ความเช่ือ ค่านิยม และทัศนคติทางการเมืองให้แก่เยาวชนเช่นกัน เพราะความเป็นประชาธิปไตยนั้นมิอาจเกิด
มสธขนึ้ ได้จากการปลกู ฝัง ส่งั สอนดว้ ยวาจา แต่หากต้องแสดงพฤติกรรมประชาธปิ ไตยและเป็นตวั แบบใหเ้ ยาวชน
จึงจะเกิดการเรียนรู้ได้ ครูต้องมีจิตใจกว้างขวางยอมให้เด็กพูดมากกว่าที่จะพูดให้เด็กฟังแต่ฝ่ายเดียว แต่ใน
ขณะเดียวกัน การเป็นประชาธิปไตยก็มิใช่ให้เด็กท�ำอะไรตามใจชอบ แต่เด็กต้องเรียนรู้ความถูกต้อง รู้ท่ีจะ
ก�ำหนดกฎระเบียบทถี่ กู ตอ้ งและตอ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บนั่นเอง เช่น หากครหู ้ามเดก็ ทานอาหารในชั้นเรียน
มสธ มสธครูก็ไม่สามารถน�ำอาหารมาทานในชั้นเรียนให้เด็กดูได้ เป็นต้น การเพาะบ่มจิตส�ำนึกต้องท�ำอย่างจริงจัง
สมํ่าเสมอและต้องมีการก�ำหนดเป้าหมายเป็นข้ันตอนให้ชัดเจน
ฉะนั้น จะเห็นว่าครอบครัวและสถานศึกษามีความส�ำคัญต่อเอกัตบุคคล (individual) เป็นอย่างย่ิง
การสร้างและพัฒนาเยาวชนเป็นสิ่งส�ำคัญเพราะความล้มเหลวของเยาวชนคือความล้มเหลวของประเทศชาติ
แต่คนท่ีตระหนักเช่นนี้มีน้อยคนนัก ในประเทศที่เจริญแล้วน้ันเขาจะไม่เลือกคนที่ประสบความล้มเหลวใน
ชีวิตครอบครัวเข้ามาบริหารประเทศชาติของเขาเลย ถ้าตราบใดเรายังไม่ให้ความส�ำคัญแก่สถาบันอันเป็น
มสธพื้นฐานในการพัฒนาประชากรของชาติ ประเทศไทยเราจะก้าวไปสู่ความเป็นชาติผู้น�ำน้ันคงจะกระท�ำได้ยาก
กลไกในการแก้ไขปัญหาสังคมนั้นคงมิใช่แก้ปัญหาเศรษฐกิจให้เจริญได้เท่าน้ัน แต่การพัฒนาและ
ส่งเสริมพฤติกรรมสังคมนี้ต่างหากคือหัวใจของการพัฒนาความม่ันคงของชาติ และหากสถาบันทางสังคม
สามารถพัฒนาบุคคลให้มีค่านิยม ความเช่ือและทัศนคติประชาธิปไตยที่ถูกต้อง กระบวนการทางการเมืองก็
จะพัฒนาไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์
มสธ มสธหลงั จากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องท่ี 9.2.1 แลว้ โปรดปฏิบตั กิ ิจกรรม 9.2.1
ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 9 ตอนที่ 9.2 เรือ่ งที่ 9.2.1
มสธ 7 พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2545). จิตวิทยาครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-15
มสธเรอื่ งท่ี 9.2.2 จติ วทิ ยาและพฤตกิ รรมทางการเมอื ง: การเลอื กต้งั
และการมสี ว่ นร่วมของประชาชน
มสธ มสธการเลอื กตงั้
การเลือกตั้งตัวแทนประชาชนเป็นกระบวนการทางการเมืองอย่างหนึ่ง ในระบบการปกครองท่ีเช่ือว่า
อ�ำนาจอธิปไตยหรืออ�ำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของปวงชน ซ่ึงพัฒนาขึ้นแทนระบบการปกครองที่ถือคติ
อ�ำนาจอธิปไตยเป็นของบุคคลใดบุคคลเดียวหรือคณะบุคคล โดยอ้างความมีคุณสมบัติพิเศษบางประการ
เป็นเครื่องมือให้ความชอบธรรมในอ�ำนาจปกครองของตน การเลือกต้ังเป็นกระบวนการที่สร้างความชอบ
มสธธรรมให้แก่อ�ำนาจการปกครองให้เป็นไปโดยสันติ การเลือกต้ังที่เป็นไปตามกฎเกณฑ์กติกา เป็นการต่อสู้เพื่อ
ใหไ้ ดม้ าซงึ่ อำ� นาจปกครองโดยยอมรบั ผลการตดั สนิ ของผเู้ ลอื กตงั้ ฝา่ ยทชี่ นะการเลอื กตงั้ จะไดร้ บั มอบอำ� นาจ
จากประชาชนให้ท�ำการปกครองบ้านเมือง ในช่วงระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้
1. วัตถุประสงค์ของการเลือกตั้ง
มสธ มสธ1.1 ประชาชนมีเจตนาที่จะออกเสียงเลือกตั้งเพื่อเลือกคณะบุคคลเข้าท�ำการปกครองแทนตน
มีอ�ำนาจในการปกครอง ณ ท่ีนี้หมายถึง อ�ำนาจในการบริหารประเทศ ซึ่งผู้ใช้อ�ำนาจน้ี ได้แก่ รัฐบาล ส่วน
อ�ำนาจในการควบคุมการบริหาร การออกกฎหมาย คือ อนุมัติกฎหมาย พิจารณานโยบายที่รัฐบาลเสนอรวม
ตลอดถึงการควบคุม ตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและนโยบาย องค์การที่ใช้อ�ำนาจนี้ได้แก่ รัฐสภา
โดยเฉพาะสภาผู้แทนราษฎร
1.2 รฐั บาลเคารพในเจตนารมณข์ องผเู้ ลอื กตงั้ ผบู้ รหิ ารรฐั ตอ้ งมคี วามซอ่ื สตั ยร์ บั ผดิ ชอบ โดย
เฉพาะการเสียสละเพื่อประโยชน์ของประชาชนส่วนรวมด้วยการปกครองอย่างมีระเบียบวินัยและมีความ
มสธยุติธรรมเสมอภาค เนื่องจากการที่ประชาชนเลือกผู้แทนเข้าไปท�ำหน้าที่ใช้อ�ำนาจอธิปไตยแทนตนน้ัน ก็เพ่ือ
วัตถุประสงค์ท่ีส�ำคัญย่ิงคือ ความสุข ความมั่นคง และความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน เพื่อให้
ได้มาซึ่งหลักประกันความม่ันคงและปลอดภัยในสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค เมื่อใดคณะผู้แทนไม่อาจ
สนองตอบความต้องการดังกล่าว แต่กลับใช้ไปในทางท่ีขาดจริยธรรมก่อให้เกิดความเดือดร้อนและเสียหาย
มสธ มสธแก่ประชาชน การเลือกตั้งก็ไม่มีความหมายท่ีแท้จริง แต่จะเป็นเพียงเครื่องมือเพ่ืออ้างความชอบธรรมในการ
ปกครองของผู้ใช้อ�ำนาจปกครอง
2. จติ วทิ ยาการเลอื กตง้ั การเลอื กตง้ั ทจ่ี ะมผี ลสนองตอบตอ่ วตั ถปุ ระสงคข์ องการเลอื กตง้ั ในระบอบ
ประชาธิปไตย ขึ้นอยู่กับเง่ือนไขหลายประการ ได้แก่
2.1 ความเป็นอิสระแห่งการเลือกตั้ง หมายถึง การแสดงเจตนารมณ์ในการเลือกต้ังจะต้อง
เปน็ อสิ ระเสรปี ราศจากการบบี บงั คบั ขม่ ขดู่ ว้ ยประการใด ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ การใหอ้ ามสิ สนิ จา้ ง หรอื การใชอ้ ทิ ธพิ ล
มสธบีบคั้น หลักการหรือเง่ือนไขข้อนี้มีรากฐานมาจากความเช่ือท่ีว่าสิทธิในการมีส่วนร่วมการใช้อ�ำนาจอธิปไตย
9-16 การวิเคราะห์การเมือง
นนั้ เปน็ ของประชาชนทกุ คน ซง่ึ การไดม้ าซง่ึ สทิ ธดิ งั กลา่ วเปน็ ผลของการตอ่ สแู้ ละววิ ฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์
มสธการเมืองอันยาวนาน ในเม่ือประชาชนเป็นผู้ทรงสิทธิ์ก็ย่อมข้ึนอยู่กับการวินิจฉัยของประชาชนเองว่าตนเอง
ตอ้ งการจะใชส้ ทิ ธขิ องตนมากนอ้ ยเพยี งใด องคก์ ารของรฐั ไมค่ วรแทรกแซงหรอื สงั่ การใหป้ ระชาชนตอ้ งกระทำ�
การอยา่ งใดอย่างหนึ่ง หมายความว่า องค์การของรัฐหรอื บุคคลใดบคุ คลหนงึ่ จะต้องไม่บีบบงั คบั ใหป้ ระชาชน
คนใดคนหนง่ึ ไปออกเสยี งเลอื กตงั้ หรอื ไมไ่ ปออกเสยี งเลอื กตงั้ การเลอื กตงั้ ทป่ี ระชาชนขาดอสิ ระในการตดั สนิ
มสธ มสธใจเลือกผู้แทนปวงชน ผู้ปกครองจะอ้างว่าตนมีอ�ำนาจโดยชอบธรรมไม่ได้
2.2 การก�ำหนดระยะเวลาของการเลือกตั้ง หมายถึง การจัดให้มีการเลือกต้ัง ตามก�ำหนด
ระยะเวลา เช่น 3 ปี 4 ปี หรือ 5 ปี ทั้งนี้ เพ่ือให้ประชาชนมีโอกาสตรวจสอบการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้แทนที่เลือก
ไปวา่ ไดห้ รอื ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ไิ ปตามเจตนารมณข์ องประชาชน ซงึ่ เปน็ เงอื่ นไขเพอ่ื ใหป้ ระชาชนสามารถเปลย่ี นแปลง
ตัวผู้แทนปวงชนได้โดยสันติวิธี ผู้ท่ีได้รับเลือกไปท�ำหน้าท่ีรัฐบาล หากใช้อ�ำนาจโดยชอบธรรมในระหว่างท่ี
อยูใ่ นอำ� นาจ เมอ่ื ครบวาระแล้วกม็ ีโอกาสที่จะได้รบั ความไวว้ างใจจากประชาชนและไดร้ บั เลือกเขา้ มาใหม่ตาม
มสธทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมท่ีว่าผลกรรมที่ออกมาดีบุคคลก็จะเลือกเป็นเช่นนั้นอีก
2.3 การเลือกตั้งท่ียุติธรรม หมายถึง การเลือกต้ังท่ีบริสุทธิ์เป็นไปตามตัวบทกฎหมายและ
เจตนารมณ์ของกฎหมาย ปราศจากการครอบง�ำและเล่ห์ทางการเมือง ปราศจากการใช้อิทธิพลทางการเมือง
หรือทางเศรษฐกิจ นักการเมืองหรือข้าราชการที่อยู่ในต�ำแหน่งหากใช้อ�ำนาจหน้าท่ีของตนเพ่ือให้ได้มาซ่ึง
มสธ มสธคะแนนสนับสนุน หรือใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ของราชการในการหาเสียง หรือผู้ที่มีก�ำลังทางเศรษฐกิจเข้มแข็ง
กว่าใช้เงินทองทุ่มเทในการหาเสียง หรือซื้อคะแนนเสียงเพื่อตนเอง หรือสนับสนุนผู้สมัครท่ีตนสนับสนุน เช่น
นี้ก็จะขาดความยุติธรรมในการเลือกต้ัง นอกจากน้ีการต่อสู้แข่งขันระหว่างผู้สมัครรับเลือกตั้งหรือ
พรรคการเมืองจะต้องเป็นไปอย่างอิสรภาพในขอบเขตของกฎหมายและเจตนารมณ์ของกฎหมายท่ีมีพื้นฐาน
อยู่บนความยุติธรรมและความเสมอภาค
2.4 หลักการให้สิทธิเลือกต้ังเป็นการทั่วไป หมายถึง การให้สิทธิเลือกต้ังแก่ประชาชนทั่วไป
มสธโดยไม่มีการกีดกันหรือจ�ำกัดสิทธิบุคคลหน่ึงบุคคลใดเป็นพิเศษ เนื่องมาจากเชื้อชาติ เพศ หรือสถานภาพ
ทางเศรษฐกิจสังคม
การจัดระบบการเลือกต้ังให้โปร่งใส ให้การศึกษาแก่ประชาชน ท�ำให้ประชาชนตระหนักถึงผลเสียที่
จะได้รับ เขาจะตระหนักในความรับผิดชอบของตน โดยท�ำให้เขาเห็นได้ว่าการเลือกตั้งท�ำให้นักการเมืองมา
จากประชาชนและท�ำให้ผู้แทนราษฎรต้องผูกพันกับประชาชนต้องมาจากประชาชน การเลือกตั้งจะเกิดผลดี
มสธ มสธตอ่ ระบบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยได้ นกั การเมอื งและประชาชนตอ้ งมีความซือ่ สตั ย์ มคี วามรับผิดชอบ
ในหนา้ ทขี่ องตน การดำ� เนนิ การหาเสยี งเลอื กตง้ั และการลงคะแนนเสยี งตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความบรสิ ทุ ธยิ์ ตุ ธิ รรม
ท้ังน้ี องค์กรอิสระคณะกรรมการการเลือกต้ังต้องด�ำรงความเป็นกลางอย่างแท้จริงเพื่อให้การเลือกต้ังมีความ
มสธหมายตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-17
มสธจิตวิทยาการมีสว่ นร่วมทางการเมืองของประชาชน
พฤติกรรมทางการเมืองเป็นการกระท�ำต่าง ๆ ของมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการจัดระบบการ
ปกครองเพอ่ื การอยรู่ วมกนั อยา่ งมสี นั ตภิ าพ และมสี งั คมทส่ี งบสขุ จมุ พล หนมิ พานชิ 8 อธบิ ายวา่ ในการศกึ ษา
พฤติกรรมทางการเมืองอาจศึกษาได้ 3 แนวทาง คือ แนวทางจิตวิทยาการเมือง แนวทางกลุ่มการเมือง และ
แนวทางระบบการเมือง
มสธ มสธแนวทางจิตวิทยาการเมืองที่น�ำมาศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาพฤติกรรมของบุคคลมาก
กว่าการศึกษาระบบการเมือง แนวทางน้ียึดตัวบุคคล (individual) เป็นหน่วยในการวิเคราะห์ เนื่องจาก
พฤตกิ รรมทางการเมอื งของบคุ คลเปน็ สงิ่ สำ� คญั ตอ่ ระบบการเมอื งและความมน่ั คงทางการเมอื ง ไมว่ า่ ตวั บคุ คล
น้ันจะเป็นนักการเมือง ข้าราชการ ประชาชน หรือกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มากกว่าตัวสถาบัน องค์กร หรือ
รูปแบบทางการเมือง โดยท่ัวไปการศึกษาจะเน้นบุคลิกภาพของบุคคลทางการเมือง ภาวะผู้น�ำ ศึกษา
พฤติกรรมทางการเมืองของคน ได้แก่ พฤติกรรมการเลือกตั้ง ความรับผิดชอบทางการเมืองของบุคคล และ
มสธทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อการเมือง ต่อการก�ำหนดรูปแบบทางการเมือง มีงานวิจัยเป็นจ�ำนวนมากที่ระบุว่า
ข้าราชการการเมืองน้ันเป็นตัวจักรที่ส�ำคัญในการก�ำหนดความเจริญของประเทศหรือความสุขของประชากร
ในประเทศน้ัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดช9 ทรงพระราชทานกระแสพระราชด�ำรัสแก่ข้าราชการ
และประชาชนชาวไทยไว้ ดังน้ี
มสธ มสธ“การรักษาอิสรภาพและความเป็นไทยให้ด�ำรงม่ันคงยืนยงไป ถือว่าเป็นกรณียกิจอันส�ำคัญสูงสุด
นอกจากต้องอาศัยการบริหารประเทศท่ีฉลาด สามารถและสุจริตเป็นธรรมแล้ว ยังต้องอาศัยความร่วมมือ
สนับสนุนจากประชาชนท่ัวประเทศด้วย คือ ประชาชนแต่ละคนจะต้องขวนขวายสร้างสรรค์ประโยชน์ และ
ด�ำรงอยู่ในคุณธรรมอันสมควรแก่ฐานะของตน
คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและพร้อมน�ำมาปฏิบัติมีอยู่ 4 ประการ
ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะปฏิบัติแต่ส่ิงที่เป็นประโยชน์และเป็น
มสธธรรม
ประการท่ีสอง คือ การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองไม่ให้ประพฤติล่วงความสัจความดีนั้น
ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสุจริต ไม่ว่าจะด้วย
เหตุประการใด
ประการท่ีส่ี คือ การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพ่ือ
มสธ มสธประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
คุณธรรม 4 ประการนี้ ถ้าแต่ละคนพยายามปลูกฝังและบ�ำรุงให้เจริญงอกงามขึ้นโดยทั่วกันแล้ว จะ
จะช่วยให้ประเทศชาติบังเกิดความสุข ความร่มเย็น และมีโอกาสท่ีจะปรับปรุงพัฒนาให้มั่นคงก้าวหน้าต่อไป
ได้ดังประสงค์”
8 จุมพล หนิมพานิช. (2533). การวิเคราะห์ทางรัฐศาสตร์. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์ (เล่ม 2
หน่วยที่ 8). นนทบุรี: สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มสธ 9 สยามจดหมายเหตุ (16-22 เมษายน 2525). น. 428.
9-18 การวิเคราะห์การเมือง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงยึดหลักทศพิธราชธรรมในการเป็นประมุขของชาติ
มสธหาก นักการเมืองไทยจะเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทเพียงครึ่งหนึ่ง ความเส่ือมของสถาบันการเมืองก็
คงจะลดน้อยไป
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ทรงกล่าวในงานพระนิพนธ์ว่า
เม่อื คนเรามตี �ำแหน่งและความรับผดิ ชอบ เราต้องสังวรไว้เสมอว่า ย่ิงเรามอี �ำนาจยศฐาบรรดาศักดส์ิ ูงขนึ้ เพียง
มสธ มสธใด สิ่งท่ีจะท�ำให้จิตใจของเรามีกิเลสและลุ่มหลงก็จะย่ิงเพิ่มขึ้นทวีขึ้น10
ในทางการเมืองน้ัน นักรัฐศาสตร์ได้แบ่งมนุษย์ในสังคมออกเป็นสองส่วน คือ ผู้ปกครอง อันได้แก่
นกั การเมอื ง และผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง อนั ไดแ้ ก่ ประชาชน โดยทบี่ คุ คลทงั้ 2 กลมุ่ มหี นา้ ทร่ี ว่ มกนั คอื การประสาน
ผลประโยชนเ์ พือ่ ความสงบสขุ สวัสดภิ าพ และการคงอยู่ของสังคมไทยโดยสว่ นรวม โดยอาศยั ปจั จยั ทส่ี �ำคัญ
คือ จริยธรรม
จริยธรรมทางการเมือง หรือคุณธรรมในการปกครองที่ควรมี ได้แก่
มสธ1. สังคหวัตถุ คือ ธรรมที่ช่วยยึดเหน่ียวใจคนและประสานหมู่ชนไว้ในสามัคคีธรรม ได้แก่
1.1 ทาน คอื การให้ การเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ เสยี สละ แบง่ ปนั การชว่ ยเหลอื สงเคราะหด์ ว้ ยปจั จยั
สี่ ทุน หรือทรัพย์สินส่ิงของ ตลอดจนให้ความรู้ความเข้าใจข้อแนะน�ำศิลปวิทยาต่าง ๆ
1.2 ปยิ วาจา วาจาเปน็ ทน่ี า่ รกั คอื กลา่ วคำ� สภุ าพ ไพเราะนา่ ฟงั ชแ้ี จงแนะนำ� สง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์
มีเหตุผล มีหลักฐาน ชักจูงใจทางที่ดีงามหรือค�ำแสดงความเห็นอกเห็นใจ ให้ก�ำลังใจ รู้จักพูดให้เกิดความ
มสธ มสธเข้าใจดี เกิดความไมตรีสมานสามัคคี ท�ำให้รักนับถือและช่วยเหลือเก้ือกูลกัน
1.3 อัตถจริยา บ�ำเพ็ญประโยชน์ คือ การช่วยเหลือด้วยแรงกาย และการขวนขวายช่วยเหลือ
กิจกรรมต่าง ๆ การบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ รวมท้ังการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและการปรับปรุงส่งเสริมใน
ด้านจริยธรรม
1.4 สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือ วางตนเสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติ
สมาํ่ เสมอกนั ตอ่ คนทง้ั หลายและเสมอในทกุ ขส์ ขุ คอื รว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ รว่ มรบั รู้ รว่ มแกป้ ญั หาใหเ้ กดิ ประโยชน์
มสธสุขร่วมกัน
2. พรหมวิหาร คือ ธรรมประจ�ำใจของผู้ประเสริฐหรือผู้มีจิตใจยิ่งใหญ่กว้างขวาง ได้แก่
2.1 เมตตา ความรัก ความปรารถนาดีมีไมตรี ต้องการช่วยเหลือให้ทุกคนประสบประโยชน์
และความสุข
2.2 กรณุ า ความสงสาร อยากชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ใหพ้ น้ จากความทกุ ข์ ใฝใ่ จทจ่ี ะปลดเปลอ้ื ง บำ� บดั
มสธ มสธความทุกข์ยากเดือดร้อนของคนและสัตว์ทั้งปวง
2.3 มทุ ติ า ความเบกิ บานยนิ ดเี มอื่ เหน็ ผอู้ นื่ อยดู่ มี สี ขุ กม็ ใี จแชม่ ชน่ื เบกิ บาน เมอื่ เหน็ เขาประสบ
ความส�ำเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไปก็พลอยยินดีบันเทิงใจด้วย
2.4 อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง มีจิตราบเรียบ ไม่เอนเอียงด้วยรักหรือชัง มองเห็นการท่ี
บุคคลจะได้รับผลดีหรือช่ัว สมควรแก่เหตุที่ตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัย วางตนและปฏิบัติไปตามความ
เที่ยงธรรม
มสธ 10 Somdhed Pra Nyansungvara. (1993). A Special Sermon. n.p.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-193. สาราณยี ธรรม คอื ธรรมเครอ่ื งใหร้ ะลกึ ถงึ กนั ผกู ความสมั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ทเ่ี ปน็ เพอื่ นรว่ มงาน รว่ ม
มสธกิจกรรมหรือร่วมชุมชน ได้แก่
3.1 เมตตากายกรรม ต้ังกายกรรมท่ีประกอบด้วยเมตตาต่อเพ่ือนร่วมงาน ร่วมกิจการ ร่วม
ชุมชน คือ ช่วยเหลือกิจธุระต่าง ๆ ด้วยความเต็มใจ แสดงกิริยาอาการสุภาพ เคารพนับถือกันทั้งต่อหน้า และ
ลับหลัง
มสธ มสธ3.2 เมตตาวจีกรรม ตั้งวจีที่ประกอบด้วยเมตตา คือ ช่วยบอกแจ้งส่ิงที่เป็นประโยชน์ สั่งสอน
หรือแนะน�ำตักเตือนด้วยความหวังดี แสดงวาจาสุภาพ แสดงความเคารพนับถือกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง
3.3 เมตตามโนกรรม ต้ังมโนกรรมที่ประกอบด้วยเมตตา คือ ต้ังจิตปรารถนาดี คิดท�ำสิ่งที่
เป็นประโยชน์แก่กัน มองกันในแง่ดี มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสต่อกัน
3.4 สาธารณโภคี แบ่งปันลาภผลท่ีได้มาโดยชอบธรรม แม้จะเป็นของเล็กน้อยก็แจกจ่าย
ใช้สอยบริโภคท่ัวกัน
มสธ3.5 สีลสามัญญตา มีความสุจริตดีงาม รักษาระเบียบวินัยของส่วนรวม ไม่ท�ำตนให้เป็นที่น่า
รังเกียจ หรือเส่ือมเสียแก่หมู่คณะ
3.6 ทิฏฐิสามัญญตา มีทิฏฐิดีงามเสมอกัน มีความเห็นชอบร่วมกัน ตกลงกันได้ในหลักการ
ส�ำคัญที่น�ำไปสู่การหลุดพ้น ก�ำจัดทุกข์และแก้ปัญหาร่วมกัน
มสธ มสธในการศึกษาการเมืองน้ัน ผู้ศึกษาต้องศึกษาประเด็น ต่อไปน้ี
1. ระบบการเมือง นักวิจัยทางรัฐศาสตร์ได้ศึกษาระบบการเมืองในลักษณะของการเปรียบเทียบ
ระหว่างปัจจัยน�ำเข้า (inputs) และปัจจัยผลผลิต (outputs) ได้แก่ นโยบายหรือการตัดสินใจของรัฐบาล
เพื่อก�ำหนดเป็นนโยบายไปสู่การปฏิบัติ จี เอ อัลมอนด์11 ได้แสดงโครงสร้างหน้าท่ีของระบบการเมืองไว้ตาม
ตารางท่ี 9.2 ดังนี้
มสธตารางที่ 9.2 โครงสร้างหน้าท่ขี องระบบการเมือง
โครงสร้างหรือกลมุ่หน้าท่ี
กลุ่มผลประโยชน์สนับสนุนซึ่งผลประโยชน์ร่วมกัน
พรรคการเมืองการรวบรวมผลประโยชน์
จัดท�ำนโยบาย
มสธ มสธรัฐบาลกลั่นกรองนโยบายและกฎหมาย
ปฏิบัติตามนโยบาย
รัฐสภาตัดสินบังคับคดี
ระบบราชการ
ศาล
มสธ 11 Gabriel, A. Almond & G. Bingham Powell, Jr. (1978). Comparative Politics: System, Process and Policy.
Boston: Little Brown and Co. p. 7.
9-20 การวิเคราะห์การเมือง
2. แนวพัฒนาทางกระบวนการทางการเมือง เราอาจศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลได้
มสธจากแนวพัฒนาทางกระบวนการทางการเมือง ซ่ึงพัฒนาจากบุคลิกภาพทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง
และการมีส่วนร่วมทางการเมือง
2.1 บุคลิกภาพทางการเมือง ในปัจจุบันนักวิชาการพบว่า ประสิทธิภาพทางการเมืองมักขึ้นอยู่
กับคุณภาพของผู้น�ำทางการเมือง การเมืองจะพัฒนาไปทิศทางใดย่อมข้ึนกับคุณภาพของบุคคลท่ีเป็นสมาชิก
มสธ มสธของระบบการเมืองนั้นๆ
2.2 วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นเรื่องของสภาวะทางจิตและความรู้ ต่าง ๆ ท่ีมีส่วนก�ำหนด
พฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลในสังคม เป็นแบบแผนพฤติกรรมท่ีมีความต่อเนื่อง จากการอบรมกล่อม
เกลาทางการเมืองท่ีน�ำไปสู่การแสดงออกทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองแบ่ง ออกเป็น 3 รูปแบบ คือ
2.2.1 วฒั นธรรมทางการเมอื งแบบ Parochial Political Culture เปน็ วฒั นธรรมที่ บคุ คล
ไม่มีความรู้ความเข้าใจในระบบการเมือง ไม่คิดว่าตนมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้
มสธปรากฏอยู่ในสังคมหรือชนเผ่าท่ีมีการปกครองแบบไม่สลับซับซ้อน
2.2.2 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบ Subject Political Cuture เป็นวัฒนธรรมทาง
การเมืองท่ีบุคคลมีลักษณะยอมรับอ�ำนาจของรัฐบาล มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเมืองแต่ไม่สนใจท่ีจะ
มีส่วนร่วมทางการเมืองทุกกระบวนการ ปรากฏอยู่ในสังคมท่ีไม่สนับสนุนวิถีทางประชาธิปไตย
2.2.3 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบ Participant Political Cuture เป็นวัฒนธรรมทาง
มสธ มสธการเมืองท่ีบุคคลเข้าใจในระบบการเมือง และต้องการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ปรากฏอยู่ในสังคม
ประชาธิปไตย
2.3 การมีส่วนร่วมทางการเมือง การมีส่วนร่วมของประชาชนมีความส�ำคัญต่อการก�ำหนด
ทิศทางของระบบการเมือง การมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
2.3.1 การมีบทบาทในชุมชน เช่น เป็นสมาชิกพรรค การลงคะแนนเสียง การรณรงค์
หาเสียงให้พรรคการเมือง เป็นต้น
มสธ2.3.2 กิจกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่น คือ ร่วมท�ำงานกับกลุ่มการ
เมืองท้องถ่ิน บริจาคเงินให้พรรคการเมือง เข้าประชุมทางการเมือง ชักชวนให้ผู้อ่ืนไปลงคะแนนเสียง เลือก
ตั้ง ท�ำงานให้พรรคการเมือง รับฟังข่าวสารการเมือง ส่งจดหมายแสดงความคิดเห็นทางการเมืองไปตาม
ส่ือมวลชน เป็นต้น
การที่ประชาชนมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองแตกตา่ งกนั ออกไปนี้ สาเหตุอาจเป็นเพราะทัศนคติทาง
มสธ มสธการเมืองส่วนบุคคล หรือแม้แต่อาจเป็นผลมาจากสภาวะทางการเมืองด้วยก็ได้
3. องค์ประกอบและเทคนิควิธีทางการเมือง การที่จะท�ำให้สถาบันการปกครองกับประชาชน
สามารถประสานไปในทิศทางเดียวกันได้นั้น องค์ประกอบและเทคนิควิธีทางการเมืองเป็นสิ่งท่ีส�ำคัญยิ่ง
องค์ประกอบและเทคนิควิธีน้ี ได้แก่
3.1 ชนชนั้ นำ� ทางการเมอื ง ซง่ึ หมายถงึ กลมุ่ บคุ คลทม่ี อี ำ� นาจและอทิ ธพิ ลในแตล่ ะสาขาวชิ าชพี
ในสังคม ในความคิดของ มิลส์12 ก�ำหนดว่าชนชั้นน�ำมี 3 กลุ่ม คือ ชนชั้นน�ำทางการเมือง ทางเศรษฐกิจและ
มสธ 12 C. Wright Mill. (1956). The Power Elite. New York, NY: Oxford University Press. p. 176.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-21
ทางการทหาร ความส�ำคัญของชนชั้นน�ำแต่ละกลุ่มน้ันขึ้นอยู่กับลักษณะของสังคมนั้น ๆ ว่าเป็นสังคม
มสธเกษตรกรรมหรือสังคมอุตสาหกรรม
3.2 กลุ่มผลประโยชน์ การเกิดกลุ่มในสังคมเป็นลักษณะธรรมชาติของสังคม เพราะทัศนะ
และความคิดของมนุษย์ย่อมแตกต่างกันไปตามการด�ำเนินชีวิตของคน อันน�ำไปสู่ความแตกต่างทางผล
ประโยชน์ เพราะต่างคนมีเหตุผลในการด�ำเนินชีวิตของตน โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนความรักตนเอง (self-love)
มสธ มสธดังน้ัน ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มท่ีมีผลประโยชน์ต่างกันย่อมเกิดข้ึนตามธรรมชาติ ฉะน้ัน การพยายามขจัด
ความขัดแย้ง และการรวมกลุ่มทางการเมืองจึงเกิดข้ึนอยู่เนือง ๆ
3.3 พรรคการเมือง พรรคการเมืองเป็นกลไกการวางรากฐานความม่ันคงของสังคมทาง
การเมือง การพัฒนาการเมืองให้ม่ันคงได้นั้น มีองค์ประกอบหลักอยู่ 4 ประการ คือ
1) การมีความสามารถในการปรับตัวเอง
2) การมีข้ันตอนที่แน่นอนในการจัดการพรรค
มสธ3) การมีความยืดหยุ่น
4) การมีความเป็นอิสระ
ทั้ง 4 ประการนี้น�ำความเป็นปึกแผ่นมาสู่พรรคการเมือง
3.4 การสื่อสารทางการเมือง การส่ือสารทางการเมืองเป็นหัวใจหลักของพฤติกรรมทางการ
มสธ มสธเมืองของมนุษย์ในสังคม เพราะการสื่อสารสามารถสร้างความเข้าใจทางการเมืองที่ตรงกันให้เกิดขึ้นได้
ประเด็นส�ำคญั ของการสื่อสารท่ดี ีตอ้ งอาศยั ปฏสิ ัมพันธ์ของกล่มุ คน หากไม่มกี ารปฏิสมั พนั ธ์การติดตอ่ สอื่ สาร
ท่ีดีย่อมไม่เกิดขึ้น การส่ือสารทางการเมืองจะกล่าวในตอนต่อไป
4. การตัดสินใจทางการเมือง การศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองน้ันเกิดขึ้นได้จากการตัดสินใจทาง
การเมอื งของประชาชน การตัดสินใจทางการเมืองนนั้ มีอยู่ 2 ทาง คือ 1) ประชาพิจารณ์ และ 2) การลงคะแนน
เลือกตั้ง
มสธ4.1 ประชาพจิ ารณ์ คอื การแสดงออกซึ่งท่าทีหรอื ความเชื่อของผทู้ ี่มีความสนใจในปญั หาของ
บา้ นเมอื ง การแสดงออกนเี้ ปน็ พฤตกิ รรมทางการเมอื งทตี่ ง้ั อยบู่ นสมมตฐิ านวา่ ประชาชนทว่ั ไปมคี วามรู้ ความ
เข้าใจอย่างมีเหตุผล และมีความต้องการให้น�ำมติมหาชนมาบัญญัติเป็นระเบียบของสังคม
4.2 การลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็นพฤติกรรมทางการเมืองที่
ส�ำคัญย่ิงต่อระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย เพราะเป็นวิถีทางท่ีประชาชนจะควบคุมนักการเมืองได้โดย
มสธ มสธการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง
หน้าที่ส�ำหรับประชาชนในการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่ต้องแสดงความรับผิดชอบน้ัน นอกจากการ
ต้องไปออกเสียงเลือกตั้งแล้ว ประชาชนยังคงต้องติดตามการท�ำงานของผู้ที่ตนออกเสียงเลือกไปในเร่ืองต่อ
ไปนี้
1. การประชมุ สภาผแู้ ทนราษฎร (Parliament meeting) เปน็ การประชุมทม่ี รี ากฐานมาจากระเบยี บ
การประชุมแบบรัฐบาลของประเทศอังกฤษ โดยมุ่งส่งเสริมหลักการส�ำคัญ คือ13
มสธ 13 มังกร ชัยชนะดารา. (2516). ระเบียบการประชุม. กรุงเทพฯ: วาทสมาคมแห่งประเทศไทย. น. 8-9.
9-22 การวิเคราะห์การเมือง
1) เพ่ือให้มีความคล่องตัวในการปรึกษาหารือกัน และเพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความ
มสธเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน
2) ผู้ร่วมประชุมแต่ละคนมีสิทธิ์ เอกสิทธิ์ และพันธกรณีเท่าเทียมกัน
3) ตกลงใจร่วมกันด้วยเสียงข้างมาก
4) ให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ์ของเสียงข้างน้อย
มสธ มสธ5) ผรู้ ว่ มประชมุ แตล่ ะคนมสี ทิ ธท์ิ จ่ี ะรว่ มอภปิ รายขอ้ เสนอทง้ั มวลทจ่ี ะตอ้ งลงมตอิ ยา่ งสมบรู ณ์
และอย่างเสรี
6) ทุกคนท่ีร่วมประชุมมีสิทธิ์ท่ีจะได้รู้ความหมายของปัญหาหรือญัตติใด ๆ ท่ีเสนอในที่
ประชุม ตลอดจนผลท่ีจะเกิดขึ้นจากข้อเสนอนั้น ๆ
7) การประชุมต้องแสดงออกซ่ึงความยุติธรรม และความไว้วางใจซึ่งกันและกัน
จากสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่านักการเมืองหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายคน
มสธมักฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของการประชุมสภาผู้แทนราษฎร โดยเฉพาะเห็นได้ชัดเจนว่าขาด
จริยธรรมในเร่ืองการขาดความรับผิดชอบในค�ำพูดของตน มักอ้างความชอบธรรมเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน
หรอื ของพรรคพวกตน และไมเ่ คารพสทิ ธขิ องเพอื่ นสมาชกิ หรอื บคุ คลทก่ี ลา่ วพาดพงิ ถงึ และมกั มกี ารอภปิ ราย
กันด้วยท่าทีท่ีเผ็ดร้อน ใช้อารมณ์ และอภิปรายวกวนซํ้าซาก ไม่เหมาะสมในฐานะที่เป็นสมาชิกผู้ทรงเกียรติ
มสธ มสธและเปน็ ตวั แทนทไี่ ดร้ บั ความไวว้ างใจจากประชาชนสว่ นใหญ่ ในทำ� นองเดยี วกนั ประชาชนสว่ นใหญก่ ไ็ มส่ นใจ
ที่จะติดตามการประชุมโดยสมํ่าเสมอ นอกจากคร้ังท่ีเก่ียวข้องกับส่วนได้ ส่วนเสียของตนหรือกลุ่มของตน
โดยตรง ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) การประชุมสภามีรูปแบบที่พัฒนามากข้ึน การใช้วาจาไม่สุภาพน้อยลง
การอภิปรายใช้ข้อมูลมากขึ้น แต่ยังมีอีกหลายประการท่ียังไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น การไม่ให้ความส�ำคัญ
ในการเข้าประชุมรัฐสภา เป็นต้น
2. การรับผิดชอบในหน้าที่ทางการเมือง (Political Responsibility) ในระบอบการปกครองแบบ
มสธประชาธิปไตย จรูญ สุภาพ14 อธิบายว่า ความรับผิดชอบทางการเมืองหมายความว่า นักการเมืองจะต้อง รับ
ผิดชอบต่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง คือ ประชาชน การปฏิบัติของนักการเมืองจะต้องสอดคล้องกับ ความ
รู้สึกและความต้องการของประชาชน โดยการปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ (rights and obligations) ซ่ึง
สทิ ธหิ มายถงึ สทิ ธทิ างสงั คมหรอื เสรภี าพในการปฏบิ ตั ิ ซง่ึ สงั คมมอบใหก้ บั บคุ คล สว่ นหนา้ ทกี่ ค็ อื การ กำ� หนด
ให้บุคคลใดหรือกลุ่มใดใช้สิทธิท่ีตนมีอยู่อย่างเสรี ท้ังน้ีการปฏิบัติตนตามหน้าที่และความรับผิดชอบ จะต้อง
มสธ มสธอยู่ในกรอบของจริยธรรม อันได้แก่ มืความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ การรักษาระเบียบวินัย การ เสียสละ
และมีความยุติธรรมในการปฏิบัติงานตามสิทธิและหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย เช่น การไม่ใช้ต�ำแหน่งหน้าที่
ท�ำการทุจริตเพ่ือประโยชน์ส่วนตน การปฏิบัติงานด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต การปฏิบัติตามระเบียบวินัยอย่าง
เคร่งครัด รวมท้ังการให้ความเป็นธรรมและปฏิบัติตนอย่างเสมอภาคกับบุคคลทุกฝ่าย เป็นต้น
มสธ 14 จรูญ สุภาพ. (2514). อ�ำนาจทางการเมือง. หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-23
3. การใช้อ�ำนาจทางการเมือง (Political Authority) อ�ำนาจ หมายถึง ความสามารถที่จะสร้าง
มสธก�ำหนดและบังคับใช้สิทธิและหน้าท่ี ซ่ึงถึอว่าเป็นสิ่งท่ีถูกต้องชอบธรรม15 นักรัฐศาสตร์ที่นิยมแนวการ
วเิ คราะหเ์ รอื่ งการใชอ้ ำ� นาจทางการเมอื งเชอื่ วา่ อำ� นาจเปน็ หวั ใจของการศกึ ษาเรอื่ งการเมอื ง16 เนอื่ งจาก อำ� นาจ
เป็นองค์ประกอบท่ีส�ำคัญของการเมือง ในเรื่องขอบเขตของอ�ำนาจทางการเมือง โดยท่ัวไปฝ่าย ผู้ปกครองไม่
อาจจะฝืนใช้อ�ำนาจหรือกระท�ำการใด ๆ ที่ประชาชนไม่ยอมเช่ือฟังหรือต่อต้าน และการท่ีจะให้ประชาชนอยู่
มสธ มสธภายใต้การเมืองการปกครองที่ดีนั้น ประชาชนควรมีสิทธิบางประการที่ฝ่ายผู้ปกครองไม่อาจที่จะละเมิดได้
ในท�ำนองเดียวกันการใช้อ�ำนาจในทางการเมืองของฝ่ายผู้ปกครองต้องอยู่ภายในขอบเขตอันเหมาะสม เพื่อ
ประโยชน์สุขของสมาชิกแห่งรัฐ
เพลโต และโสกราตีส (Plato & Socrates, 1967) กล่าวว่า ผู้ปกครองแสวงหาอ�ำนาจก็เพ่ือที่จะใช้
อ�ำนาจหน้าท่ีให้เกิดประโยชน์แก่สังคม แต่แท้จริงแล้ว เรามิได้แสวงหาอ�ำนาจกันเพื่อท่ีจะท�ำประโยชน์ให้แก่
สังคมเสมอไป ดังท่ีลาสเวลล์ (Lasswell)17 เห็นว่า คนเราแสวงหาอ�ำนาจไม่ใช่เพื่อประโยชน์ในอ�ำนาจเอง แต่
มสธเพราะมีสิ่งจูงใจในอันที่จะได้บรรลุเป้าหมายบางอย่างในชีวิตของตน เช่นเดียวกับท่ีฮอบน์ (Hobbes) กล่าว
ว่า มนุษย์เราทุกคนแสวงหาอ�ำนาจ เพื่อให้บรรลุความปรารถนาของตน แต่ด้วยการใช้เหตุผลเป็นแนวทางว่า
จะท�ำอย่างไร
เมอร์เรียม (Merriam, 1964) ได้พยายามศึกษาบทบาทของอ�ำนาจทางการเมืองในกระบวนการ
มสธ มสธควบคมุ ทางสงั คม โดยมงุ่ เนน้ ทแ่ี หลง่ ทมี่ าของอำ� นาจทางการเมอื งและการพฒั นาของอำ� นาจทางการเมอื ง รวม
ท้ังผลลัพธ์ของอ�ำนาจทางการเมืองท่ีมีต่อชีวิตมนุษย์
อย่างไรก็ตาม การใช้อ�ำนาจทางการเมืองมีจุดมุ่งหมายท่ีส�ำคัญท่ีสุดเพ่ือประโยชน์ของผู้อยู่ใต้การ
ปกครองมากกว่าผลประโยชน์ของผู้ปกครอง หากนักการเมืองใช้อ�ำนาจและหน้าที่ของตนด้วยความซ่ือสัตย์
สุจริตและรับผิดชอบ มีความยุติธรรม นักการเมืองผู้นั้นก็จะได้รับการยอมรับจากประชาชน และถือเป็น
พฤติกรรมแบบอย่างที่ประชาชนจะได้ยึดถือปฏิบัติตาม
มสธปัญหาของบ้านเมืองในปัจจุบันเกิดจากการขาดความรับผิดชอบของประชาชนส่วนใหญ่ เพราะเม่ือ
ลงคะแนนเลือกต้ังก็มิได้เลือกคนท่ีมีคุณภาพเพ่ือมาบริหารบ้านเมือง แต่จะเลือกคนที่ตนรู้จักชอบพอ คนที่
เป็นพวกเดียวกับเราและคนท่ีคิดว่าจะเก้ือหนุนประโยชน์ส่วนตนของเราได้ โดยมิได้ค�ำนึงถึงประโยชน์ส่วน
ใหญ่ของชาติ ฉะนั้น เมื่อคนพวกน้ีมาบริหารประเทศก็จะขาดทักษะการท�ำงาน ขาดคุณธรรมท่ีเหมาะสม
ปัญหาก็จะเกิดข้ึนกับประเทศชาติโดยรวม
มสธ มสธหลังจากศกึ ษาเนื้อหาสาระเรอ่ื งท่ี 9.2.2 แลว้ โปรดปฏิบตั กิ ิจกรรม 9.2.2
ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 9 ตอนที่ 9.2 เรอื่ งท่ี 9.2.2
15 เพิ่งอ้าง. น. 135.
16 จุมพล หนิมพานิช. อ้างแล้ว. น. 292.
มสธ 17 อ้างใน ทินพันธ์ นาคะตะ. (2514). รัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. น. 71.
9-24 การวิเคราะห์การเมือง
มสธตอนท่ี 9.3
ทฤษฎีบุคลกิ ภาพผูน้ ำ� ทางจิตวิทยาและบคุ ลิกภาพผ้นู ำ� ทางการเมอื ง
มสธ มสธโปรดอ่านแผนการสอนประจ�ำตอนที่ 9.3 แล้วจึงศกึ ษาเนอ้ื หาสาระ พรอ้ มปฏบิ ัติกิจกรรมในแต่ละเรือ่ ง
หวั เรอื่ ง
เร่ืองท่ี 9.3.1 จิตวิทยาผู้น�ำทางการเมือง
เร่ืองท่ี 9.3.2 การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำ
เร่ืองที่ 9.3.3 จิตวิทยาผู้ตามในวิถีประชาธิปไตย
มสธแนวคดิ
1. การศึกษาเก่ียวกับลักษณะการเป็นผู้น�ำทางการเมือง ความแตกต่างในพฤติกรรมของผู้น�ำ
และสามารถอธิบายได้โดยอาศัยแนวทางจิตวิทยา
2. ศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพของผู้น�ำ ทฤษฎีลักษณะบุคลิกภาพผู้น�ำ และข้อมูลพื้นฐานของ
มสธ มสธการพัฒนาบุคลิกภาพผู้น�ำ แหล่งที่มาของอ�ำนาจผู้น�ำท่ีส่งผลต่อบุคลิกภาพผู้น�ำ
3. ศึกษาความแตกต่างในพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลที่สามารถอธิบายได้ใน
เชิงจิตวิทยา การมีส่วนร่วมทางการเมืองในวิถีประชาธิปไตยของผู้ตาม
วัตถปุ ระสงค์
เม่ือศึกษาตอนที่ 9.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
มสธ1. อธิบายความหมายของการพัฒนาลักษณะผู้น�ำทางการเมืองได้
2. อธิบายการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำได้
มสธ มสธ มสธ3. อธิบายพฤติกรรมของผู้ตามทางการเมืองในวิถีประชาธิปไตยได้
รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา 9-25
มสธเร่อื งท่ี 9.3.1 จิตวิทยาผูน้ �ำทางการเมอื ง
ความหมายของผนู้ ำ� ทางการเมอื ง
มสธ มสธความหมายของการเมือง คือ การใช้อ�ำนาจในการปกครองบ้านเมือง การปกครองในความหมาย
แบบไทย คือ การดูแลทุกข์สุข รับผิดชอบอนาทรห่วงใยผู้อยู่ใต้ปกครองหรือหมายถึงการท่ีมนุษย์อยู่ร่วมกัน
เป็นกลุ่ม มีการจัดการการปกครองเพื่อให้การอยู่ร่วมกันเกิดสันติภาพและมีความสงบสุข
ในเรื่องท่ี 9.3.1 น้ีจะกล่าวถึงการสร้างบุคลิกภาพของผู้น�ำทางการเมืองในบริบทของจิตวิทยาทาง
การเมือง จิตวิทยานั้นเป็นศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์โดยวิธีวิทยาศาสตร์ โดยการศึกษายึดตัวบุคคล
(individual) เป็นหน่วยในการวิเคราะห์พฤติกรรม ฉะนั้นจิตวิทยาทางการเมืองคือ การน�ำหลักและทฤษฎี
มสธทางจติ วทิ ยาเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมมนษุ ยม์ าศกึ ษามนษุ ยใ์ นระบบการเมอื ง โดยเฉพาะชว่ ยใหก้ ารจดั การปกครอง
ของกลุ่มผู้น�ำทางการเมืองเกิดประสิทธิผลสูงสุดแก่ประชากรของประเทศ โดยทั่วไปศาสตร์ของจิตวิทยา
การเมืองศึกษาภาวะผู้น�ำ การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้น�ำและพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคล โดยทั่วไป ค�ำ
ว่าจิตวิทยาการเมืองอาจเป็นค�ำใหม่ส�ำหรับประเทศไทย แต่ในประเทศท่ีพัฒนาแล้วผู้น�ำของประเทศจะมีนัก
มสธ มสธจิตวิทยาที่จะมีบทบาทเสริมบุคลิกภาพของผู้น�ำทางการเมือง ในเร่ืองการแต่งกาย การพูด การวางท่าทาง การ
ใช้ภาษา การแสดงออกของปัญญาทางอารมณ์ความรู้สึกท่ีสอดคล้องกับสภาพการณ์ และความต้องการของ
กลุ่มชน และนักจิตวิทยากลุ่มนี้ได้ตั้งสมาคมนักจิตวิทยาการเมืองนานาชาติ (International Society of
Political Psychology) แบ่งสาขาต่าง ๆ ไว้ ดังน้ี
1. จิตวิทยาการใชส้ ิทธใิ ช้เสยี งในการเลอื กตั้งของประชาชนและการท�ำประชาพิจารณ์ (Psychology
of Voting Behaฬor and Public Opinion)
มสธ2. จิตวิทยาประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์การเมือง (Psychobiography and Psychohistory)
3. จิตวิทยาการส่ือสารทางการเมือง (Mass Media and Communication Psychology)
4. การปลูกฝังและกล่อมเกลาพฤติกรรมทางการเมือง (Political Socialization Psychology)
5. จิตวิทยาการวิเคราะห์ความขัดแย้ง (Conflict Analysis)
6. จิตวิทยาการสร้างบุคลิกภาพ (Psychology for Political Personality Types)
มสธ มสธ7. จิตวิทยาผู้น�ำและผู้ตาม (Leadership and Fellowship Psychology)
การสรา้ งและพฒั นาภาวะผนู้ ำ� ทางการเมอื งทจ่ี ะกลา่ วตอ่ ไปน้ี จงึ เปน็ การอธบิ ายในบรบิ ทของจติ วทิ ยา
นายแพทย์ประสพ รัตนากร18 ได้ให้ข้อคิดของผู้น�ำ ดังน้ี
มสธ 18 ประสพ รัตนากร. (2540). ค�ำบรรยาย “จริยธรรมของผู้น�ำ”. บรรยาย ณ รัฐสภา วันท่ี 17 พฤศจิกายน 2540.
9-26 การวิเคราะห์การเมือง“จักเป็นผู้น�ำเขา
มสธรู้จักบังคับใจ
รู้จักรับผิดชอบ
ท�ำส่ิงควรชื่นชม
มสธ มสธพร้อมกันน้ันยังได้กล่าวถึงผู้น�ำล่มสลายที่ประวัติศาสตร์ได้จารึกไว้ว่าน�ำตัวเราก่อนเป็นไร
รู้ระงับดับอารมณ์
รู้ระบอบอันเหมาะสม
ได้ตั้งรู้คือผู้น�ำ”
มสธ“If there is no confidence from the people, there is no good government”“กองทัพอ่อนแรง ยังอยู่ได้
ข้าวปลาพร่องหาย ใจยังสู้
ขงจ้ือกล่าวถึงผู้น�ำที่ปกครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุขได้ต้องมีปัจจัย 3 ประการ คือศรัทธาประชาชนหมดไป แต่ไม่รู้
1. ประชาชนอ่ิมท้องรับรองได้ไม่อยู่ ทู่ซี้ไป”
มสธ มสธ2. กองทัพเข้มแข็ง
3. มีศรัทธาจากประชาชน
หนทางสู่ความส�ำเรจ็ ของผนู้ ำ�
เป็นที่ทราบกันดีว่าหัวหน้าหน่วยงานใดคือผู้น�ำของหน่วยงานน้ัน แต่จะมีสักกี่คนท่ีประสบความ
ส�ำเร็จของการเป็นผู้น�ำ ดังค�ำพูดที่เราได้ยินเสมอว่า สังคมไทยในปัจจุบันน้ีแล้งผู้น�ำหรือหาผู้น�ำในระดับ
มสธแนวหน้าได้ยาก แต่ข้อเท็จจริงท่ีมีน้ันเป็นเพราะเรามิได้เปิดโอกาสให้คนได้พัฒนาสู่ความเป็นผู้น�ำที่มี
ประสทิ ธภิ าพมากกวา่ เพราะความหวาดกลวั ความไมไ่ วว้ างใจซงึ่ กนั และกนั ทมี่ อี ยใู่ นสงั คมไทยนน่ั เอง ธรรมะ
ข้อท่ีคนไทยท�ำได้ยากคือ “มุทิตา” ยินดีเม่ือผู้อ่ืนได้ดี หากเราปฏิบัติธรรมะนี้อย่างสม่ําเสมอแล้ว เมื่อเราเป็น
นายเราก็จะสามารถเปิดใจให้ลูกน้องได้พัฒนาตนเองขึ้นมาสู่ความเป็นผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จได้ ทางหน่ึง
ท่ีแสดงว่าเป็นผู้น�ำท่ีประสบความส�ำเร็จ คือการมีลูกน้องที่มีประสิทธิภาพ
มสธ มสธในสมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์จะย่ิงใหญ่เกรียงไกรได้ ต้องมีขุนพลแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว
และขุนคลังแก้ว หากน�ำมาใช้ก็จะเป็นหนทางสู่ความเป็นผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จในสังคมไทย ปัจจุบันนี้ได้
ทางสู่ความเป็นผู้น�ำท่ีเป็นหน่ึงและสามารถจะคงความเป็นผู้น�ำได้นานโดยการยอมรับของผู้ตามน้ันอาจ
ประมวลได้ ดังนี้
1. มปี ราชญเ์ ปน็ ทป่ี รกึ ษา นกั ปราชญห์ รอื นกั วชิ าการทมี่ คี ณุ ธรรมนน้ั มกั จะใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ความจรงิ
จากศาสตร์ พฤติกรรมมนุษย์ท่ีเป็นศาสตร์มิใช่สามัญส�ำนึก กฎของธรรมชาติเป็นศาสตร์ ผู้น�ำพึงแสวงหา
มสธปราชญท์ ม่ี คี ณุ ธรรมเปน็ ทปี่ รกึ ษา แมบ้ างครงั้ ความจรงิ ทใ่ี หน้ น้ั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความระคายเคอื งใจ แตผ่ วู้ นิ จิ ฉยั