การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-55
และถ้อยค�ำ ยกตัวอย่างเช่น การให้คงหลักการเดิมด้านสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 (เก่ียวกับ
มสธเร่ืองสิทธิชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) แต่ตัดค�ำว่า “ท้ังน้ี ตามที่กฎหมาย
บัญญัติ” เพ่ือให้ชุมชนสามารถใช้สิทธิได้ทันที ไม่ต้องออกกฎหมายระดับรองเพื่อให้ “สิทธิ” น้ันมีผลบังคับ
ใช้149
สำ� หรบั รฐั ธรรมนญู ฯ ฉบบั ปจั จบุ นั พ.ศ. 2560 โดยทวั่ ไปยงั มสี าระใกลเ้ คยี งกนั กบั รฐั ธรรมนญู ฯ ฉบบั
มสธ มสธปี พ.ศ. 2550 การเปล่ียนแปลงที่ส�ำคัญในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ในเชิงสาระเน้นในเร่ืองของการเข้าสู่อ�ำนาจของ
นักการเมืองท่ีมีการปรับเปล่ียนกระบวนการคิดค�ำนวณจ�ำนวนผู้แทนราษฎร การก�ำหนดเร่ืองของมาตรฐาน
จริยธรรม การเข้าสู่ต�ำแหน่งทางการเมือง ขณะที่ในส่วนของประเด็นท่ีเก่ียวกับส่ิงแวดล้อมและทรัพยากร-
ธรรมชาติแม้ไม่มีหมวดว่าด้วยเร่ืองของสิทธิชุมชนเป็นการเฉพาะ ดังรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 และ 2550
แต่ก็มีมาตรา 43 รับรองสิทธิของบุคคลและชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีของท้องถ่ินและของชาติ ชุมชนและบุคคลมีสิทธิจัดการ บ�ำรุงรักษา
มสธและใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื
เข้าช่ือกันเพ่ือเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐให้ด�ำเนินการใดอันจะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และมีสิทธิจัด
ให้มีระบบสวัสดิการของชุมชน และในหมวดว่าด้วยนโยบายของรัฐยังก�ำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการท�ำ
หน้าท่ีดูแลและส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย150
มสธ มสธ3. วเิ คราะหพ์ ฒั นาการรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยท้งั 20 ฉบับ
พัฒนาการเชิงการเมืองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับท่ีผ่านมา จะเห็นถึงการปรับ
ความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าระหว่างสถาบันการเมืองและกลุ่มชนช้ันน�ำทางการเมืองในสังคม แม้
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ฉบับต้ังแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมาจะมีเนื้อหาที่เพ่ิมบทบาทภาคประชาชนในการมีส่วน
ร่วมและก�ำหนดทิศทางทางการเมืองมากขึ้น แต่ในทางกลับกันหากวิเคราะห์สาระของรัฐธรรมนูญของ
มสธประเทศไทยทุกฉบับในเชิงลึกแล้วกลับไม่สอดคล้องกับหลักการของนิเวศวิทยาการเมืองเท่าท่ีควร
ในงานเขียนของนรนิติ เศรษฐบุตร เร่ืองรัฐธรรมนูญกับการเมืองไทยนั้น แสดงให้เห็นถึงการเข้าสู่
อ�ำนาจของผู้มีบทบาทน�ำทางการเมือง และเมื่อเข้าสู่อ�ำนาจน้ันก็มีเกิดข้อขัดแย้งทางความคิด มีแนวโน้มใช้
อ�ำนาจในทางมิชอบ จนเป็นท่ีมาของการช่วงชิงอ�ำนาจระหว่างกลุ่มผู้มีอ�ำนาจน�ำทางการเมืองครั้งแล้วครั้งเล่า
เช่น กบฏบวรเดช 12 ตุลาคม พ.ศ. 2476 คณะปฏิวัติน�ำโดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
มสธ มสธการยึดอ�ำนาจคณะรัฐบาลตัวเองของจอมพลถนอม กิตติขจร 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 การเข้ายึดอ�ำนาจ
ของคณะปฏิรูปเมื่อ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 การล้มรัฐบาลโดยคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ 23
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ฯลฯ ซ่ึงเน้ือหาของรัฐธรรมนูญเหล่าน้ีล้วนมีเป้าหมายเพ่ือรองรับการใช้อ�ำนาจของ
ผู้ที่ท�ำการยึดครองอ�ำนาจ ไม่เน้นให้ความส�ำคัญกับเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน151
149 สำ�นักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. อ้างแล้ว. น. 517, 106.
150 วเิ คราะหโ์ ดยศกึ ษาเนอ้ื หาจากรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 และฉบบั ปจั จบุ นั พทุ ธศกั ราช 2560.
มสธ151 นรนิติ เศรษฐบุตร. อ้างแล้ว. น. 113-188.
14-56 การวิเคราะห์การเมือง
หากวิเคราะห์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทั้ง 20 ฉบับในมุมมองของนิเวศวิทยาการเมืองตาม
มสธองคป์ ระกอบดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ นเิ วศวทิ ยา และวฒั นธรรม องคป์ ระกอบดา้ นการเมอื งนน้ั มคี วามโดดเดน่
ท่ีสุดในแง่ของความสัมพันธ์และการเข้าสู่อ�ำนาจของชนชั้นน�ำในสังคม ขณะท่ีตัวแสดงอื่นโดยเฉพาะอย่างย่ิง
ภาคประชาชนนนั้ ถกู กำ� หนดสทิ ธแิ ละอำ� นาจในฐานะผรู้ บั สง่ิ เหลา่ นนั้ จากรฐั แมจ้ ะมขี อ้ ความระบใุ นรฐั ธรรมนญู
ว่าอ�ำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทยก็ตาม ในรัฐธรรมนูญเองยังยอมรับบทบาทของภาคส่วนอื่นท่ีไม่ใช่
มสธ มสธรัฐน้อยมากในการจัดการทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมที่เป็นการค�ำนึงถึง
พน้ื ท่ี โอกาสการเขา้ ถงึ และบทบาทของชมุ ชนคนกลมุ่ นอ้ ย การเขา้ มามที ที่ างของประชาชนหรอื ชมุ ชนคนกลมุ่
น้อยในระยะหลังนั้นเพิ่งเริ่มมีการรับรองอย่างชัดเจนเพียงช่วงประมาณ 2 ทศวรรษนับตั้งแต่รัฐธรรมนูญฯ
พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา
การไม่ได้รับการยอมรับสิทธิของประชาชนและคนท่ีรวมกันเป็นกลุ่มต่อการจัดการพื้นที่ทั้งในเชิง
เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมในทางกฎหมายระดับรัฐธรรมนูญตั้งแต่เร่ิมแรกน้ัน อาจ
มสธกลา่ วไดว้ า่ ประเทศไทยนนั้ รบั อทิ ธพิ ลทงั้ แนวความคดิ ทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง จากโลกตะวนั ตกอยมู่ าก
เป็นไปได้ดังท่ี บวรศักดิ์ อุวรรณโณ กล่าวไว้ว่าระบบกฎหมายไทยรับอิทธิพลจากตัวแบบเสรีนิยมตะวันตก
มาใช้ ท่ีให้สิทธิกับรัฐและเอกชนเป็นหลัก โดยตัวแบบเสรีนิยมตะวันตกมีฐานคิดตามแนวคิดส�ำนักกฎหมาย
บ้านเมืองท่ีถือว่ากฎหมายเป็นค�ำสั่งของผู้ปกครอง มีแนวคิดการให้อ�ำนาจรัฐบาลท่ีอยู่ส่วนกลางอย่างเต็มที่
มสธ มสธในการออกกฎหมาย และมีแนวคิดที่มีการปรับใช้กฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรโดยไม่ค�ำนึงถึงวิถีชีวิตแบบ
เดิมของท้องถิ่น152
อยา่ งไรกด็ ี พฒั นาการของรฐั ธรรมนญู ไทยทงั้ 20 ฉบบั ใชว่ า่ จะไรค้ วามหมายในเชงิ ของการเคลอื่ นไหว
ทางการเมืองของประชาชน ดังกรณีของการเคล่ือนไหวเพ่ือเรียกร้องสิทธิชุมชนคดีมาบตาพุดของชาวจงั หวดั
ระยอง ในการอยอู่ าศยั ในสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี เพราะมโี รงงานอตุ สาหกรรมบางโครงการทจ่ี ะดำ� เนนิ การโดยยังไม่มี
การประเมินผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และสุขภาพ ผลการ
มสธฟอ้ งรอ้ งคดศี าลปกครอง คอื การดำ� เนนิ โครงการในพนื้ ทมี่ าบตาพดุ 76 โครงการนนั้ ไมถ่ กู ตอ้ งตามรฐั ธรรมนญู
ต้องมีการประเมินผลกระทบเพราะสิทธิของชุมชนได้รับการคุ้มครองทันที เนื่องจากการรับรองสิทธิชุมชน
ในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 ไม่มีค�ำว่า “ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ซ่ึงเคยมีอยู่เดิมในรัฐธรรมนูญฯ
พ.ศ. 2540 จึงท�ำให้การคุ้มครองสิทธิของชุมชนเกิดขึ้นและมีผลบังคับใช้ทันทีตามรัฐธรรมนูญไม่ต้องออก
กฎหมายระดับพระราชบัญญัติเพ่ือคุ้มครองสิทธิ153
มสธ มสธกรณีน้ีแสดงให้เห็นชัดเจนถึงพัฒนาของรัฐธรรมนูญและความเคล่ือนไหวของประชาชนท่ีพัฒนา
อย่างควบคู่กัน ส�ำหรับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 น้ันก็มีการเปิดกว้างและรับรองสิทธิของประชาชน
152 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2536). อ้างใน คณะบุคคลโครงการสิทธิชุมชน. (2554). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษา
กลไกรองรับการมีส่วนร่วมของชุมชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. น. 5-6.
153 อภิวัฒน์ สุดสาว. “ปัญหาในทางปฏิบัติของการรับรองและคุ้มครองสิทธิชุมชน” 3 จุลนิติ 119, 121–122 (พฤษภาคม–
มิถุนายน 2553).; บวรศักด์ิ อุวรรณโณ. (2554). ค�ำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักอบรมการศึกษาเนติบัณฑิตย
มสธสภา. น. 90-94.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-57
ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเช่นกัน เพียงแต่ค�ำว่า “ท้ังนี้
มสธตามท่ีกฎหมายบัญญัต”ิ ได้ถูกน�ำกลับมาใช้ ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็นการกลับไปสู่ยุคเร่ิมต้นของการรับรองสิทธิ
ของประชาชนในช่วงรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 อีกคร้ัง ถือเป็นความท้าทายของรัฐธรรมนูญฉบับน้ีท่ี
นักนิเวศวิทยาการเมืองอาจต้องมีการศึกษากันต่อไป154
เรมสธ มสธหลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรอ่ื งที่ 14.3.1 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 14.3.1
ในแนวการศึกษาหน่วยท่ี 14 ตอนที่ 14.3 เรอื่ งท่ี 14.3.1
่ือมงท่ี 14ส.3.2 นแธลเิ วะศสวังิทคยมาแกหามร่งชเมาือตงิสฉกบับแับผทธนี่ 1พ–ัฒ12นาเศรษมฐกิจ สธจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 1–12 (ปัจจุบัน พ.ศ. 2560) รัฐมีแนวทางการ
พัฒนาประเทศท่ีปรับเปล่ียนตามสถานการณ์ภายในและภายนอกประเทศเร่ือยมา เริ่มต้ังแต่การพัฒนาการ
เกษตร ตามมาด้วยการพัฒนาอุตสาหกรรม และการท่องเท่ียว รวมท้ังมีการปรับแนวทางพัฒนาท่ีเหมาะสม
กับภูมิภาคต่าง ๆ ดังตัวอย่างในแผนฯ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2510–2514) ท่ีภาคเหนือเน้นการพัฒนาเกษตรกรรม
และทรัพยากร ภาคอีสานเน้นพัฒนาความเป็นอยู่ สวัสดิการและความมั่นคง ภาคตะวันออกเน้นพัฒนา
อุตสาหกรรมและพาณิชย์ทางทะเล ภาคใต้เน้นพัฒนาสังคม การคมนาคม และท่าเทียบเรือ เป็นต้น ขณะ
มสธเดียวกันแม้รัฐจะมีความพยายามวางแผนพัฒนาที่ค�ำนึงถึงประโยชน์ของทุกกลุ่มคนในสังคม แต่ก็ยังคงมี
ความเหลื่อมล้�ำ155
มสธ มสธ154 เกี่ยวกับเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 ได้มีบทบัญญัติที่ชัดเจนแตกต่างออกไปว่าสิทธิและ
เสรีภาพของประชาชนนั้นย่อมมีอยู่แม้ไม่ได้บัญญัติในรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่ไม่กระทบต่อความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย ศีลธรรม
อันดี และไม่ละเมิดบุคคลอื่น รวมทั้งสิทธิเสรีภาพที่กำ�หนดให้เป็นประโยชน์ของประชาชนได้ถูกกำ�หนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐต้องทำ�ให้
เกิดขึ้นจริง
155 รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามได้ออกกฎหมายซ่ึงมีผลให้มีการจ�ำกัดการถือครองที่ดินได้ไม่เกิน 50 ไร่ ท�ำให้
เจ้าของท่ีดินที่มีอิทธิพลคัดค้านและไม่พอใจเพราะต้องเวนคืนและไม่สามารถสะสมท่ีดิน ต่อมากฎหมายฉบับดังกล่าวถูกยกเลิกในสมัย
รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ใน พ.ศ. 2500 อ่านรายละเอียดในชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2555). อ้างแล้ว. น. 63. กรณีดังกล่าว เป็น
สาเหตุหนึ่งของความเหล่ือมล�้ำ นอกกเหนือจากปัจจัยการเงินที่ไม่เพียงพอกับการน�ำไปลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานอย่างครอบคลุม
มสธพื้นท่ีท้ังประเทศแล้ว ความไม่เท่าเทียมน้ียังมาจากแนวนโยบายของผู้น�ำท่ีต่างกันอีกด้วย
14-58 การวิเคราะห์การเมือง
มสธความจำ�เป็นของการพัฒนาภายใต้แผนฯ ฉบบั ท่ี 1-4
หากพิจารณาสาระของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในช่วงเริ่มแรกนั้นเน้นการพัฒนา
เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ดังท่ีรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ กล่าวว่าในช่วงแผนแรก (พ.ศ. 2504-
2509) เน้นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน เพราะเป็นผลพวงมาจากสงครามโลกคร้ังที่ 2 ประกอบกับการกลัว
ภยั คกุ คามคอมมวิ นสิ ม์ จงึ ไดเ้ นน้ ไปทกี่ ารกอ่ สรา้ งถนน ไฟฟา้ นา้ํ ประปา โทรศพั ท์ เปน็ หลกั สว่ นใหญเ่ ปน็ การ
มสธ มสธสร้างเพ่ือรองรับต่ออุตสาหกรรมท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต แม้เกษตรกรรมจะได้รับประโยชน์จากการสร้าง
โครงสร้างพ้ืนฐานเหล่านี้บ้างก็ตาม156
สาระของแผนฯ ได้รับอิทธิพลจากองค์กรระหว่างประเทศ การที่ประเทศไทยได้มีแผนพัฒนา
เศรษฐกิจข้ึนมาในช่วงสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์น้ัน เรียกได้ว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงมุมมอง
นโยบายจากชาตินิยมเป็นเสรีนิยมทางเศรษฐกิจมากขึ้นด้วย เพราะหากเศรษฐกิจไทยยังเป็นแบบชาตินิยม
ก็จะถูกตัดตอนออกจากเศรษฐกิจโลก แผนฯ ฉบับแรกจึงเรียกได้ว่าร่างโดยธนาคารโลก เพราะมีผู้เชี่ยวชาญ
มสธจากธนาคารโลกมาท�ำการศึกษาสภาวะเศรษฐกิจในประเทศไทยช่วง พ.ศ. 2500 แล้วท�ำรายงานเป็นภาษา
อังกฤษซ่ึงจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ได้ให้มีการแปลเป็นภาษาไทย แผนฯ ฉบับท่ี 3 ก็ร่างโดยผู้เช่ียวชาญจาก
ต่างประเทศเช่นกัน จนกระท่ังแผนที่ 4 เป็นต้นมา แผนฯ ก็พัฒนาโดยคนไทย ซ่ึงแม้แผนฯ จะท�ำโดยคน
ไทยแต่ก็ยังได้รับอิทธิพลจากธนาคารโลกอยู่ อย่างเช่น แผนฯ ฉบับที่ 4 ท่ีมีค�ำว่าความจ�ำเป็นพ้ืนฐาน หรือ
มสธ มสธจปฐ. นั้นมีที่มาจากธนาคารโลก คือค�ำว่า “Basic needs” หรือการท่ีรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ได้มีโอกาสเข้าไป
ร่างแผนฯ ฉบับท่ี 5 แล้วก็มีเอกสารธนาคารโลกประกอบเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดท�ำแผนฯ157
จุดเริม่ ตน้ ของการพัฒนาทางนิเวศในแผนฯ ฉบบั ที่ 4
หากพิจารณาประเด็นทางนิเวศวิทยา อาจกล่าวได้ว่าประเด็นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ไม่ได้รับการกล่าวถึงเลยจนกระท่ังแผนฯ ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2520-2524) แผนฯ ฉบับก่อนหน้าน้ีเน้นในเร่ือง
โครงสร้างพื้นฐานเพ่ือการผลิต เป้าหมายเพ่ือการเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนของประชาชน
มสธโดยเน้นพัฒนาในมิติเศรษฐกิจเป็นหลักและได้ท�ำให้เกิดความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากร-
ธรรมชาติจ�ำนวนมาก ท่ีพอเหลืออยู่ก็ไม่มีคุณภาพ ปัญหาความเส่ือมโทรมด้านส่ิงแวดล้อมจนถึงขีดสุดได้
กลายเปน็ ประเด็นส�ำคญั ท่ถี กู หยิบยกเข้ามาไวอ้ ยา่ งชดั เจนเพ่ือให้เศรษฐกิจนัน้ ไดพ้ ฒั นาควบค่ไู ปกบั การดแู ล
รักษาส่ิงแวดล้อมต้ังแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 เป็นต้นมา158
มสธ มสธ156 การดำ�เนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 แม้รัฐบาลจะต้องการแต่ก็ไม่มีงบประมาณ
มากนัก การกู้เงินก็ไม่ได้รับการยอมรับ จึงอาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่รัฐจำ�เป็นต้องให้ภาคเอกชนในขณะนั้นเป็นผู้ที่ดำ�เนินการก่อสร้าง
โดยมอบที่ดินสองฝั่งที่ติดถนนหรือคลองซึ่งกลุ่มทุนเหล่านั้นสร้างเป็นค่าตอบแทน เรียกได้ว่าเป็นการถ่ายโอนการผลิตสู่ภาค
เอกชน (Privatization) ตั้งแต่สมัยนั้น ยกตัวอย่างตระกูลสนิทวงศ์ที่ได้ที่ดินแถวทุ่งรังสิตไปหมดเพราะเป็นบริษัทขุดคลอง
และคูนาสยาม หรือตระกูลบุนนาคที่สร้างถนนสุริวงศ์ ที่ดินสองข้างถนนนั้นก็ตกเป็นของคนในตระกูลนี้ เป็นต้น (ให้ข้อมูลจาก
การสัมภาษณ์โดย รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ อ้างในบัญชา ธนบุญสมบัติ. (2549). “เศรษฐกิจและสังคมไทยในช่วง 60 ปีที่ผ่านมา
ในทรรศนะของศาสตราจารย์รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (บทสัมภาษณ์)” MTEC 37, 44-45, 49 (กรกฎาคม-กันยายน, 2549).
157 เพิ่งอ้าง.
158 โปรดดู ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่
มสธ1–11” ค้นคืนเมื่อ 17 เมษายน 2555, จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=62.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-59
สอดคล้องกันกับม่ิงสรรพ์ ขาวสอาด ที่กล่าวว่า แผนฯ ฉบับท่ี 1-4 เน้นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน
มสธและการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ จนกระทงั่ ชว่ งของปลายแผนฯ ฉบบั ที่ 4 จงึ เรม่ิ เหน็ ความเสอื่ มโทรมสง่ิ แวดลอ้ ม
ชดั เจนมากขนึ้ การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการจดั การทรพั ยากรในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมได้ปรากฏเป็นแผนงานในแผนฯ ฉบับท่ี 6 และมีการพัฒนาท่ีเป็นระบบระหว่างการค�ำนึงถึง
ส่ิงแวดลอ้ มและเศรษฐกจิ แต่ยังมีเปา้ หมายเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ
มสธ มสธจนกระท่ังแผนฯ ฉบับที่ 7 (2535-2539) จึงได้เริ่มมีแนวคิดการพัฒนาที่ย่ังยืนปรากฏขึ้น เพ่ือความสมดุล
ทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม159
กระนนั้ สาระสำ� คญั ปรากฏขอ้ ความทค่ี ำ� นงึ ถงึ คณุ ภาพและปรมิ าณของสงิ่ แวดลอ้ มทล่ี ดนอ้ ยถอยลง
จนกระท่ังแผนพัฒนาฯ ฉบับปัจจุบัน (ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564) สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา
เดิมยังคงถูกกล่าวซ�้ำ เช่น ป่าไม้เส่ือมโทรม พื้นท่ีชายฝั่งลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหามลพิษท่ีเพ่ิมความรุนแรง
มากขนึ้ ฯลฯ โดยปญั หาในเชงิ นโยบายและการบรหิ ารจดั การทท่ี ำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ นโยบายสงิ่ แวดลอ้ มไมบ่ รรลผุ ล
มสธได้แก่ ความขัดแย้งระหว่างการอนุรักษ์และพัฒนา กลไกการบริหารขาดความมีประสิทธิภาพ ภาครัฐขาด
องค์ความรู้และข้อมูลท่ีทันสมัย ภาคชุมชนไม่ไว้วางใจในการจัดการสิ่งแวดล้อมของรัฐ160
ความยัง่ ยืนและการเฝา้ ระวงั ทางเศรษฐกิจในแผนฯ ฉบบั ที่ 8-12
มสธ มสธนับตั้งแต่แผนฯ ฉบับท่ี 8 เป็นต้นมา อาจกล่าวได้ว่าเป็นช่วงท่ีประเทศไทยได้หันกลับมาเฝ้าระวัง
ทางเศรษฐกิจมากขึ้น แม้จะมีการเดินหน้าเศรษฐกิจในแบบทุนนิยมอยู่ แต่สาระของแผนฯ ได้เขียนไว้ชัดเจน
ถึงพิษภัยจากวิกฤตทางเศรษฐกิจที่ประเทศไทยต้องปรับตัวในหลายอย่าง ทั้งด้านการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชน การกระจายอ�ำนาจทางการบริหาร
สู่ท้องถิ่น เป็นต้น สอดคล้องกับมิ่งสรรพ์ ขาวสอาด รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และส�ำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวว่าแผนฯ ฉบับที่ 8 (2540-2544) เป็นแผนรองรับ
มสธวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงนั้น ได้ท�ำให้มีการน�ำหลักการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาซ่ึงช่วยพยุงฐานะของ
ประเทศ กลุ่มคนในชนบทได้เป็นผู้โอบอุ้มกลุ่มคนที่ตกงานจ�ำนวนมาก ถือเป็นช่วงหักเหส�ำคัญของนโยบาย
ทางเศรษฐกิจไทย ที่ท�ำให้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการบรรจุไว้ในแผนฯ ฉบับต่อมา161
นอกจากน้ี แผนฯ ฉบับท่ี 8 กลุ่มคนที่เป็นตัวแทนในฟากท้องถิ่นได้เข้ามามีบทบาทมีส่วนร่วมใน
แผนฯ จากเดมิ ทแี่ ผนฯ ถกู ครอบงำ� ดว้ ยความคดิ แบบโลกาภวิ ตั น์ และแผนฯ ยงั เนน้ เรอ่ื งการพฒั นาคน สว่ นหนง่ึ
มสธ มสธเป็นเพราะก่อนหน้านี้การท�ำแผนฯ ในประเทศไทยไม่ได้เกิดจากการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นแบบสั่งการ
และไม่ต้องรับผิด สามารถประกาศใช้แผนฯ จากส�ำนักนายกรัฐมนตรีโดยตรง จนกระทั่งรัฐธรรมนูญฯ
159 มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2553). จุดเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมไทย: การวิเคราะห์ช่องว่างทางนโยบาย. เชียงใหม่: สถาบันศึกษา
นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. น. 13-15.
160 ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. อ้างแล้ว.
161 ม่ิงสรรพ์ ขาวสอาด. อ้างแล้ว. น. 15; รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ อ้างในบัญชา ธนบุญสมบัติ. อ้างแล้ว. น. 46-48; ส�ำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. อ้างแล้ว. และโปรดดู ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2555). กาลานุกรมสยามประเทศไทย
มสธพ.ศ. 2485–2554. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์. น. 291.
14-60 การวิเคราะห์การเมือง
พ.ศ. 2540 ท่ีก�ำหนดให้มีสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท�ำให้แผนฯ ท่ีร่างมานั้นต้องถูกเสนอสู่
มสธสภาที่ปรึกษาฯ ก่อนเพื่อวิจารณ์แผน162
แผนฯ ฉบับต่อมา (ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549) ได้เปิดกว้างให้กับทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมท�ำแผน
เนน้ คนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นา เนน้ การปฏริ ปู ระบบบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในทกุ ระดบั แผนฯ 10 (2550-
2554) น้ันเกิดขึ้นในช่วงท่ีมีภาวะโลกร้อน ทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหานี้ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็ได้
มสธ มสธเป็นปรัชญาหลักของการพัฒนาประเทศ163 สอดคล้องกับ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และส�ำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่กล่าวว่าจากผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ได้ท�ำให้ทิศทางการ
พัฒนาประเทศของไทยอิงกับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังปรากฏในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 เพราะการ
พัฒนาประเทศตามแนวทางน้ีจะช่วยท�ำให้เศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศมีความเข้มแข็งอย่างย่ังยืน
ดังน้ันทิศทางการพัฒนาในช่วงท้ายจึงมีเป้าหมายเพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศให้มีภูมิคุ้มกัน วางรากฐาน
การพัฒนาประเทศให้เข้มแข็งเท่าทันโลก มีการบริหารจัดการท่ีดีในสังคมไทยทุกระดับ และลดความยากจน
มสธรวมท้ังเพ่ิมโอกาสในการพ่ึงพาตนเองของคนไทย164
ส�ำหรับกรอบแนวทางของแผนฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ฉบับปัจจุบัน ได้ระบุถึงกรอบในการ
จัดท�ำแผนคือเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable development goals: SDGs)165 อันเป็นกรอบ
สากลของประชาคมโลก และยังอ้างถึงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 20 ปีด้วย แผนฯ ฉบับน้ีจึงเน้น
เตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับการเปล่ียนแปลงได้อย่าง
มสธ มสธเหมาะสม ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกี่ยวกับเร่ืองศักยภาพทุนมนุษย์ ความเหล่ือม
ล้�ำในสังคม ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ การเติบโตอย่างย่ังยืน ความม่ันคงแห่งชาติ ธรรมาภิบาลและ
การป้องกันการทุจริต และมีอีก 4 ยุทธศาสตร์เพ่ิมเติมเพื่อสนับสนุนให้ทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ก่อนหน้านี้บรรลุ
ผลสำ� เรจ็ ไดแ้ ก่ การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน การพฒั นาวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละการวจิ ยั การพฒั นา เมอื ง
และพื้นที่เศรษฐกิจ และความร่วมมือระหว่างประเทศ166
มสธ162 รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ อ้างในบัญชา ธนบุญสมบัติ. เพิ่งอ้าง.
163 ม่ิงสรรพ์ ขาวสอาด. อ้างแล้ว. น. 15.
164 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. อ้างแล้ว. น. 291.; ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. อ้างแล้ว.
มสธ มสธ165 Sustainable Development Goals หรือ SDGs คือเป้าหมายการพัฒนาท่ีนานาประเทศพัฒนาขึ้นเมื่อ 25 กันยายน
2015 เพ่ือหยุดยั้งปัญหาความยากจน ปกป้องโลก และประกันความรุ่งเร่ืองส�ำหรับทุกคน และได้วางเป้าหมายผลส�ำเร็จใน ค.ศ. 2030
ใน 17 เร่ือง ได้แก่ ขจัดความยากจน ขจัดความหิวโหย การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี การศึกษาท่ีเท่าเทียม ความเท่าเทียมทางเพศ
การจดั การนาํ้ และสขุ าภบิ าล พลงั งานสะอาดทที่ กุ คนเขา้ ถงึ ได้ การจา้ งงานทม่ี คี ณุ คา่ และการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม นวตั กรรม
โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ลดความเหลอื่ มลำ้� เมอื งและถนิ่ ฐานมนษุ ยอ์ ยา่ งยงั่ ยนื แผนการบรโิ ภคและการผลติ ทย่ี งั่ ยนื การรบั มอื การเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู ิอากาศ การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรพั ยากรทางทะเล การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก สงั คมสงบสขุ ยุติธรรม
ไม่แบ่งแยก และความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (General Assembly, United Nations, 2015).
166 โปรดดู ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
มสธสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12” ค้นคืนเม่ือ 21 เมษายน 2560, จาก http://www.ldd.go.th/www/files/78292.pdf.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-61
อาจกล่าวได้ว่า แผนฯ ท้ัง 12 ฉบับของประเทศไทย ได้มีพัฒนาการเรื่อยมาตามล�ำดับ ประเด็นทาง
มสธนิเวศวิทยาอาจไม่ได้รับความส�ำคัญเท่ากับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ แม้ประเด็นทางสิ่งแวดล้อมจะได้รับการ
กล่าวถึงในแผนฯ ฉบับที่ 4 แต่ก็เป็นไปเพื่อการพัฒนาให้รองรับต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและทุนนิยม
ช่วงแผนฯ ฉบับท่ี 8 เป็นต้นมา ถือได้ว่าเป็นยุคเฟื่องฟูของการเข้ามามีส่วนร่วมของตัวแสดงที่หลากหลาย
สอดคล้องกับการรับรองสิทธิ เสรีภาพ และการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวางต้ังแต่รัฐธรรมนูญฯ
มสธ มสธฉบับ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา อย่างไรก็ดี แม้แผนฯ จะมีการค�ำนึงถึงส่ิงแวดล้อมและบทบาทของหลายภาค
สว่ นทเ่ี ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งมากขนึ้ ในชว่ งหลงั แตก่ ารนำ� แผนฯ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ ชอื่ มโยงกบั ระดบั ประเทศสทู่ อ้ งถนิ่
น้ันไม่เป็นจริง ดังท่ีนักวิชาการบางท่านกล่าวว่าแผนฯ 2 ฉบับแรกได้รับการน�ำไปอ้างอิงเพ่ือจัดท�ำงบประมาณ
ส่วนแผนฯ อืน่ หลงั จากน้นั ไมค่ อ่ ยได้รับความส�ำคญั จากหนว่ ยงาน มกี ารวางแผนแล้วกไ็ มไ่ ด้หยบิ มาใช้ สว่ น
ราชการต่าง ๆ ต้องการจัดท�ำแผนตนเองเพื่อก�ำหนดงบประมาณและขอบเขตงานของตนเองแล้วขอมติจาก
คณะรฐั มนตรเี พอ่ื ดำ� เนนิ ตามแผนได้ ทำ� ใหแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตถิ กู ลดความสำ� คญั ลงไป167
มสธหลังจากศึกษาเนอ้ื หาสาระเร่อื งที่ 14.3.2 แล้ว โปรดปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 14.3.2
ในแนวการศึกษาหนว่ ยที่ 14 ตอนท่ี 14.3 เรือ่ งท่ี 14.3.2
มสธ มสธเรื่องท่ี 14.3.3 การเคลอ่ื นไหวทางสังคมต่อความไม่สมดุลระหวา่ ง
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
มสธการรวมศนู ยอ์ �ำนาจไวท้ ่รี ัฐบาลเปน็ หลัก ท�ำให้ประชาชนและชุมชนไม่ไดร้ บั โอกาสที่เพยี งพอในพ้นื ที่
สาธารณะ รฐั บาลดำ� เนนิ การทก่ี ระทบตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ มโดยไมต่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั การบรหิ าร
ปกครองท่ดี ี สาเหตุหนงึ่ เป็นผลพวงจากการเกิดรัฐชาติ (Nation State) ในสมัยศตวรรษที่ 18 ทีผ่ ้นู �ำตอ้ งการ
สร้างชาติ โดยการรวมกลุ่มชนเข้าไว้ด้วยกันเพ่ือความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันและกลุ่มชนเหล่าน้ันต้องเข้ามา
มสธ มสธอยู่ภายใต้การปกครองเดียว จึงท�ำให้คนบางกลุ่มถูกลดความส�ำคัญลง อีกประการหน่ึง อุดมการณ์แบบ
ประชาธิปไตยท่ีถูกเผยแพร่ออกไปได้น�ำมาซ่ึงการค�ำนึงถึงเสียงส่วนใหญ่มากกว่าเสียงส่วนน้อย ภายใต้
คำ� อา้ งวา่ “เพอื่ ประโยชนข์ องสว่ นรวม” จงึ ทำ� ใหอ้ ตั ลกั ษณท์ อ้ งถน่ิ ทง้ั ภาษา วฒั นธรรม ความคดิ ผลประโยชน์
ของชุมชนหรือคนกลุ่มน้อยถูกลบเลือนไปในที่สุด168
167 รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. อ้างใน บัญชา ธนบุญสมบัติ. อ้างแล้ว. น. 44.; มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. อ้างแล้ว. น. 16.
มสธ168 กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2550). สิทธิของบุคคลซ่ึงรวมกันเป็นชุมชน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. น. 10-15.
14-62 การวิเคราะห์การเมือง
เมอื่ ผลประโยชนส์ ว่ นรวมไมไ่ ดถ้ กู นำ� กลบั ไปชดเชยใหก้ บั ประชาชนหรอื คนบางกลมุ่ ทเ่ี สยี ประโยชนไ์ ป
มสธและการพัฒนาทางเศรษฐกิจน้ันก่อให้เกิดผลกระทบทั้งทางสังคมและสิ่งแวดล้อม จึงได้ท�ำให้เกิดการ
เคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมเพียงเพื่อได้ต่อรองให้ได้มาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติในการประกอบอาชีพและ
คณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี การสร้างเขอื่ นทแี่ มม้ ีการจดั หาท่อี ยใู่ หใ้ หมแ่ ต่กท็ �ำให้ประชาชนทีย่ า้ ยออกไปต้องมชี วี ิตทีย่ าก
ลำ� บากมากกว่าเดมิ การอนญุ าตใหม้ กี ารจดั ตง้ั โรงงานอตุ สาหกรรมในชุมชนท่ที ำ� ให้เกดิ นํ้าเสยี อากาศเป็นพิษ
มสธ มสธหรือกากของเสียจนท�ำให้เกิดการอพยพย้ายถ่ินเพื่อไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีกว่า การก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน
อย่างถนนหรือนํ้าประปาได้เปิดโอกาสให้กลุ่มทุนได้เข้าครอบครองพื้นท่ีสาธารณะง่ายข้ึน ในรูปของการสร้าง
เขื่อนบุกรุกพ้ืนที่ป่า หรือเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ประชาชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพโดยตรง กรณี
เหล่าน้ีได้เกิดข้ึนบ่อยครั้งจนประชาชนเกิดการเรียนรู้ถึงผลเสียและไม่ยินยอมให้รัฐเป็นผู้เล่นในวาระของ
นโยบายเพียงฝ่ายเดียวอีกต่อไป169
นับตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา การเคล่ือนไหวด้านส่ิงแวดล้อมในประเทศไทยเป็นแนวทาง
มสธหน่ึงไปสู่กระบวนการทางประชาธิปไตย โดยได้มีกลุ่มพันธมิตรต่าง ๆ เช่น กลุ่มเกษตรกร หรือองค์กรพัฒนา
เอกชน ลักษณะของแต่ละกลุ่มเคล่ือนไหวมาจากพื้นท่ีชนบทและเชื่อมโยงกับประเด็นสิทธิชุมชนในที่ดิน
นํ้า ป่า เพราะสิ่งเหล่านี้คือวิถีชีวิตของชุมชน ขณะที่กลับมีการเปิดโอกาสให้เอกชนเข้าใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรในชุมชน และยังมีการร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหามลพิษ การเคล่ือนไหวส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับความ
มสธ มสธเป็นอยู่เพราะได้รับผลกระทบจึงได้เกิดการประท้วงและเรียกร้อง170
การเรียกร้องเพื่อสิทธใิ นการอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทีด่ ีของชาวเนนิ มะปราง จังหวัดพษิ ณุโลก
ตัวอย่างกลุ่มชาวบ้านต่อสู้คัดค้านกับกลุ่มทุนโรงโม่หิน อ�ำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก มีการ
ระเบิดหินท�ำให้ทรัพยากรป่าไม้ท่ีชาวบ้านพึ่งพามานานได้ถูกท�ำลาย เกิดฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย และล�ำคลอง
ท่ีเปลี่ยนสภาพไปไม่อาจใช้ได้ดังเดิม ทรัพยากรป่าไม้ที่ชาวบ้านได้เคยพึ่งมามานานก็ถูกใช้ไปและหมดลงจาก
มสธการระเบิดหินของโรงโม่ ชาวบ้านได้ร่วมกับคณะกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
ลุ่มน้ําชมภูร้องเรียนต่อกรมทรัพยากรธรณี เป็นผลให้เกิดค�ำสั่งจากกรมฯ ให้โรงโม่หิน 2 แห่งท่ีถูกร้องเรียน
ต้องหยุดการประกอบกิจการช่ัวคราว แต่โรงโม่หินน้ันยังคงฝ่าฝืนและด�ำเนินการต่อ ท�ำให้ความขัดแย้ง
ระหว่างประชาชนและกลุ่มทุนยังคงยืดเย้ือ
กลมุ่ ทนุ ดงั กลา่ วใชว้ ธิ กี ารอยา่ งหนงึ่ ทำ� ใหช้ าวบา้ นในพนื้ ทเ่ี กดิ ความแตกแยกกนั คอื ใหผ้ ลประโยชน์
มสธ มสธแก่ผู้น�ำชุมชนบางคนในพื้นท่ีเพื่อท�ำให้เกิดความขัดแย้งกันในชุมชน171 เช่น การให้ก�ำนันเป็นผู้ดูแลคนงาน
169 มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. อ้างแล้ว. น. 16-19.
170 Mark J. Smith & Piya Pangsapa. (2008). Environment & Citizenship. New York, NY: Zed Books. pp.
224-230.
171 ผู้เขียนมีความเห็นว่า วิธีการดังกล่าวเป็นยุทธวิธีหน่ึงของสถานประกอบการที่นอกจากจะอาศัยอิทธิพลท่ีตนมีกับฝ่าย
ราชการหรือฝ่ายการเมืองแล้ว ยังให้ผลประโยชน์กับชาวบ้านบางกลุ่มเพ่ือให้เกิดความแตกแยกในชุมชน เช่นเดียวกันกับกรณีชุมชน
มสธบ้านกรูดท่ีบริษัทผู้ผลิตโรงไฟฟ้าใช้วิธีบริจาคเงินให้กับวัด จนท�ำให้วัดในพื้นท่ีต้องขัดแย้งกันกับชุมชน
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-63
ในสถานประกอบการน้ัน ส่งผลให้ชาวบ้านที่ร่วมต่อต้านบางท่านเลิกเข้าร่วมการประท้วงเพราะตนเองเป็น
มสธญาติกับคนที่เป็นก�ำนันผู้ดูแลคนงานของสถานประกอบการ ในภายหลังก็มีแกนน�ำบางคนผันตัวเองไปเป็น
ผู้สนับสนุนสถานประกอบการอย่างชัดเจน ระหว่างทางการต่อสู้ของชาวบ้านก็ได้มีเจ้าหน้าที่รัฐบางคนข่มขู่
เพื่อให้เลิกการชุมชน อย่างไรก็ดี ในที่สุดการต่อสู้ของชาวบ้านก็เป็นผลส�ำเร็จ สังคมกลับมาสงบสุขอีกคร้ัง
ไมม่ ฝี นุ่ ละออง เสยี งดงั และความสน่ั สะเทอื นของยานพาหนะและเครอื่ งจกั รแตก่ แ็ ลกมาดว้ ยชวี ติ ของแกนนำ�
มสธ มสธบางท่าน172
ประวัติศาสตรก์ ารต่อสทู้ ย่ี าวนานของชาวบ้านบรเิ วณรอบโรงไฟฟา้ แมเ่ มาะ จังหวัดลำ�ปาง
กรณีเช่นเดียวกันกับโรงโม่หินที่จังหวัดพิษณุโลก ภาคอุตสาหกรรมท่ีก่อมลพิษและผลกระทบต่อ
คุณภาพชีวิตของประชาชน และได้รับการกล่าวถึงเป็นอย่างมาก คือ กรณีโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดล�ำปางท่ี
ได้เร่ิมด�ำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ชาวบ้านแถบน้ันต้องทนทุกข์อยู่กับการสัมผัสมลพิษมาเป็นเวลานาน
มสธจากการหายใจเอาเถา้ ดนิ ทมี่ สี ารโลหะการปลดปลอ่ ยซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ การสญู เสยี ระบบนเิ วศ ระบบประปา
รวมท้ังยังท�ำลายวัฒนธรรมของชุมชน ปัญหาโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้ท�ำให้เกิดกลุ่มเคล่ือนไหวของภาคประชา
สังคม เช่น องค์กรพัฒนาเอกชนอย่างกรีนพีซ (Green Peace) เครือข่ายนักเคลื่อนไหวอย่างเครือข่ายสิทธิ
ผู้ป่วยในการท�ำงาน กลุ่มประชาชนต่อต้านถ่านหิน เป็นต้น173
มสธ มสธการเคล่ือนไหวของประชาชนรอบโรงไฟฟ้าแม่เมาะและภาคประชาสังคมนั้นท�ำได้เพียงการเรียกร้อง
สิทธิของผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากโรงไฟฟ้า ส่ิงท่ีได้รับคือค่าเยียวยาความเสียหายทางสุขภาพ ซ่ึงเป็น
การเยยี วยาเพยี งผลกระทบทเี่ หน็ ชดั เจนในขณะนน้ั เชน่ มอี าการเกยี่ วกบั ทางเดนิ หายใจ เยอื่ บทุ างเดนิ หายใจ
อักเสบ ซ่ึงไม่สามารถชดเชยให้กับความสูญเสียท่ีจะเกิดขึ้นต่อสุขภาพในระยะยาว เพราะเงินท่ีทางโรงไฟฟ้า
ต้องชดเชยจากค�ำตัดสินของศาลมีเพียงค่าเส่ือมสมรรถภาพทางร่างกาย สุขภาพอนามัย ความสูญเสียด้าน
จิตใจ แต่ไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าเสียประโยชน์จากการประกอบอาชีพ ค่าเสียโอกาสในการด�ำรงชีวิต
แบบคนปกติ และค่าเสยี หายในอนาคต ด้วยเหตผุ ลท่วี า่ คา่ เสียหายท่ไี ม่สามารถชดเชยได้ในกลุ่มหลงั น้เี พราะ
มสธไม่สามารถหาพยานหลักฐานมาประกอบให้เป็นเหตุเรียกร้องค่าเสียหายได้
การเคล่ือนไหวของภาคประชาสังคมผ่านการฟ้องร้องต่อศาลปกครองใช้เวลายาวนานกว่า 10 ปี ใน
พ.ศ. 2558 ศาลปกครองกลางไดต้ ดั สนิ ใหม้ กี ารเยยี วยาดงั กลา่ ว ยงั มชี าวบา้ นบางกลมุ่ ทแี่ มจ้ ะไดร้ บั ผลกระทบ
จากโรงไฟฟ้าแต่ขาดหลักฐานและบางคนไม่ได้ย่ืนเร่ืองฟ้องจึงไม่ได้รับการเยียวยาจากโรงไฟฟ้า ผลกระทบ
และการต่อสู้ของชาวบ้านท่ีได้สะท้อนให้เห็นผลเสียของความไม่สมดุลทางระบบนิเวศและเศรษฐกิจ ใน
มสธ มสธอนาคตประเทศไทยยังมีแนวโน้มจะก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินอีกหลายแห่ง โดยให้เหตุผลด้านความมั่นคง
ทางพลังงานและเป็นเทคโนโลยีสะอาด174
172 กติ ตศิ กั ดิ์ เจมิ สทิ ธปิ ระเสรฐิ . (2551). “ประชาสงั คมกบั การ (ตาม) แกป้ ญั หาสิง่ แวดลอ้ ม: ขอ้ สงั เกตบางประการ” วารสาร
ร่มพฤกษ์. น. 146, 155-160.
173 Mark J. Smith & Piya Pangsapa. Op.cit. p. 221.
174 กรีนพีซ “คดีโรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ: ทางตันของยุคถ่านหิน.” (2558). ค้นคืน 31 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.
มสธgreenpeace.org/seasia/th/news/blog1/blog/52551/.
14-64 การวิเคราะห์การเมือง
มสธการเคลอื่ นไหวของขบวนการพลเมอื งบา้ นกรูด จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์
ตัวอย่างการเคล่ือนไหวหน่ึงของภาคประชาสังคมต่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพ้ืนที่ของชาว
บ้านกรูด ต�ำบลบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ท่ีเริ่มปรากฏโครงการข้ึนใน พ.ศ. 2540 หลังจากถูก
ก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 5 พ.ศ. 2535 ให้เป็น 1 ใน 9 พื้นท่ีสร้างโรงไฟฟ้า
9 แห่ง การต่อต้านเกิดขึ้นเน่ืองจากไม่ม่ันใจในโครงการท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและวิถีชีวิต
มสธ มสธของคนในพ้ืนท่ี ความไม่โปร่งใสของการด�ำเนินโครงการ ขาดการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการอนุมัติให้ด�ำเนินโครงการไปแล้วทั้งที่การจัดต้ังโรงไฟฟ้านี้จะต้องมีผลกระทบต่อพ้ืนที่ชายฝั่งเป็น
อย่างมาก ประชาชนในพ้ืนที่เกรงว่าเหตุการณ์จะซ�้ำรอยดังเช่นชุมชนรอบโรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ จังหวัด
ลำ� ปาง ทยี่ งั คงมปี ญั หาผลกระทบระยะยาวอยจู่ นทกุ วนั น้ี การเคลอ่ื นไหวถกู ขดั ขวางแตป่ ระชาชนผเู้ คลอื่ นไหว
ในพื้นท่ีก็ไม่ได้ยอมแพ้ ตัวอย่างเช่น การใช้สิทธิในการชุมนุมโดยสงบที่ถูกจ�ำกัดไม่ให้ใช้สิทธิโดยออกค�ำส่ัง
ด่วนเพื่อสกัดไม่ให้มีการชุมนุมเมื่อทราบข่าวว่าจะมีการรวมตัวกัน ซ่ึงได้ผลกับชาวบ้านบางคนจึงไม่มาชุมนุม
มสธชาวบ้านก็แก้ไขด้วยการข้ึนป้ายประชาสัมพันธ์ว่าชุมชนมีสิทธิในการจัดการทรัพยากรและสิทธิในการอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่ดีเพียงใด และใช้กลไกตลาดนัดประชาธิปไตย คือการแลกเปลี่ยนพบปะข่าวสารในพ้ืนท่ี
ตลาดแทนการชุมนุมแบบชัดเจนเพ่ือหลีกเล่ียงการขัดขวางไม่ให้ชุมนุมของเจ้าหน้าท่ี175
การเคล่ือนไหวของประชาชนชาวบ้านกรูด แม้จะมีลักษณะเพื่อปกป้องทรัพยากรและผลประโยชน์
มสธ มสธที่จะเข้ามากระทบกับวิถีชีวิต แต่ก็ถือได้ว่ามีรูปแบบการต่อสู้ที่หลากหลายมากกว่าการข้ึนป้ายประท้วงและ
ย่ืนหนังสือร้องเรียน ยกตัวอย่างเช่น การเข้าไปซื้อหุ้นกับบริษัทที่จะสร้างโรงไฟฟ้าเพ่ือจะได้มีโอกาสเข้าไป
บอกกล่าวและเสนอเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อแสดงให้เห็นความต้องการและปัญหาในพื้นที่หากมีการสร้าง
โรงไฟฟ้า และต้องการให้ผู้บริหารรับรู้ถึงความเสี่ยงหากจะมีการลงทุน อย่างไรก็ดี การพยายามเข้าไปบอก
กล่าวกับนักลงทุนของชาวบ้านก็ไม่เป็นผลส�ำเร็จ เพราะนักลงทุนก็เพียงต้องการลงเงินและให้ผู้บริหาร
โครงการที่ได้รับการแต่งต้ังตามวาระรับผิดชอบไปเท่าน้ัน นอกจากน้ี ชาวบ้านยังรวมเงินกันจ้างนักด�ำน้ําเพื่อ
มสธถ่ายภาพปะการังและความอุดมสมบูรณ์ของพ้ืนท่ีชายฝั่งท่ีจะมีการสร้างโรงไฟฟ้า เพ่ือน�ำไปเป็นหลักฐานท่ี
แสดงให้เห็นว่าพื้นท่ีมีคุณค่าทางนิเวศเกินกว่าที่จะน�ำไปท�ำส่ิงก่อสร้างทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มไม่คุ้มค่าใน
ระยะยาวมากกวา่ 176 การตอ่ สขู้ องชาวบา้ นมผี ลทำ� ใหก้ ารกอ่ สรา้ งโครงการตอ้ งชะลอเรอ่ื งไวก้ อ่ น เพอ่ื พจิ ารณา
ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ งใหร้ อบดา้ นมากขน้ึ แตก่ ย็ งั คงเปน็ หนา้ ทขี่ องชาวบา้ นอกี เชน่ กนั ทตี่ อ้ งคอยเฝา้ ระวงั เหตกุ ารณ์
ซ้�ำเดิมที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต
มสธ มสธการสานเสวนาหาทางออกของประชาสังคมรอบกวา๊ นพะเยา
การเคล่ือนไหวต่อประเด็นการพัฒนาพ้ืนท่ีรอบกว๊านพะเยา ประกอบด้วยหลายภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง
ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน และองค์กรพัฒนาเอกชน เร่ิมเกิดขึ้นอย่างจริงจังช่วงประมาณ พ.ศ. 2530
175 ทิฆัมพร รอดขันเมือง. (2557). ขบวนการเคลื่อนไหวภาคพลเมืองด้านสิ่งแวดล้อม: บ้านกรูด. กรุงเทพฯ: สถาบันพระ
ปกเกล้า. น. 39.
มสธ176เพ่ิงอ้าง. น. 33-35.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-65
ประเด็นการพัฒนากว๊านพะเยานับว่ามีความหลากหลายเพราะเกี่ยวข้องท้ังเรื่องของการท�ำการเกษตร การ
มสธประมง การท่องเท่ียว ประเพณีและวิถีชีวิตด้ังเดิม การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมเนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีอนุรักษ์ตาม
อนุสัญญาว่าด้วยพื้นท่ีชุ่มนํ้า (Ramsar convention) วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2541 ประเด็นการพัฒนาที่
หลากหลายเกิดจากความต้องการของกลุ่มที่เข้ามามีส่วนร่วมต่าง ๆ เช่น กลุ่มประมง กลุ่มชาวนา กลุ่ม
ข้าราชการที่ต้องการผลักดันเร่ืองการพัฒนาในพ้ืนท่ี กลุ่มสตรี รวมท้ังกลุ่มการเมืองในพื้นที่ท่ียังมีการแบ่ง
มสธ มสธฝ่ายกันอีกด้วย ในช่วงแรกค่อนข้างมีความไม่ลงรอยกันอยู่บ้าง แต่ระยะหลังได้มีรูปแบบหรือเปิดเวทีให้ต่าง
แสดงความคิดเห็นและมีท่ีทางให้กับทางออกของทุกฝ่ายมากขึ้น แต่ก็ยังมีลักษณะพยายามเสนอประเด็น
การพัฒนาท่ีตนเห็นว่าส�ำคัญมาก่อน177
ต่อมา การเคลื่อนไหวของประชาชนรอบกว๊านพะเยาได้มีการท�ำกระบวนการประชาเสวนาระหว่าง
ชุมชนกลุ่มต่าง ๆ หน่วยงานราชการและภาคเอกชน รวมทั้งกลุ่มผู้น�ำทางการเมืองในพ้ืนที่ เพื่อสะท้อนความ
ต้องการและออกแบบภาพอนาคตของการพัฒนาพื้นท่ีกว๊านพะเยาร่วมกันจนในที่สุดได้มีผลผลิตออกมาเป็น
มสธธรรมนญู กวา๊ นพะเยา178 การเคลอ่ื นไหวของภาคประชาสงั คมรอบกวา๊ นพะเยาแมจ้ ะไมม่ คี วามขดั แยง้ มากนกั
แต่ก็มีลักษณะต่างฝ่ายต่างช่วงชิงพื้นที่ในการผลักดันวาระความสนใจของกลุ่มตนเองให้เข้าสู่วาระนโยบาย
มีข้อสังเกตได้ว่า การเคล่ือนไหวของประชาชนในพ้ืนท่ีรอบกว๊านพะเยาถือว่าเป็นรูปแบบการเข้ามาเก่ียวข้อง
และอ�ำนาจท่ีเท่าเทียมท�ำให้เกิดการเคล่ือนไหวท่ีไม่รุนแรง พ้ืนท่ีรอบกว๊านพะเยายังได้รับความคุ้มครองตาม
มสธ มสธกฎหมายและผู้บังคับใช้กฎหมายอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ยังตระหนักถึงความส�ำคัญในจุดนี้จึง
ไม่ได้มีการอนุมัติก่อสร้างที่ส่งผลกระทบมากนัก แม้จะปรากฏว่าได้มีการปรับภูมิทัศน์พื้นที่บางส่วนโดย
ไม่ได้สอบถามความคิดเห็นจากประชาชนก่อนก็ตาม
นอกจากน้ี กรณีการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมรอบกว๊านพะเยายังอาจไม่ได้เป็นพ้ืนที่ที่มี
ผลประโยชน์สูงมากนักเม่ือเทียบกับชุมชนท่ีต้องเผชิญกับกลุ่มทุนขนาดใหญ่และมีอิทธิพล การเคลื่อนไหว
และแก้ปัญหาจึงเป็นลักษณะความร่วมมือเพื่อหาสมดุลในการพัฒนาและอยู่ร่วมกัน สอดคล้องกับ ทิม ฟอร์
มสธไซท์ฮ (Tim Forsyth) กล่าวว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนั้นแก้ได้ยาก เพราะ
อุตสาหกรรมนั้นมีความเกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ก็มัก
มีอิทธิพลต่อนักการเมืองในการที่จะตั้งโรงงานท่ีไหนก็ได้ และการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมก็ท�ำรายได้ให้
กับประเทศเป็นจ�ำนวนมาก179
กรณตี วั อยา่ งทงั้ หมดน้ี เปน็ เพยี งการเคลอื่ นไหวของภาคประชาสงั คมในประเทศไทยทพ่ี อจะมคี วาม
มสธ มสธส�ำเร็จและมองเห็นรูปธรรมได้บ้าง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ประชาชนไทยยังไม่ได้มีการรวมตัวกันเพ่ือตอบ
สนองต่อกรณีปัญหาการพัฒนาที่ไม่สมดุลของรัฐอย่างยั่งยืน การเคลื่อนไหวจะเกิดข้ึนต่อเมื่อมีปัญหา
177 โปรดดู มนตรา พงษ์นิล. (2549). “การพัฒนากว๊านพะเยากับการเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อม” ใน เอกสารประกอบการเสวนา
กลุ่มย่อยที่ 5 การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. น. 301-322.
178 โปรดดู สหัทยา วิเศษ และชัยวัฒน์ จันธิมา. (2557). รายงานการวิจัย เรื่อง การสานเสวนาเพ่ือออกแบบธรรมนูญกว๊าน
พะเยาที่พึงปรารถนา. ม.ป.ท.
มสธ179 Quoted in Mark J. Smith & Piya Pangsapa. Op.cit. p. 221.
14-66 การวิเคราะห์การเมือง
มสธดังเช่น กิตติศักด์ิ เจิมสิทธิประเสริฐ วิเคราะห์ว่าการต่อสู้ของ “ชาวบ้าน” ยังไม่อาจไปถึงขั้นของประชาสังคม
จิตส�ำนึกของประชาชนยังไม่มากนักในด้านการดูแลทรัพยากรของส่วนรวม จนเมื่อได้รับผลกระทบในเรื่อง
ของปากท้องจึงออกมาต่อสู้เพื่อพิทักษ์สิทธิ ท้ังท่ีหัวใจของประชาสังคมน้ันมี 3 ประการ ได้แก่ การตระหนัก
สิทธิประโยชน์ของตน เข้าใจและสละเสรีภาพบางอย่างของตนเพ่ือความสันติของสังคม และยังต้องมีวินัย
และความรับผิดชอบต่อสังคมอีกด้วย180 ประชาสังคมจึงยังไม่ใช่แนวคิดท่ีใช้อธิบายการต่อสู้ของชาวบ้านซ่ึง
มสธ มสธยังไม่มีศักยภาพเพียงพอท้ังความพร้อมด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เพราะประชาสังคมที่ส�ำเร็จนั้นจะ
ถูกขับเคล่ือนโดยคนชั้นกลางซึ่งมีความพร้อมและหลุดพ้นจากปัญหาเรื่องปากท้อง สอดคล้องกับ มาร์ค เจ
สมิธ และปิยะ แพ่งสภา (Mark J. Smith & Piya Pangsapa) ท่ีว่ากลุ่มเคลื่อนไหวในเมืองจะมีศักยภาพ
มากกว่าในการขับเคลื่อนเพราะสมาชิกส่วนใหญ่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะด้านการ
จัดการซ่ึงท�ำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและสร้างเครือข่ายได้มากกว่า181
กติ ตศิ กั ด์ิ เจมิ สทิ ธปิ ระเสรฐิ ยงั กลา่ วตอ่ อกี วา่ แนวความคดิ ในการเขา้ สพู่ นื้ ทสี่ าธารณะของประชาชน
มสธบางกลุ่มอย่างเช่นการมองทรัพย์สินส่วนรวม หลายคนเห็นว่าเป็นสิ่งท่ีใครจะเข้าไปใช้ก็ได้เพราะไม่มีเจ้าของ
การตระหนักในสิทธิเสรีภาพของประชาชนไทยยังมีแนวโน้มเรียกร้องให้หน่วยงานรัฐด�ำเนินการตามหน้าท่ี
เพื่อให้เป็นไปตามสิทธิท่ีตนควรจะได้ มากกว่าจัดการแก้ปัญหาเองโดยไม่พึ่งพาภาครัฐ182
ข้อวิเคราะห์ดังกล่าว สอดคล้องกับ ถวิลวดี บุรีกุล และสติธร ธนานิธิโชติ ที่กล่าวว่าการมีส่วนร่วม
มสธ มสธของประชาชนในประเทศไทยตลอดระยะเวลา 80 กวา่ ปที ผี่ า่ นมา นบั ตงั้ แตร่ ฐั ธรรมนญู ฉบบั แรกใน พ.ศ. 2475
มีสภาพล้มลุกคลุกคลานมาโดยตลอด จนกระท่ังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
เป็นต้นมาสถานการณ์การมีส่วนร่วมของประชาชนก็ดีขึ้น แต่ยังคงมีอุปสรรคหลายประการ ได้แก่ การรับรู้
และให้ความส�ำคัญกับแนวคิดการมีส่วนร่วม กฎหมายและกลไกท่ีมีอยู่ไม่เอ้ือต่อการมีส่วนร่วม ขาดผู้มี
ทักษะและมีความรู้เชิงเทคนิคในการใช้เครื่องมือแบบมีส่วนร่วม ความพร้อมของหน่วยงานรัฐ ฯลฯ ปัญหา
ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งคือปัจจัยด้านวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มีอุปสรรคต่อพัฒนาการการเคล่ือนไหวของภาค
มสธประชาสังคม โดยประชาชนจ�ำนวนไม่น้อยในประเทศนับว่ายังขาดความพร้อมต่อการมีส่วนร่วม ไม่สนใจใน
การมีส่วนร่วม จนท�ำให้ผู้มีอ�ำนาจฉวยโอกาสใช้อ�ำนาจทางการเมืองในทางท่ีเอื้อประโยชน์ส่วนตน ในทาง
เดียวกันผู้ที่มีอ�ำนาจในสังคมไทยไม่น้อยเช่นกันท่ีคุ้นชินกับการมีอ�ำนาจเหนือประชาชน ไม่ยอมรับเมื่อ
ประชาชนเรียกร้องสิทธิหรือการมีส่วนร่วมและพยายามใช้อ�ำนาจจัดการกับประชาชนเหล่านั้น183
มสธ มสธหลงั จากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระเร่อื งท่ี 14.3.3 แลว้ โปรดปฏิบัติกจิ กรรม 14.3.3
ในแนวการศึกษาหนว่ ยที่ 14 ตอนท่ี 14.3 เรอื่ งที่ 14.3.3
180 โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2549). น. 6 อ้างใน กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ. อ้างแล้ว. น. 158.
181 Mark J. Smith & Piya Pangsapa. Op.cit. pp. 224-230.
182 กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ. อ้างแล้ว. น. 155-160.
มสธ183 ถวิลวดี บุรีกุล และสติธร ธนานิธิโชติ. อ้างแล้ว. น. 375-377.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-67
มสธตอนท่ี 14.4
ทิศทางของแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง
มสธ มสธโปรดอ่านแผนการสอนประจำ� ตอนท่ี 14.4 แลว้ จงึ ศกึ ษาเน้อื หาสาระ พร้อมปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในแต่ละเรื่อง
หัวเรอ่ื ง
เรื่องที่ 14.4.1 ทิศทางงานวิชาการและงานวิจัยของนิเวศวิทยาการเมือง
เรื่องท่ี 14.4.2 บทบาทของนิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบาย
มสธแนวคิด
1. งานวิชาการและงานวิจัยในขอบเขตของนิเวศวิทยาการเมืองท่ีผ่านมาส่วนใหญ่เป็นเรื่อง
การเปล่ียนแปลงทางเกษตรกรรม การอนุรักษ์ การประมงและสัตว์น้ํา การท�ำเหมือง และ
งานส่วนใหญ่ยังยึดโยงกับพื้นที่ในประเทศแถบอเมริกาตอนเหนือ ตอนกลาง ยุโรป และ
อเมริกาใต้ แสดงให้เห็นว่างานวิชาการและงานวิจัยเกี่ยวกับนิเวศวิทยาการเมืองยังมีพ้ืนท่ี
มสธ มสธในการพัฒนาได้อีกมาก ในอนาคตก็จะมีความหลากหลาย เฉพาะประเด็น และขยาย
ขอบเขตไปยงั พน้ื ทข่ี องศาสตรอ์ น่ื มากขนึ้ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาเกยี่ วกบั การเมอื งเรอ่ื งสง่ิ แวดลอ้ ม
นิเวศวิทยาการเมืองของเมือง โลกร้อนและการพัฒนาที่ยั่งยืน ฯลฯ นอกจากการขยาย
ขอบเขตประเด็นศึกษา วิธีการศึกษาของนักนิเวศวิทยาการเมืองก็จ�ำเป็นต้องเข้าไปเป็น
หุ้นส่วนกับกลุ่มเคล่ือนไหวทางสังคมด้วย
2. การวางแผน ด�ำเนินการ และประเมินผลทางนโยบายในปัจจุบันและอนาคต ผู้ก�ำหนด
มสธนโยบายมีแนวโน้มที่จะต้องค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลายมากข้ึน มีมุมมอง
เชิงนิเวศที่มองทุกองค์ประกอบในกระบวนการนโยบายมีความส�ำคัญและส่งผลกระทบ
เช่ือมโยงถึงกันเสมอ โดยอาจส่งผลในระยะยาวได้ด้วย ถือว่าสอดคล้องกับมุมมองของ
นิเวศวิทยาการเมือง หากแต่ประเด็นความท้าทายคืองานของนิเวศวิทยาการเมืองมักไม่
ได้ถูกส่งผ่านไปยังผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจ และนักวิชาการผู้เคล่ือนงานด้านน้ีก็ไม่ได้เข้าไปมี
มสธ มสธบทบาทในการน�ำเข้าข้อมูลหรือผลการศึกษาต่อผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจมากนัก ยังคงเป็นการ
สอื่ สารในแวดวงของนกั นเิ วศวทิ ยาการเมอื งเพยี งเทา่ นนั้ จงึ เปน็ การยากทจ่ี ะสง่ ผา่ นปญั หา
ข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะไปสู่ระดับนโยบายและการตัดสินใจได้ ต่อประเด็นนี้ถือเป็น
ความท้าทายใหม่ท่ีนักนิเวศวิทยาการเมืองจะต้องก้าวข้ามข้อจ�ำกัดนี้เพ่ือให้แนวคิด
นิเวศวิทยาการเมืองไม่ใช่เพียงแนวคิดเพ่ือใช้ในเชิงวิพากษ์ แต่ยังสามารถน�ำไปสู่การ
มสธประยุกต์ใช้ได้จริงด้วย
14-68 การวิเคราะห์การเมือง
มสธ มสธ มสธวตั ถปุ ระสงค์
เม่ือศึกษาตอนที่ 14.4 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. ระบแุ นวโนม้ ของประเดน็ และวธิ กี ารศกึ ษาในอนาคตเกย่ี วกบั แนวคดิ นเิ วศวทิ ยาการเมอื งได้
มมสสธธ มมมสสสธธธ มมสสธธ2. วิเคราะห์ปัญหาส�ำคัญของนิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบายได้
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-69
มสธเร่ืองที่ 14.4.1 ทิศทางงานวิชาการและงานวจิ ัยของ
นิเวศวิทยาการเมือง
มสธ มสธประเด็นและพืน้ ทีข่ องแนวคิดนเิ วศวทิ ยาการเมอื งท่ีผา่ นมา
แบทเทอร์เบรี ได้ส�ำรวจงานวิชาการและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับนิเวศวิทยาการเมืองจากการตีพิมพ์
ในวารสารตงั้ แต่ ค.ศ. 1994–เดือนตุลาคม ค.ศ. 2014 จากจ�ำนวน 147 บทความ พบวา่ งานวิชาการส่วนใหญ่
เร่ิมมีมากข้ึนต้ังแต่ช่วงยุค 2000 เป็นต้นมา ประเด็นท่ีมีมากจะเก่ียวกับประเด็นการเปลี่ยนแปลงทาง
เกษตรกรรม การอนุรักษ์ การประมงและสัตว์น้ํา การท�ำเหมือง และงานส่วนใหญ่เหล่าน้ียังคงยึดโยงกับ
มสธประเด็นปัญหาในพ้ืนท่ีหลักอย่างประเทศทางแถบอเมริกาตอนเหนือ ตอนกลาง ยุโรป และอเมริกาใต้184
มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธ184SimonBatterbury.Op.cit.pp.36-37.
14-70 การวิเคราะห์การเมืองการท�ำฟาร์มปศุสัตว์
มสธนิเวศวิทยาการเมืองเชิงภูมิภาคจ�ำนวนบทความ
การเคลื่อนไหวทางสังคม
นิเวศวิทยาการเมืองสตรีนิยมและเพศ
ทฤษฎีหลังอาณานิคม
อันตรายทางธรรมชาติ
มสธ มสธการย้ายถ่ินและส่ิงแวดล้อม
ประเด็นพรมแดนและการต่อสู้
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสัตว์
การพัฒนาระหว่างประเทศ
ระบบชลประธาน
นิเวศวิทยาการเมืองเร่ืองสุขภาพ
โลกร้อนและคาร์บอน
มสธความรู้ของชนพื้นเมือง
การครอบครองที่ดินและการเข้าถึง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ยุติธรรมสิ่งแวดล้อมและสถานประกอบการ
เสรีนิยมใหม่และหลังทุนนิยม
มสธ มสธการสร้างทางสังคมเก่ียวกับอัตลักษณ์และธรรมชาติ
ภาพรวมและการทบทวนบทความ
นิเวศวิทยาการเมืองของเมือง
ป่าไม้: ประเด็นทางสังคมและการเมือง
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเกี่ยวกับนํ้า
เหมืองแร่และน้ํามัน
การประมง
มสธประเด็นทางสังคมและการอนุรักษ์
การเปลี่ยนแปลงทางอาหารและพืชผล
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18
มสธ มสธ มสธ185SimonBatterbury.Op.cit.p.36.
ภาพท่ี 14.1 ประเด็นงานวิชาการนิเวศวทิ ยาการเมอื ง ค.ศ. 1994-2014 สำ�รวจโดยแบทเทอรเ์ บร1ี 85
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-71มสธตะวันออกกลาง
แคริบเบียน
แอฟริกาเหนือจ�ำนวนบทความ
เอเชียกลาง
แอฟริกา
มสธ มสธแอฟริกาตะวันออก
ออสตราเลเซีย (ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์)
โอเชียเนีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเชียใต้
แอฟริกาตะวันตก
มสธแอฟริกาตอนใต้
อเมริกาใต้
ยุโรป
อเมริกากลาง (รวมเม็กซิโก)
อเมริกาเหนือ
มสธ มสธ 0
5 10 15 20 25 30 35 40
การส�ำรวจของแบทเทอร์เบรีท�ำให้มองเห็นภาพรวมจ�ำนวนงานวิชาการและวิจัยทางนิเวศวิทยา
มสธการเมืองท่ีมีจ�ำนวนมากในแต่ละประเด็นและในรายพ้ืนท่ี ประเด็นทางวิชาการและพ้ืนที่ศึกษาท่ีขาดหายไป
นั้นมีความสอดคล้องกับข้อเสนอของนักวิชาการนิเวศวิทยาการเมืองหลายท่านว่าประเด็นศึกษาทาง
นิเวศวิทยาการเมืองในอนาคตอาจจะต้องมีความหลากหลาย เชิงลึก มีความเฉพาะ และขยายขอบเขตพ้ืนที่
ศึกษาให้มากข้ึนจากเดิม ดังที่ ซิมเมอเรอร์ (Zimmerer) กล่าวถึงการข้ามศาสตร์งานวิชาการของแนวคิด
นิเวศวิทยาการเมืองซ่ึงเป็นแนวคิดเชิงสังคมศาสตร์ กับแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ ว่าวิธีศึกษาในเชิงของ
มสธ มสธนิเวศวิทยาการเมือง เช่น การวิเคราะห์วาทกรรม การวิเคราะห์เน้ือหา หรือชาติพันธุ์วิทยาอาจไม่ได้เข้าไป
เก่ียวข้องกับงานในสายวิทยาศาสตร์มากนัก แต่ก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มความเกี่ยวพันกันมากขึ้น เช่น งานของ
เบล็คกี้ และบรู้คฟิลด์ ใน ค.ศ. 1987 ท่ีใช้ค�ำว่านิเวศวิทยาการเมือง (Political ecology) มาเป็นแนวทาง
การศกึ ษาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทคี่ ำ� นงึ ถงึ เศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง อำ� นาจทางสงั คม และนเิ วศวทิ ยา ดว้ ยการบรู ณาการ
สังคมศาสตร์และศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกันในการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติและสังคม
ภาพที่ 14.2 พ้นื ที่ศกึ ษางานวชิ าการนเิ วศวิทยาการเมอื ง ค.ศ. 1994-2014 สำ�รวจโดยแบทเทอรเ์ บร1ี 86
มสธ186Ibid. p. 37.
14-72 การวิเคราะห์การเมือง
งานของเอสโกบาร์ พีทและวัตต์ และร็อบบินส์ (ค.ศ. 1998, 2004 และ 2003 ตามล�ำดับ) ได้ใช้
มสธค�ำว่านิเวศวิทยาการเมืองหลังโครงสร้าง (Post-structural political ecology) เพ่ือใช้นิเวศวิทยาการเมือง
ในการพิจารณาเก่ียวกับอ�ำนาจทางสังคมกับความรู้ งานของบรายแอนท์ และ ฟอร์ไซท์ฮ ใน ค.ศ. 1991 และ
2002 ใช้ค�ำในการศึกษาคือการเมืองเรื่องสิ่งแวดล้อม (Environmental politics) ท่ีศึกษาถึงการเมืองใน
ประเด็นส่ิงแวดล้อม ความหมายของศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการ และนโยบายในฐานะท่ีเป็นรากฐาน
มสธ มสธของนิเวศวิทยาการเมือง หรืองานของ บูราวอย (Burawoy) แจนเซน (Jansen) แคลลีเบิร์ก (Kalleberg)
ร็อบเบิร์ตสันและฮัล (Rebertson & Hull) (ค.ศ. 2005, 2009, 2005 และ 2001) ซึ่งใช้ค�ำว่าพลเมือง
สังคมวิทยาสาธารณะ และสาธารณะศาสตร์ (Citizen Science, Public Sociology, Public Science)
งานของนักวิชาการกลุ่มนี้มีแนวโน้มเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมเข้ากับสังคมศาสตร์แนวการเคล่ือนไหวทางสังคม
เป็นนิเวศวิทยาการเมืองสาธารณะ (Public Political Ecology)187
มสธประเด็นทีน่ ่าสนใจของนิเวศวิทยาการเมืองในอนาคต
นเิ วศวทิ ยาการเมอื งปจั จบุ นั ไดถ้ กู นำ� ไปใชใ้ นการวเิ คราะหแ์ ละขบั เคลอื่ นกบั หลายแนวคดิ ยกตวั อยา่ ง
งานเขียนของ เอ็ดเวริ ด์ อาร์ คาร์ (Edward R. Carr) ทใี่ ช้นเิ วศวิทยาการเมอื งในการวเิ คราะห์ศึกษาเกย่ี วกบั
สภาพชีวิตความเป็นอยู่ ไบรอัน คิง (Brian King) ศึกษานิเวศวิทยาการเมืองกับประเด็นสุขภาพท่ีท�ำให้พบ
วา่ ปญั หาโรคตดิ ตอ่ หรอื รปู แบบของการเกดิ โรคในแตล่ ะพน้ื ทที่ แี่ ตกตา่ งกนั นน้ั ยงั เกย่ี วขอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม
มสธ มสธการเมืองในแต่ละแห่งและวัฒนธรรมของคนในพ้ืนท่ี เอริค สเวนเกดาว (Erik Swyngedouw) ศึกษาการน�ำ
นิเวศวิทยาการการเมืองมาใช้ในการจัดการความเป็นเมือง แมทท์ ฮิวเบอร์(Matt Huber) ท่ีช้ีประเด็นให้เห็น
ว่าทรัพยากรส่ิงแวดล้อมอย่างพลังงานนั้นถูกน�ำไปใช้น้อยมากในงานของนิเวศวิทยาและควรจะมีเพ่ิมมากข้ึน
เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์และหาทางออกเกี่ยวกับประเด็นการเมืองในพื้นที่พลังงาน หรือซีเลีย เลอฟ (Celia
Lowe) ที่ศึกษาความมั่นคงทางอาหารกับนิเวศวิทยาการเมือง188
ร็อบบินส์เสนอว่านิเวศวิทยาการเมืองได้มีการแผ่ขยายสาขาการศึกษาท่ีกว้างไปมากข้ึนจากจุดเดิม
มสธโดยเฉพาะอย่างย่ิงงานวิจัยเร่ืองเก่ียวกับนิเวศวิทยาเมือง (Urban ecological research) ได้ท�ำให้ความคิด
ทางนิเวศวิทยาการเมืองเข้าไปผสมผสานกับการศึกษาเกี่ยวกับเมือง (Urban studies) เกิดการเคลื่อนไหว
อย่างฉับไวและควบรวมกันอย่างทะลักทะลาย เช่น การศึกษาเกี่ยวกับเมือง กลุ่มผลประโยชน์และตัวแสดง
ทมี่ อี ำ� นาจเกยี่ วกบั การตดั สนิ ใจในประเดน็ ทเี่ กยี่ วกบั การจดั การเมอื ง ปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คม การเมอื งของเมอื ง
ประชากรและกระบวนการทถ่ี กู ทำ� ใหเ้ ปน็ การเมอื งในเมอื ง ยตุ ธิ รรมสงิ่ แวดลอ้ มของเมอื ง เปน็ ตน้ และประการ
มสธ มสธที่สอง เกิดความสนใจทางทฤษฎีที่มีมากข้ึนเกี่ยวกับองค์กร (Bodies) อุดมการณ์ (Ideologies) และสาระ
(Subjects) ที่ท�ำให้เปิดพื้นที่งานวิจัยเก่ียวกับประเด็นเหล่าน้ีเกิดขึ้นมากมาย ประการสุดท้าย การเพิ่มขึ้นของ
องค์ความรู้เก่ียวกับบทบาทของตัวแสดงท่ีไม่ใช่มนุษย์และตัวแสดงในเครือข่าย189
187 Karl S. Zimmerer. Opcit. 151-152.
188 Ibid. pp. 332-353, 488, 615.
มสธ189 Paul Robbins. Op.cit. p. 72.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-73
นิเวศวิทยาการเมืองของเมือง เป็นประเด็นการศึกษาหน่ึงท่ีมีนักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงความ
มสธน่าสนใจในการศึกษาเพ่ือแตกแขนงออกไปจากแนวคิดว่าด้วยนิเวศวิทยาการเมือง และยังมีอีกหลายแง่มุม
ท่ีนักนิเวศวิทยาการเมืองยังต้องท�ำการศึกษาและบางคร้ังอาจต้องค้นคว้าในเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อตอบสนอง
ตอ่ ประเดน็ เมอื ง (Urban) เหลา่ นน้ั ดงั ทซ่ี มึ มารส์ รปุ วา่ นเิ วศวทิ ยาการเมอื งของเมอื งนน้ั กำ� ลงั ถกู ทา้ ทายมากขน้ึ
เพราะเมืองในประเทศก�ำลังพัฒนาท้ังหลายก�ำลังจะพัฒนาไปเป็นเมืองท่ีใหญ่ข้ึนและแน่นอนว่าปัญหา
มสธ มสธสิ่งแวดล้อมก็จะมีเพิ่มมากข้ึนตามไปด้วย ควรมีการศึกษาที่เก่ียวกับความหลากหลายของความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแสดงทางสังคมซ่ึงไม่ใช่เพียงระหว่างมนุษย์ด้วยกันเท่าน้ัน แต่ยังรวมไปถึงสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่ใช่
มนุษย์อาจต้องมีการศึกษาในลักษณะที่อิงกับมิติด้านเศรษฐกิจมากขึ้น190
เช่นเดียวกับงานของแองเจโล (Angelo) และวอชส์มิทช์ (Wachsmuth) ศึกษานิเวศวิทยาการเมือง
ของเมอื ง (Urban political ecology) ซง่ึ แนวคดิ นพี้ ฒั นามาตง้ั แตช่ ว่ งทศวรรษ 1990 โดยเปน็ การนำ� แนวคดิ
นิเวศวิทยาการเมืองเข้ามาใช้ในการจัดการเมืองและในเชิงทฤษฎี นิเวศวิทยาการเมืองยังถูกใช้เป็นกรอบใน
มสธการสร้างทฤษฎีนิเวศวิทยาการเมืองของเมืองในฐานะท่ีเมืองเป็นผลผลิตจากกระบวนการเปล่ียนผ่านทาง
สังคม และการใช้นิเวศวิทยาการเมืองเข้ามาก็เพ่ือของการสร้างความเป็นเมืองให้เกิดข้ึนไม่ใช่ของเมือง (Not
of the city but of urbanization) กล่าวคือนิเวศวิทยาการเมืองจะช่วยให้เกิดการจัดการเมืองท่ีดียิ่งข้ึนท่ี
ไม่เพียงแต่จัดการเมืองในเชิงโครงสร้าง เช่น ถนน นํ้าเสีย แต่ยังรวมไปถึงกระบวนการจัดการเพื่อให้เกิด
ความเป็นเมืองอีกด้วย191
มสธ มสธเปียรู้ทและคณะ เสนอทิศทางประเด็นนิเวศวิทยาการเมืองอื่นท่ีน่าสนใจคือเร่ืองโลกร้อน เน่ืองจาก
ที่ผ่านมานิเวศวิทยาการเมืองถูกน�ำไปใช้อธิบายและศึกษาปรากฏการณ์การเมืองในบริบทของทรัพยากร-
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเช่น การน�ำทรัพยากรมาใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
หรือนิเวศวิทยาอุตสาหกรรม ฯลฯ ซึ่งการศึกษาในแนวน้ีมีเป็นจ�ำนวนมากและอาจกล่าวได้ว่าทั่วโลกได้เร่ิม
ให้ความสนใจกับประเด็นปัญหาเหล่านี้มากขึ้นแล้ว ในอนาคต ประเด็นที่น่าจะมีความส�ำคัญกล่าวถึงใน
นิเวศวิทยาการเมืองน่าจะเป็นเรื่องโลกร้อน (Climate change) โลกร้อนอาจเป็นแหล่งของประเด็นศึกษา
มสธในนิเวศวิทยาการเมือง เพราะท่ัวโลกเห็นว่าเป็นปัญหาร่วมและควรท่ีจะต้องจัดการร่วมกัน ดังเช่น ในยุค
1970 ปัญหาร่วมคือเศรษฐกิจแบบทุนนิยม จนกระทั่งยุคตั้งแต่ 1970 เป็นต้นมา ก็ยังคงเป็นเรื่องของการ
ถกเถยี งเกยี่ วกบั ทนุ นยิ ม แตเ่ ปน็ ในมติ เิ พอ่ื สรา้ งความสามารถในการจดั การทนุ นยิ มและการพฒั นาตลาดใหม่
เป็นทุนนิยมแบบร่วมสมัยให้ระบบแวดล้อมตลาดและทุนนั้นยังอยู่ได้เพื่อให้ทุนนิยมน้ันยังคงอยู่ต่อไปได1้ 92
ขณะที่ โอลสันและคณะ (Olsson & other) เสนอทิศทางการพัฒนาทั่วโลกในอนาคตจะเน้น
มสธ มสธเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ซึ่งมีมิติที่สอดคล้องกับนิเวศวิทยาการเมือง เพราะสิ่งท่ีนักนิเวศวิทยาการเมือง
ก�ำลังให้ความสนใจต่อประเด็นนี้คือจะเปล่ียนผ่านอุดมคติหรือแนวคิดนี้ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงได้
อย่างไร ซึ่งโอลสันและคณะได้เสนอมุมมองเกี่ยวกับประเด็นทางวิชาการท่ีส�ำคัญและจะช่วยสนับสนุนให้เกิด
การเปลย่ี นผา่ นการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ได้ คอื งานวจิ ยั ทเ่ี นน้ นวตั กรรมและความสมั พนั ธเ์ ชงิ ระบบระหวา่ งเทคโนโลยี
190 Anna Zimmer. Op.cit. p. 351.
191 Hillary Angelo & David Wachsmuth. Op.cit.
มสธ192 Tom Perreault & other. Op.cit. pp. 624-625.
14-74 การวิเคราะห์การเมือง
นิเวศวิทยา และสังคม ต่อมาคือการศึกษารูปแบบของการเปลี่ยนผ่านเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน และสิ่งสุดท้าย
มสธท่ีควรศึกษาคือสถาบันซ่ึงท�ำหน้าที่ในการเปลี่ยนผ่านการพัฒนาท่ีย่ังยืนสู่การปฏิบัติ193
แนวทางการศกึ ษาทางนิเวศวทิ ยาการเมอื ง
นอกเหนือจากประเด็นวิชาการของนิเวศวิทยาการเมืองท่ีจะมีลักษณะข้ามศาสตร์มากขึ้นแล้ว ในเชิง
มสธ มสธของกระบวนการศึกษาและวิจัยเชิงนิเวศวิทยาการเมือง อาจต้องปรับวิธีการท่ีท�ำให้ได้ชุดข้อมูลในเชิงลึก งาน
วิจัยแบบเดิมเก่ียวกับสิทธิในท่ีดิน สิทธิคนกลุ่มน้อย การใช้ทรัพยากร ท่ีเน้นไปทางศึกษาพลวัตของการ
เคล่ือนไหวทางสังคมและมักศึกษาแบบปิดในกลุ่มเคล่ือนไหวด้วยกันเองน้ันอาจไม่เพียงพอ แนวโน้มต่อไป
ของการศึกษาในเชิงนิเวศวิทยาการเมืองจึงอาจต้องเข้าไปเป็นหุ้นส่วนกับกลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคม ส่วน
นกั วิชาการทเี่ ปน็ นกั เคลอ่ื นไหว (Activist scholarship) นอี้ าจตอ้ งมกี ารนำ� เสนอการเคลือ่ นไหวแบบตรงไป
ตรงมาของตนเข้ามาสู่งานหรือแนวคิดของนิเวศวิทยาการเมืองมากข้ึน เพื่อให้เกิดการใช้ภาษาเฉพาะที่เกิด
มสธจากประสบการณ์ของนักเคลื่อนไหว194
ในเชิงพ้ืนท่ีศึกษาของนิเวศวิทยาการเมือง เปียรู้ท และคณะ เสนอว่าควรมีงานเกี่ยวกับประเทศหรือ
ภมู ิภาคอ่นื ซง่ึ สอดคลอ้ งกับผลส�ำรวจของแบทเทอรเ์ บรี ท่ีเสนอไปในตอนต้นว่ามีจ�ำนวนงานวิชาการเกีย่ วกับ
นิเวศวิทยาการเมืองจ�ำนวนมากแล้วในประเทศแถบอเมริกา นอกจากน้ีงานวิชาการทางแนวคิดนี้ควรมี
มสธ มสธการศึกษาในภาษาอ่ืน แม้จะมีความยากล�ำบากในการท�ำงานในด้านของอุปสรรคทางภาษา แต่การศึกษาใน
พ้ืนท่ีท่ีมีความแตกต่างจะช่วยสร้างผลผลิตท่ีแตกต่างในเชิงภูมิศาสตร์ได้195
สอดคล้องกับประเด็นเรื่องความไม่เท่าเทียมทางวิชาการท่ีมีนักวิชาการฝั่งยุโรปและอเมริกาเป็น
จ�ำนวนมาก ซ่ึงอธิบายได้ตามลัทธิหลังอาณานิคมนิยม (Postcolonialism) กล่าวถึงยุคของประวัติศาสตร์
ช่วงที่มีความสัมพันธ์ทางอ�ำนาจท่ีไม่เท่าเทียมเกิดขึ้นโดยทั่วไป ไม่เพียงแต่ระหว่างประเทศล่าอาณานิคมกับ
ประเทศในอาณานิคมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงนักเขียนเชิงวิชาการทางฝั่งเหนือ นักเศรษฐศาสตร์ และนัก
วิทยาศาสตร์ กับนักแปล/นักอธิบายของโลกทางฝั่งใต้ ท่ีร็อบบินส์ได้พยายามอธิบายความไม่เท่าเทียมและ
มสธการถูกกดข่ีผ่านงานวิชาการจากมุมมองของประเทศเจ้าอาณานิคมอย่างฝั่งยุโรปหรืออเมริกา งานวิชาการ
เหล่านี้ล้วนมาจากนักวิชาการฝั่งประเทศเจ้าอาณานิคม แต่ไม่ได้มาจากมุมมองของประเทศใต้อาณานิคมเลย
ท�ำให้ชิ้นงานมีการเผยแพร่ในรูปแบบภาษาและมุมมองเดียว ขณะที่งานเขียนเชิงนิเวศวิทยาการเมืองใน
ภาษาอ่ืนกลับไม่ได้รับการเผยแพร่ในวงกว้าง จึงเกิดการครอบง�ำอ�ำนาจทางความคิดและมุมมองได้196
มสธ มสธหลงั จากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระเรือ่ งท่ี 14.4.1 แลว้ โปรดปฏบิ ตั ิกิจกรรม 14.4.1
ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 14 ตอนที่ 14.4 เรอ่ื งท่ี 14.4.1
193 Per Olsson & other. (2014). “Sustainability Transformations: A Resilience Perspective.” Ecology and
Society. n.p.
194 Nick Heynen & Levi Van Sant. Op.cit. p. 173.
195 Tom Perreault & other. Op.cit. pp. 626-628.
มสธ196 Paul Robbins. Op.cit. pp. 69-70.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-75
มสธเร่ืองท่ี 14.4.2 บทบาทของนเิ วศวทิ ยาการเมอื งในกระแสนโยบาย
บทบาทของนิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบายเป็นการน�ำแนวคิดเชิงนิเวศเข้ามาใช้ในวาระของ
มสธ มสธนโยบาย หากรัฐจะจัดท�ำนโยบายใดนโยบายหนึ่งจ�ำเป็นต้องวางอยู่บนหลักการว่านโยบายสาธารณะน้ัน
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ องค์ความรู้เกี่ยวกับนโยบายแต่ละประเภทและกระบวนการจัดท�ำนโยบาย ในส่วน
ขององค์ความรู้ของนโยบายแต่ละประเภทในปัจจุบันจะมีลักษณะข้ามศาสตร์และหลากหลาย ขณะที่
กระบวนการจัดท�ำนโยบายนั้นหมายถึงการรวมเอาตัวแสดงที่เก่ียวข้องและหลากหลายทั้งเชิงความรู้ความ
สามารถและความเป็นตัวแทนของพ้ืนที่ต้องไม่ถูกละเลย สอดคล้องกันกับ บิริแอสซุวลิส (Briassoulis,
2005) ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์ (2541) และนพนันท์ อนุรัตน์ (2548) ที่ว่าในอนาคตการท�ำนโยบายจะต้องให้
มสธความส�ำคัญกับมุมมองเชิงนิเวศ มีการค�ำนึงถึงผลกระทบวงกว้างและระยะยาว และการจัดสรรผลประโยชน์
ที่เชื่อมโยงกันระหว่างตัวแสดงที่หลากหลาย อย่างไรก็ดี ส่ิงท่ีท้าทายและต้องจัดการให้ได้ก่อนไปถึงยังจุดนั้น
คือการจัดการกับสะพานเช่ือมนิเวศวิทยาการเมืองไปสู่นโยบาย ซ่ึงยังมีข้อบกพร่องและต้องการการเติมเต็ม
อีกมาก ดังท่ีเปียรู้ทและคณะกล่าวว่านักนิเวศวิทยาการเมืองอาจต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับผู้ก�ำหนดนโยบาย
มสธ มสธหรือผู้ที่มีบทบาทในกระแสนโยบาย เช่น กลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนหรือกลุ่มเคล่ือนไหวทางสังคม เพ่ือให้งาน
วิชาการเกี่ยวกับนิเวศวิทยาการเมืองอยู่ในลักษณะท่ีจับต้องได้และตอบสนองต่อความเป็นจริงมากขึ้น197
เช่นเดียวกันกับ แม็คคัสเกอร์ (McCusker) กล่าวถึงบทบาทของนิเวศวิทยาการเมืองในกระแส
นโยบายวา่ คอ่ นขา้ งมจี ำ� กดั ถงึ แมว้ า่ นเิ วศวทิ ยาการเมอื งจะไดร้ บั การกลา่ วถงึ ในวงวชิ าการและมปี ระวตั ศิ าสตร์
ท่ีค่อนข้างนานพอสมควร การพัฒนานโยบายที่พบเห็นส่วนใหญ่ยังเป็นการพัฒนาผ่านระบอบและอ�ำนาจ
การใช้นิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบายจึงเป็นการวิเคราะห์นโยบายและผลลัพธ์ทางนโยบาย ส่วนใหญ่
มสธเกี่ยวกับการจัดท�ำนโยบายและการน�ำนโยบายไปปฏิบัติ ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ตัวแสดงในพ้ืนท่ีนโยบาย
เช่น ในวอชิงตัน ดีซี นั้นจ�ำเป็นท่ีจะต้องแยกแยะให้ได้ระหว่างผู้จัดท�ำนโยบาย ผู้น�ำนโยบายไปปฏิบัติ และ
หุ้นส่วนที่เก่ียวข้องกับการน�ำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้จัดท�ำนโยบายคือฝ่ายนิติบัญญัติท่ีเป็นผู้ออกกฎหมาย
นโยบายหรือกฎหมายก็มักถูกสร้างข้ึนทางตรงทางอ้อมจากกลุ่มผลประโยชน์และองค์กรประเภทนักคิด
(Think tank) กฎหมายหรือนโยบายเม่ือออกมาแล้วก็มีข้อจ�ำกัดในการน�ำนโยบายไปปฏิบัติและงบประมาณ
มสธ มสธด้วยเช่นกัน ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้น�ำนโยบายไปปฏิบัติที่เป็นข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของฝ่ายบริหาร
ข้อจ�ำกัดของนิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบายน้ันส่วนหนึ่งเพราะนักนิเวศวิทยาการเมืองมัก
จะพูดคุยเฉพาะในหมู่นักนิเวศวิทยาการเมืองกันเองหรืออยู่ในแวดวงวิชาการ ท�ำให้นิเวศวิทยาการเมืองไม่
ไดถ้ กู ใชใ้ นกระแสนโยบาย บางครงั้ สถาบนั ทางนโยบายหรอื ผใู้ หท้ นุ กม็ ขี อ้ จำ� กดั เกย่ี วกบั สงิ่ ทจ่ี ะใหเ้ ขยี นเกย่ี วกบั
สถาบันทางนโยบาย เจ้าหน้าที่ท่ีอยู่ในสถาบันท่ีเก่ียวข้องกับการก�ำหนดนโยบายก็ประสบปัญหาเรื่องภาระ
มสธ197 Tom Perreault & other. Op.cit. pp. 626-628.
14-76 การวิเคราะห์การเมือง
การท�ำงานท�ำให้เกิดข้อจ�ำกัดในทางวิชาการของผู้ท่ีท�ำหน้าที่เก่ียวข้องกับนโยบายโดยตรง198 นอกจากนี้
มสธนิเวศวทิ ยาการเมืองยังไมส่ ามารถทำ� ไดแ้ ละไมไ่ ด้ท�ำในเร่ืองของการเป็นสะพานเชื่อมชมุ ชนท่ัวโลกให้พยายาม
ลดผลเสียด้านส่ิงแวดล้อมให้น้อยลง199
ยกตัวอย่างงานวิจัยของ คอสตากิสและคณะ ศึกษาผลกระทบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมของธุรกิจ
ดิจิทัลที่นับวันจะเติบโตมากข้ึน โดยวิเคราะห์จากสมมติฐานตัวแบบเศรษฐกิจ 2 ตัวแบบ ได้แก่ the neo-
มสธ มสธfeudal cognitive capitalism (NFCC) ซงึ่ เปน็ ตวั แบบทถี่ กู ควบคมุ ทางการเมอื งดว้ ยทนุ กบั อกี ตวั แบบหนง่ึ
คอื the hypothetical case of mature peer production (HMPP) ทถ่ี กู ควบคมุ ทางการเมอื งดว้ ยประชาสงั คม
และพบว่าท้ัง 2 ตัวแบบต่างให้ผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมทางตรงเหมือนกัน เพราะต่างมีการใช้วัตถุอุปกรณ์
ด้านเทคโนโลยีในการด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจเช่นกัน แต่การด�ำเนินธุรกิจแบบ NFCC นั้นเน้นทุนนิยม
มากกว่าจะมีลักษณะท�ำให้เกิดพฤติกรรมของผู้ใช้บริการหรือลูกค้าท่ีไม่ย่ังยืนต่อส่ิงแวดล้อมขณะที่ธุรกิจ
แบบ HMPP เสนอการใช้เทคโนโลยีต่อผู้บริโภคในเชิงสร้างคุณค่าทางสังคม หรือการออกแบบที่ย่ังยืน
มสธมากกว่า น่ันหมายถงึ วา่ การด�ำเนินธรุ กจิ ในแบบทุนนยิ มมากเกนิ ไปตอ่ ไปเรื่อย ๆ จะยงิ่ ทำ� ให้เกิดความขดั แยง้
ต่อมิติสังคมส่ิงแวดล้อมและความไม่เท่าเทียมมากข้ึน การศึกษาของคอสตากิสและคณะ จึงยิ่งตอกย้�ำหรือ
ให้ความส�ำคัญกับเศรษฐกิจในแบบ HMPP ที่เอื้อให้เกิดการสร้างสรรค์ทางเลือกที่ค�ำนึงถึงผลกระทบที่ตาม
มาด้านส่ิงแวดล้อม แต่ธุรกิจแบบน้ียังมีข้อจ�ำกัดในเร่ืองการเข้าถึงและความสัมพันธ์ทางการเมือง200 งาน
มสธ มสธวิจัยของคอสตากิสและคณะสะท้อนให้เห็นว่างานวิชาการเชิงนิเวศวิทยานั้นจะไม่บรรลุเป้าหมายของแนวคิด
น้ีได้เลย หากไม่ได้น�ำเสนอผลการวิจัยไปสู่วาระนโยบาย และหากจะได้ผลจริง งานวิจัยเช่นนี้ยังต้องน�ำเอา
ตัวแทนธุรกิจชุมชนเข้าไปร่วมเคล่ือนไหวให้มีผลในการตัดสินใจทางนโยบายด้วย
แบทเทอร์เบรีกล่าวเพิ่มเติมว่าทิศทางในกระแสนโยบายของนิเวศวิทยาการเมือง นักนิเวศวิทยา
การเมืองจ�ำเป็นต้องเข้าไปมีที่ทางในกระแสนโยบายมากข้ึน อาจมีการเข้าไปมีส่วนร่วมในองค์กรทางนโยบาย
ด้วยการเป็นผู้แนะน�ำหรือให้ปรึกษาทางนโยบาย เข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อเป็นตัวแทนการเคลื่อนไหวท่ีมีอ�ำนาจ
มสธในการเสนอหรือสอดแทรกทางเลือกนโยบายเข้าไป เช่น การวิพากษ์ของอารูโต เอสโกบาร์ (ใน ค.ศ. 2008)
เกี่ยวกับการพัฒนากระแสหลักและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระหว่างประเทศ เอสโกบาร์ได้ท�ำการ
วิจัยและขับเคลื่อนกับกลุ่มเคลื่อนไหวในกลุ่มลูกหลานแอฟริกันในโคลอมเบีย (Afro-Colombian)201 เพื่อ
ต่อสู้กับการสร้างทางเลือกและวิถีชีวิตสู่ความเป็นทุนนิยม หรืองานวิจัยของ ลูซี ยาโรสซ์ (Lucy Jarosz,
2011) ก็ช่วยสนับสนุนวาระกลุ่มเคลื่อนไหวในท้องถิ่นเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรมในการดูแลสตรี และ
มสธ มสธการผลิตทางการเกษตรทางเลือก นักวิชาการบางท่านเห็นด้วยเช่นกันว่าการท�ำงานร่วมกับองค์กรพัฒนาอื่น
ก็เป็นประโยชน์ต่อหนทางในการท�ำงานด้านนี้ อย่าง เอ็ด คาร์ (Ed Carr, 2011) มีการติดตามวิจัยในพื้นท่ี
198 Brent McCusker. “Political Ecology and Policy: A Case Study in Engagement,” in Tom
Perreault & other. (editors). (2015). Op.cit. pp. 191-192.
199 Paul Robbins, Op.cit. p. 262.
200 Vasilis Kostakis & other. Op.cit.
มสธ201 Afro-colombian เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศโคลอมเบยี ซงึ่ เป็นทายาทหรือลูกหลานชาวแอฟรกิ นั ทเี่ กิดในโคลอมเบีย
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-77
แอฟริกาตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหน่ึงในโครงการพัฒนาขององค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ
มสธ(United States Agency for International Development: USIAD) เป็นต้น202
เช่นเดียวกันกับคาร์เทอร์กล่าวว่ากลุ่มกดดันหรือการเคล่ือนไหวทางสังคมเป็นความท้าทายใหม่ท่ี
นักนโยบายไม่อาจหลีกเลี่ยงหรือละเลยความส�ำคัญต่อการก�ำหนดหรือน�ำมาไว้ในกระบวนการนโยบาย
ปัจจุบัน การเคลื่อนไหวของกลุ่มเหล่านี้ได้มีบทบาทเป็นท่ีปรึกษาให้กับรัฐบาลในหลายประเด็นอย่างกว้าง
มสธ มสธขวาง203 การเคล่ือนไหวของกลุ่มเหล่าน้ีมีความเช่ือมโยงกับทิศทางงานวิจัยและวิชาการของนิเวศวิทยา
การเมืองที่ในอนาคตจะมีความเฉพาะประเด็นและพื้นท่ีในเชิงลึก ยกตัวอย่างที่ ซึมมาร์สรุปว่านิเวศวิทยา
การเมอื งของเมอื ง (Urban political ecology) นัน้ กำ� ลงั ถกู ท้าทายมากข้ึนเพราะเมอื งในประเทศกำ� ลังพฒั นา
ทั้งหลายก�ำลังจะพัฒนาไปเป็นเมืองที่ใหญ่ขึ้นและแน่นอนว่าปัญหาส่ิงแวดล้อมก็จะมีเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
ทำ� ให้การศกึ ษาท่เี กย่ี วกับความหลากหลายของความสัมพันธร์ ะหวา่ งตวั แสดงทางสังคมซง่ึ ไม่ใชเ่ พียงระหวา่ ง
มนุษย์ด้วยกันเท่านั้นมีมากข้ึน204 ต่อข้อเสนอของท้ังคาร์เทอร์ และ ซึมมาร์ ยิ่งตอกย�้ำว่าบทบาทของ
มสธนิเวศวิทยาการเมืองในกระแสนโยบายจะต้องมีมากข้ึน ผ่านการเข้าไปท�ำความรู้จักและร่วมมือกับตัวแสดง
ทั้งในระดับพื้นท่ีแล้วเชื่อมโยงไปสู่ตัวแสดงในนโยบายระดับประเทศได้
จากข้อเสนอของนักวิชาการด้านนิเวศวิทยาการเมืองหลายท่าน ท�ำให้ตั้งข้อสังเกตได้ว่างานวิชาการ
และนกั นเิ วศวทิ ยาการเมอื งทผ่ี า่ นมาขาดการขบั เคลอ่ื นทเ่ี ชอ่ื มโยงในวาระของนโยบาย หากตอ้ งการใหแ้ นวคดิ
มสธ มสธนไี้ ดร้ บั การยอมรบั แพรข่ ยายไปในวงกวา้ ง เกดิ การรบั รแู้ ละนำ� ไปปฏบิ ตั จิ รงิ นกั วชิ าการผเู้ ชย่ี วชาญในแนวคดิ น้ี
อาจต้องลดทอนความลุ่มลึกเชิงทฤษฎีบางส่วนที่ไม่จ�ำเป็น เพ่ือให้แนวคิดน้ีได้รับการอ้างถึงและถูกน�ำไปใช้
ในทางปฏิบัติ ในขณะเดียวกันก็ปลีกตัวเองออกมาจากพื้นที่ทางวิชาการบางส่วนเพ่ือเรียนรู้และเช่ือมโยงกับ
กลมุ่ เคลอื่ นไหวในสงั คมและผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งในวาระนโยบาย มเิ ชน่ นนั้ งานวชิ าการและวจิ ยั ในกรอบของแนวคดิ นี้
อาจมีพัฒนาการได้เพียงเชิงวิชาการแต่กลับไม่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาสังคมได้ ดังเช่นพรรคกรีนท่ี
การต่อสู้ในช่วงแรกต้องเป็นไปอย่างโดดเด่ียวเพราะอุดมการณ์ของพรรคขัดแย้งกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ
มสธและความเชื่อ ท�ำให้การขับเคล่ือนไม่ส�ำเร็จ ในระยะหลังจึงต้องยอมรับการเมืองในแบบท่ีเป็นอยู่และลดทอน
อุดมการณ์บางส่วนเพ่ือให้ข้อเสนอของพรรคได้เข้าสู่วาระนโยบายได้บ้าง เพราะจะไม่สามารถสร้างการ
เปลี่ยนแปลงใดได้เลย หากมุ่งการเปล่ียนแปลงแบบถอนรากถอนโคนและยากท่ีจะได้รับการสนับสนุน
จากผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจทางนโยบาย205
มสธ มสธหลังจากศึกษาเน้อื หาสาระเร่อื งท่ี 14.4.2 แล้ว โปรดปฏบิ ัติกิจกรรม 14.4.2
ในแนวการศึกษาหนว่ ยท่ี 14 ตอนท่ี 14.4 เร่อื งท่ี 14.4.2
202 imon Batterbury. Op.cit. p. 40.
203 Neil Carter. Op.cit. p. 197.
204 Anna Zimmer. Op.cit. p. 351.
มสธ205 นพนันท์ อนุรัตน์. อ้างแล้ว. น.39, 80-82.
14-78 การวิเคราะห์การเมือง
บรรณานุกรม มสธกิตติศักด์ิ เจิมสิทธิประเสริฐ. (2551). ประชาสังคมกับการ (ตาม) แก้ปัญหาส่ิงแวดล้อม: ข้อสังเกตบางประการ.
มสธ มสธวารสารร่มพฤกษ์.26.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. (2550). สิทธิของบุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.
กรีนพีซ. คดีโรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ: ทางตันของยุคถ่านหิน. ค้นคืนเมื่อ 31 กรกฎาคม 2560, จากhttp://www.
greenpeace.org/seasia/th/news/blog1/blog/52551/.
กุลยา วิวิตเสวี. (2528). ภูมิศาสตร์การเมืองแนวนิเวศวิทยาการเมือง: ระบบการเมืองกับลักษณะทางวัฒนธรรม.
เชียงใหม่: ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มสธคณะบุคคลโครงการสิทธิชุมชน. (2554). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษากลไกรองรับการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2555). กาลานุกรมสยามประเทศไทย พ.ศ. 2485–2554. กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์.
ถวิลวดี บุรีกุล และสติธร ธนานิธิโชติ. (2557). กว่าจะเป็นพลเมือง. ใน สถาบันพระปกเกล้า รัฐธรรมนูญกลางแปลง:
แนวทางการปฏิรูปเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
มสธ มสธทิฆัมพร รอดขันเมือง. (2557). ขบวนการเคลื่อนไหวภาคพลเมืองด้านสิ่งแวดล้อม: บ้านกรูด. กรุงเทพฯ: สถาบัน
พระปกเกล้า.
นพนันท์ อนุรัตน์. (2548). พรรคกรีน: จากปรัชญาสู่ปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ: วิสดอมมีเดียส์.
นรนิติ เศรษฐบุตร. (2550). รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บัญชา ธนบุญสมบัติ. (2549). “เศรษฐกิจและสังคมไทยในช่วง 60 ปีที่ผ่านมา ในทรรศนะของศาสตราจารย์รังสรรค์
ธนะพรพันธุ์ (บทสัมภาษณ์)”. MTEC. (กรกฎาคม-กันยายน 2549).
มสธบวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ. (2554). ค�ำอธบิ ายวชิ ากฎหมายรฐั ธรรมนญู . กรงุ เทพฯ: สำ� นกั อบรมการศกึ ษาเนตบิ ณั ฑติ ยสภา.
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2546). นิเวศเศรษฐศาสตร์ และนิเวศวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
มนตรา พงษ์นิล. (2549). การพัฒนากว๊านพะเยากับการเมืองเร่ืองส่ิงแวดล้อม. ใน เอกสารประกอบการเสวนากลุ่ม
ย่อยที่ 5 การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งท่ี 10. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2553). จุดเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมไทย: การวิเคราะห์ช่องว่างทางนโยบาย. เชียงใหม่: สถาบันศึกษา
มสธ มสธนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
สหทั ยา วิเศษ และชัยวัฒน์ จันธมิ า. (2557). รายงานการวจิ ัย เรือ่ ง การสานเสวนาเพื่อออกแบบธรรมนูญกวา๊ นพะเยา
ที่พึงปรารถนา. ม.ป.ท.
สุจิตรา วาสนาด�ำรงดี. (2550). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้าย
และการก�ำจดั ของเสยี อนั ตรายขา้ มแดน: บทวเิ คราะหด์ า้ นการเจรจาดา้ นการคา้ และการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม.
มสธกรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-79
ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. ค้นคืนเม่ือ 10 เมษายน 2560, จาก http://
มสธwww.krisdika.go.th/wps/portal/general/!ut/p/c5/04_SB8K8xLLM9MSSzPy8xBz9CP0os3g_
A2czQ0cTQ89ApyAnA0__EIOAQGdXAwMLE30_j_zcVP2CbEdFAIfszEk!/dl3/d3/L3dD-
b0EvUU5RTGtBISEvWUZSdndBISEvNl9OMEM2MUE0MUlRQlJCMElPVDBQUUNFM-
DA5Mw!!/.
มสธ มสธส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12. ค้นคืนเมื่อ 21 เมษายน 2560, จาก http://www.ldd.go.th/www/files/
78292.pdf.
ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1–11.
ค้นคืนเม่ือ 17 เมษายน 2555, จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=62.
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2552). รวมบทสรุปผู้บริหาร การร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
มสธองค์การสหประชาชาติ ประจ�ำประเทศไทย. The Global Goal for Sustainable Development. ค้นคืนเมอ่ื 20
เมษายน 2560, จาก http://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/.
อภวิ ฒั น์ สดุ สาว. (2553). ปญั หาในทางปฏบิ ตั ขิ องการรบั รองและคมุ้ ครองสทิ ธชิ มุ ชน. จลุ นติ .ิ 7 (พฤษภาคม–มถิ นุ ายน
2553).
มสธ มสธAlbers, Jan. (2015). Responsibility and Liability in the Context of Transboundary Movement of
Hazardous Wastes by Sea. Verlag Berlin Heidelberg: Springer.
Angelo, Hillary & Wachsmuth, David. (2014). “Urbanizing Urban Political Ecology: A Critique of
Methodological Cityism.” International Journal of Urban and Regional Research. 39.
Batterbury, Simon “Doing Political Ecology Inside and Outside the Academy,” In Bryant, Raymond
L. (2015). The International Handbook of Political Ecology. Massachusetts: Edward Elgar
Publishing.
มสธBillon, Philippe Le. “Resources, Wars and Violence,” In Bryant, Raymond L. (2015). The Interna-
tional Handbook of Political Ecology. Massachusetts: Edward Elgar Publishing.
Birkland, Thomas A. (2005). An Introduction to the Policy Process: Theories, Concepts, and
Models of Public Policy. New York, NY: M.E. Sharpe.
Briassoulis, Helen. (ed.). (2005). Policy Integration for Complex Environmental Problems: The Ex-
มสธ มสธample of Mediteranean Desertification. Burlington, USA: Ashgate Publishing Company.
Bryant, Raymond L. (2015). The International Handbook of Political Ecology. Massachusetts: Edward
Elgar Publishing.
Carter, Neil. (2007). The Politics of the Environment (2nd ed.). NewYork, NY: Cambridge.
Clark, John P. (2010). “A Dialogue with Arne Naess on Social Ecology and Deep Ecology (1988-
มสธ1997).” The Trumpeter, 2, 20-39.
14-80 การวิเคราะห์การเมือง
มสธDemeritt, David. “The Promise of Participation in Science and Political Ecology,” In Perreault, Tom
& other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
Fletcher, Robert. (2010). Neoliberal Environmentaity: Towards a Poststructuralist Political Ecology
of the Conservation Debate. Conservation and Society, 3, 171-181.
General Assembly, United Nations. Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable
มสธ มสธDevelopment. Retrieved April 20, 2017, from https://www.un.org/pga/wp-content/uploads/
sites/3/2015/08/120815_outcome-document-of-Summit-for-adoption-of-the-post-2015-de-
velopment-agenda.pdf.
Hall, Derek. The Political Ecology of International Agri-Food Systems, In Perreault, Tom & other.
(2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
Heynen, Nick & Sant, Levi Van. “Activism and Direct Action Politics” In Perreault, Tom & other.
(2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
มสธHorowitz, Leah S. “Local Environmental Knowledge,” In Perreault, Tom. & other. (2015). The
Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
International Labour Organization and African Commission on Human & Peoples’ Rights. (2009).
Botswana: constitutional, legislative and administrative provisions concerning indigenous
มสธ มสธpeoples.Geneva:ILO.
Jacques, Peter J. (2009). Environmental Skepticism: Ecology, Power, and Public Life. Burlington:
Ashgate Publishing Company.
Jessica, Budds & Leonith, Hinojosa. (2012). “Restructuring and Rescaling Water Governance in
Mining Contexts: The Co-production of Waterscapes in Peru” Water Alternatives, 1,
119–137.
Kostakis, Vasilis & other. (2016). “Towards a Political Ecology of the Digital Economy: Socio-En-
มสธvironmental Implications of Two Competing Value Models” Environmental Innovation and
Societal Transitions, 18, 82-100.
Kraft, Michael E. (2004). Environmental Policy and Politics (3rd ed.). Harrisonburg: Pearson Education.
Leff, Enrique. “The Power–Full Distribution of Knowledge in Political Ecology: A View from the
South,” In Perreault, Tom & other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology.
มสธ มสธNewYork,NY:Routledge.
Lipman, Zada. Trade in Hazardous Waste: Environmental Justice Versus Economic Growth.
Retrieved February 22, 2014, from http://ban.org/library/lipman.html.
Liverman, Diana. “Reading Climate Change and Climate Governance as Political Ecologies,” In
Perreault, Tom & other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York,
NY: Routledge.
มสธMcCusker, Brent. “Political Ecology and Policy: A Case Study in Engagement,” in Perreault, Tom
การวิเคราะห์การเมืองตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเมือง 14-81
& other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
มสธNewell, Peter & Bumpus, Adam. (2012). “The Global Political Ecology of the Clean Development
Mechanism” Global Environmental Politics, 4, 49-67.
Olsson, Per & other. (2014). “Sustainability Transformations: A Resilience Perspective.” Ecology
and Society, 4, 1.
มสธ มสธPerreault, Tom & other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY:
Routledge.
Porto-goncalves, Carlos Walter & Leff, Enrique. (2015). “Political Ecology in Latin America: the
Social Re-Appropriation of Nature, the Reinvention of Territories and the Construction of
an Environmental Rationality” Desenvolv Meio Ambiente, 35, 65-88.
Rihoy, Liz & Maguranyanga, Brian. “The Politics of Community-Based Natural Resource Manage-
ment in Botswana” In Nelson, Fred. (2010). Community Rights, Conservation & Contested
มสธLand: The politics of Natural Resource Governance in Africa. Washington, DC: Bookcraft.
Robbins, Paul. (2012). Political Ecology: A Critical Introduction (2nd ed.). Oxford: Willey-Blackwell.
Robbins, Paul. “The Trickster Science,” In Perreault, Tom & other. (2015). The Routledge Handbook
of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
มสธ มสธRobertson, Morgan. “Environmental Governance,” In Perreault, Tom. & other. (2015). The Routledge
Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
Rocheleau, Dianne. “Roots, Rhizomes, Networks and Territories: Reimagining pattern and Power
in Political Ecologies,” In Bryant, Raymond L. (2015). The International Handbook of
Political Ecology. Massachusetts: Edward Elgar Publishing.
Smith, Graham. (2003). Deliberative Democracy and the Environment. New York, NY: Routledge.
Smith, Mark. J. & Pangsapa, Piya. (2008). Environment & Citizenship. New York, NY: Zed Books.
มสธUlloa, Astrid. “Environment and Development: Reflection from Latin America,” In Perreault, Tom
& other. (2015). The Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
Valdivia, Gabriela. (2015). Eco-Governmentality. In Perreault, T. & other. The Routledge Handbook
of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
Wang, Ting-jieh. “Green Governmentality,” In Bryant, Raymond L. (2015). The International
มสธ มสธHandbook of Political Ecology. Massachusetts: Edward Elgar Publishing.
Zimmer, Anna. (2010). “Urban Political Ecology: Theoretical Concepts, Challenges, and Suggested
Future Directions” Erdkunde, 4, 343–354.
Zimmerer, Karl S. “Methods and Environmental Science,” In Perreault, Tom & other. (2015).
มสธThe Routledge Handbook of Political Ecology. New York, NY: Routledge.
มมมสสสธธธ มมมมสสสสธธธธ มมมสสสธธธ14-82 การวิเคราะห์การเมือง
การวเิ 1คร5าะห์การศึกษมสธหนว่ ยท่ี
ศมิลปะสและวธรรณกรรมาทางรฐั ศาสตร์ แนวมทางสธรองศาสตราจารย์ดร.กำ� จรหลุยยะพงศ์
รองศาสตราจารย์ชาตรี ประกิตนนทการ
อาจารย์ ดร.ถนอม ชาภกั ดี
มสธชอื่
วุฒิ
มสธ มสธ
ต�ำแหนง่
หน่วยทเ่ี ขียน
รองศาสตราจารย์ ดร.ก�ำจร หลุยยะพงศ์
ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นศ.ม. (การสื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ว.ม. (ส่ือสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นศ.ด. (นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ประจ�ำสาขาวิชานิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยท่ี 15
มสธชือ่
รองศาสตราจารย์ชาตรี ประกิตนนทการ
วฒุ ิ สถ.บ. (สถาปัตยกรรมไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร
สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตำ� แหน่ง หัวหน้าภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
หน่วยท่เี ขยี น หน่วยที่ 15
มสธ มสธชือ่ อาจารย์ ดร.ถนอม ชาภักดี
วฒุ ิ กศ.บ. (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
M.A. (Fine Art: Art Criticism & Theory)
The Kent Institute of Art & Design, University of Kent, England
ศป.ด. (ศิลปกรรมศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตำ� แหนง่ อาจารย์ประจ�ำสาขาทัศนศิลป์–ศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มสธหนว่ ยท่ีเขยี น หน่วยท่ี 15
15-2 การวิเคราะห์การเมือง
ศกาลิ รปวะเิ คแลราะะวหรรก์ ณารกศรกึ รษมาทาสธหนว่ ยท่ี 15
มสธ ม งรฐั ศาสตร์ แนวมทางสธเค้าโครงเนอ้ื หา
ตอนที่ 15.1 การวิเคราะห์อุดมการณ์ทางการเมืองผ่านงานสถาปัตยกรรม
15.1.1 การเมืองกับงานสถาปัตยกรรม: มองสถาปัตยกรรมในฐานะ ‘วัฒนธรรมที่
มสธส่งผ่านวัตถุส่ิงของ’
15.1.2 การท�ำความเข้าใจเบื้องต้นต่อการวิเคราะห์ภาษาทางสถาปัตยกรรม
15.1.3 กรณีศึกษา: อาคารรัฐสภาแห่งใหม่
ตอนที่ 15.2 ภาพยนตร์และแนวทางการศึกษาภาพยนตร์
มสธ มสธ 15.2.1 ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการวิเคราะห์ภาพยนตร์
15.2.2 แนวทางการศึกษาภาพยนตร์ตามแนวทางศิลปะ
15.2.3 แนวทางการศึกษาภาพยนตร์ตามแนวทางประวัติศาสตร์และอุตสาหกรรม
15.2.4 แนวทางการศึกษาภาพยนตร์ตามส�ำนักโครงสร้างนิยม
15.2.5 แนวทางการศึกษาภาพยนตร์ในมิติผู้รับสารและส�ำนักวัฒนธรรมศึกษา
ตอนท่ี 15.3 การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางศิลปะ
มสธ 15.3.1 ศิลปะการเมืองและสุนทรียะศาสตร์
15.3.2 ประวัติศาสตร์ศิลป์กับบริบททางการเมือง
15.3.3 คตินิยมศิลปะกับการเมือง
15.3.4 ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยในประเทศไทยกับบริบททางการเมือง สังคมและ
วัฒนธรรม
มสธ มสธ มสธแนวคิด
1. สถาปัตยกรรมมิได้ถูกสร้างข้ึนเพียงประโยชน์ในการใช้สอยทางกายภาพหรือว่า
มุ่งประโยชน์ในเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น แต่ยังมีความหมายในเชิงสัญลักษณ์ท่ีมี
ความซับซ้อน แฝงไปด้วยนัยทางอุดมการณ์ และยังส่งผลต่อความคิดในเชิงโลกทัศน์
นอกจากนี้ในแต่ยุคสมัยรูปแบบ ความหมายและคุณค่าทางด้านสถาปัตยกรรมท่ี
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-3
มสธ มสธ มสธแสดงออกมาตอ้ งถกู พจิ ารณาภายใตบ้ รบิ ททางสงั คม การเมอื งและวฒั นธรรม ในชว่ งเวลา
ท่ีสถาปัตยกรรมช้ินน้ัน ๆ ถูกสร้างข้ึนมาหรือถูกน�ำมาใช้งาน
2. ภาพยนตร์มีความหมายได้หลากหลาย นับต้ังแต่เทคโนโลยี ความบันเทิง อุตสาหกรรม
มสธศิลปะและการปฏิบัติการทางสังคม เพ่ือจะสร้างให้เกิดความเข้าใจในภาพยนตร์ จ�ำเป็น
ท่ีจะต้องเข้าใจและสามารถใช้แนวคิดและทฤษฎีทางด้านภาพยนตร์หลัก ๆ อย่างน้อย
4 ทฤษฎี ได้แก่ แนวทางศิลปะ แนวทางประวัติศาสตร์และอุตสาหกรรม แนวทาง
โครงสร้างนิยม และแนวทางผู้รับสารและวัฒนธรรมศึกษา โดยแต่ละส�ำนักความคิดมี
มสธ มสธเน้ือหาและรายละเอียดพร้อมมุมมองการตีความต่อภาพยนตร์ท่ีมีความแตกต่างกัน
3. ศิลปะคือกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินท่ีเกิดข้ึนจากแนวคิด ความเช่ือ
แรงกระตุ้น จากบริบททางสังคม การเมือง ศาสนา วฒั นธรรมและสิง่ แวดล้อมตา่ ง ๆ แล้ว
แสดงผ่านออกสื่อและเทคนิคต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรมและส่ือผสม ขณะท่ี
ศิลปะการเมืองหมายถึงผลงานศิลปะที่สะท้อนบริบททางการเมือง สังคมและวัฒนธรรม
ในยุคต่าง ๆ ที่ศิลปินสะท้อนออกมาในรูปสื่อเทคนิคต่าง ๆ เช่น แนวทางสัจนิยม สังคม
มสธสัจนิยมและศิลปะประชานิยม
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาหน่วยท่ี 15 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายและวิเคราะห์การศึกษาอุดมการณ์ทางการเมืองผ่านงานสถาปัตยกรรมได้
มสธ มสธ2. อธิบายและวิเคราะห์การศึกษาภาพยนตร์และแนวทางการศึกษาภาพยนตร์ได้
มสธ3. อธิบายและวิเคราะห์การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางศิลปะได้
15-4 การวิเคราะห์การเมือง
มสธตอนที่ 15.1
การวิเคราะห์อดุ มการณ์ทางการเมืองผ่านงานสถาปัตยกรรม
มสธ มสธโปรดอ่านแผนการสอนประจ�ำตอนท่ี 15.1 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละเร่ือง
หวั เรอื่ ง
เรื่องที่ 15.1.1 การเมืองกับงานสถาปัตยกรรม: มองสถาปัตยกรรมในฐานะ ‘วัฒนธรรมที่
ส่งผ่านวัตถุส่ิงของ’
เร่ืองที่ 15.1.2 การท�ำความเข้าใจเบื้องต้นต่อการวิเคราะห์ภาษาทางสถาปัตยกรรม
มสธเร่ืองท่ี 15.1.3 กรณีศึกษา: อาคารรัฐสภาแห่งใหม่
แนวคิด
1. วัฒนธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุส่ิงของ คือแนวคิดท่ีมองว่าวัตถุส่ิงของต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
นนั้ มอี ทิ ธพิ ลยอ้ นกลบั มากำ� หนดโลกทศั นข์ องมนษุ ยใ์ นการปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คม ในหวั ขอ้ น้ี
มสธ มสธคือความพยายามท่ีจะประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวในการพิจารณางานสถาปัตยกรรมว่า
เมื่อถูกสร้างขึ้นแล้วจะมีผลกระทบต่อผู้คนท่ีเข้าไปใช้สอยอาคารสถานท่ีน้ัน ๆ อย่างไร
2. การวเิ คราะหง์ านสถาปตั ยกรรมจะตอ้ งพจิ ารณาลงไปในระดบั “ภาษาทางสถาปตั ยกรรม”
วา่ งานออกแบบแตล่ ะชน้ิ นน้ั ถกู ออกแบบประกอบขน้ึ จาก แผนผงั โครงสรา้ ง องคป์ ระกอบ
ลวดลาย อยา่ งไร และแตล่ ะองคป์ ระกอบนนั้ มคี วามหมายทางสงั คมและความรสู้ กึ นกึ คดิ
ของมนุษย์อย่างไร หากวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง เราย่อมสามารถทราบถึงนัยทางความ
มสธหมายทงี่ านสถถาปตั ยกรรมเหลา่ นนั้ กำ� ลงั จะสอื่ สารถงึ เรา และกำ� ลงั เขา้ มากำ� หนด ควบคมุ
หรือช้ีน�ำความคิดเรา
3. ความหมายของงานสถาปัตยกรรมแต่ละชิ้นละความหมายขององค์ประกอบทาง
สถาปัตยกรรมแต่ละส่วนเป็นส่ิงท่ีเลื่อนไหลอยู่ตลอดเวลา แต่ละองค์ประกอบในแต่ละ
ยุคสมัยความหมายจะเปลี่ยนไป เราจะทราบความหมายของงานสถาปัตยกรรมในแต่ละ
มสธ มสธยุคสมัยได้เราจะต้องพิจารณามันภายใต้บริบททางสังคม การเมือง และวัฒนธรรม
ณ ช่วงเวลาท่ีงานสถาปัตยกรรมชิ้นน้ัน ๆ ถูกสร้างขึ้นหรือถูกใช้งานเท่าน้ัน หากพิจารณา
ความหมายผิดบริบท เราอาจจะไม่เข้าใจเป้าหมายท่ีแท้จริงของงานสถาปัตยกรรมช้ิน
มสธนั้น ๆ
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-5
มสธ มสธ มสธวตั ถปุ ระสงค์
เม่ือศึกษาตอนท่ี 15.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. เข้าใจว่างานสถาปัตยกรรมมิได้ถูกสร้างข้ึนเพียงแค่ประโยชน์ในการใช้สอยทางกายภาพ
หรือว่ามุ่งประโยชน์เฉพาะในเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น แต่ยังมีความหมายในเชิงสัญลักษณ์
มสธที่ซับซ้อน โดยฉพาะอย่างย่ิงความหมายทางการเมืองได้
2. สามารถวิเคราะห์นัยความหมายทางการเมืองท่ีแฝงอยู่ในงานสถาปัตยกรรมแต่ละช้ินได้
3. สามารถน�ำระเบียบวิธีในการวิเคราะห์น้ีไปประยุกต์ใช้กับการวิเคราะห์นัยทางการเมือง
มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธท่ีแฝงอยู่ในวัตถุส่ิงของอื่นๆในสังคมได้
15-6 การวิเคราะห์การเมือง
มสธความนำ�
ตอนท่ี 15.1 การวเิ คราะหอ์ ดุ มการณท์ างการเมอื งผา่ นงานสถาปัตยกรรม
มสธ มสธการวิเคราะห์งานสถาปัตยกรรมในฐานะท่ีเป็นอุดมการณ์ทางการเมือง แม้จะไม่ใช่เร่ืองใหม่ใน
วงวิชาการสากล แต่ทัศนะแบบน้ี ในวงวิชาการทางสถาปัตยกรรมในสังคมไทยถือว่ายังมีอยู่อย่างจ�ำกัด
อาจกล่าวได้ว่า การเมืองในสถาปัตยกรรมมีได้มากท่ีสุดเป็นเพียงเรื่องคอร์รัปชันทางงบประมาณ ฮ้ัวประมูล
โกงเหล็ก โกงทราย หรือล็อกสเป๊กผู้ออกแบบ ซึ่งแม้จะเป็นเรื่องส�ำคัญแต่ก็เป็นแค่การเมืองตื้นเขินระดับ
ยอดภูเขาน�้ำแข็งท้ังสิ้น โดยแทบจะไม่มีงานวิเคราะห์การเมืองในสถาปัตยกรรมลงลึกไปถึงระดับภูเขาน้�ำแข็ง
ใต้ผิวน้�ำท่ีเป็นเรื่องของอุดมการณ์ที่ฝังอยู่อย่างลึกซ้ึงแต่อย่างใด ดังนั้นในบทวิเคราะห์น้ี ผู้เขียนจะน�ำเสนอ
มสธแนวคิด วิธีการ ตลอดจนกรณีศึกษา เพ่ือน�ำเสนอแนวทางเบื้องต้นในการศึกษาอุดมการณ์ทางการเมือง
มมสสธธ มมสสธธ มมสสธธในงานสถาปัตยกรรม
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-7
เรมื่องท่ี 1ส5.1.1ธ ใกนารฐเามนือะงก‘วบั ัฒมงนานธสรถรสมาปทตั ส่ี ยธง่ กผร่ารนมว:ตั มถอสุ งง่ิ สขมถอางป’ตั สยกรรมธผู้เขียนขอเร่ิมต้นด้วยสิ่งท่ีเรียกว่า Material Culture บางคนแปลค�ำน้ีว่า ‘วัฒนธรรมวัตถุ’ แต่ใน
ที่น้ีแปลว่า ‘วัฒนธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุส่ิงของ’
ในบทความ The Truth of Material Culture: History or Fiction โดย นายจูส เดวิส พรอน
(Jules David Prown) อธบิ าย ‘วฒั นธรรมทสี่ ง่ ผา่ นวตั ถสุ ง่ิ ของ’ ไวอ้ ยา่ งกระชบั วา่ คอื การศกึ ษาความสมั พนั ธ์
ระหว่างมนุษย์กับวัตถุส่ิงของต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ได้สร้างข้ึน โดยเป็นการศึกษาวัตถุเพื่อท�ำความเข้าใจวัฒนธรรม
มสธค้นหาชุดความเชื่อ แนวความคิด ทัศนคติ ของชุมชนหรือสังคม ณ ช่วงเวลาท่ีผลิตส่ิงของวัตถุช้ินนั้น ๆ โดย
มีสมมติฐานว่าส่ิงของวัตถุท่ีมนุษย์สร้างขึ้นน้ันสามารถสะท้อน ไม่ว่าจะโดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ท้ังโดยตรงและ
โดยอ้อม ความเชื่อของบุคคลผู้สร้าง ผู้ซ้ือ หรือผู้ใช้สอย และยังสามารถขยายไปสู่การท�ำความเข้าใจสังคม
ท่ีบุคคลผู้นั้นสังกัดอยู่ได้ด้วย ดังนั้น ‘วัฒนธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุส่ิงของ’ จึงนับว่าเป็นสาขาหน่ึงของ
ประวัติศาสตร์สังคมหรือมานุษยวิทยาวัฒนธรรมท่ีมีตัววัตถุส่ิงของเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานในการศึกษา1
มสธ มสธนกั ประวตั ศิ าสตรแ์ ละนกั รฐั ศาสตรท์ ผี่ า่ นมาเกอื บทง้ั หมดสรา้ งงานเขยี นบนแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ เอกสาร
ลายลกั ษณ์ เชน่ เอกสารจดหมายของหนว่ ยราชการตา่ ง ๆ ทเ่ี กบ็ ไวใ้ นหอจดหมายเหตุ กฎหมาย หนงั สอื พมิ พ์
ราชกิจจานุเบกษา ตลอดจนงานเขียนในรูปทฤษฎีการเมืองต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่า แทบจะไม่มีใครใช้หลักฐาน
ท่ีเป็นวัตถุส่ิงของมาเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญในการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์หรืออธิบายความขัดแย้งทาง
การเมืองมากนัก แม้งานศึกษาท่ีใช้สิ่งของวัตถุเป็นหลักฐานมีมาอย่างยาวนานแล้วในวงวิชาการสาขาอื่น ๆ
เช่น โบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ มานุษยวิทยา เป็นต้น แต่ก็เป็นเพียงในระยะเวลา 30-40 ปีท่ีผ่านมาน้ี
มสธเท่าน้ันที่พ้ืนท่ีงานศึกษาและระเบียบวิธีศึกษาท่ีใช้วิเคราะห์ตีความส่ิงของทางวัฒนธรรมได้ถูกพัฒนามากขึ้น
ในวงวิชาการ ซ่ึงสถาปัตยกรรมก็เป็นหนึ่งในวัตถุท่ีถูกสนใจศึกษามากเช่นกันในแวดวงการศึกษาวัฒนธรรม
ที่ส่งผ่านวัตถุสิ่งของ (Material Culture Studies)
เพื่อความชัดเจน ผู้เขียนขอเร่ิมต้นด้วยการอ้างอิงแนวคิดของ นายเบอนาร์ด เฮอร์แมน (Bernard
L. Herman) นกั วชิ าการทส่ี นใจและถือว่าบกุ เบกิ ประเดน็ เกย่ี วกบั ‘วฒั นธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุสง่ิ ของ’ ทส่ี ำ� คัญ
มสธ มสธคนหนึ่ง โดยในงานชิ้นหน่ึงของเฮอร์แมนท่ีชื่อว่า The Stolen House ได้น�ำเสนอการจ�ำแนกกรอบ
การวิเคราะห์วัตถุส่ิงของอย่างกว้าง ๆ ออกเป็น 2 แนวทาง คือ ‘Object-centred’ และ ‘Object-driven’2
1 Jules David Prown. ‘The Truth of Material Culture: History or Fiction’, in Steven Luber, and W. David
Kingery. (eds). (1993). History from Things: Essays on Material Culture. Washington: Smithsonian Institution Press.
p. 1.
2 Bernard L. Herman. (1992). The Stolen House. Charlottesville and London: University of Press of Vir-
มสธginia. pp. 4-11.
15-8 การวิเคราะห์การเมือง
Object-centred คือการศึกษาตัววัตถุเพ่ือเข้าใจตัววัตถุเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นคุณสมบัติทาง
มสธกายภาพ รูปร่างหน้าตา พัฒนาการในเชิงเทคนิควิธีการท�ำ สุนทรียภาพ หรือศึกษาผลกระทบเชิงอารมณ์
ความรู้สึกและจิตวิทยาในมิติต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนกับมนุษย์เม่ือปฏิสัมพันธ์กับสิ่งของวัตถุต่าง ๆ
Object-driven คือการศึกษาวัตถุเพ่ือน�ำไปสู่ความเข้าใจในสิ่งที่นอกเหนือออกไปจากประเด็นของ
ตัววัตถุเอง เป็นการตระหนักถึงความสัมพันธ์ในแง่มุมต่าง ๆ ระหว่างวัตถุสิ่งของกับมนุษย์และสังคมที่ผลิต
มสธ มสธและใช้สอยวัตถุน้ัน ในแง่น้ีวัตถุจะมิใช่เป็นเพียงแค่วัตถุภายนอกที่มนุษย์สร้างขึ้น ใช้และก็โยนทิ้ง โดย
ปราศจากปฏิสัมพันธ์หรืออิทธิพลที่ย้อนกลับมาสู่ตัวมนุษย์ผู้ใช้สอย แต่ตัวมันจะเป็นเป็นกลไกส�ำคัญอย่าง
หนึ่งที่ร่วมกันก่อรูปประสบการณ์ของมนุษย์และความสัมพันธ์ทางสังคมในมิติต่าง ๆ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
การศึกษาสิ่งของวัตถุในแง่น้ีมิใช่แค่เพียงศึกษาในฐานะภาพสะท้อนของสังคม แต่เป็นการศึกษาในสถานะท่ี
เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการทางสังคม รูปแบบท่ีถูกสร้าง ลักษณะการใช้งาน พิธีกรรมท่ีแวดล้อม ที่เก็บรักษา
ท่ีต้ัง ฯลฯ ท้ังหมดล้วนส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อพฤติกรรมมนุษย์ และความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจของ
มสธผู้คนในสังคมที่ใช้สอยมันในแต่ละช่วงเวลา
ย้อนกลับมาที่การศึกษางานสถาปัตยกรรม งานศึกษาท่ีผ่านมามักจ�ำกัดอยู่ในกรอบวิธีการศึกษา
แบบ Object-centred เท่านั้น แต่ในทัศนะผู้เขียน เราอาจศึกษางานสถาปัตยกรรมในฐานะท่ีเป็นเสมือน
Object-driven ท่ีน�ำไปสู่การท�ำความเข้าใจในมิติอื่น ๆ ทั้งในด้านที่เป็นภาพสะท้อนทางสังคม ณ ยุคสมัย
มสธ มสธท่ีตัวมันถูกสร้างขึ้น และด้านท่ีตัวมันแสดงความหมายหรือท�ำหน้าที่เป็นกลไกทางสังคมท่ีช่วยก่อรูปจิตส�ำนึก
อุดมการณ์ ตลอดจนควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ท่ีอาศัยใช้อาคารต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกัน
การมองว่าวัตถุส่ิงของเป็นกลไกทางสังคม (รวมถึงสถาปัตยกรรม) ในมิติต่าง ๆ มิใช่เร่ืองใหม่แต่
อย่างใด หนังสือช่ือ Archaeology and Text ได้เรียกร้องให้นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ตระหนัก
ถึงการท่ีมนุษย์ในอดีตสถาปนาอ�ำนาจ อัตลักษณ์ ตลอดจนปฏิบัติการทางสังคมในมิติต่าง ๆ ผ่านวัตถุส่ิงของ
มากกว่าที่จะศึกษาวัตถุในสถานะเพียงท�ำหน้าท่ีสะท้อนภาพอดีตอย่างง่าย ๆ เท่านั้น โดยยกตัวอย่างชิ้นวัตถุ
มสธจากแหล่งโบราณคดีในยุโรปยุคกลาง และยุคก่อนสมัยใหม่ในอเมริกาเหนือ เพ่ือยืนยันถึงการใช้สอยวัตถุ
ทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ในการสถาปนาอัตลักษณ์และอ�ำนาจของผู้คนในสังคมอดีต3
ย่ิงไปกว่าน้ัน ความพิเศษของการศึกษาตัวสิ่งของวัตถุในแวดวงการศึกษาวัฒนธรรมที่ส่งผ่านวัตถุ
ส่ิงของยังมีความน่าสนใจอีกอย่างน้อย 2 ประการที่ส�ำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ
1. ช่วยให้เราสามารถศึกษาเข้าใจอดีตท่ีย้อนกลับไปได้ไกลกว่าประวัติศาสตร์ท่ีพ่ึงพาแต่เอกสาร
มสธ มสธลายลักษณ์ ดังที่ โทมัส เชอเรอเรท (Thomas J. Schlereth) เคยกล่าวเอาไว้ว่า
มสธ3 John Moreland. (2001). Archaeology and Text. London: Duckworth.
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-9
“...ประวัติศาสตร์มนุษยชาติท่ีถูกบันทึกไว้ในเอกสารลายลักษณ์น้ันสามารถน�ำเราย้อนกลับ
มสธไปได้เพียงราว 6,000 ปีเท่าน้ัน...แต่ในความเป็นจริง เพ่ือที่จะเล่าประวัติศาสตร์ท่ีครบสมบูรณ์ของ
มนุษย์ นักโบราณคดีสามารถขยายเร่ืองราวของมนุษยชาติไกลขึ้นมากกว่า 50,000 ปี ด้วยการวิเคราะห์
หลักฐานวัฒนธรรมที่ส่งผ่านวัตถุส่ิงของต่าง ๆ (Material Culture) มนุษยชาติได้สร้างส่ิงของต่าง ๆ
มาเป็นเวลานานก่อนท่ีพวกเขาจะสามารถพูดหรือเขียนได้ ดังนั้น วัตถุสิ่งของจึงเป็นหลักฐานที่เก่าแก่
มสธ มสธท่ีสุดท่ีเราสามารถศึกษาการแสดงออกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติได้...”4
2. ช่วยให้มีหนทางในการศึกษาท�ำความเข้าใจหรือรับรู้ประสบการณ์ของผู้คนและสังคมในมิติอื่น
ท่ีเอกสารลายลักษณ์ไม่สามารถให้ได้ เพราะเป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่า วัฒนธรรมการเขียนนั้นโดยพื้นฐานแล้ว
เป็นวัฒนธรรมท่ีสัมพันธ์กับชนช้ันสูงเป็นหลัก โดยเฉพาะในสังคมไทยที่วัฒนธรรมการเขียนและจดบันทึก
น้ันอ่อนด้อยมาก ๆ ย่ิงท�ำให้การศึกษาอดีตของสังคมไทยกลายเป็นเรื่องอดีตของคนเฉพาะกลุ่มทางสังคม
มสธย่ิงข้ึนไปอีก และจึงควรจะเรียกประวัติศาสตร์แบบนี้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ครอบครอบชนชั้นสูงไทยบาง
ครอบครัวมากกว่าจะเรียกมันว่าประวัติศาสตร์ไทย
ด้วยลักษณะที่อ่อนด้อยมากของวัฒนธรรมลายลักษณ์ไทย ผู้เขียนจึงเห็นว่าการเปล่ียนมาสนใจใน
‘วัฒนธรรมที่ส่งผ่านวัตถุสิ่งของ’ น่าจะช่วยให้เราสามารถขยายขอบเขตความรู้ความเข้าใจในอดีตของสังคม
มสธ มสธไทยไปได้ไกลว่าเรื่องเล่าครอบครัวชนช้ันสูงไทยไม่ก่ีครอบครัวในแบบเดิม ๆ ดังตัวอย่างเพื่อขยายความใน
กรณีน้ี
หากศกึ ษางานประวตั ศิ าสตรน์ พิ นธท์ เี่ กยี่ วกบั เหตกุ ารณป์ ฏวิ ตั ิ 2475 ทเี่ รม่ิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ กจิ จะลกั ษณะ
เม่ือราว 80 กว่าปีท่ีผ่านมาจวบจนถึงปัจจุบัน ก็จะพบว่ามีแนวการอธิบายหลักอยู่ไม่กี่แบบ ที่ส�ำคัญมี
สองแบบคือ หน่ึงการปฏิวัติ 2475 เป็นการ ‘ชิงสุกก่อนห่าม’ กับแบบที่สองที่มองว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
บนความจ�ำเป็นทางประวัติศาสตร์ท่ีสุกงอมแล้ว ซ่ึงไม่ว่าจะเป็นแนวค�ำอธิบายใด ก็ล้วนแต่ต้ังอยู่บนมิติ
มสธความขัดแย้งทางการเมืองผ่านเอกสารลายลักษณ์ท่ีถูกผลิตข้ึนได้จากกลุ่มคนช้ันสูงในสังคมไทยเพียง
กลุ่มน้อยท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็น กษัตริย์ เจ้านาย ขุนนาง ทหาร ข้าราชการ นักหนังสือพิมพ์ เป็นต้น แต่หาได้มี
หลักฐานหรือเร่ืองเล่าที่บอกกล่าวให้เราทราบถึงมิติด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะมิติทาง ‘การเมืองวัฒนธรรม’ ของ
การปฏิวัติ 2475 ในมุมมองของคนธรรมดาท่ัวไปที่อยู่นอกเหนือวัฒนธรรมลายลักษณ์แต่อย่างใด ว่าพวก
เค้าเหล่าน้ันสัมผัสรับรู้และมีปฏิสัมพันธ์กับเหตุการณ์ส�ำคัญนี้ในลักษณะใดบ้าง จนท�ำให้เราคิดว่าเหตุการณ์
มสธ มสธน้ันและผลกระทบท่ีตามมาเป็นเร่ืองเฉพาะของคนกลุ่มน้อย ๆ ในเมืองหลวงเพียงเท่านั้น
4 Thomas J. Schlereth. (1985). Material Culture and Cultural Research. In Material Culture: A Research
มสธGuide. Lawrence: The University Press of Kansas. p. 8.
15-10 การวิเคราะห์การเมือง
แต่จากการศึกษาวิจัยหลายช้ินท่ีเกิดข้ึนในช่วง 7-8 ปีที่ผ่านมา ได้เกิดกระแสความสนใจในวัตถุ
มสธสง่ิ ของทถี่ กู ผลติ ขน้ึ ในยคุ หลงั ปฏวิ ตั ิ 2475 มากขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ การปรบั เปลย่ี นลวดลายหนา้ บนั ของศาสนสถาน
เป็นรูปสัญลักษณ์พานรัฐธรรมนูญในพื้นท่ีต่าง ๆ ท่ัวประเทศ หรือการค้นพบส่ิงของเครื่องใช้ที่สัมพันธ์กับ
พานรัฐธรรมนูญรูปแบบต่าง ๆ เช่น ขาตั้งตาลปัตร หนังสือ ท่ีบรรจุอัฐิ เหรียญตรา สิ่งพิมพ์ ฯลฯ
สิ่งของเหล่านี้แม้บางส่วนจะผลิตข้ึนโดยกลุ่มคนช้ันน�ำจากส่วนกลางและส่งต่อไปยังท้องถ่ิน
มสธ มสธแต่หลายอย่างก็เป็นผลิตภัณฑ์ของคนในท้องถ่ินน้ัน ๆ ท่ีสร้างขึ้นเอง โดยหลายชิ้นถูกสร้างขึ้นภายหลังการ
ปฏิวัติเพียงไม่กี่เดือน ส่ิงเหล่านี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่า อย่างน้อยการปฏิวัติ 2475 ก็ได้รับความสนใจอย่าง
กว้างขวางมากจากคนธรรมดาทั่วไป มิใช่เรื่องเฉพาะของคนเมืองหลวงเพียงหยิบมือแต่อย่างใด และก็มิใช่
เพียงแค่เร่ืองของปัญญาชนท่ีอ่านออกเขียนได้แต่เพียงอย่างเดียวตามท่ีคนส่วนมากในสังคมไทยเช่ือกัน
ที่ส�ำคัญคือ สิ่งของเหล่านี้เป็นของใช้ท่ีสัมพันธ์กับชีวิตประจ�ำวันของผู้คนวงกว้าง คนเหล่าน้ีมีการพบเจอ
ส่ิงของเหล่าน้ีเกือบทุกวัน มีการหล่อหลอมผ่านการใช้งานสิ่งของเหล่านี้อย่างไร พวกเขามีความคิดและมี
มสธปฏสิ มั พนั ธ์กับสงิ่ ของเหลา่ น้ใี นลักษณะใดบา้ ง และปฏิบัติการทางสังคมเหลา่ น้นั แสดงให้เหน็ ถงึ ทศั นะตอ่ การ
ปฏิวัติ 2475 ไปในทิศทางแบบใด ประเด็นเหล่านี้คือความท้าทายใหม่ท่ีเอกสารลายลักษณ์ให้เราไม่ได้ หรือ
ให้ได้ก็เพียงน้อยนิด แต่สามารถศึกษาได้ผ่านสิ่งของทางวัฒนธรรมที่หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน
การศึกษาตัววัตถุเพียงอย่างเดียวไม่ได้ช่วยได้ท้ังหมดแต่จะต้องควบคู่กับหลักฐานลายลักษณ์ด้วย
มสธ มสธอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และ ‘วัฒนธรรมที่ส่งผ่านวัตถุสิ่งของ’ ก็มิได้หมายความว่าเป็นการปฏิเสธเอกสาร
ลายลกั ษณแ์ ตอ่ ยา่ งใด เพยี งแตก่ ารเรม่ิ ตน้ สนใจทจี่ ะศกึ ษาวเิ คราะหต์ วั วตั ถสุ งิ่ ของใหเ้ ปน็ หลกั ฐานตงั้ ตน้ อยา่ ง
จริงจังย่อมเป็นเสมือนการเร่ิมเปิดเสียงท่ีไม่เคยถูกรับฟังหรือให้ความสนใจมาก่อน และย่อมเป็นการเปิด
เพดานความคิดเราต่อเหตุการณ์ปฏิวัติ 2475 ให้ขยายออกไปได้ไกลมากย่ิงข้ึน
แม้การศึกษาวัตถุสิ่งของจะช่วยขยายความรู้ไปได้ไกลขึ้น แต่ปัญหาส�ำคัญคือ ด้วยความท่ีเป็นวัตถุ
สิ่งของ เป็นงานสถาปัตยกรรมท่ีไม่ได้สื่อสารความหมายผ่านตัวอักษร ไม่มีข้อความภาษาท่ีก�ำกับบทบาท
มสธหน้าท่ีทางสังคมเอาไว้เพราะฉะนั้น เมื่อเราจะศึกษาส่ิงเหล่านั้น จะสามารถเข้าใจนัยทางความหมายของ
สิ่งเหล่าน้ีได้อย่างไร จะเข้าใจว่าส่ิงเหล่าน้ันก�ำลังท�ำหน้าท่ีอะไรทางสังคมได้อย่างไร หรือจะเข้าใจว่าส่ิง
เหล่านั้นก�ำลังท�ำงานกระตุ้นจิตส�ำนึกเรา ก่อรูปอุดมการณ์เราอย่างไร ประเด็นน้ีคือส่ิงท่ีจะอธิบาย
อย่างละเอียดต่อไป
มสธ มสธหลังจากศึกษาเน้ือหาสาระเร่ืองท่ี 15.1.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 15.1.1
มสธในแนวการศึกษาหน่วยท่ี 15 ตอนที่ 15.1 เร่ืองที่ 15.1.1
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-11
เ รม่ืองท่ี 1ส5.1.2ธ ทกาารงทสำ�ถคาวปาัตมยมเกขร้าใรจมสเบ้ืองตธ้นต่อการวเิ ครมาะหภ์ สาษา ธบทความ Shaping the Field: The Multidisciplinary Perspective of Material Culture
โดย แอน สมาร์ท มาร์ติน (Ann Smart Martin) เสนอเอาไว้น่าสนใจว่า ตัววัตถุส่ิงของต่าง ๆ น้ันก็คือ
‘ตัวบท’ (text) รูปแบบหน่ึงที่สามารถบอกเล่าเรื่องราวได้ และข้อความชนิดน้ีก็ประกอบด้วย ‘ไวยากรณ์’
และ ‘ค�ำศัพท์’ เฉพาะของตัวมันเอง5 ทัศนะเช่นนี้มิใช่เรื่องใหม่ ในแวดวงสถาปัตยกรรม ชาร์ล เจงค์
(Charles Jenks) นักคิดนักเขียนคนส�ำคัญในวงการสถาปัตยกรรมก็ได้เคยเสนอในท�ำนองคล้ายกันท่ีให้
มสธพิจารณางานสถาปัตยกรรมในฐานะที่เป็นภาษาชนิดหนึ่ง6
อย่างไรก็ตาม เป็นเร่ืองง่ายที่จะกล่าวว่าวัตถุและสถาปัตยกรรมเป็นเหมือนภาษา แต่เม่ือลงมือ
วิเคราะห์จริงกลับเป็นเร่ืองยากท่ีจะอธิบายตัวมันในฐานะท่ีเป็นภาษาดังท่ี เดวิท คิงเกอรี (David Kingery)
เคยกล่าวเอาไว้ว่า
มสธ มสธ“...ไม่มีใครปฏิเสธความส�ำคัญของวัตถุส่ิงของ แต่การจะเรียนรู้ความหมายจากส่ิงของเหล่านี้
จ�ำเป็นต้องใส่ใจเป็นพิเศษมากกว่าการอ่านตัวบทท่ีเป็นเอกสารลายลักษณ์ ไวยากรณ์ของวัตถุสิ่งของมี
ความสลับซับซ้อนและเป็นเร่ืองเข้าใจยากกว่าการศึกษาไวยากรณ์ของภาษาเขียน วัตถุเป็นเสมือน
สญั ลกั ษณ์ ประโยชนใ์ ชส้ อยของมนั หลากหลายและสอดประสานกนั บอ่ ยครง้ั ทคี่ วามหมายของมนั รบั รู้
ได้ยากและเป็นเร่ืองของจิตใต้ส�ำนึก...”7
มสธในทัศนะผู้เขียน สถาปัตยกรรมคือภาษาท่ีท�ำหน้าที่ส่ือสารกับมนุษย์ใน 2 ลักษณะ หนึ่งคือภาษาท่ี
สามารถรับรู้ได้เหมือน ๆ กันไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม ขอเรียกว่าเป็น ‘ภาษาสากล’ และสอง ภาษาที่สามารถ
รับรู้ได้เฉพาะในกลุ่มคนที่อยู่ภายใต้บริบทแวดล้อมชุดเดียวกัน เช่น วัยเดียวกัน กลุ่มวัฒนธรรมเดียวกัน
ประเทศเดียวกัน เป็นต้น ขอเรียกว่าเป็น ‘ภาษาถ่ิน’
มสธ มสธ5 Ann Smart Martin, ‘Shaping the Field: The Multidisciplinary Perspective of Material Culture’, in Ann
Smart Martin & J. Ritchie Garrison. (eds). (1997). American Material Culture: the Shape of the Field. Knoxville:
Winterthur Museum. p. 3.
6 Charles Jencks. (1991). The Language of Post-Modern Architecture. New York, NY: Rizzoli.
7 W. David Kingery. (1996). Learning from Things: Method and Theory of Material Culture Studies.
มสธWashington and London: Smithsonian Institution. p. 1.
15-12 การวิเคราะห์การเมือง
ภาษาสากล ในสถาปัตยกรรมคือการที่มนุษย์รับรู้ความหมาย เกิดความรู้สึกต่อ และตอบสนองต่อ
มสธ‘ท่ีว่าง’ (space) รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือองค์ประกอบสถาปัตยกรรมแบบต่าง ๆ ไปในทิศทางเกือบจะ
เป็นแบบเดียวกันไม่ว่าคนน้ันจะสังกัดวัฒนธรรม ชนชั้น หรือสังคมแบบใด เพราะมนุษย์มีสันชาตญาณหรือ
ธรรมชาตพิ น้ื ฐานทตี่ อบสนองตอ่ ทวี่ า่ งบางอยา่ งรว่ มกนั ประเดน็ นเ้ี กย่ี วขอ้ งกบั ศาสตรว์ า่ ดว้ ยพฤตกิ รรมมนษุ ย์
และจิตวิทยาการรับรู้ของมนุษย์ต่อสภาพแวดล้อมในรูปแบบต่าง ๆ8
มสธ มสธเม่ือเราปล่อยให้คนที่ไม่รู้จักกันสิบคนเดินข้ึนไปบนรถประจ�ำทางที่มีท่ีน่ังว่างท้ังคันและเก็บข้อมูล
การเลือกที่นั่งของแต่ละคน โดยทดลองแบบน้ีหลาย ๆ คร้ัง สิ่งที่เกิดข้ึนคือการเลือกต�ำแหน่งที่นั่งของคนจะ
มีรูปแบบท่ีคล้ายกัน ตลอดจนมีการเลือกที่รักษาระยะห่างจากคนอ่ืนไปในทิศทางที่ไม่ต่างกันมากนัก สิ่งน้ี
คือการแสดงให้เห็นถึง “พ้ืนที่ส่วนตัว” (personal space) ของมนุษย์อันเป็นสากล เม่ือต้องเข้าไปน่ังใน
ที่ว่างท่ีเต็มไปด้วยคนไม่รู้จักกัน แน่นอน “พื้นท่ีส่วนตัว” เป็นเร่ืองของวัฒนธรรมด้วยส่วนหน่ึง แต่กระนั้น
การรักษาระยะห่างระหว่างคนสองคนท่ีไม่รู้จักกันก็มีลักษณะที่เป็นพ้ืนฐานร่วมสากลของมนุษย์9
มสธวัตถุในธรรมชาติทุกอย่างก็ล้วนมีความหมายต่อมนุษย์โดยภาพรวมในลักษณะท่ีเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน ซึ่งความหมายมักเช่ือมโยงเข้ากับคุณลักษณะธรรมชาติของตัวมันเอง เช่น ‘ดิน’ ในสังคมหลาย ๆ
แห่งคือสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์และความเป็นผู้หญิง เพราะพืชพันธ์ล้วนงอกข้ึนมาจากดิน10 และ
‘หิน’ ส�ำหรับมนุษย์ส่วนใหญ่จะเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นผู้ชาย บรรพบุรุษ และอยู่ข้ามกาลเวลา เพราะ
มสธ มสธคุณสมบัติความแข็งของตัวมันที่ยากต่อการถูกท�ำลาย และมีลักษณะแข็งแกร่งคล้ายกับร่างกายของผู้ชาย11
ควรกล่าวไว้ก่อนว่า การมองวัตถุสิ่งของว่ามีความหมายเป็นสากลรับรู้ได้เหมือนกันไม่ข้ึนกับ กาละ
และเทศะ (space/time) อาจฟังดูแปลกส�ำหรับผู้ที่คุ้นเคยกับแนวคิดทางภาษาศาสตร์ตามทัศนะของ
แฟดนิ องด์ เดอ โซซรู ์ (Ferdinand de Saussure) ทมี่ องวา่ ภายในภาษานนั้ มแี ตค่ วามแตกตา่ งและปราศจาก
ค�ำท่ีมีความหมายแน่นอนในตัวของมันเอง เพราะความสัมพันธ์ระหว่าง ‘ตัวความหมาย’ กับ ‘ค�ำ’ น้ัน
เกิดขึ้นจากความไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน (arbitrariness) หรือพูดให้ชัดคือ ‘ค�ำ’ ต่าง ๆ ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นจาก
มสธการอิงอาศัยความเป็นจริงของโลกภายนอกแต่อย่างใด12 ซ่ึงแนวคิดน้ีได้ถูกน�ำมาพัฒนาต่อไปสู่การท�ำ
8 งานศึกษาในแนวน้ี เช่น Glenn Robert Lym. (1980). A Psychology of Building: How We Shape and Expe-
rience Our Structured Spaces. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. Kevin Lynch. (1960). The Image of the City.
Cambridge MA: MIT Press. และวิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2526). พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม: มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการ
ออกแบบและวางแผน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มสธ มสธ9 ดูเพิ่มใน Edward Twitchell Hall. (1966). The hidden dimension: man’s use of space in public and private.
London: Bodley Head. และ Robert Somme. (1969). Personal space: the behaviral basis of design. Englewood Cliffs,
N.J.: Prentice-Hall.
10 Nicole Boivin. ‘From veneration to exploitation: Human engagement with the mineral world’, in Nicole
Boivin, and M.A. Owoc. (eds). (2004). Soils, Stones and Symbols: Cultural Perceptions of the Mineral World. London:
UCL Press. pp. 1-29.
11 M. Parker Pearson, & Ramilisonina. (1998). ‘Stonehenge for the ancestors: the stones pass on the
message’, Antiquity Volume: 72 Number: 276 (June 1998). pp. 308-326.
มสธ12 Daniel Chandler. (2005). Semiotics: The Basics. London and New York, NY: Routledge. pp. 14-28.
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-13
ความเข้าใจระบบสัญลักษณ์อื่น ๆ ท่ีมองว่า ‘รูปสัญญะ’ (signifier) กับ ‘ความหมายสัญญะ’ (signified)
มสธใด ๆ กต็ ามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งเปน็ อสิ ระตอ่ กนั ไมม่ คี วามหมายของดนิ ทจี่ ะสอ่ื ออกมาเหมอื นกนั อยา่ งเปน็ สากล
หินก็ไม่ได้ส่งผลต่อการรับรู้ของมนุษย์อย่างเป็นสากลจนน�ำไปสู่ความหมายท่ีเฉพาะเหมือน ๆ กัน เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม แวดวงการศึกษาเร่ืองวัฒนธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุสิ่งของในปัจจุบันเร่ิมมองว่า ความ
สัมพันธ์ระหว่าง ค�ำ/วัตถุ (signifier) กับ ความหมาย (signified) ไม่จ�ำเป็นเสมอไปที่จะต้องสัมพันธ์กันใน
มสธ มสธลักษณะไม่เป็นเหตุเป็นผลโดยสมบูรณ์13 แนวการมองนี้สอดคล้องกับแนวคิดของ ชาร์ล แซนเดอ เพียส
(Charles Sanders Peirce) ที่จ�ำแนกลักษณะของการส่ือความผ่านสัญลักษณ์ต่าง ๆ ว่าสามารถจ�ำแนกออก
ได้เป็น 3 รูปแบบ คือ หนึ่ง “สัญลักษณ์” (symbol/symbolic) เป็นรูปแบบที่ “รูปสัญญะ” กับ “ความหมาย
สัญญะ” ไม่มีความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุเป็นผลกัน คล้ายแนวคิดของโซซูร์ สองคือ “ภาพแทน” (icon/
iconic) เป็นรูปแบบท่ี “รูปสัญญะ” กับ “ความหมายสัญญะ” สัมพันธ์กันในทางใดทางหน่ึงด้วยคุณลักษณะ
ท่ีคล้ายคลึงกันระหว่าง “รูปสัญญะ” กับ “ความหมายสัญญะ” เช่น ภาพวาดรูปบุคคล ภาพการ์ตูน
มสธการเปรียบเปรย (metaphor) เสียง เป็นต้น สามคือ “ดัชนี” (index/indexical) เป็นรูปแบบที่ “รูปสัญญะ”
กับ “ความหมายสัญญะ” มีลักษณะที่เป็นเหตุเป็นผลกันโดยตรงผ่านคุณลักษณะทางกายภาพบางประการ
เช่น นาฬิกาช้ีน�ำเราไปสู่ความหมายของเวลา ควันช้ีน�ำเราไปสู่ไฟ การชี้น้ิวก�ำหนดความหมายในใจเราให้นึก
ไปถึงการบอกทิศทาง เป็นต้น14
มสธ มสธด้วยทัศนะแบบน้ี ดินกับหินจึงสามารถถูกอธิบายได้ว่าท�ำไมสังคมมนุษย์ส่วนใหญ่จึงมีแนวโน้มที่
จะใช้วัตถุส่ิงของในการส่ือความหมายไปในแนวเดียวกันดังท่ีกล่าวมาข้างต้น และท�ำให้วัตถุส่ิงของตลอดจน
สภาพแวดลอ้ มรปู แบบตา่ ง ๆ สามารถทจ่ี ะมคี วามหมายสากลทค่ี นทว่ั โลกสามารถรบั รแู้ ละตอบสนองตอ่ วตั ถุ
ส่ิงของไปในทิศทางเดียวกัน
เม่ือเรายืนอยู่ในที่ว่างโล่งขนาดใหญ่มากและถูกโอบล้อมด้วยวัตถุที่มีความสูงใหญ่มาก ๆ เช่น
เทือกเขาหรือแนวก�ำแพงสูง มนุษย์ทุกคนโดยท่ัวไปจะเกดิ ความรสู้ ึกว่าตนเปน็ เพียงอณเู ลก็ ๆ ในสิ่งแวดลอ้ ม
มสธที่กว้างใหญ่ ทรงพลัง และมีอ�ำนาจเหนือตนเอง ความอ้างว้าง โดดเด่ียวจนถึงเปล่ียวเหงา อาจเกิดขึ้นเม่ือ
มนุษย์ส่วนมากตกอยู่ในสภาพแวดล้อมเช่นนี้
เมื่อเรายืนอยู่ต่อหน้าที่ว่างท่ีถูกออกแบบมาในลักษณะท่ีเน้น “ความสมมาตร” (symmetry) ของ
องค์ประกอบต่าง ๆ เช่น แนวแกนถนนยาวตัดตรงอยู่ตรงกลาง ต้นไม้ทอดระยะตามแนวถนนสองข้าง
เท่ากัน อาคารสร้างเหมือนกันเรียงรายข้างทาง ปลายสุดเป็นแนวก�ำแพงท่ีมีอนุสาวรีย์ตั้งตระหง่านอยู่
มสธ มสธด้านหน้าในต�ำแหน่งที่แนวแกนถนนพุ่งไปหา ลักษณะท่ีว่างเช่นนี้จะสร้างความรู้สึกเป็นทางการ ความเป็น
ระเบียบวินัย ความจริงจัง ให้เกิดข้ึนกับคนท่ียืนอยู่ตรงหน้า ลักษณะธรรมชาติของมนุษย์ท่ีตอบสนองต่อ
สิ่งแวดล้อมรูปแบบนี้ท�ำให้ไม่ต้องแปลกใจว่าท�ำไม ศาสนสถานในทุกวัฒนธรรมในโลก แม้ว่าจะมีรูปแบบ
13 ดูรายละเอียดข้อถกเถียงดังกล่าวใน Nicole Boivin. (2008). Material Cultures, Material Minds: The Impact
of Things on Human Thought, Society, and Evolution. New York, NY: Cambridge University Press. pp. 30-81.
มสธ14 Daniel Chandler. Op.cit. pp. 29-44.
15-14 การวิเคราะห์การเมือง
องค์ประกอบแตกต่างกันอยู่มาก แต่หากลองถอดลักษณะโครงสร้างพื้นฐานออกมาเราก็จะพบว่ามีอะไร
มสธบางอย่างที่ตรงกัน เช่น การออกแบบท่ีเน้นแนวแกนแบบสมมาตร การออกแบบพื้นที่ท่ีมีขนาดใหญ่เพื่อให้
มนุษย์เกิดความรู้สึกกลายเป็นเพียงอณูเล็ก ๆ ท่ีอ้างว่าง โดดเดี่ยว และต้องการส่ิงยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
แน่นอน ถึงท่ีสุดแล้วภาษาที่เป็นสากลทางสถาปัตยกรรมที่ไม่เปลี่ยนแปลงความหมายเลยและ
สามารถรับรู้ไปในแบบเดียวกันข้ามพ้ืนท่ีและเวลาโดยสมบูรณ์น้ันคงไม่มีอยู่จริง แต่การรับรู้และตอบสนอง
มสธ มสธของมนุษย์ต่อวัตถุส่ิงของบางลักษณะตลอดจนสภาพแวดล้อมบางประเภทไปในทิศทางที่ที่เกือบจะเหมือน
กันแม้จะอยู่ต่างบริบทกันก็เป็นธรรมชาติที่ด�ำรงอยู่จริง ลักษณะร่วมกว้าง ๆ นี้คือส่ิงท่ีสามารถท�ำความเข้าใจ
วัตถุส่ิงของในฐานะที่เป็นภาษาสากลทางสถาปัตยกรรมได้
ภาษาถ่ิน ในสถาปัตยกรรมคือการที่มนุษย์รับรู้ความหมาย เกิดความรู้สึกต่อ หรือตอบสนองต่อท่ี
วา่ ง (space) รปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ หรอื องคป์ ระกอบทางสถาปตั ยกรรมแบบตา่ ง ๆ ไปในทศิ ทางทแ่ี ตกตา่ งกนั
อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และบริบททางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
มสธเม่ือยืนต่อหน้าศาลพระภูมิ คนไทยที่นับถือพุทธศาสนาส่วนใหญ่คงจะยกมือไหว้ด้วยการรับรู้
ความหมายว่าวัตถุที่อยู่ตรงหน้าคือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีคอยปกป้องคุ้มครองเราให้ปลอดภัยจากสิ่งอันตรายต่าง ๆ
แต่ชาวต่างชาติเมื่อเจออาจเห็นเป็นวัตถุแปลกประหลาดที่น่าสะสมและซื้อกลับไปไว้ที่บ้านในฐานะของ
ประดับตกแต่งเพื่อความสวยงาม
มสธ มสธในกรณีน้ีศาลพระภูมิได้มีคุณสมบัติพ้ืนฐานร่วมกันแต่อย่างใดท่ีจะท�ำให้คนในทุกสังคมวัฒนธรรม
รู้สึกและตอบสนองต่อวัตถุน้ีไปในทิศทางเดียวกัน ความหมายศักดิ์สิทธิ์เกิดขึ้นเพราะคนไทยถูกปลูกฝัง
ความหมายนล้ี งไปผา่ นกระบวนการทางสงั คมรปู แบบตา่ ง ๆ ทงั้ เรอื่ งเลา่ พธิ กี รรม และแบบแผนการปฏบิ ตั ติ วั
เมื่อต้องเจอกับศาลพระภูมิผ่านการส่ังสอนของครอบครัวและสังคม
ความหมายในกรณีน้ีไม่มีความเก่ียวข้องในเชิงเป็นเหตุเป็นผลแต่อย่างใดเลยต่อตัววัตถุท่ีเป็น
ศาลพระภูมิ กล่าวตามทัศนะของโซซูร์ก็คือ “รูปสัญญะ” กับ “ความหมายสัญญะ” มีลักษณะไม่สัมพันธ์กัน
มสธหรอื กลา่ วตามทศั นะของเพยี สกค็ อื ตวั ศาลพระภมู เิ ปน็ การสอื่ สารความหมายแบบ “สญั ลกั ษณ”์ ทตี่ วั ความหมาย
กับวัตถุไม่เกี่ยวอะไรกันเลย แต่เป็นเร่ืองการสร้างขึ้นและปลูกฝังผ่านสังคมวัฒนธรรมในบริบทที่เฉพาะแบบ
หน่ึงเท่าน้ัน
ภาษาทางสถาปัตยกรรมก็เช่นเดียวกัน แม้จะมีลักษณะบางอย่างที่คนทุกคนรับรู้ร่วมกันเป็นสากล
ได้ แต่สถาปัตยกรรมก็เต็มไปด้วยสัญลักษณ์ท่ีสลับซับซ้อนมากมายเกินกว่าท่ีจะสามารถเข้าใจมันได้ใน
มสธ มสธลักษณะสากล ไม่ว่าจะเป็นลวดลายประดับตกแต่ง การจัดวางความสัมพันธ์ของพ้ืนที่ส่วนต่าง ๆ ล�ำดับการ
เข้าถึง ต�ำแหน่งที่ต้ัง วัสดุท่ีใช้ในการก่อสร้าง การควบคุมปริมาณแสงเงาที่ส่องเข้าไปในพื้นที่ส่วนต่าง ฯลฯ
ทั้งหมดนี้ส่งผลให้การท�ำความเข้าใจสิ่งท่ีสถาปัตยกรรมก�ำลังส่ือสารออกมาน้ันแตกต่างกัน โดย
ความแตกต่างจะข้ึนอยู่กับประสบการณ์ของบุคคลคนนั้นว่าสังกัดอยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมใด ชนชั้นใด หรือ
ประเทศไหน ท่ีส�ำคัญ ความหมายแต่ละแบบจะส่งผลย้อนกลับมาก�ำหนดแบบแผนพฤติกรรม ความคิด
มสธตลอดจนจิตส�ำนึกของคน ๆ นั้นที่จะน�ำไปสู่การปฏิบัติตัวในรูปแบบต่าง ๆ กันไปเม่ือยืนอยู่ในสถาปัตยกรรม
ท�ำไมคนไทยโดยส่วนใหญ่เมื่อยืนในโบสถ์แล้วจึงแสดงอาการสงบเสง่ียม เวลานั่นก็ไม่นิยมการวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-15
มสธหันปลายเท้าไปที่ตัวพระประธาน เมื่อเดินเข้าไปก็มักจะต้องก้มลงกราบเป็นสิ่งแรก ในขณะท่ีชาวต่างชาติ
เข้าโบสถ์ ถ้าไม่ถูกแจ้งก่อนว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ส่วนใหญ่ก็จะแสดงออกทางพฤติกรรมแตกต่างไปใน
ทางตรงกันข้าม แน่นอนสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิในโลกเกือบทั้งหมดจะมีภาษาในการออกแบบสากลพ้ืนฐานร่วมกัน
บางประการ ดงั ทอ่ี ธบิ ายไปในหวั ขอ้ กอ่ น เชน่ แนวแกน ความใหญโ่ ต ความมดื สลวั เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบ
มสธ มสธต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิแต่การส่ือความผ่านองค์ประกอบสากลน้ันก็ไม่เพียงพอ จ�ำเป็น
จะต้องมีองค์ประกอบเฉพาะบางอย่างท่ีจ�ำเป็นจะต้องปลูกฝัง ส่ังสอนผ่านเรื่องเล่า และปฏิบัติจริงเป็น
กิจวัตรจนความหมายดังกล่าวถูกสถาปนาข้ึนในจิตใต้ส�ำนึกของมนุษย์ ซึ่งในกรณีนี้ก็คือ พระพุทธรูป
จิตรกรรมฝาผนัง ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบัน หลังคาจั่วยอดแหลม ฯลฯ
มสธรูปสัญญะ อุดมการณ์:
มสธ มสธการเปลี่ยนความหมายสัญญะ ระเบียบ กษัตริย์นิยม ชาตินิยม
โครงเร่ือง วิธีวิจัย สังคมนิยม เสรีนิยม ฯลฯ
ข้อเท็จ การวิเคราะห์รูปแบบ
จริง การวิเคราะห์สุนทรียภาพ
ประติมานวิทยา
บริบท มุมมองแบบมาร์กซิสต์
มุมมองแบบเฟมินิสต์ ฯลฯ
มสธภาพท่ี 15.1 วงจรการประกอบสรา้ งความหมายของวัตถสุ ่งิ ของตา่ ง ๆ
ต�ำนาน นิทาน พงศาวดาร ยุคอาณานิคม สงครามเย็น
ต�ำราประวัติศาสตร์ศิลปะ การปฏิวัติ สงครามโลก ฯลฯ
โซเชียลมีเดีย ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ภาษาถ่ินในงานสถาปัตยกรรมด้วยความท่ีตัวมันเองเป็นสิ่งท่ีสร้างขึ้นทางวัฒนธรรม
ดังน้ันตัวมันจึงเลื่อนไหลอยู่ตลอดเวลา คู่ความสัมพันธ์ระหว่าง “รูปสัญญะ” กับ “ความหมายสัญญะ” อาจ
หลุดสลับสับเปลี่ยนออกจากกันได้เสมอ และการจะท�ำความเข้าใจภาษาลักษณะนี้ได้ใกล้เคียงความเป็นจริง
มสธ มสธที่สุด จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องย้อนกลับมาใส่ใจต่อสิ่งท่ีเรียกว่า ‘บริบท’ อีกครั้ง
ภาพท่ี 15.1 ทำ� ข้ึนเพ่ือแสดงวงจรการประกอบสร้างความหมายของวัตถุสิ่งของต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับ
บรบิ ท โดยในภาพแสดงใหเ้ หน็ วา่ วตั ถทุ างวฒั นธรรม (กรณนี ค้ี อื พระแกว้ มรกต) ทม่ี สี ถานะเปน็ “รปู สญั ญะ”
นั้นมีกระบวนการประกอบสร้าง “ความหมายสัญญะ” อย่างไร
ความหมายจะเกิดขึ้นไปในทิศทางไหน บริบท คือหางเสือก�ำหนดส�ำคัญ ตัวมันท�ำหน้าท่ี
เสมือนเบา้ หลอมความหมายใหเ้ กดิ ขน้ึ ประกอบไปดว้ ย 3 สว่ นสำ� คญั คอื หนงึ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์
มสธบางอยา่ งที่ถูกเลือก สอง ‘ระเบียบวิธีการศึกษา’ ท่ีใช้ คอยท�ำหน้าท่ีเป็นเสมือนแว่นส่องพิจารณาวัตถุส่ิงของ
15-16 การวิเคราะห์การเมือง
ตา่ ง ๆ ในกรณพี ระแกว้ มรกตนค้ี อื ระเบยี บวธิ ศี กึ ษาทางประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ “การวเิ คราะห์
มสธรูปแบบ” (Stylistic Analysis) / “การวิเคราะห์สุนทรียภาพ” (Aesthetic Analysis) / การวิเคราะห์ตาม
แนวพินิจแบบมาร์กซิสต์ (Marxist) เป็นต้น และสาม ‘โครงเร่ือง’ (Plot) ท่ีร้อยเรียงข้อมูลต่าง ๆ ออกมา
เป็นเร่ืองราวและตัวความหมายของพระแก้วมรกต โดยตัวโครงเรื่องนั้นเป็นส่ิงท่ีไม่มีอยู่จริง ผู้แต่งต้องเป็น
คนสร้างขึ้น ซ่ึงการที่ผู้แต่งจะสร้างโครงเรื่องข้ึนมาแบบไหนน้ันก็ขึ้นอยู่กับชุดอุดมการณ์ท่ีผู้แต่งนั้น ๆ สังกัด
มสธ มสธอยู่ เช่น “กลุ่มกษัตริย์นิยม” (Royalist) “นักชาตินิยม” (Nationalist) “นักสังคมนิยม” (Socialist) เป็นต้น
ผลผลิตที่เกิดข้ึนจากส่วนผสมทั้งสามนี้คือตัว “ความหมายสัญญะ” ที่จะถูกยึดเข้ากับตัว
พระแก้วมรกต เช่น ความหมายของการเป็นพระพุทธรูปท่ีส�ำคัญของความเป็นไทยและพระพุทธรูป
อันศักด์ิสิทธิ์สูงสุดของชาติ เป็นต้น โดยตัวความหมายน้ีจะแสดงออกผ่านส่ือกลาง เช่น ต�ำนาน ต�ำราศิลปะ
การออกแบบท่ีตั้ง ฯลฯ และเมื่อความหมายน้ีสถาปนาข้ึนก็จะย้อนกลับมาส่งอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์
อีกทอดหน่ึงผ่านส่ิงที่เรียกว่า การออกแบบท่ีต้ัง พิธีกรรมแวดล้อม ธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ เมื่อเราต้องยืน
มสธอยู่ต่อหน้าพระแก้วมรกต ฯลฯ
หากพิจารณาให้ดีจะเห็นชัดเจนว่า พระแก้วมรกตกับความเป็นไทย ไม่ได้มีความเก่ียวข้องอย่าง
เป็นเหตุเป็นผลกันเลย ไม่ได้มีคุณลักษณะพ้ืนฐานใด ๆ ในเนื้อหินหรือหน้าตาของพระแก้วมรกตท่ีจะชี้น�ำ
มาสู่ความหมายดังกล่าวแต่อย่างใด แต่สิ่งน้ีถูกสร้างขึ้นจากเบ้าหลอม (บริบท) เฉพาะ ณ ช่วงเวลาทาง
มสธ มสธประวัติศาสตร์ช่วงหน่ึงของสังคมไทยเม่ือราวหนึ่งร้อยปีก่อนเท่าน้ัน
วงจรดังกลา่ วเกิดข้ึนเปน็ วัฏจักรอยตู่ ลอดเวลา ถ้ามอี งค์ประกอบใดเปลยี่ นแปลง ไมว่ า่ จะเป็นบรบิ ท
เปล่ียน การเลือกข้อเท็จจริงบางอย่างเปล่ียน ระเบียบวิธีศึกษาเปลี่ยน โครงเร่ืองเปลี่ยน ก็จะส่งผลต่อ
ความหมายของพระแก้วมรกตทันที ซ่ึงกระบวนการประกอบสร้างความหมายในลักษณะเช่นน้ีคือตัวอย่าง
ของส่ิงที่เรียกว่าเป็น ‘ภาษาถ่ิน’ ท่ีต้องอิงอาศัยบริบทเป็นตัวสร้างความหมาย
เมื่อมองในภาพกว้างข้ึนระดับงานสถาปัตยกรรมท่ีมิใช่เป็นแค่เพียงวัตถุโดด ๆ แต่เป็นการรวมตัว
มสธขึ้นขององค์ประกอบมากมาย การท�ำความเข้าใจความหมายก็จะมีลักษณะซับซ้อนขึ้นตามไปด้วย และ
ด้วยเหตุนี้ หนังสือ The Language of Post-Modern Architecture ของ ชาร์ล เจงค์ จึงเสนอทางออกท่ี
น่าสนใจในการอ่านงานสถาปัตยกรรมเอาไว้ว่า ให้เราพิจารณาสถาปัตยกรรมเป็นเหมือนภาษาชนิดหนึ่ง โดย
องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมต่าง ๆ คือ ‘ค�ำศัพท์’ การออกแบบที่ผสานองค์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
เปรียบเสมือน ‘ไวยากรณ์’ ของภาษาท่ีท�ำให้เราสามารถเข้าใจความหมายได้ และการประกอบเข้ากันนั้น
มสธ มสธก็มีรูปแบบและลูกเล่นท่ีหลากหลายไม่แตกต่างมากนักจากลูกเล่นของใช้ภาษา เช่น การอุปมาอุปมัย
การเปรียบเปรย การเทียบเคียง เป็นต้น ดังน้ัน การก่อรูปเป็นช้ินงานสถาปัตยกรรมแต่ละหลังก็ไม่ต่างจาก
การเรียงร้อยถ้อยค�ำ ประโยค และกลวิธีต่าง ๆ ของการสร้างงานวรรณกรรม และการอ่านสถาปัตยกรรม
ก็ไม่ต่างอะไรนักจากการอ่านวรรณกรรมในอีกรูปแบบหนึ่ง15
ประเด็นส�ำคัญต่อไปคือ สถาปนิกส่วนมาก โดยเฉพาะในสังคมไทย มักคิดว่าตนเองคือผู้มีอ�ำนาจ
เหนือภาษาทางสถาปัตยกรรมทั้งสองแบบข้างต้น หลงคิดไปว่าตนสามารถก�ำหนดนิยามความหมายของงาน
มสธ15 Charles Jencks. Op.cit. pp. 39-79.
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-17
สถาปัตยกรรมท่ีออกแบบขึ้นได้โดยสมบูรณ์ และมักอ้างสิทธิ์ในการควบคุมความหมาย ตลอดจนคาดหวัง
มสธการตอบสนองของผู้คนท่ีมีต่องานตนมากจนเกินไป
ผู้เขียนไม่ได้ปฏิเสธอ�ำนาจของสถาปนิกในฐานะผู้สร้างซ่ึงแน่นอนย่อมสามารถควบคุมความหมาย
ของการออกแบบได้ แต่ประเด็นคือไม่มีใครสามารถควบคุมความหมายในงานสถาปัตยกรรมได้สมบูรณ์
และย่ิงเป็นไปไม่ได้ท่ีจะควบคุมผลกระทบหรือการตอบสนองของผู้ใช้สอยท่ีมีต่อช้ินงานสถาปัตยกรรมได้
มสธ มสธแนวคิดท่ีมองว่าผู้ใช้สอยอาคารมีอ�ำนาจในการก�ำหนดนิยามความหมายต่าง ๆ ของงาน
สถาปัตยกรรมได้เองโดยไม่ขึ้นอยู่กับแนวคิดของสถาปนิกมิใช่เร่ืองใหม่ อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนต้องการเสนอ
มากกว่าน้ันอีกเล็กน้อยคือ ท้ังสถาปนิกและผู้ใช้สอยแม้จะมีอ�ำนาจในการก�ำหนดนิยามความหมาย
สถาปัตยกรรมตลอดจนพฤติกรรมการใช้สอยเองได้ แต่โดยตัวสถาปัตยกรรมเองซ่ึงเป็นผลรวมของ
องค์ประกอบมากมายต่าง ๆ ที่ล้วนแล้วแต่ถูกก�ำหนดนิยามความหมายอย่างสลับซับซ้อน ทั้งความหมาย
ท่ีเป็นสากลยึดโยงกับคุณสมบัติพื้นฐานของตัวมันเอง และความหมายท่ีถูกประกอบสร้างผ่านช่วงเวลาทาง
มสธประวัติศาสตร์อันยาวนาน ได้ท�ำให้ตัวมันสามารถแสดงออกซ่ึงความหมายได้โดยบางคร้ังอยู่นอกเหนือ
การก�ำหนดของมนุษย์ ไม่ว่าจะทั้งจากสถาปนิกหรือผู้ใช้สอย และความหมายที่คาดไม่ถึงหรือเกิดขึ้นเองนี้
ก็ส่งผลโดยตรงต่อพฤติกรรมมนุษย์ผู้ใช้สอยอาคารน้ัน ๆ ชนิดท่ีหลายครั้งเราไม่สามารถรับรู้หรือตระหนัก
ถึงพลังอ�ำนาจของมัน สรุปง่าย ๆ ตามค�ำกล่าวท่ีมักถูกอ้างถึงกันบ่อย ๆ ท่ีว่า “เราคือผู้ก่อร่างสร้างอาคาร
บา้ นเรอื นตา่ ง ๆ แตห่ ลงั จากนน้ั อาคารบา้ นเรอื นกจ็ ะยอ้ นกลบั มากอ่ รา่ งสรา้ งตวั ตนความเปน็ เราอกี ทอดหนง่ึ ”
มสธ มสธ(We shape our buildings, and afterwards, they shape us)
ในแง่น้ี งานสถาปัตยกรรมจึงเป็นเสมือนตัวบทท่ีมีชีวิตของมันเอง สามารถพูดได้ด้วยตัวของมันเอง
ซ่ึงบางแง่มุมหลุดพ้นไปจากการควบคุมของผู้ออกแบบ การท�ำความเข้าใจงานสถาปัตยกรรมจึงไม่สามารถ
เน้นศูนย์กลางอยู่ที่ส่ิงที่สถาปนิกน�ำเสนอแต่เพียงเท่าน้ัน แต่เราต้องวิเคราะห์ไปสู่ส่ิงท่ีออกจากตัวสถาปัตย-
กรรมเองว่าก�ำลังพูดอะไรอยู่ ซ่ึงที่มีสถานะเป็น ‘เสียงที่ไม่ได้ยิน’ เป็นเสียงที่แฝงเร้นหรือแอบซ่อนอย่าง
แนบเนียนอยู่ในตัวงานสถาปัตยกรรม และปฏิบัติการซึมลึกในระดับวัฒนธรรม เสียงท่ีไม่ได้ยินเหล่านี้
มสธคืออุดมการณ์บางอย่างที่งานสถาปัตยกรรมหรือสถาปนิกพยายามจะปกปิดไว้ ทั้งโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว
ความน่าสนใจของการอ่านสถาปัตยกรรมวิธีนี้คือ ช่วยให้เรารู้เท่าทันสิ่งที่เรียกว่าสถาปัตยกรรม
เพราะสถาปตั ยกรรมมใิ ชว่ ตั ถทุ ล่ี อยพน้ จากสงั คมทแี่ วดลอ้ มตวั มนั อยู่ ดงั นน้ั สถาปตั ยกรรมใด ๆ กต็ ามจงึ ลว้ น
มีมิติทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งและแนบแน่นเกินกว่าท่ีสถาปนิกผู้ออกแบบ
จะรู้ตัวหรือควบคุมได้ ซ่ึงมิตินี้คือประเด็นส�ำคัญหนึ่งท่ีวงการการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมท่ีส่งผ่านวัตถุส่ิงของ
มสธ มสธให้ความสนใจ และโดยส่วนตัวผู้เขียนก็คิดว่าวิธีการนี้ช่วยให้เราเข้าใจปรากฏการณ์สถาปัตยกรรมไทยกับ
การเมืองร่วมสมัยได้ดียิ่งข้ึน เพราะกระบวนการปลูกฝังอุดมการณ์การเมืองของไทยน้ันมีลักษณะแอบซ่อน
และท�ำตัวเองแนบเนียนอยู่ฉากหลังผ่านพิธีกรรมและวัตถุส่ิงของทางวัฒนธรรมต่าง ๆ อย่างซับซ้อน ดังน้ัน
วิธีการที่นี้จึงช่วยเผยการท�ำงานของชุดอุดมการณ์ต่าง ๆ เบื้องหลังงานสถาปัตยกรรมได้อย่างมีพลัง
หลังจากศึกษาเน้ือหาสาระเร่ืองท่ี 15.1.2 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 15.1.2
มสธในแนวการศึกษาหน่วยท่ี 15 ตอนท่ี 15.1 เร่ืองท่ี 15.1.2
15-18 การวิเคราะห์การเมือง
มสธเร่ืองที่ 15.1.3 กรณีศึกษา: อาคารรฐั สภาแหง่ ใหม่
พื้นท่ีก่อสร้างรัฐสภาใหม่ตั้งอยู่บนถนนทหาร (ที่เกียกกาย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร) มีรูปท่ีดิน
มสธ มสธเป็นลักษณะส่ีเหล่ียมคางหมูติดริมแม่น้�ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นฝั่งตะวันตก มีถนน 2 เส้นขนาบด้านเหนือและ
ตะวันออก ถนนด้านทิศเหนือคือถนนทหาร ส่วนด้านทิศตะวันออกติดกับถนนสามเสนยาวประมาณ 250
เมตร ซึ่งด้านน้ีจะเป็นถนนหลักด้านหน้าของโครงการ ส่วนพื้นที่ด้านทิศใต้ติดกับท่ีดินเอกชน รวมพื้นที่
ทั้งหมดประมาณ 122 ไร่ ผู้ออกแบบตั้งช่ือว่า “สัปปายะสภาสถาน” ซึ่งหมายถึงสถานท่ีประกอบกรรมดี โดย
มีแนวความคิดในการออกแบบคือ การสถาปนาเขาพระสุเมรุตามคติไตรภูมิขึ้นในสังคมไทยใหม่ สถาปนิก
อธิบายที่มาของแนวคิดว่ามาจากการตั้งโจทย์โครงการเอาไว้ 4 ข้อ ดังต่อไปน้ี
มสธ มมสสธธ มสธภาพท่ี15.2สปั ปายะสภาสถาน
ท่มี า: http://www.asa.or.th/?q=node/99415
มสธ มสธ“.....1. ท�ำอย่างไรให้งานสถาปัตยกรรมรัฐสภาใหม่แห่งน้ี ท่ีนอกเหนือจากการตอบสนอง
ประโยชน์ใช้สอยและเทคนิคอย่างดียิ่งแล้ว ยังจะต้องท�ำหน้าท่ีสูงสุดให้บรรลุ คือ ความมีพลังท่ีจะเป็น
ศูนย์รวมจิตใจท่ีสามารถพลิกฟื้นจิตวิญญาณของคนในชาติ เป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีช่วยให้สังคมไทย
สามารถข้ามพ้นวิกฤตทางจิตวิญญาณท่ีรุนแรงท่ีสุด คือ “วิกฤติทางศีลธรรม” ได้
2. ท�ำอย่างไรงานสถาปัตยกรรมรัฐสภาแห่งใหม่น้ี จึงจะมีอัตลักษณ์เป็นไทยท้ังรูปแบบและ
เน้ือหาท่ีเข้าใจได้ง่ายไม่ต้องตีความ ไม่ว่าผู้ท่ีได้สัมผัสนั้นจะเป็นคนไทยหรือต่างชาติ ท้ังที่เป็นชนชั้นน�ำ
ปัญญาชน หรือชาวบ้านทั่วไป สามารถเป็นสัญญลักษณ์ท่ีโดดเด่นของแผ่นดิน เป็นจุดหมายปลายทาง
มสธที่ส�ำคัญของโลก
3. ท�ำอยา่ งไรงานสถาปตั ยกรรมรฐั สภาใหมแ่ หง่ นี้ จึงจะสร้างความเปน็ เอกภาพระหวา่ งรฐั กับ
มสธประชาชนได้
4. ท�ำอย่างไรงานสถาปัตยกรรมรัฐสภาใหม่แห่งน้ี จะเป็นเง่ือนไขให้เกิดการเคล่ือนไหว เพ่ือ
การ “เรียนรู้ครั้งใหม่” ข้ึนในสังคมไทย เป็นวาทะกรรมแห่งชาติอย่างกว้างขวาง เป็นกระบวนการสร้าง
คุณค่าและส�ำนึกของการร่วมคิดร่วมสร้างของคนไทยทั้งชาติ ในการสถาปนารัฐสภาแห่งใหม่น้ี.....”16
การวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ แนวทางศิลปะและวรรณกรรม 15-19
มสธ มสธจากค�ำถามข้างต้น สถาปนิกได้ท�ำการค้นหาวิธีการออกแบบเพ่ือจะตอบค�ำถามดังกล่าว ซึ่งสถาปนิก
ได้พบว่า “คติไตรภูมิ” และ “เขาพระสุเมรุ” เป็นภูมิปัญญาที่สูงสุด เป็นค�ำตอบที่สามารถตอบโจทย์ท้ังหมด
ได้ จากน้ันสถาปนิกก็ตีความแนวความคิดดังกล่าวออกเป็น อุดมคติ 5 เรื่องคือ ชาติ ศาสนา/ศีลธรรม
สติปัญญา พระมหากษัตริย์ และประชาชน17 ซึ่งอุดมคติทั้ง 5 จะถูกแปรออกมาเป็นพื้นท่ีใช้สอยต่าง ๆ ใน
ทางสถาปัตยกรรม
มสธท่าเทียบเรือ
มสธ มสธสวน ลิฟท์ส่วนพระองค์และ ลิฟท์ ส.ว. และ
ลิฟท์บุคคลส�ำคัญ
ลิฟท์ข้าราชการ ส.ส.ลิฟท์ส.ส. สวน ข้าราชการ ส.ว.
สวน ท่าเทียบเรือ ลิฟท์ส่วนสัมมนา
มสธ ลานประชาชน ทางออกด้านถนนทหาร
โถงธุรการ
ที่แถลงลขา่านวปเประ็นชทาาธงิปกไาตรย
ทางเข้าด้านถนนทหาร
ทางเข้าด้านถนนสามเสน ทางเข้าประชาชน สถานีรถไฟฟ้า
ลิฟท์ท่ัวไป
มสธ มสธและพิธีการส�ำคัญ
ลิฟท์ประชาชน โถงติดต่อท่ัวไป
สนามรัฐสภา
16 ดูรายละเอียดใน “แบบผู้ชนะการประกวดการออกแบบอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ขั้นตอนที่ 2 จ�ำนวน 5 ราย” สมาคม
สถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ Retricved from http://www.asa.or.th/?q=node/99415
มสธ17 เพ่ิงอ้าง.
ภาพที่ 15.3 ผงั บริเวณสัปปายะสภาสถาน
ทมี่ า: http://www.asa.or.th/?q=node/99415
15-20 การวิเคราะห์การเมือง
ผลของการตีความและออกแบบไปในทิศทางข้างต้น สัปปายะสภาสถานจะกลายเป็น “มณฑล
มสธศักดิ์สิทธ์ิ” เป็น “สภาแห่งศีลธรรม” ที่จะน�ำบ้านเมืองไปสู่ภาวะ “บังอบายเบิกฟ้า ฝีกฟื้นใจเมือง” และ
ผ่านพ้นวิกฤตทางศีลธรรมได้18
สถาปนิกวางผังอาคารท้ังหมดในรูปทรงส่ีเหล่ียมผืนผ้า ด้านยาวของอาคารขนานไปกับแนวแม่น้�ำ
เจ้าพระยา โดยเปดิ พื้นที่ลานโลง่ ขนาดใหญ่เอาไวด้ ้านหน้าในสว่ นท่ีติดถนนสามเสน ทางเขา้ หลกั ของโครงการ
มสธ มสธคือถนนสามเสน สถาปนิกออกแบบแนวถนนเป็นแกนพุ่งตรงจากก่ึงกลางพื้นที่ก่อสร้างด้านถนนสามเสน
แนวแกนน้ีคือแนวแกนหลักของอาคาร จะใช้เป็นทางเข้าประชาชนและทางเข้าในกรณีมีพิธีการสำ� คัญเท่าน้ัน
แนวแกนนี้จะพาดผ่าน อนุสาวรีย์รัชกาลท่ี 7 และกลุ่มอาคารประธาน19
ส่วนถนนทหารด้านข้างจะออกแบบให้มีแนวแกนรองวิ่งพาดผ่านตัวอาคาร ถนนด้านน้ีจะเปิดทาง
เข้าเอาไว้สองช่อง อ่านจากแบบสถาปัตยกรรมแล้ว พ้ืนที่ด้านนี้น่าจะเป็นด้านที่มีการเข้าออกและใช้งานจริง
มากที่สุด เพราะมีการวางต�ำแหน่งกิจกรรมเอาไว้สัมพันธ์กับทางเข้าด้านน้ีค่อนข้างมาก อาทิ ลานประชาชน
มสธลานประชาธิปไตย ที่แถลงข่าว และโถงธุรการ เป็นต้น
อาคาร ณ ต�ำแหน่งกึ่งกลางที่ซ่ึงแนวแกนหลักและแนวแกนรองมาตัดกัน ถูกก�ำหนดไว้ให้เป็นเขา
พระสุเมรุ เป็นส่วนท่ีสถาปนิกเรียกว่า “แกนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ปัญญา ประชาชน” เมื่ออ่านแบบ
ทางรูปตัดตามยาวของอาคาร จะเห็นการจัดวางต�ำแหน่งกิจกรรมต่าง ๆ ในส่วนที่เป็นแกนเขาพระสุเมรุ
มสธ มสธดังต่อไปน้ี
ยอดสุดของอาคารออกแบบให้เป็นงานสถาปัตยกรรมแบบจารีต ซึ่งมีลักษณะเป็นทรงมณฑป ซ่ึง
ภายในมณฑปด้านบนจะประดิษฐานพระสยามเทวาธิราช ถัดลงมาเป็นโถงพระราชพิธีที่สื่อความหมายถึง
สถาบันพระมหากษัตริย์ โถงน้ีจะใช้ในงานรัฐพิธีเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรแทนท่ีพระท่ีนั่งอนันตสมาคม
ตัวมณฑปจะออกแบบให้มีการท้ิงท่ีว่างเป็นสระน้�ำโดยรอบ และมีอาคารล้อมอยู่รอบนอกเป็น
รูปทรงอาคารส่ีเหลี่ยมแบบสมัยใหม่ ท�ำหน้าท่ีในเชิงสัญลักษณ์คล้ายระเบียงคตในงานสถาปัตยกรรมทาง
มสธศาสนาแบบจารีต ภายในระเบียงคตก�ำหนดให้เป็นพื้นท่ีพิพิธภัณฑ์ชาติไทย
ส่วนยอดท่ีกล่าวมาท้ังหมดนี้ เปรียบได้ด่ังสวรรค์ช้ันดาวดึงส์บนยอดเขาพระสุเมรุ
อาคารส่วนที่ถัดลงมา เปรียบได้เป็นเชิงเขาพระสุเมรุ ซึ่งจะถูกก�ำหนดให้เป็นห้องทำ� งานต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวเนื่องกับ ส.ส. และ ส.ว. โดยพ้ืนที่ส่วนตรงกลางของเชิงเขาพระสุเมรุนี้จะเปิดให้เป็นห้องโถงขนาดใหญ่
สูงหลายช้ัน เพื่อจะใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ประชาธิปไตย ดาดฟ้าอาคารในส่วนนี้ทั้งหมดจะท�ำเป็นสวนและ
มสธ มสธปลูกต้นมะกอก เพื่อสื่อความหมายถึงกรุงเทพฯ (อันเป็นท่ีตั้งรัฐสภา) ที่เดิมมีช่ือว่า “เมืองบางกอก” ใน
ขณะเดียวกัน เมื่อมองจากภายนอก เราก็จะเห็นอาคารส่วนน้ีถูกปกคลุมไปด้วยต้นไม้ซึ่งจะสอดรับกับ
การท�ำหน้าที่ในทางสัญลักษณ์เป็นเชิงเขาพระสุเมรุ
18 เพ่ิงอ้าง.
19 ความจริงถนนสามเสน สถาปนิกได้ออกแบบให้มีถนนทางเข้าอีกช่องหนึ่ง แต่ถนนน้ันเป็นเพียงถนนเอาไว้ส�ำหรับสัญจร
มสธเท่าน้ัน ซึ่งมิได้มีนัยส�ำคัญในเชิงสัญลักษณ์แต่อย่างใด
มมมสสสธธธ มมมมสสสสธธธการวิเคราะห์การศึกษาทางรัฐศาสตร์ธ มมมแนวทางศิลปะและวรรณกรรมสสสธธธ15-21แกนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ปัญญา ประชาชน
พระศาสนา ปัญญาสูงสุด แกนประชาธิปไตย วุฒิสมาชิก
แกนประชาธิปไตย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พระสยามเทวาธิราช เทพปกป้องคุ้มครองบ้านเมือง
ศูนย์การเรียนรู้ โถงรัฐพิธี พระมหากษัตริย์ ศูนย์การเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ประชาธิปไตย/ปัญญา/ประชาชน
พิพิธภัณฑ์ชาติไทย ศูนย์การเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ชาติไทย ปัญญา/ประชาชน
ห้องประชุม ส.ส. ห้องพระสุริยัน ปัญญา ประชาชน
ห้องประชุม ส.ว.-ห้องพระจันทรา
ภาพท่ี 15.4 รปู ตัดอาคารแสดงให้เหน็ การจัดวางกจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในอาคาร แกนประธานตรงกลางคอื แกนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ปัญญา ประชาชน
ส่วนหอ้ งหลังคาโคง้ ทางซ้ายและขวาคือ ห้องประชมุ สภาผู้แทนราษฎร และหอ้ งประชมุ วุฒสิ ภา
ทีม่ า: http://www.asa.or.th/?q=node/99415
15-22 การวิเคราะห์การเมือง
ห้องประชุมสภาผู้แทนราษฎรและห้องประชุมวุฒิสภาจะถูกแยกออกเป็น 2 ห้อง โดยแต่ละห้องจะ
มสธถกู จดั วางในต�ำแหน่งทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบรองแยกออกไปทางด้านข้างซ้ายและขวาของแนวแกนอาคารประธาน
ห้องประชุมทั้งสองแสดงความหมายทางสญั ลกั ษณเ์ ปน็ พระอาทติ ย์และพระจนั ทร์ทจี่ ะโคจรรอบเขาพระสเุ มรุ
สถาปนกิ กำ� หนดชอ่ื หอ้ งทง้ั สองใหส้ อดคลอ้ งกบั การตคี วามนโ้ี ดยตง้ั ชอื่ วา่ หอ้ งพระสรุ ยิ นั และหอ้ งพระจนั ทรา
ถัดออกไปทางด้านข้างของห้องประชุมทั้งสอง จะสร้างข้ึนเป็นตึกรูปร่างเหมือนออฟฟิศสมัยใหม่ทั่วไป เพ่ือ
มสธ มสธใช้เป็นส่วนที่ท�ำงานของ ส.ส. และ ส.ว.
มสธภาพท่ี 15.5 ภาพหอ้ งประชมุ พระสุรยิ นั (ซ้าย) สำ� หรบั ส.ส. และหอ้ งประชุมพระจันทรา (ขวา) ส�ำหรบั ส.ว.
มสธ มสธทม่ี า: http://www.asa.or.th/?q=node/99415
พื้นท่ีลานขนาดใหญ่ด้านหน้าอาคารบริเวณที่ติดถนนสามเสน สถาปนิกตั้งใจให้เป็นสนามหลวงแห่ง
ใหม่ของกรุงเทพฯ เป็นที่ว่างส�ำคัญระดับชาติใช้รองรับพระราชพิธีส�ำคัญของบ้านเมือง รองรับแขกบ้าน
แขกเมือง และพสกนิกรชาวไทย เช่น งานจุดเทียนชัยถวายพระพรในวันเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นต้น
ในส่วนพ้ืนท่ีด้านเหนือในส่วนท่ีติดกับถนนทหาร สถาปนิกออกแบบให้เป็นลานกิจกรรม 2 ลานคือ
มสธลานประชาชน และลานประชาธิปไตย
สถาปนิกได้ก�ำหนดความหมายทางสัญลักษณ์ให้ลานขนาดใหญ่ฝั่งถนนสามเสน (สนามหลวงแห่ง
ใหม่) ลานประชาชน และลานประชาธิปไตยด้านทิศเหนือ เป็นที่ปรากฏตัวของประชาชน เป็นพื้นท่ีโลกียภูมิ
เป็นดินแดนสามัญ ในขณะที่พ้ืนท่ีริมแม่น�้ำเจ้าพระยาทางด้านทิศตะวันตกของโครงการทั้งหมดถูกก�ำหนด
ความหมายให้เป็นดินแดนศักดิ์สิทธ์ิ โลกุตรภูมิ เป็นท่ีปรากฏตัวของศิลปะวัฒนธรรมของชาติ20
มสธ มสธเม่ือได้อ่านแนวคิดและดูแบบทางสถาปัตยกรรม ผู้เขียนเห็นว่าอาคารรัฐสภาแห่งนี้ไม่ได้สะท้อน
หลกั การพนื้ ฐานของระบอบประชาธปิ ไตย หรอื ถา้ จะพดู ใหต้ รงไปตรงมากวา่ นนั้ กค็ อื ภาษาทางสถาปตั ยกรรม
ท่ีถูกประกอบสร้างข้ึนมาเป็นอาคารรัฐสภาแห่งนี้ได้แฝงนัยทางอุดมการณ์ที่มีลักษณะขัดแย้งกับอุดมการณ์
ในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้มากมาย ซ่ึงจะกล่าวต่อไป
มสธ20 แบบผู้ชนะการประกวดการออกแบบอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ข้ันตอนที่ 2 จ�ำนวน 5 ราย. อ้างแล้ว.