1
2
เอกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี องรู
รายวชิ าภาษาไทย
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รหสั พท31001
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หา มจาํ หนาย
หนังสอื เรียนนี้จัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดินเพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน
ลิขสทิ ธเิ์ ปนของสํานักงาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3
สารบญั 4
คาํ นาํ หนา
คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี องรู
บทท่ี 1 การฟง การดู 1
3
เรอ่ื งที่ 1 การเลอื กส่อื ในการฟง และการพูด 9
เรื่องที่ 2 การวเิ คราะหว ิจารณเ รอื่ งทฟ่ี ง และดู 12
เรอ่ื งที่ 3 มารยาทในการฟง และการดู
กิจกรรมทายบท 13
บทที่ 2 การพดู 13
เรอ่ื งที่ 1 มารยาทในการพูด 15
เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะการพูดทด่ี ี 26
เรื่องที่ 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ
กิจกรรมทายบท 27
บทท่ี 3 การอา น 27
เรื่องท่ี 1 ความสาํ คญั ของการอาน 28
เรื่องท่ี 2 วิจารณญาณในการอาน 30
เรอ่ื งที่ 3 การอานแปลความ ตีความ ขยายความ จบั ใจความหรอื สรุปความ 31
เรื่องท่ี 4 มารยาทและนสิ ยั รกั การอาน
กจิ กรรมทา ยบท 33
บทท่ี 4 การเขยี น 34
เรือ่ งที่ 1 หลักการเขยี นประเภทตาง ๆ 39
เรือ่ งที่ 2 หลักการแตง คําประพนั ธ 41
เรื่องที่ 3 มารยาทและนิสยั รักการเขียน
กจิ กรรมทา ยบท 43
บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา 45
เรอื่ งที่ 1 ธรรมชาตขิ องภาษา 46
เรือ่ งท่ี 2 ถอ ยคาํ สํานวน คาํ พังเพย สุภาษติ
เรอ่ื งที่ 3 ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
เรือ่ งที่ 4 คําสุภาพและคาํ ราชาศัพท 5
เร่อื งท่ี 5 เคร่ืองหมายวรรคตอน
กิจกรรมทายบท 48
บทที่ 6 วรรณคดี วรรณกรรม 52
เรอ่ื งที่ 1 วรรณคดี วรรณกรรม 54
เรื่องท่ี 2 วรรณกรรมทอ งถิ่น
เรอื่ งที่ 3 วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม 55
บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี 56
เรอ่ื งที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย 59
เรื่องท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชีพ
เรื่องที่ 3 การเพ่ิมพูนความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย 61
62
เพือ่ การประกอบอาชพี
63
เฉลยกจิ กรรมทายบท
บรรณานกุ รม 64
คณะผูจัดทํา 77
78
6
คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เน้ือหาทต่ี องรู
เอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูรายวิชาภาษาไทยเลมน้ี เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน
สาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544)
เพื่อใหผูเรียน กศน. ไดศึกษาทําความเขาใจและเรียนรูในเน้ือหาสาระของรายวิชาภาษาไทยท่ี
สาํ คญั ๆ ไดส ะดวกและสามารถทาํ ความเขา ใจของเนอื้ หาไดด ยี ่งิ ขน้ึ
ในการศกึ ษาเอกสารสรปุ เนือ้ หาทตี่ อ งรูร ายวิชาภาษาไทยเลม น้ี ผเู รียนควรปฏิบตั ิ ดังน้ี
1. ศึกษาโครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากหนังสือเรียนสาระ
ความรูพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขา ใจกอ น
2. ศึกษาเนื้อหาสาระของเอกสารสรุปเน้ือหาที่ตองรูรายวิชาภาษาไทยใหเขาใจอยาง
ละเอียดทลี ะบทจนครบ 7 บท
3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหาสาระรายวิชาภาษาไทยเพื่อเพ่ิมเติมความรู
ผูเ รียน กศน. สามารถศึกษาคน ควา ไดจากส่ืออื่น ๆ หองสมุด อนิ เทอรเ น็ต หรอื ครูผสู อน
1
บทท่ี 1
การฟง การดู
เร่ืองที่ 1 การเลือกสือ่ ในการฟงและการดู
ส่ือควรจะรูจักประเภทเพ่ือแยกแยะในการนําไปใชประโยชน ซ่ึงอาจสรุปประเภทการ
แยกแยะประเภทของส่ือในการนําไปใชป ระโยชน มดี ังน้ี
1. สื่อโฆษณา ส่ือประเภทนี้ผูฟงตองรูจุดมุงหมาย เพราะสวนใหญจะเปนการสื่อให
คลอ ยตาม อาจไมส มเหตสุ มผล ผูฟง ตอ งพจิ ารณาไตรตรองกอนซอ้ื หรอื กอนตดั สินใจ
2. สื่อเพ่อื ความบันเทิง เชน เพลง , เร่อื งเลา ซึ่งอาจมีการแสดงประกอบดวย เชน นิทาน
นิยาย หรือสื่อประเภทละคร ส่ือเหลานี้ผูรับสารตองระมัดระวัง ใชวิจารณญาณประกอบการ
ตดั สนิ ใจกอ นที่จะซือ้ หรอื ทําตาม ปจ จุบันรายการโทรทัศนจะมกี ารแนะนําวาแตละรายการเหมาะ
กับกลมุ เปา หมายใด เพราะเชอื่ กันวา ถา ผใู ดขาดความคิดในเชงิ สรางสรรคแลวสือ่ บันเทิงอาจ
สงผลรายตอสังคมได เชน ผูดูเอาตัวอยางการจี้ , ปลน , การขมขืนกระทําชําเรา และแมแต
การฆา ตัวตาย โดยเอาอยา งจากละครท่ีดกู ็เคยมีมาแลว
3. ขาวสาร ส่ือประเภทน้ีผูรับสารตองมีความพรอมพอสมควร เพราะควรตองรูจัก
แหลง ขา ว ผนู ําเสนอขาว การจับประเด็น ความมีเหตุมีผล รูจักเปรียบเทียบเนื้อหาจากท่ีมาของ
ขาวหลาย ๆ แหง เปน ตน
4. ปาฐกถา เน้ือหาประเภทนี้ผูรับสารตองฟงอยางมีสมาธิเพื่อจับประเด็นสําคัญใหได
และกอ นตดั สินใจเชือ่ หรือนําขอมูลสวนใดไปใชประโยชนต องมีความรพู ้ืนฐานในเร่ืองน้นั ๆ อยูบ าง
5. สุนทรพจน สื่อประเภทน้ีสวนใหญจะไมยาว และมีใจความที่เขาใจงาย
ชดั เจนแตผฟู ง จะตอ งรูจักกล่ันกรองสง่ิ ทด่ี ีไปเปนแนวทางในการปฏิบตั ิ
หลักการฟงและการดูอยางสรางสรรค
1. ตองเขาใจความหมาย หลักเบื้องตนของการจับใจความของสารท่ีฟงและดูนั้น
ตอ งเขาใจความหมายของคาํ สํานวนประโยคและขอความท่ีบรรยายหรอื อธิบาย
2. ตองเขา ใจลักษณะของขอความ ขอความแตละขอความตอ งมีใจความสําคญั ของเรื่อง
และใจความสําคัญของเร่ืองจะอยูท่ีประโยคสําคัญ ซึ่งเรียกวา ประโยคใจความ จะปรากฏอยูใน
ตอนใดตอนหนงึ่ ของขอความ โดยปกตจิ ะปรากฏอยใู นตอนตน ตอนกลาง และตอนทา ยหรอื
อยูตอนตนและตอนทายของขอความผูรับสารตองรูจักสังเกตและเขาใจการปรากฏของประโยค
ใจความในตอนตาง ๆ ของขอความ จึงจะชวยใหจบั ใจความไดด ยี ่งิ ขนึ้
2
3. ตอ งเขา ใจในลักษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คือ ขอความที่เปนความคิด
หลกั ซงึ่ มักจะมีเน้ือหาตรงกับหัวขอเร่ือง เชน เร่ือง “สุนัข” ความคิดหลักคือ สุนัขเปนสัตวเลี้ยง
ทีร่ ักเจาของ ในการฟงเรอื่ งราวจากการพูดบางทีไมมีหัวขอ แตจะพูดตามลําดับของเนื้อหา ดังน้ัน
การจับใจความสําคัญตองฟงใหตลอดเร่ืองแลวจับใจความวา พูดถึงเรื่องอะไร คือจับประเด็น
หวั เรอ่ื ง และเรือ่ งเปนอยางไร คอื สาระสําคญั หรือใจความสาํ คัญของเร่อื ง น่ันเอง
4. ตอ งรูจกั ประเภทของสาร สารท่ีฟงและดูมีหลายประเภท ตองรูจักและแยกประเภท
สรปุ ของสารไดว า เปนสารประเภทขอเทจ็ จรงิ ขอคดิ เห็น หรือเปนคําทักทายปราศรัย ขาว ละคร
สารคดี จะไดจบั ประเดน็ หรอื ใจความสาํ คัญไดงาย
5. ตอ งตีความในสารไดต รงตามเจตนาของผสู ง สาร ผสู ง สารมเี จตนาทจี่ ะสง สารตา ง ๆ กัน
บางคนตองการใหค วามรู บางคนตองการโนมนาวใจ และบางคนอาจจะตองการสงสาร เพื่อส่ือ
ความหมายอื่น ๆ ผฟู งและดูตองจับเจตนาใหได เพื่อจะไดจ บั สารและใจความสําคญั ได
6. ตั้งใจฟงและดใู หตลอดเรอ่ื ง พยายามทําความเขา ใจใหต ลอดเรอื่ ง ย่งิ เรอ่ื งยาวสลบั
ซบั ซอนย่ิงตอ งตง้ั ใจเปนพิเศษและพยายามจบั ประเดน็ หวั เร่อื ง กริยาอาการ ภาพ และเคร่ืองหมาย
อ่ืน ๆ ดวยความตั้งใจ
7. สรุปใจความสําคัญ ข้ันสุดทายของการฟงและดูเพ่ือจับใจความสําคัญก็คือสรุปให
ไดว า เรื่องอะไร ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร และทาํ ไม หรือบางเรื่องอาจจะสรุปไดไมครบ
ทง้ั หมด ท้งั นีย้ อ มขึ้นกบั สารทฟ่ี ง จะมีใจความสําคัญครบถวนมากนอยเพียงใด
วิจารณญาณในการฟงและการดู
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของ วิจารณญาณ ไววา ปญญาท่ี
สามารถรูหรือใหเหตุผลที่ถูกตอง คํานี้มาจากคําวา วิจารณ ซ่ึงแปลวา การคิดใครครวญโดยใช
เหตผุ ล และคาํ วา ญาณ ซ่ึงแปลวา ปญญาหรอื ความรูใ นขั้นสูง
วิจารณญาณในการฟงและการดู คือ การรับสารใหเขาใจเนื้อหาสาระโดยอาศัยความรู
ความคิด เหตุผล และประสบการณประกอบการใชปญญาคิดใครครวญแลวสามารถนําไปใชได
อยางเหมาะสม
การฟง และการดูใหเ กิดวิจารณญาณนั้นมีขน้ั ตอนในการพัฒนาเปนลําดับบางทีกอ็ าจเปนไป
อยางรวดเร็ว บางทีก็ตองอาศัยเวลา ท้ังน้ียอมข้ึนอยูกับพ้ืนฐานความรู ประสบการณของบุคคล
และความยงุ ยากซับซอ นของเรื่องหรือสารทฟ่ี งและดู
3
ขั้นตอนการฟง และการดูอยา งมีวิจารณญาณมดี ังน้ี
1. ฟงและดูใหเขาใจเร่ือง เมื่อฟงเรื่องใดก็ตามผูฟงจะตองตั้งใจฟงเร่ืองน้ันใหเขาใจ
ตลอดเร่ือง ใหรูวาเน้ือเรื่องเปนอยางไร มีสาระสําคัญอะไรบาง พยายามทําความเขาใจ
รายละเอียดท้ังหมด
2. วิเคราะหเร่ือง จะตองพิจารณาวาเปนเร่ืองประเภทใด เปนขาว บทความ เร่ืองสั้น
นิทาน นวนิยาย บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอยแกวหรือรอยกรอง เปนเรื่องจริงหรือ
แตงข้นึ ตองวิเคราะหล กั ษณะของตัวละคร และกลวธิ ใี นการเสนอสารของผสู งสารใหเ ขา ใจ
3. วินิจฉัยเร่ือง คือ การพิจารณาเร่ืองที่ฟงวาเปนขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็น
และผสู งสารหรือผูพูดผูแสดงมีเจตนาอยางไรในการพูดการแสดง อาจจะมีเจตนาท่ีจะโนมนาวใจ
หรือแสดงความคดิ เหน็ เปน เรือ่ งที่มีเหตุมีผล มีหลักฐานนาเช่ือถือหรือไมและมีคุณคา มีประโยชน
เพยี งใด
เรอื่ งท่ี 2 การวิเคราะหว ิจารณเรื่องที่ฟง และดู
ความหมายของการวเิ คราะห การวินจิ และการวจิ ารณ
การวิเคราะห หมายถึง การที่ผูฟงและผูดูรับสารแลวพิจารณาองคประกอบออกเปน
สว น ๆ นํามาแยกประเภท ลกั ษณะ สาระสาํ คัญของสาร กลวธิ ีการเสนอ และเจตนาของผูสง สาร
การวนิ ิจ หมายถึง การพจิ ารณาสารดวยความเอาใจใส ฟงและดูอยางไตรตรองพิจารณา
หาเหตุผลแยกแยะขอ ดขี อเสยี คณุ คาของสาร ตีความหมายและพิจารณาสํานวน ภาษา ตลอดจน
น้ําเสียงและการแสดงของผูสงสาร พยายามทําความเขาใจความหมายท่ีแทจริงเพื่อใหไดประโย
ชนต ามวตั ถุประสงคข องผูวนิ ิจ
การวิจารณ หมายถึง การพิจารณาเทคนิคหรือกลวิธีท่ีแสดงออกมาน้ัน ใหเห็นวา นาคิด
นาสนใจ นาติดตาม มีช้ันเชิงยอกยอนหรือตรงไปตรงมา องคประกอบใดมีคุณคานาชมเชย
องคป ระกอบใดนาทว งตงิ หรอื บกพรอ งอยางไร การวิจารณส่ิงใดก็ตามจึงตองใชความรูมีเหตุมีผล
มหี ลักเกณฑแ ละมคี วามรอบคอบดวย
ตามปกติแลว เมื่อจะวจิ ารณส ิง่ ใด จะตอ งผานขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะหสาร
วินิจสาร และประเมินคาสาร ใหชัดเจนเสียกอนแลว จึงวิจารณแสดงความเห็น ออกมาอยาง
มเี หตุมีผลใหนาคิด นาฟงและเปนคําวิจารณท่ีเชื่อถือได และการวิจารณแสดงความคิดเห็นที่จะ
ทาํ ไดอยางมเี หตมุ ีผลนา เช่อื ถอื น้นั ผรู บั สารจะตองรูหลกั เกณฑก ารวจิ ารณแสดงความคิดเห็นตาม
ชนิดของสาร เพราะสารแตละชนิด ยอมมีองคประกอบเฉพาะตัว เชน ถาเปนขาวตองพิจารณา
ความถูกตองตามความเปนจริง แตถาเปนละครจะดูความสมจริง และพิจารณาโครงเร่ือง
4
เนื้อเรอื่ ง ฉาก ตวั ละคร ภาษาทใ่ี ช บทบาทการแสดง ฯลฯ นอกจากรูหลักเกณฑแลวจะตองอาศัย
การฝก ฝนบอย ๆ และอานตัวอยา งงานวิจารณของผอู ่นื ที่เชี่ยวชาญใหม าก ก็จะชวยใหการวิจารณ
ดีมีเหตุผลและนา เช่ือถอื
หลกั การวิจารณแ ละแสดงความคดิ เห็นสารประเภทตาง ๆ
สารทไ่ี ดรับจากการฟงมมี ากมาย แตท ีไ่ ดรับเปนประจําในชีวิตประจาํ วนั ไดแ ก
1. ขา วและสารประชาสัมพันธ
2. ละคร
3. การสนทนา คาํ สัมภาษณบ ุคคล
4. คําปราศรยั คําบรรยาย คาํ กลาวอภิปราย คําใหโ อวาท
5. งานประพันธรอ ยกรองประเภทตา ง ๆ
หลักเกณฑการวิจารณสารทีไ่ ดรับตามชนดิ ของสาร
1. ขาวและสารประชาสัมพันธ สารประเภทน้ีผูรับสารจะไดรับจากการฟงและการดู
วิทยุ โทรทศั น ซ่งึ จะเสนอขาวจากหนวยงานประชาสัมพันธของภาครัฐและเอกชน รูปแบบของ
การเสนอขาว โดยทว่ั ไปจะประกอบดวย หัวขอขาว เนอ้ื และสรปุ ขา ว โดยจะเร่มิ ตนดว ย หัวขอขาว
ท่ีสําคัญ แลวถึงจะเสนอรายละเอียดของขาวและตอนทายกอนจบ จะสรุปขาว หรือบางคร้ังจะ
เสนอลกั ษณะการสรปุ ขาวประจําสปั ดาหเ ปนรายการหน่ึงโดยเฉพาะ สวนสารประชาสัมพันธอาจ
มีรูปแบบท่ีแปลกออกไปหลายรูปแบบ เชน เสนอสาระในรูปแบบของขาว ประกาศแจงความหรือ
โฆษณาแบบตาง ๆ ในการวิจารณ ควรพจิ ารณาตามหลกั เกณฑ ดงั นี้
1.1 แหลงขาวท่ีมาของขาวและสารประชาสัมพันธ ผูวิจารณจะตองดูวาแหลง
ของขา วหรอื สารประชาสมั พันธนนั้ มาจากไหนจากหนวยงานใด เปนหนวยงานของรัฐหรือเอกชน
หนว ยงานหรือสถาบันน้นั นา เชื่อถอื มากนอ ยเพยี งใด
1.2 เน้อื หาของขา วและสารประชาสัมพันธ ผรู ับสารตองพจิ ารณาวา สารนั้นมีเน้ือหา
สมบรู ณหรือไม คือ เมอื่ ถามดวยคําถามวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เม่ือไร อยางไรแลวผูฟงสามารถ
หาคําตอบไดค รบถว น และสามารถสรปุ สาระสาํ คัญไดด วย
1.3 พจิ ารณาทบทวนวาเนอ้ื หาของขา วและสารประชาสัมพันธทีน่ าํ เสนอเปนความจริง
ท้งั หมด หรอื มกี ารแสดงความรสู ึก ความคดิ เห็นของผสู ง สารแทรกมาดว ย
1.4 พิจารณาภาษาทใ่ี ชท ัง้ ความถูกตอ งของการใชภาษา ศลิ ปภาษาและดา นวรรณศิลป
5
2. ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟงและดูไดจากละครวิทยุ และโทรทัศน
เสยี เปน สวนใหญ สวนละครเวทีนั้นมีโอกาสไดด ไู ดฟง นอยมาก ซ่ึงหลักการวจิ ารณละครมีแนวทาง
ดังน้ี
2.1 ดคู วามสมจริงของผูแ สดงตามบทบาทท่ีไดรับวา ใชน้ําเสยี งสมจรงิ ตามอารมณ ความรูสึก
ของตัวละครน้ัน ๆ มากนอ ยเพยี งใด
2.2 พิจารณาโครงเร่ือง แกนของเรื่องวา มโี ครงเรอื่ งเปน อยา งไร สรุปสาระสาํ คญั หรอื แกน
ของเรื่องใหไ ด
2.3 ฉากและตัวละคร มฉี ากเหมาะสมสอดคลอ งกับเนื้อเรื่อง เหมาะสมกับบรรยากาศ และ
ตัวละครแตล ะตวั มลี ักษณะเดนหรือใหอ ะไรกับผูฟงและผดู ู
2.4 ภาษาท่ีใชถ ูกตอ งเหมาะสมตามหลกั การใชภาษา ศิลปศกึ ษา และดานวรรณศลิ ป
3. การสนทนาและคําสัมภาษณบุคคล การสนทนาและคําสัมภาษณบุคคลในวิทยุและ
โทรทศั นเปน สารทีไ่ ดฟ ง และดูกนั เปนประจํา ผูรวมสนทนาและใหสัมภาษณก็เปนคนหลากหลาย
ระดับและอาชีพ การสนทนาและการวจิ ารณมีหลกั ในการพจิ ารณา ดงั นี้
3.1 การสนทนาในชีวิตประจําวนั
ก. การสนทนา เปน เรอื่ งอะไรและมสี าระสําคัญวาอยางไร
ข. สาระสําคญั ของการสนทนาท่ีสรุปไดเ ปน ความจรงิ และนาเชอ่ื ถือเพยี งใด
ค. ผูรวมสนทนามีความรแู ละมคี วามสนใจในเร่ืองทสี่ นทนามากนอ ยเพยี งใด
ง. ภาษาทใี่ ชใ นการสนทนามีความถูกตองตามหลักการใชภาษามีความเหมาะสม
และสละสลวย ทาํ ใหเขาใจเรื่องไดชัดเจนเพียงใด ท้ังนํ้าเสียงและลีลาการพูดแฝงเจตนาของผูพูด
และนาฟง หรอื ไม
3.2 คาํ สัมภาษณบ ุคคล
มหี ลกั เกณฑการพิจารณาและวจิ ารณด งั น้ี
ก. ผูส มั ภาษณเ ปนผูม คี วามรแู ละประสบการณในเรอื่ งทส่ี มั ภาษณมากนอ ยเพียงใด
เพราะผูสัมภาษณท่มี คี วามรแู ละประสบการณในเรือ่ งท่จี ะสมั ภาษณเปน อยางดจี ะถามไดส าระ
เนอ้ื เรื่องดี จงึ ตอ งดูความเหมาะสมของผูสัมภาษณก ับเร่ืองท่ีสัมภาษณดวย
ข. ผูใหการสมั ภาษณเ หมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนาที่ อาชีพ
และพิจารณาจากคําตอบท่ีใหสัมภาษณวามีเนื้อหาสาระและตอบโตตรงประเด็นคําถามหรือไม
อยา งไร
6
ค. สาระของคาํ ถามและคาํ ตอบในแตละขอตรงประเด็นหรอื ไม มีสาระเปนประโยชน
ตอ สังคมมากนอยเพยี งใด
ง. ลักษณะของการสัมภาษณ เปน การสมั ภาษณท างวชิ าการ หรือการสัมภาษณ
เพอ่ื ความบันเทงิ เพราะถาเปน การสัมภาษณท างวชิ าการยอ มจะตองใชหลักเกณฑในการพิจารณา
ครบถวน แตห ากเปน การสัมภาษณเพื่อความบนั เทงิ นน้ั งายตอ การวจิ ารณว า ดีหรอื ไมด ี เพราะใช
สามัญสาํ นกึ และประสบการณพ ิจารณากเ็ พียงพอแลว
จ. ภาษาท่ใี ชเ ขาใจงา ยชดั เจน เหมาะสมเพียงใด ผสู มั ภาษณและผใู หสัมภาษณมี
ความจรงิ ใจในการถามและการตอบมากนอยเพยี งใด
4. คําปราศรยั คาํ บรรยาย คํากลาวอภิปราย คาํ ใหโ อวาท
4.1 คําปราศรยั
มีหลักเกณฑการพิจารณาและวจิ ารณ ดังน้ี
ก. สาระสาํ คัญเหมาะสมกบั โอกาสท่ปี ราศรัยหรือไม โดยพจิ ารณาเนอื้ หา สาระ
เวลา และโอกาส วา สอดคลอ งเหมาะสมกนั หรอื ไม
ข . สาระสาํ คัญและความคิดเปนประโยชนตอผฟู งหรอื ไม
ค. ผูกลาวปราศรัยใชภาษาไดดีถูกตอง เหมาะสมสละสลวย คมคายหรือไม อยางไร
4.2 คําบรรยาย
มหี ลกั เกณฑก ารพจิ ารณาและวิจารณด ังน้ี
ก. หัวขอ และเน้ือเร่ืองเหมาะสมกบั สถานการณแ ละผฟู ง มากนอยเพียงใด
ข. สาระสาํ คญั ของเร่ืองทีบ่ รรยายมีประโยชนตอผฟู งและสังคมมสี ่งิ ใดที่นาจะนาํ ไป
ใชใ หเกิดประโยชน
ค. ผูบรรยายมีความรูและประสบการณในเรื่องท่ีบรรยายมากนอ ยเพียงใด
มีความนา เชือ่ ถอื หรอื ไม
ง. ภาษาท่ใี ชในการบรรยาย ถกู ตอ งตามหลักการใชภาษา เขา ใจงา ยชัดเจนหรอื ไม
4.3 คํากลาวอภิปราย
การอภปิ รายเปน วธิ กี ารระดมความคดิ เห็นและแนวทางในการแกป ญ หา ซึ่งเราจะได
ฟงกันเปน ประจาํ โดยเฉพาะจากรายการโทรทศั น การวเิ คราะหว ิจารณควรพจิ ารณาโดยใช
หลักการดังน้ี
ก . ประเด็นปญ หาท่ีจะอภิปราย ขอบขา ยของปญหาเปนอยา งไร
มีขอ บกพรอง
7
อยางไร
ข. ประเดน็ ปญหาท่ีนาํ มาอภปิ ราย นาสนใจมากนอ ยเพียงใดและมคี วามสอด
คลอ งเหมาะสมกบั สถานการณหรอื ไม
ค. ผูอ ภิปรายมีคุณวฒุ ิ ประสบการณมีสว นเก่ยี วขอ งกับประเด็นอภิปราย
อยางไร และมีความนาเช่ือถอื มากนอ ยเพยี งใด
ง. ผูอภิปรายไดศ กึ ษาคนควา และรวบรวมขอมลู ความรูมาช้ีแจงประกอบได
มากนอยเพยี งพอเหมาะสมและนา เช่อื ถอื หรือไม
จ. ผูอภปิ รายรับฟงความคิดเหน็ ของผูรวมอภปิ รายหรือไม มกี ารผกู ขาด
ความคิดและการพูดเพยี งคนเดียวหรือไม
ฉ. ผอู ภิปรายใหข อคิดและแนวทางอยางมีเหตผุ ลมขี อ มูลหลักฐานหรือไม
ใชอ ารมณใ นการพูดอภิปรายหรือไม
ช. ภาษาทีใ่ ชใ นการอภิปรายถูกตอ งตามหลกั การใชภาษา กระชบั รดั กมุ
ชดั เจนเขาใจงา ยหรือไม
ซ. ผฟู งอภิปรายไดศ ึกษารายละเอียดตามหัวขอ อภิปรายมาลว งหนาบา ง
หรือไม หากมีการศกึ ษามาลว งหนา จะทําใหว ิเคราะหวจิ ารณไ ดด ขี ้ึน
อน่ึง เมอ่ื ไดเรยี นรวู ธิ กี ารฟงและการดมู าแลว หลายประการ ควรจะไดรหู ลกั การฟง
และการดทู ดี่ ี พรอ มท้ังคุณสมบัติของผฟู งและผูดูที่ดี
หลักการฟงและการดทู ด่ี ี
มีหลกั การดังนี้
1. ฟงและดูใหต รงตามความมุงหมาย การฟง แตละครง้ั จะตอ งมจี ดุ มุง หมายในการฟงและ
การดู ซึ่งอาจจะมจี ุดมุงหมายอยางใดอยา งหนึ่งโดยเฉพาะหรือมีจุดมงุ หมายหลายอยา งพรอ มกนั
8
กไ็ ด จะตองเลอื กฟงและดูใหต รงกับจุดมุงหมายทีไ่ ดตงั้ ไวแ ละพยายามที่จะใหการฟง และการดู
แตล ะคร้ังไดรับผลตามจุดมุงหมายท่กี าํ หนด
2. มคี วามพรอมในการฟง และการดู การฟงและการดจู ะไดผลจะตอ งมีความพรอมท้งั
รางกายจิตใจและสตปิ ญญา คอื ตอ งมีสขุ ภาพดที ง้ั รางกาย และจิตใจไมเหนด็ เหนื่อยไมเจ็บปวย
และไมมีจิตใจเศราหมอง กระวนกระวายการฟงและการดูจึงจะไดผลดี และตองมีพื้นฐานความรู
ในเรอ่ื งนนั้ ดีพอสมควร หากไมมพี ื้นฐานทางความรู สติปญ ญาก็ยอมจะฟง และดูไมร ูเรอ่ื งและ
ไมเ ขาใจ
3. มีสมาธใิ นการฟง และการดู ถา หากไมมสี มาธิ ขาดความตัง้ ใจยอ มจะฟงและดูไมรูเรื่อง
การรับรูและเขาใจจะไมเกิด ดังน้ันจะตองมีความสนใจ มีความต้ังใจและมีสมาธิในการฟงและ
การดู
4. มีความกระตือรือรน ผูที่มองเห็นคณุ คาและประโยชนของเรอ่ื งนั้นมีความพรอมท่ีจะรบั รู
และทําความเขาใจจากการฟง และการดนู น้ั ยอมมปี ระสทิ ธภิ าพในการฟง และการดสู งู
5. ฟง และดูโดยไมม อี คติ ในการฟงจะตอ งทาํ ใจเปนกลางไมม อี คติตอ ผูพดู ตอเรอื่ งท่ีพดู
หากไมชอบเรอื่ ง ไมศรทั ธาผูพดู กจ็ ะทาํ ใหไ มพ รอ มท่ีจะรบั รแู ละเขา ใจในเร่ืองน้ัน จะทาํ ใหก ารฟ
งและการดูไมป ระสบผลสําเร็จ
6. การจดบันทึกและสรุปสาระสําคัญ ในการฟงและการดูเพือ่ ความรมู คี วามจาํ เปน ทตี่ อ ง
บนั ทึกสรปุ สาระสาํ คัญท่ีจะนาํ ไปใชนําไปปฏิบตั ิ
คณุ สมบตั ขิ องผฟู ง และดูท่ีดี ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
1. สามารถปฏิบัติตามหลักการฟงและการดูที่ดีได โดยมีจุดมุงหมาย มีความพรอมใน
การฟงและการดูมีความต้ังใจและกระตือรือรน ไมมีอคติและรูจักสรุปสาระสําคัญของเร่ืองท่ีฟ
งและดูนัน้ ได
2. รจู ักเลือกฟง และดูในสงิ่ ท่เี ปน ประโยชน การเลือกฟงและดูในเรื่องที่จะเปนประโยชนต
ออาชีพ ชีวิตความเปน อยแู ละความรับผดิ ชอบในสังคม แลวเลือกนําไปใชใหเกิดประโยชนในการ
พฒั นาอาชพี พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และพัฒนาสังคม
3. มีมารยาทในการฟงและการดู มารยาทในการฟงและการดูเปนสิ่งท่ีจะชวยสราง
บรรยากาศที่ดีในการฟงและการดู เปนมารยาทของการอยูรวมกันในสังคมอยางหน่ึง หากผูฟ
งและดไู มม มี ารยาท การอยรู ว มกันในขณะทฟี่ ง และดู ยอ มไมปกติสุข มีบรรยากาศท่ีไมเหมาะสม
และไมเ ออ้ื ตอ ความสําเรจ็ ตวั อยางเชน ขณะที่ฟงและดกู ารบรรยายถามีใครพูดคุยกันเสียงดังหรือ
กระทําการท่สี รา งความไมสงบรบกวนผูอนื่ บรรยากาศในการฟงและการดูนั้นยอมไมดี เกิดความ
9
รําคาญตอเพือ่ นทน่ี ัง่ อยใู กลจ ะไดร บั การตาํ หนิวา ไมมมี ารยาท ขาดสมบตั ิผดู ี แตถาเปนผูมีมารยาท
ยอมไดรับการยกยองจากบุคคลอ่ืน ทําใหการรับสารดวยการฟงและการดูประสบความสําเร็จ
โดยงา ย และมารยาทในการฟงและการดูน้นั ยงั มีเนอ้ื หารายละเอียดที่ตองศึกษาเปนการเฉพาะใน
โอกาสตอไป
เร่อื งท่ี 3 มารยาทในการฟง และการดู
การฟงและการดูจะสัมฤทธผ์ิ ลน้ัน ผูฟ ง ตอ งคาํ นึงถงึ มารยาทในสงั คมดวยย่ิงเปน การฟง และ
การดูในท่ีสาธารณะยิ่งตองรักษามารยาทอยางเครงครัด เพราะมารยาทเปนเคร่ืองกํากับ
พฤติกรรมของคนในสังคม ควบคุมใหคนในสังคมประพฤติตนใหเรียบรอยงดงาม อันแสดงถึง
ความเปน ผดู แี ละเปนคนท่ีพัฒนาแลว
การฟงและการดใู นโอกาสตา ง ๆ เปนพฤตกิ รรมทางสังคม ยกเวน การฟงและการดูจากสื่อ
ตามลําพงั แตใ นบางครั้งการฟง และการดบู ทเรยี นจากสอ่ื ทางไกลก็มีการฟงและการดกู นั เปน กลุม
รวมกับบคุ คลอน่ื ดว ย จําเปนตอ งรักษามารยาท เพือ่ มใิ หเปน การรบกวนสมาธิของผูอ่ืนการรักษา
มารยาทในขณะที่ฟง และดเู ปนการแสดงถึงการมีสัมมาคารวะตอผูพูดหรือผูแสดง หรือตอเพื่อน
ผฟู งดวยกนั ตอสถานที่ผมู มี ารยาทยงั จะไดร บั ยกยอ งวาเปนผมู วี ฒั นธรรมดีงามอีกดวย
มารยาทในการฟง และการดูในโอกาสตา ง ๆ มีดงั นี้
1.การฟงและการดเู ฉพาะหนา ผูใหญ
เมื่อฟงและดูเฉพาะหนาผูใหญไมวาจะอยูแตลําพังหรือมีผูอื่นรวมอยูดวยก็ตาม จะตอง
สํารวมกิริยาอาการใหความสนใจดวยการสบตากับผูพูด ผูที่ส่ือสารใหกันและกันทราบ ถาเปน
การสนทนาไมควรชิงพูดกอนท่ีคูสนทนาจะพูดจบ หรือถามีปญหาขอสงสัยจะถาม ควรใหผูพูด
จบกระแสความกอ นแลว จึงถาม หากมีเพือ่ นรว มฟง และดอู ยดู วยตองไมกระทาํ การใดอันจะ
เปนการรบกวนผอู ื่น
2. การฟง และการดูในที่ประชุม
การประชุมจะมีประธานในที่ประชุมเปนผูนําและควบคุมใหการประชุมดําเนินไปดวยดี
ผูเขารวมประชุมตองใหความเคารพตอประธาน ในขณะที่ผูอ่ืนพูด เราตองตั้งใจฟงและดู หากมี
สาระสําคัญก็อาจจดบันทึกไวเพ่ือจะไดนําไปปฏิบัติ หรือเปนขอมูลในการอภิปรายแสดงความ
คิดเห็น ไมควรพูดกระซิบกับคนขางเคียง ไมควรพูดแซงขึ้น หรือแสดงความไมพอใจใหเห็น
ควรฟง และดูจนจบแลว จงึ ใหสัญญาณขออนุญาตพูดดวยการยกมือ หรือขออนุญาต ไมควรทํากิจ
ธุระสว นตวั และสง่ิ อ่นื ใดท่ีจะเปนการรบกวนทป่ี ระชุม
10
3.การฟงและการดูในทีส่ าธารณะ
การฟงและการดูในที่สาธารณะเปนการฟงและการดูท่ีมีคนจํานวนมากในสถานที่ท่ีเปน
หองโถง กวา ง และในสถานทท่ี ่เี ปน ลานกวาง อาจจะมีหลังคาหรือไมมีก็ได ขณะที่ฟงและดูไมควร
กระทําการใด ๆ ที่จะกอความรําคาญ สรางความวุนวายใหแกบุคคลท่ีชมหรือฟงรวมอยูดวย
ขอ ควรระวัง มดี งั น้ี
3.1. รกั ษาความสงบ ไมใชเสียงพูดคุยและกระทําการใด ๆ ที่เปนเร่ืองรบกวน ผู
อื่นและไมค วรนําเดก็ เล็ก ๆ ทไ่ี รเ ดยี งสาเขาไปดูหรือฟงดวยเพราะอาจจะรองหรือทําเสียงรบกวน
ผอู ่นื ได
3.2. ไมควรนาํ อาหารของขบเคยี้ ว ของทมี่ กี ล่นิ แรงเขา ไปในสถานทนี่ น้ั เพราะเวลา
แกห อ อาหาร รับประทานของขบเคีย้ วก็จะเกิดเสยี งดงั รบกวนผูอ่ืนและของท่มี ีกลิ่นแรงก็จะสงกลิ่น
รบกวนผูอื่นดวย
3.3. ไมเดนิ เขาออกบอย เพราะในสถานท่ีน้นั จะมดื เวลาเดนิ อาจจะเหยยี บ หรือ
เบียดผูร ว มฟงดวย หากจําเปนควรเลอื กที่นง่ั ท่ีสะดวกตอการเดนิ เขาออก เชน นัง่ ใกลท างเดิน
เปน ตน
3.4. ไมควรแสดงกิริยาอาการท่ีไมเ หมาะไมควรระหวางเพอ่ื นตางเพศในโรงมหรสพ
เพราะเปน เร่อื งสว นบคุ คลขัดตอ วัฒนธรรมประเพณีไทย
3.5. ไมควรสงเสียงดังเกนิ ไปเมอ่ื ชอบใจเปนพเิ ศษในเรอื่ งทดี่ หู รอื ฟง เชน ถึงตอนท่ี
ชอบใจเปน พิเศษกจ็ ะหวั เราะเสยี งดัง ปรบมือหรอื เปาปาก ซ่งึ จะเปนการสรา งความราํ คาญและ
รบกวนผอู ื่น
3.6. ไมแ สดงอาการกิริยาที่ไมส มควร เชน การโยกตัว การเตน และแสดงทา ทาง
ตาง ๆ เกนิ พอดี
กิจกรรมที่ 1
ใหผูเรยี นฝก ปฏบิ ตั ติ ามลักษณะการฟงท่ดี ีในโอกาสท่เี หมาะสม เชน การฟง รายงานกลุม
การฟงพระเทศนแ ลว นํามาอภิปรายกนั ในกลุมทง้ั ผูเ ปนวิทยากรผูรว มฟง และเนื้อหาตามหัวขอท่ี
ผูเรยี นนาํ เสนอและตกลงกันในกลุม
กิจกรรมท่ี 2
1.จงสรปุ มารยาทในการฟง และดูวามอี ะไรบาง
2.ใหผ ูเ รียนฝกปฏิบตั ิตามมารยาทในการฟงและดโู ดยแบงกลุมจดั กิจกรรมในหอ งเรียน
การนําความรจู ากการฟงและการดูไปใช
11
การฟง และการดเู ปนการรบั สารทางหนง่ึ ทีเ่ ราสามารถจะรับรูเร่ืองราวตา ง ๆ ไดเ ปนอยางดี
และละเอียด เพราะไดฟงเร่ืองราวจากเสียงพูดและยังไดมองเห็นภาพเรื่องราวเหตุการณและ
วัตถุส่ิงของตลอดทั้งกริยาอาการตาง ๆ อีกดวย สิ่งท่ีไดรับจากการฟงและการดูจึงเปนขอมูล
ความรูท่คี อ นขางจะละเอียดลึกซงึ้ จงึ สามารถทจี่ ะนําไปใชใ นชวี ิตประจําวนั ไดอยา งดี เชน
1. ใชถายทอดความรูเรื่องราวดวยการพูด การอานและการเขียน เชน การรายงาน
การบรรยาย การบอกกลา วเลาเรือ่ ง การอานขา ว อานประกาศ บทความ และการเขียนบทความ
เขียนเรื่องยอ เรียงความ จดหมาย ฯลฯ เพ่ือถายทอดเร่ืองราวท่ีไดฟงและดู ตลอดท้ังการเห็น
ตัวอยา งในการถา ยทอดดว ยวธิ ตี าง ๆ มาใชในการถา ยทอดไดอกี ดว ย
2. ใชใ นการวเิ คราะห วจิ ารณ แสดงความคดิ เห็น การฟง และการดูจะชวยใหเราไดความรู
ไดขอมูล ขอเท็จจริง หลักฐาน เหตุผล ตัวอยางแนวคิดที่จะใชประกอบการวิเคราะห วิจารณ
แสดงความคิดเหน็ ตอท่ีประชมุ ตอสาธารณชนดวย การพูด การเขยี นไดเปนอยา งดี
3. ใชใ นการแกปญ หา การแกป ญหาทกุ ประเภท ทุกปญ หาจะสาํ เรจ็ ลุลวงไปดว ยดี จะตอง
อาศัยความรู ประสบการณ แนวทางแกปญหาอ่ืนที่เคยแกไขมาแลวและขอมูลทางวิชาการ
ประกอบในการตดั สินใจ เลือกวธิ ีแกป ญ หาที่เกิดขนึ้ จงึ จะสามารถแกป ญ หาไดสาํ เร็จดวยดี
4. ใชในการประกอบอาชีพ การไดฟ ง ไดเห็นตัวอยา งเรอื่ งราวตาง ๆ จะทําใหไดรับความรู
และขอมูลเก่ียวกับอาชีพตาง ๆ จะทําใหเรามองเห็นชองทางการประกอบอาชีพชวยใหตัดสินใจ
ประกอบอาชพี และยงั เปนขอมลู ทจ่ี ะสงเสรมิ ใหบคุ คลท่ีมอี าชีพอยูแลว ไดพ ฒั นาอาชีพของตนเอง
ใหเ จริญกาวหนาอีกดวย
5. ใชในการศึกษาเลาเรียน นักเรียน ผูเรียน ที่กําลังศึกษาอยูยอมสามารถนําความรู
ประสบการณจากการฟงและการดูมาชวยใหมีความรูความเขาใจในวิชาที่เรียนทําใหการเรียน
ประสบความสําเร็จตามความตอ งการของตนเอง
6. ใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินชีวิตในสังคม ความรูที่ไดจากการฟงและการดูจะสามารถ
นําไปใชเปนแนวปฏิบัติของแตละคนท้ังในดานสุขภาพอนามัย การปฏิบัติตนในสังคมเก่ียวกับ
วัฒนธรรมประเพณี การกินอยูหลับนอน การอยูรวมกันในสังคมอยางเปนสุข ท้ังหมดเปนเรื่อง
ท่ีจะตองศึกษาหาความรูดูตัวอยาง ดูแนวปฏิบัติระเบียบ กฎเกณฑของสังคมดวยการฟงและ
การดทู ั้งสน้ิ
ที่กลาวมาเปนสวนหนึ่งยังมีอีกมากมายหลายอยางที่เราตองนําความรูจากการฟงและ
การดไู ปใชในการดาํ เนนิ ชวี ิต
12
กิจกรรมทา ยบทที่ 1
กจิ กรรมที่ 1 ใหแ บง กลุม ผเู รียนสรปุ หลกั การเลอื กสือ่ ในการฟงและการดู กลมุ นาํ เสนอ จากน้ัน
ผสู อนสรปุ เพิ่มเติม และผแู ทนผเู รยี นจดบันทกึ (รวม 3 คะแนน)
กิจกรรมที่ 2 แบงกลมุ ผเู รียนฟง เรอื่ ง “เสนอรัฐออกกฎหมายหา มดื่มสุราทีส่ าธารณะ”
จากการฟง ของผเู รยี นคนฟงและทาํ กิจกรรมกลมุ ดงั นี้ (รวม 7 คะแนน)
1. วิจารณความสมเหตุสมผล และความเปนไปไดของเรอื่ งน้ี (3 คะแนน)
2. วเิ คราะหค วามคิดเห็นและขอ เทจ็ จรงิ ของเรือ่ งโดยครผู สู อนถามแตล ะกลุม และ
ครูผสู อนสรุปสาระสําคญั ในขอ 1 และ 2 (4 คะแนน)
กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รียนเขยี น “การปฏิบตั ติ น เปนผูมีมารยาทในการฟงและด”ู เปน งาน
รายบุคคลและสง ครผู สู อน (3 คะแนน)
13
บทท่ี 2
การพดู
เร่ืองที่ 1 มารยาทในการพดู
1. ใชคาํ พูดสภุ าพเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลใหเ กียรตกิ ับผทู ่ีเราพดู ดว ย รจู กั ใช
คาํ ท่แี สดงถึงความมมี ารยาท เชน คําขอบคุณ ขอบใจ เมื่อผอู น่ื ทาํ คณุ ตอ เรา และกลา วขอโทษ
ขออภยั เสยี ใจ ในโอกาสทก่ี ระทาํ การลว งเกนิ ผูอ ่นื
2. ไมพูดจาเยาะเยย ถากถาง ดูหมิ่นเหยียดหยาม เสยี ดสีผอู ื่น ไมพ ดู จายกตนขมทา น
พดู ชี้จดุ บกพรอง หรอื ปมดอ ยของผูอนื่ ใหเ กิดความอับอาย
3. ไมผ ูกขาดการพดู และความคิดแตเพยี งผูเดยี ว ใหโอกาสผอู ่ืนไดพดู บา ง ไมพูดตัดบท
ในระหวางผูอืน่ กาํ ลงั พดู ควรคอยใหผูอ น่ื พูดจนหมดกระบวนความแลว จึงพูดตอ
4. เมอ่ื จะพดู คดั คานหรือโตแยง ควรจะเหมาะสมกบั โอกาสและมเี หตผุ ลเพยี งพอไมใ ช
อารมณควรใชค าํ พูดที่นมุ นวล ไมใหเสยี บรรยากาศของการพูดคุยกัน
5. การพูดเพ่อื สรา งบรรยากาศ ใหเกิดอารมณข ัน ควรจะเปนเรอื่ งตลกขบขันที่สุภาพ
ไมหยาบโลนหรอื พูดลกั ษณะสองแงส ามงาม
6. ไมพดู ติเตียน กลา วหาหรือนนิ ทาผูอ่ืนตอ หนาชมุ ชน หรือในขณะทผ่ี ทู เ่ี ราพูดถึงไมไ ด
อยูด วย
7. ควรพูดดวยนาํ้ เสียงนมุ นวลชวนฟง ไมใชนํ้าเสียงหวน ๆ หรอื ดดุ ันวางอํานาจเหนือผูฟง
รูจักใชค ํา คะ ครับ นะคะ นะครบั หนอ ย เถิด จะ นะ เสริมการพูดใหสุภาพไพเราะนาฟง
เรื่องท่ี 2 ลักษณะการพดู ทด่ี ี
การพดู
การพดู เปนการส่อื สารอกี ประเภทหน่ึงท่ใี ชก นั อยใู นชีวติ ประจาํ วัน ในการพดู ควรตระหนัก
ถงึ วฒั นธรรมในการใชภาษา คือ ตอ งเปนผมู มี ารยาทในการพูด มคี ณุ ธรรมในการพดู และปฏบิ ตั ิ
ตามลกั ษณะการพูดท่ดี ี จงึ จะสอ่ื กบั ผฟู ง ไดต ามที่ตองการ
การพดู ของแตละบุคคลในแตละครงั้ จะดหี รือไมด อี ยางไรนั้น เรามีเกณฑท จ่ี ะพิจารณา
ถา เปน การพดู ที่ดจี ะมลี กั ษณะดงั ตอ ไปน้ี
1. ตอ งมีเนอ้ื หาดี เนือ้ หาทด่ี ีตองตรงตามจดุ มุงหมายของผูพดู พูดเพือ่ อะไร เพอื่ ความรู
ความคดิ เพื่อความบนั เทงิ เพ่อื จูงใจโนม นา วใจ เนอื้ หาจะตองตรงตามเจตนารมณของผูพ ูดและ
14
เนือ้ หานนั้ ตอ งมคี วามยากงา ยเหมาะกบั ผูฟง มกี ารลาํ ดบั เหตุการณ ความคิดที่ดีมีระเบียบ
ไมว กวน จงึ จะเรยี กวามีเนือ้ หาดี
2. ตองมีวิธีการถายทอดดี ผูพูดจะตองมีวิธีการถายทอดความรูความคิดหรือส่ิงที่
ตอ งการถา ยทอดใหผ ฟู งเขาใจงายเกิดความเชอ่ื ถือ และประทับใจ ผูพูดตองมีศิลปะในการใชถอย
คําภาษาและการใชน าํ้ เสียง มกี ารแสดงกิริยาทาทางประกอบในการแสดงออกทางสีหนา แววตา
ไดอยา งสอดคลอ งเหมาะสม การพูดจึงจะเกิดประสิทธผิ ล
3. มีบคุ ลกิ ภาพดี ผูพดู จะตอ งแสดงออกทางกายและทางใจไดเหมาะสมกบั โอกาสของ
การพูด อันประกอบดวย รูปรางหนาตา ซ่ึงเราไมสามารถที่จะปรับเปลี่ยนอะไรไดมากนัก แตก็
ตอ งทําใหด ูดที ส่ี ดุ การแตงกายและกรยิ าทา ทาง ในสวนนเี้ ราสามารถท่จี ะสรางภาพใหดีไดไมยาก
จงึ เปน สวนท่จี ะชว ยในการสรา งบุคลกิ ภาพที่ดไี ดมาก สวนทางจิตใจน้ันเราตองสรางความเชื่อมั่น
ในตัวเองใหสูง มีความจริงใจและมคี วามคิดริเริ่ม ผูพ ูดทมี่ บี ุคลกิ ภาพท่ีดี จงึ ดงึ ดูดใจใหผูฟงเชื่อมั่น
ศรทั ธาและประทับใจไดงา ย การสรางบุคลกิ ภาพทดี่ ีเปน คุณลกั ษณะสาํ คัญอยา งหนึง่ ของการพูด
การพูดที่ใชส่ือสารในชีวิตประจําวันน้ันมีลักษณะแตกตางกัน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับโอกาส
สถานท่ี กาลเทศะและบคุ คลที่เราพดู ถาพดู เปน ทางการ เชน การพูดในท่ปี ระชุม สมั มนา
การพูดรายงานความกาวหนาของการปฏิบัติงานใหผูบังคับบัญชาทราบ ผูพูดยอมตองใชภาษา
ลักษณะหน่ึง แตในโอกาสท่ีไมเปนทางการ เชน การพูดในวงสนทนาของเพ่ือนท่ีสนิทสนมกัน
การพูดใหค ําปรึกษาของครู กศน. กบั ผูเรียน ผูนําหมูบานช้ีแจงรายละเอียดของการประชุมใหคน
ในชุมชนทราบ ก็ยอมจะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง หรือถาเราพูดกับบุคคลที่รูจักคุนเคยกันมาเปน
อยางดีก็ใชภาษาพูดลักษณะหน่ึง แตถาพูดกับบุคคลที่เราเพิ่งรูจักยังไมคุนเคยก็จะใชภาษาอีก
ลักษณะหน่งึ
การพูดทด่ี ี อาจแบงไดเ ปน 3 ลักษณะคอื
1. การพดู แบบเปนทางการ เปนการพูดทผี่ พู ูดจะตองระมดั ระวงั ในเรอื่ งของรปู แบบ
วิธีการ ความถูกตอ งเหมาะสมของการใชถอยคํา การพดู ลักษณะนี้จะใชใ นโอกาสที่เปน พิธีการ
มีรปู แบบวิธีการและขัน้ ตอนในการพดู เปนการพูดในทีป่ ระชมุ ท่มี รี ะเบียบวาระ การกลาวตอนรับ
การกลาวตอบ การกลาวอวยพร การกลา วใหโอวาท การแสดงปาฐกถา เปน ตน
2. การพดู แบบก่ึงทางการ เปนการพูดท่ีผพู ดู ตอ งพถิ ีพิถันในการใชถอ ยคาํ นอ ยลงกวา
ลกั ษณะการพดู แบบเปน ทางการ จะใชในการสนทนาพูดคยุ กันระหวางผูท่ียงั ไมค ุนเคยสนิทสนม
กันมากนกั หรอื ในกลมุ ของบุคคลตา งเพศ ตา งวัยกัน การพดู ในท่ีชมุ ชนก็จะมกี ารใชก ารพดู
ในลกั ษณะนดี้ ว ย เชน การแนะนําบุคคลในท่ีประชมุ การพูดอภิปราย การแนะนาํ วิทยากรบุคคล
สาํ คญั เหลา น้ี เปนตน
15
3. การพดู แบบไมเ ปนทางการ เปนการพดู ทใ่ี ชสอ่ื สารกับผทู เี่ ราสนิทสนมคนุ เคยกันมาก ๆ
เชน การพดู คยุ กันของสมาชกิ ในครอบครวั การพูดกันในกลมุ ของเพ่ือนสนิท หรือพดู กบั กลุมคน
ที่เปนกันเอง การพูดในลักษณะน้จี ะใชก นั มากในชวี ิตประจาํ วนั
เร่อื งที่ 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ
การแนะนาํ ตนเอง
การแนะนําตนเองมีความจําเปน และมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตประจําวันของคนเรา
เปน อยางยิ่งเพราะในแตละวันเราจะมีโอกาสพบปะสังสรรค ติดตอประสานงานกับบุคคลอื่น ๆ
อยเู สมอ การแนะนาํ สรางความรจู กั คุนเคยกันจึงตองเกิดข้ึนเสมอ แตการแนะนําดวยการบอกชื่อ
สถานภาพอยางตรงไปตรงมาเปน ธรรมเนยี มของชาวตะวนั ตก
สวนคนไทยนิยมใชการแนะนําดวยการใหความชวยเหลือใหบริการเปนเบ้ืองตน เชน
หยิบของใหรินนา้ํ ตักอาหาร เมื่อมีโอกาสอันควรก็จะทักทายปราศรัยและเริ่มการสนทนาในเร่ือง
ที่เหน็ วา จะพูดคุยกนั ได แตก ็มบี างครงั้ บางโอกาสที่ฝา ยใดฝา ยหน่งึ ไมยอมรบั รูแสดงอาการเฉยเมย
ไมตอบสนอง จนทําใหอีกฝายหน่ึงอึดอัดเกอเขินหมดความพยายามผลสุดทายก็เลิกราไป
ซ่ึงเหตุการณลักษณะนี้เปนสภาพการณที่ไมพึงปรารถนา และคงไมมีใครตองการใหเกิดข้ึนกับ
ตัวเอง ดงั น้นั ผเู รียนจงึ ตองเขาใจและฝก ฝนการแนะนําตนเองเพราะเปน ส่งิ ที่มีประโยชน
ตอการดาํ เนินชีวิตและจําเปนตอ งใชใ นชวี ติ ประจําวนั
มีแนวทางการแนะนําตนเอง ดงั นี้
1. สรางเหตุของความคุนเคย กอนที่จะแนะนําตัวมักจะมีการหาจุดเริ่มตนของการ
แนะนําตัวดวยการสนทนาสั้น ๆ หรือทักทายดวยถอยคําท่ีจะนําไปสูความคุนเคย เชน วันแรก
ของการพบกลุมของผูเรียน เมื่อผูเรียนมาแตเชามีเพ่ือนใหมมาคอยอยูคนเดียวหรือสองคน
อาจจะมีผูเรียนคนใดคนหนึ่งกลาวปรารภขึ้นมา “ดิฉันก็นึกวาจะไมมีเพื่อน เดินเขามาครั้งแรก
มองไมเหน็ มใี ครเลย” ตอจากนน้ั กจ็ ะมีการสนทนากันตอ อกี เลก็ นอย เม่อื เกดิ ความรูสึกคุน เคย
มมี ิตรไมตรตี อ กันก็จะมกี ารแนะนาํ ตัวใหรจู กั ซ่ึงกนั และกนั ตอไป
ในบางครั้งอาจจะมีการทักทายดวยคําถามที่เหมาะสมกับเหตุการณ เชน ในเหตุการณ
ที่กลาวมา คือ ผูเรียนมาพบกัน ณ สถานท่ีพบกลุมเปนวันแรกนั้นคนท่ีมาถึงกอนอาจจะถาม
ข้ึนกอนวา“เพง่ิ มาถึงหรือคะ”“หรอื มาคนเดียวหรือคะ”หรือไมค นท่ีมาทหี ลังอาจจะถามข้ึนกอนวา
“มาถงึ นานหรอื ยงั ครบั ” หรือ “ยังไมม ใี ครมาเลยหรือครับ” แลวอีกฝายหนึ่งก็จะตอบคําถามแลว
ก็มีการสนทนาซักถามกันตอจนเกดิ ความรสู กึ คุนเคยแลว จงึ มีการแนะนาํ ตัวใหร จู กั ซง่ึ กันและกัน
ตอ ไป
16
2. บอกชอ่ื สกลุ และขอมูลที่สาํ คญั เมือ่ ทกั ทายหรือกลา วในเชิงปรารภ จนรูสึกวาเพ่ือน
ใหมหรอื คูสนทนามอี ธั ยาศยั ไมตรีที่ดีบางแลวก็อาจจะมีผูหน่ึงผูใดเปนฝายแนะนําตนเองดวยการ
บอกช่ือ ชื่อสกุลและขอมูลที่สําคัญตอเนื่อง เชน กลาวขึ้นวา “ผมณัฐสุชน คนเยี่ยม มาพบกลุม
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายกลุมอาจารยสุภรณครับ” เพื่อนท่ีสนทนาดวยก็จะแนะนําตนเอง
ตามมาวา “ดิฉัน สุวิมล นนทวัฒนาคะ มาพบกลุมระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเหมือนกันคะ
แตอยกู ลมุ อาจารยนพรตั นคะ เรียนแผนการเรยี น ก. คะ” จากนน้ั กจ็ ะมีการสนทนากันตอในเรื่อง
การเรียนหรอื เรื่องอน่ื ๆ ทมี่ ีความสนใจตรงกันตอ ไปอกี
จะเห็นไดวา การแนะนําตนเองในการพบปะสนทนากันในที่สาธารณะตามปกติท่ัวไป
มักจะมีการสรางเหตุของความคุนเคยดวยการสนทนาซักถามกันเล็ก ๆ นอย ๆ กอน แลวจึงจะ
มีการแนะนําตนเองมิใชเร่ิมแรกก็จะแนะนําตนเองข้ึนมา บางคร้ังอาจจะไมมีการตอบสนองจาก
อีกฝายหน่งึ ได จงึ ควรคํานงึ ถึงเรื่องน้ีดวย
กิจกรรมท่ี 1
1. ใหผเู รยี นจบั คูกับเพือ่ นในกลุม แลวสมมติสถานการณวาทั้งคูพบกันบนรถประจําทาง
หรือท่ีสถานีอนามัยประจําตําบลหรือสถานที่อ่ืน ๆ ท่ีเห็นวาเหมาะสม ฝกทักทายปราศรัยกัน
และกันใหเ พื่อนผูเรยี นในกลุมฟง แลวใหเพ่ือนชวยวิจารณการใชภาษาและการสรางบรรยากาศวา
ถกู ตองเหมาะสมเพียงใด
2. ใหผ เู รียนแนะนําตนเองในวันพบกลุมคร้ังแรกหรือเม่ือมีโอกาสไปรวมประชุมกลุมยอย
ในวชิ าตาง ๆ และยังไมรูจักกับเพื่อนในกลุมโดยใหปฏิบัติตามหลักการและวิธีการแนะนําตนเอง
ทเ่ี รียนมาแลว
3. เมื่อมีโอกาสที่จะทักทายปราศรัย หรือแนะนําตนเองใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจริงตาม
หลักการและวิธีการท่ีไดศึกษามาแลวและสังเกตผลหากมีขอบกพรองผิดพลาดใหปรับปรุงแกไข
ใหถ ูกตอง
4. ใหผูเรียนออกมาเลาเหตุการณใดก็ไดหนาหองและใหผูฟงวิจารณในหัวขอเนื้อหา
วิธีการถายทอด และบุคลิกภาพของผูพูดวา เขาหลกั เกณฑในการเปน นักพดู ท่ีดีหรือไม
การพูดตอชมุ ชน
1. เปนวิธีที่สะดวกรวดเร็วที่จะเผยแพรความคิดเห็นของบุคคลตอสาธารณชนไดอยาง
กวางขวาง ความคิดเห็นนีอ้ าจเปน ไดทัง้ ในทางสนับสนุน และคดั คา น
2. เปน วิธกี ารหนึง่ ในการถายทอดวฒั นธรรมการปลูกฝงคณุ ธรรม การเผยแพร
17
ความรู และวิทยาการใหม ๆ สูประชาชน เชน เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมพ้ืนบาน ปาฐกถาธรรม
การเผยแพรความรูทางการเกษตร การอตุ สาหกรรม เปน ตน
3. เปนวิถีทางที่ทําใหมนุษยสามารถชี้แนะการแกปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาการจราจร
ปญ หาทางดานเศรษฐกิจ เปนตน
นอกจากการพูดตอชมุ ชนโดยการประชุมรวมกัน หรือการพูดในท่ีสาธารณะ เชน การหา
เสียง การพูดโฆษณาสินคาตาง ๆ แลว ยังมีการพูดอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเปนการพูดผานส่ือมวลชน
โดยผานทางโทรทัศนหรือวิทยุ ผูเรียนเคยเห็นเคยฟงวิธีการพูดเชนนี้มาบางแลว อาทิ การพูด
สมั ภาษณ การเปนพธิ กี ร การสนทนา การโฆษณา การเลาเร่อื ง เปนตน
การพูดโดยผานสื่อมวลชน จะมีผูฟง หรอื ผชู มทวั่ ประเทศ ผูด าํ เนินรายการจะตองคํานึงถึง
วิธกี ารพดู ดงั น้ี
1. วิธกี ารพูดที่นาสนใจ เรา ใจ สนุกสนาน
2. ภาษาท่ีใชตองสภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล กระชับเขาใจงา ย
3. ใหเกยี รตแิ กผ ทู ่กี ําลังพดู ดว ยหรือผทู ่ีกลาวถึง
4. ไมพดู กาวราว หรอื เสียดสผี อู ่นื
การเตรียมการพูดตอ หนา ชมุ ชน
การพูดตอหนาชุมชนน้ัน ผูฟง สวนมากกต็ ัง้ ความหวงั ไววา จะไดร บั ความรูหรือประโยชน
จากการฟง ผูพูดจึงตองเตรยี มตัวเปน อยา งดี เพราะการเตรียมตวั จะชว ยใหผ พู ูดมคี วามม่ันใจ
กลาที่จะแสดงความคดิ ความเห็น การพดู ดวยความม่ันใจยอ มจะทําใหผฟู ง เกดิ ความเชือ่ ถอื
ประทบั ใจในการพูด
ผพู ดู แตละคนอาจใชว ธิ ีการเตรียมตัวไดตา ง ๆ กนั ดังน้ี
1. การกําหนดจุดมุงหมายของการพูด ผูพูดควรกําหนดใหชัดเจนทั้งจุดมุงหมายทั่วไป
และจุดมุงหมายเฉพาะเร่ือง เชน การใหเลาประสบการณเก่ียวกับการทํางาน จุดมุงหมายท่ัวไป
คือ ใหความรู จุดมงุ หมายเฉพาะ คือ วิธกี ารทํางานและอปุ สรรคตา ง ๆ ท่ีไดพ บ
2. การวิเคราะหผูฟง กอนที่จะพูดทุกคร้ังผูพูดควรจะไดพิจารณาผูฟงอยางละเอียดวา
ผูฟง สว นใหญสนใจหรือชอบเก่ียวกบั เรอ่ื งใด โดยผูพูดควรเตรียมขอมูลและการใชภาษาใหเหมาะ
กับเพศวัย สถานภาพทางสังคม (โสดหรือมีคูสมรสแลว) อาชีพพื้นความรู ความสนใจตลอดจน
ทศั นคติของกลมุ ผฟู ง
3. การกาํ หนดขอบเขตของเร่ืองที่จะพูด ผูพูดตองมีเวลาเตรียมตัวในการพูด ผูพูดจึงควร
พจิ ารณาเร่ืองท่จี ะพูดวา ตนเองมีความรูในเรื่องน้ัน ๆ เพียงใด หากไมมีความรูเพียงพอก็ควรหา
18
ความรเู พ่ิมเตมิ และกําหนดขอบเขตของเรือ่ งใหเหมาะกับผูฟง เชน เปนเด็กเล็ก เปนวัยรุน หรือ
เปนผูใ หญ เปนตน
4. การรวบรวมเน้ือหาทีจ่ ะพดู การพดู ใหผ ูอืน่ ฟง ผูพ ูดตอ งเตรยี มรวบรวมเนอื้ หาใหดี
เพอ่ื ผูฟงจะไดรับประโยชนม ากทส่ี ดุ การรวบรวมเน้ือหาอาจทาํ ไดโ ดยการศึกษาคนควา การไตถ าม
ผรู ู การสมั ภาษณ และอาจใชอุปกรณช วย เพอ่ื ใหผูฟง เขา ใจไดง ายข้นึ
5. การทําเคาโครงลําดบั เรื่องทีจ่ ะพดู เพอ่ื ใหก ารพดู เปน ไปตามลาํ ดับขน้ั ตอนไมส บั สน
ผพู ูดควรทาํ โครงเร่อื ง ลําดับหัวขอ ใหด ี เพ่อื กนั การหลงลมื และชว ยใหเกดิ ความมั่นใจในการพูด
6. การฝก ซอ มการพูด ผูพูดควรหาเวลาฝกซอมการพูดของตนเสียกอน เม่ือถึงเวลาพูด
จะไดพูดดวยความมนั่ ใจ ในการฝก ซอ มนน้ั ควรคาํ นึงถงึ บคุ ลกิ ลักษณะ ทายืนหรือน่ังกิริยาอาการ
การใชเ สยี ง การใชส ายตา ถา มผี ูฟงอาจจะชวยตชิ มการพดู ในขณะฝกซอมได
กจิ กรรมที่ 2
1. ใหผูเรียนฟงการสนทนาทางโทรทัศน รายการที่สนใจและเปนรายการเดียวกัน เชน
รายการสนทนาปญหาบานเมือง รายการตรงประเด็น ฯลฯ เม่ือฟงแลวใหผูเรียนบันทึกการพูด
ของผูดําเนินรายการ และผูรวมสนทนา วามีวิธีการพูดอยางไร ภาษาท่ีใชเหมาะสมหรือไม
มกี ารพูดกาวราวหรือเสียดสีผูอ่ืนบางหรือไม ฯลฯ แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
ในวนั พบกลมุ หรอื ตดั ตอขอ ความจากสอื่ สิ่งพิมพมาอานและใหวิจารณขอความนัน้ ๆ ก็ได
2. ใหผูเ รยี นสังเกตการพดู ใหข าวของบุคคลสาํ คัญและนกั การเมอื งแตละคนทางสถานีวิทยุ
และโทรทัศน แลวพิจารณาวาการใหข าว หรือการแสดงความคดิ เห็นนั้นควรเช่ือหรือไม เพียงใด
เพราะเหตุใด แลวนํามาสนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน เม่ือมีโอกาสพบปะกันหรือในวัน
พบกลุมผูเรียน อาจจะฟงการพูดแสดงทรรศนะของนักการเมืองจากเทปบันทึกเสียงแลวนํามา
สนทนากันกไ็ ด
3. สมมติเหตกุ ารณใหผูเรียนออกมาสนทนากันทางโทรศพั ท ใหเ พ่อื น ๆ วจิ ารณ
การพดู แสดงความคิดเหน็
การพดู แสดงความคิดเห็นเปน ลกั ษณะการพดู ท่ีจะใชใ นการปรกึ ษาหารอื กนั ในกลมุ ยอย
เพ่อื หาแนวทางในการแกปญหา เชน ปญหาการเรียน ปญหาในการดําเนินชีวิต ปญหาของชุมชน
พน้ื ฐาน
การแสดงความคดิ เห็นเปน การใชท ักษะการฟง การอาน การพูดและการคิดใหสัมพันธกัน
ตองอาศัยการฝกฝนใหเกิดความชํานาญ เพราะการพูดแสดงความคิดเห็นตองใช ทั้งความรู
ความคิด เหตุผลหรือหลักการ ทฤษฎีตาง ๆ หลายอยางประกอบกัน ความคิดนั้นจะถูกตอง
19
เหมาะสม มีคุณคานาเช่ือถือ การพูดแสดงความคิดเห็นจึงตองใชความรอบคอบ ใหเหตุผล มีใจ
เปนกลาง บริสุทธ์ิใจ ไมมีอคติ มีการฝกฝนจนเกิดความชํานาญรับผิดชอบในส่ิงท่ีพูด นี่เปนหลัก
ของการพูดแสดงความคดิ เหน็
การพูดในที่ประชมุ
ผูเรียนทราบมาแลว วา การประชุมมีหลายประเภทหลายลกั ษณะทง้ั การประชุมกลุมยอย
การประชุมกลมุ ใหญ การประชมุ เชงิ วิชาการ การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ ฯลฯ แตบุคคลท่ีมีบทบาท
ท่จี ะตองพูดในที่ประชุมที่สําคัญน้ันมีเพียง 2 ฝาย คือ ประธานในท่ีประชุมและผูเขารวมประชุม
บคุ คลท้ัง 2 ฝา ยนีจ้ ะตอ งรูจกั หนา ที่และมารยาทของการพูดในที่ประชุม มิฉะนั้น การประชุมก็จะ
ไมเ รียบรอ ยและไมบรรลุผลตามวัตถุประสงค
ประธานในท่ปี ระชมุ จะตองปฏบิ ตั ติ ามหนาทีแ่ ละมารยาทในการพดู ดงั น้ี
1. แจงใหทราบถึงวัตถุประสงค ปญหาหรือประเด็นที่นาคิดของการประชุมใหสมาชิก
ไดทราบและพิจารณากอ นดําเนินการประชุม
2. พูดตามหัวขอหรือวาระการประชุมอยางสั้น ๆ ไดเน้ือหาสาระและอยาถือโอกาสของ
การเปนประธานผูกขาดการพูดแตเ พยี งผเู ดยี ว
3. ใหโ อกาสแกผ ูเขารวมประชุมแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรี กวางขวางเปนอิสระและ
ทว่ั ถงึ ประธานคอยสรุปความคดิ เหน็ ขอ เสนอตา ง ๆ ใหกระชับ ตรงประเด็นและเปน คนสดุ ทาย
4. ใชคําพูดสรางบรรยากาศท่ีดี มีความเปนกันเองเพ่ือใหผูเขารวมประชุมกลาแสดง
ความคดิ เห็น และเพื่อใหการประชุมเปนไปดว ยความราบรืน่
5. ควบคมุ การประชมุ ใหเปนไปตามระเบียบวาระและรักษาเวลาในการประชุมใหเปนไป
ตามกําหนด หากผูเขารวมประชุมพูดแสดงความคิดเห็นมากจนเกินเวลาหรือพูดไมตรงประเด็น
ประธานตอ งเตอื นใหพ ดู รวบรัดและพูดใหตรงประเด็น
ผเู ขา รวมประชมุ จะตองปฏบิ ตั ติ ามหนาทแ่ี ละมารยาทในการพดู ดังน้ี
1. พูดแสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายอยางมีเหตุผล ยอมรับฟงความคิดเห็นของ
บุคคลอ่ืน พูดดวยใจเปนกลางไมใชอารมณหรือนําความขัดแยงสวนตัวกับผูเขารวมประชุม
มาเกยี่ วของกับการพูดและแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุม
2. เขา ประชมุ ใหต รงเวลาและรกั ษาเวลาในการพูด ตามทปี่ ระธานกําหนดให
3. พูดใหไดใจความ กระชับ และกํากับความคิดใหเปนไปตามขั้นตอนมีการโยง
ความคิดเห็นดวยหรอื ขัดแยง ใหสัมพันธต อเนอื่ งและสอดคลอ ง ไมควรพดู วกวนจนจบั ประเด็นไมได
20
4. ไมควรผกู ขาดการพูดแตผ ูเดียว หรือแสดงความคิดเห็นของตนเองเพื่อแสดงความรอบรู
เมอ่ื เหน็ วา ประเดน็ ใดทม่ี แี นวทางที่ดแี ละถูกตองแลวก็ควรงดเวน การแสดงความคิดเหน็ มิฉะน้นั
จะทาํ ใหผูเขารว มประชุมเกิดความเบ่อื หนาย
5. ควรรักษามารยาทในการพูดในท่ีประชมุ อยา งเชน ใชภาษาสภุ าพ ไมพูดกาวราว มีการ
ขออนุญาตตอ ประธานเมื่อตอ งการพดู ไมแ สดงกริ ิยาที่ไมส ุภาพในทป่ี ระชมุ เปน ตน
กิจกรรมที่ 3
ใหผเู รียนแสดงบทบาทสมมตพิ ดู แสดงความคดิ เห็นในท่ีประชุมตามหวั ขอทคี่ รูกาํ หนด
และบางคนแสดงบทบาทของผูเขา รวมประชุม สรุปทา ยมกี ารอภิปรายรวมกนั ถึงขอ ดี ขอดอย
ตามทแ่ี สดงออก
การพูดรายงาน
การพูดรายงาน หมายถึง การพดู เพอื่ นําเสนอเรอ่ื งราว ขอ มูลขอเทจ็ จรงิ ผลการปฏิบัติงาน
สถานการณ ความกา วหนา ของการดําเนินงานหรือผลของการศกึ ษาคนควาตอกลุม หรือที่ประชุม
เชน การรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการของหนวยงานหรือองคกรที่รับผิดชอบ รายงาน
สถานการณและความกาวหนา ของหนวยงาน รายงานผลการทดลองหรือศึกษาคนควาของผูเรียน
เปนตน การพูดรายงานทผ่ี เู รียนจําเปนตองใชในชีวิตประจําวัน คือ การพูดรายงานผลการทดลอง
และการศึกษาคนควา เพ่ือเสนอตอครูและเพ่ือนในกลุม ซึ่งมักจะเรียกวาการรายงานหนาชั้น
ดังน้นั ผูเ รยี นจะตอ งทราบถงึ หลักและวธิ ีการพดู รายงานพรอมทง้ั หม่ันฝกฝนใหเกิดทกั ษะซงึ่ มีแนว
ปฏิบตั ิดังนี้
1. เรยี บเรยี งเนอื้ หาทีจ่ ะรายงานตามลาํ ดบั ความสาํ คัญไดสาระกระชบั และชดั เจน
2. พิจารณาเน้อื หาใหเ หมาะสมกบั สภาพและพืน้ ฐานความรูข องกลุม ผฟู ง
3. พจิ ารณาเนอ้ื หาที่รายงานใหเ หมาะสมกบั เวลาทีก่ าํ หนด
4. ควรใชภาษาในการเสนอเนอื้ หาใหเหมาะสมกับระดบั ของผฟู ง ใชภาษาท่สี อื่ สารเขาใจ
งาย ไมใชศ พั ทเ ทคนคิ หรือศัพทท างวิชาการทย่ี ากจะทําใหผ ฟู ง ไมเ ขา ใจ
5. มกี ารยกตัวอยา งสถติ ิ เอกสารและอปุ กรณประกอบการรายงานในเนอ้ื หาบางตอน เพ่ือ
ใหผ ฟู งเขาใจงา ยและชดั เจน
6. ควรเปด โอกาสใหผูฟง ไดซกั ถามขอ สงสัย เพอื่ ผรู ายงานจะไดอ ธิบาย
7. หากการรายงานมเี นื้อหาสาระมากเกนิ เวลาท่มี ีอยู ควรมีการพิมพเ อกสารแจกลว งหนา
เพือ่ ผรู ายงานจะไดช ีแ้ จงเฉพาะสว นทีส่ ําคัญเทาน้นั สว นรายละเอียดจะดไู ดจากเอกสาร
21
การพูดบรรยายความรสู กึ
การพดู บรรยายความรูส ึก เปนลักษณะการถายทอดความรู อารมณความรูสึกหรือความ
คดิ เห็นในเรอื่ งใดเรอื่ งหนึง่ โดยผูพดู มีจุดประสงคเ พ่อื โนมนาวใจใหผูฟงคลอยตามหรือเชื่อในเรื่อง
น้ัน ๆ การพูดบรรยายความรูสึกนึกคิดออกมาใหผูฟงเชื่อและเห็นคลอยตามน้ัน จําเปนตองใช
ศิลปะในการพูด ศิลปะในการใชน้ําเสียงและการแสดงกิริยาทาทางประกอบไดอยางเหมาะสม
ตลอดจนการเลือกใชถ อ ยคําในการพดู และการใชก ลวธิ ีในการบรรยายความรูสกึ เชน การพูดแสดง
ความยนิ ดี การพูดแสดงความขอบคุณ การกลา วแสดงความเสียใจ การเลาเหตกุ ารณท ต่ี ืน่ เตน
เราใจ และการพดู ปลอบใจ เปนตน
การพดู อธบิ าย
เปนการพดู ชี้แจงรายละเอียดเปนการพูดอธิบายวธิ ีหน่งึ ที่มจี ดุ ประสงคส าํ คญั เพอ่ื อธบิ าย
หรือช้ีแจงเร่อื งราวตา ง ๆ ทมี่ ผี ตู ดิ ใจสงสัยใหเขา ใจในรายละเอยี ดอยางแจม แจง ชัดเจนทั้งผชู ้แี จง
อาจเปนคน ๆ เดยี วหรอื เปน คณะกไ็ ด และผฟู ง อาจจะเปนคน ๆ เดยี วหรือกลุมคนก็ได การพูด
ช้แี จงรายละเอียดมขี นั้ ตอนและวิธีการ ดังนี้
1. ตอ งศกึ ษาทําความเขา ใจปญหา ขอ สงสยั เหตุการณความตองการและสถานการณ
ของบคุ คล กลุมบคุ คลทจี่ ะช้แี จงเปน อยางดี
2. พูดเทาความถงึ ปญ หา ขอสงสยั ความตองการของผฟู ง คําชีแ้ จงเพื่อเปนหลักฐานที่จะ
นาํ เขาสูก ารช้ีแจงรายละเอยี ด
3. เริ่มชีแ้ จงรายละเอียดหรอื เนือ้ เรื่องที่เปน เหตผุ ลสาํ คัญเปน ขอเท็จจรงิ หรือเปน วธิ ีปฏบิ ัติ
ทถ่ี กู ตองเหมาะสม โดยใชภ าษาใหเหมาะสมกบั กาลเทศะบุคคลและสถานการณในขณะน้ันอธบิ าย
ใหผ ูฟ ง เขาใจในรายละเอยี ดใหแ จม แจง ชัดเจน
4. มกี ารสรุปในสาระสําคัญ แนวปฏบิ ตั หิ รอื ขอ ตกลงใหชัดเจนยิ่งข้ึน
กจิ กรรมท่ี 4
ใหผูเรยี นฝกการพูดบรรยายความรูสกึ ตอ เพื่อนหรอื บุคคลท่ีเกย่ี วของในโอกาสอนั ควร
ซงึ่ อาจจะเปนการพูดแสดงความยินดี แสดงความเสียใจหรอื การพูดเพื่อปลอบใจโดยปฏบิ ัตติ าม
หลักและวธิ กี ารพูดบรรยายความรสู กึ ใหครบถวนแลวใหประเมนิ การพดู ของตนเองดวย
22
การโตวาที
ความหมายและความสาํ คญั ของการโตว าที
การโตว าที คือ การอภปิ รายแบบหนึ่ง ซงึ่ ประกอบดวยผมู ีความเห็นตรงขามกันในเรื่องใด
เรื่องหนง่ึ มีจํานวนเทากนั ตั้งแต 2 - 4 คน ผลดั กันพดู แสดงความคิดเหน็ เพ่อื จงู ใจใหผ ฟู ง เหน็
คลอยตามกับเหตผุ ลและความคิดของฝา ยตน ซงึ่ เรยี กวา ฝายเสนอ ฝายหน่ึงและฝายคานอีกฝาย
หน่ึง มีการกําหนดเวลาใหแตละฝายพูด ผูพูดแตละคนจะหาเหตุผลมาหักลางฝายตรงขามและ
หาเหตผุ ลมาสนับสนนุ ฝา ยของตนเอง โดยมคี ณะกรรมการเปนผพู จิ ารณาตัดสินวาฝายใดมีเหตุผล
ดีกวา ฝายใดชนะหรือเสมอกันการโตวาทีไมมีการใหเวลาผูฟงไดรวมแสดงความคิดเห็นเหมือน
การอภปิ รายประเภทอนื่
การโตวาที เปนกิจกรรมการพูดที่มีความสําคัญในเชิงของการใชศิลปะการพูดเพื่อแสดง
ทรรศนะ เพื่อการชักจูงใจและการโตแยง เปนการฝกฝนการแสดงวาทศิลปชั้นสูง ฝกการยอม
รบั ฟง เหตุผล มนี ้ําใจเปน นักกฬี า และรูจักเคารพกติกาเกี่ยวกับการพูด ซ่ึงปกติเราไมคอยจะมีกัน
การโตว าทีมีจุดประสงคที่แทจ รงิ ดงั ที่กลา วมามากกวาการจัดเพอ่ื ความบันเทงิ
ปจจุบันมีการจัดกิจกรรมการพูดโตวาทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางส่ือมวลชน เชน รายการ
ยอวาที แซววาที ฯลฯ แตด ูเปน การใชคารมคมคายมากกวา การใชวิธีการแหงปญ ญา ไมไดส งเสริม
การเพิ่มพูนภูมิปญ ญาเพียงแตม งุ ความบันเทงิ มากกวา สาระความรู
องคป ระกอบของการโตวาที
การโตว าทเี ปน การพดู อภปิ รายสาธารณะ จึงมีการแยกกลุมผูพูดออกจากผูฟงและไมเปด
โอกาสใหผูฟงไดมีสวนรวมในการพูดอาจจะมีเพียงถามความเห็นในการตัดสินดวยการขอเสียง
ปรบมือเทา น้นั องคประกอบของการโตว าทีมีดังน้ี
1. ญตั ติ คอื หัวขอ การโตว าทีหรอื ประเดน็ ปญหาทก่ี าํ หนดข้ึน ซ่งึ เปนขอ ทีผ่ ูพดู ท้งั สองฝาย
มีความเห็นไมตรงกนั หรืออาจจะกําหนดใหเ หน็ ไมต รงกนั หยบิ ยกมาใหอภิปรายโตแยงกนั
ญัตติที่ควรนํามาโตว าทคี วรมีลกั ษณะดงั น้ี
1. เปนเร่ืองที่คนสวนใหญใหความสนใจและมีสวนเกี่ยวของหรือมีผลกระทบและเกิด
ประโยชนต อ คนในสงั คมเหลาน้ัน
2. เปนเร่ืองใหความรู มีคุณคาในการสงเสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ
การเมอื งการปกครอง
3. เปน เรอ่ื งสง เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม และไมขัดตอศีลธรรมอันดีงามไมเ ปนภยั ตอสงั คม
23
4. เปนเรอ่ื งท่ีจะนําไปสูขอ ตกลงทจ่ี ะดําเนนิ การไดหรือสามารถนําผลของการโตวาทีไปใช
ในการแกป ญหาหรอื ใชป ระโยชนดานอื่น ๆ ได
(ควรหลกี เลีย่ งญัตติที่ขาดลักษณะดังกลา วมา เชน ญตั ติที่วา ขี้เมา ดีกวาเจา ชู พอ คาดีกวา
ขาราชการ ฯลฯ ซงึ่ เปน ญตั ติทไ่ี มไดประโยชนไ รส าระ)
2. ประธานการโตว าทแี ละคณะผตู ัดสนิ ใจ
ประธานการโตวาที เปนผูทําหนาท่ีควบคุมการโตวาทีใหเปนไปตามแบบแผนและ
กฎเกณฑตลอดทั้งขอตกลงตาง ๆ ประธานการโตวาทีจะมีผูชวยทําหนาท่ีผูกํากับเวลาของผูโต
ตามทกี่ าํ หนดกนั ไว ประธานการโตวาทมี หี นา ที่ดงั น้ี
1. กลา วนําบอกญตั ติและช้แี จงระเบยี บวิธกี าร หลกั เกณฑข องการโตว าที
2. แนะนําคณะผโู ตท้ังฝายเสนอและฝายคาน แนะนาํ ผูกาํ กับเวลาและคณะผูต ดั สิน
3. ชแ้ี จงรายละเอยี ดของกตกิ าตา ง ๆ ใหท กุ ฝา ยทเี่ ก่ียวของในการโตวาทีทราบ
4. เชิญผโู ตข ้นึ พดู ทลี ะคนตามลําดบั
5. รวมคะแนน แจง ผลการตัดสิน และกลา วปดการโตวาที
คณะผตู ดั สิน
คณะผูตดั สินจะเลือกผูทีม่ ปี ระสบการณในการโตวาทีและมีความเชี่ยวชาญในเร่ืองที่นํามา
เปน ญตั ตใิ นการโตว าที อาจจะมี 2 หรือ 5 คน คณะผูตัดสินมีหนาที่ใหคะแนนตัดสินช้ีขาด การ
โตวาทฝี า ยใดทีเ่ สนอเหตผุ ล ความคิดทรรศนะทดี่ กี วา โดยไมต องถามความเหน็ ตอผฟู ง
3. คณะผโู ตว าที
คณะผูโต คือ กลุม 2 กลุม ท่ีมีความเห็นขัดแยงกัน ตกลงจะพูดแสดงความคิดทรรศนะ
ของตนตอ สาธารณะหรอื ผูฟ งท่สี นใจ คณะผูโ ตจะแบง ออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายท่ีเห็นดวยกับญัตติ
จะพูดสนับสนุนเรียกวา ฝายเสนอ ฝายที่ไมเห็นดวยหรือเปนผูมีความคิดเห็นโตแยง เรียกวา
ฝายคา น
ผโู ตแตละฝายจะมหี ัวหนา คนหนง่ึ และมีผูส นับสนนุ ฝายละ 2 - 3 คน แตล ะฝา ยจะมดี ังน้ี
ฝา ยเสนอ ฝายคา น
1. หวั หนา ฝายเสนอ 1. หวั หนา ฝายคาน
2. ผสู นับสนุนฝายเสนอคนที่ 1 2. ผูสนบั สนนุ ฝา ยคา นคนท่ี 1
3. ผูส นับสนุนฝายเสนอคนที่ 2 3. ผสู นบั สนุนฝา ยคานคนที่ 2
4. ผสู นบั สนุนฝายเสนอคนท่ี 3 4. ผูสนบั สนุนฝายคา นคนที่ 3
24
คณะผโู ตวาทที ุกคนท้ังฝา ยเสนอและฝายคานจะตองปฏิบัติ ดงั นี้
1. ปฏบิ ัติตามคําสงั่ และคําชี้แจงของประธานอยา งเครงครัด
2. ปฏิบัติตามกติกาของการโตว าทอี ยา งเครง ครดั
3. รักษามารยาทในการพดู อยางเครง ครัด เชน พูดใหสุภาพไมพ ดู กา วรา ว ย่ัวเยา ดถู กู
ฝา ยตรงขา มและงดเวนการพดู เรื่องสว นตัว เปนตน
การจดั ลาํ ดับและการพดู ของผโู ตวาที
การจัดลําดบั และการพูดของผูโ ตว าทที ั้งสองฝา ยจะมกี ารจัดลําดับกาํ หนดเวลาและมแี นว
การนาํ เสนอดงั นี้
ลาํ ดับที่ 1 หวั หนาฝายเสนอ
หัวหนาฝายเสนอจะไดรบั เชิญข้ึนพูดเปนอันดับแรกโดยจะใหเปนผูเสนอประเด็นขอบเขต
ของญตั ติ การใหนิยามคําและทรรศนะท่ีมีตอเรื่องท่ีโตวาทีในคร้ังน้ันวาเปนอยางไร โดยจะบอก
ถึงขอ เท็จจริง เหตุผล พรอ มหลักฐานตาง ๆ มาสนับสนุน ปกตหิ วั หนาทง้ั 2 ฝายจะใชเวลาพูดมาก
กวาผูสนับสนุนเลก็ นอ ย
ลาํ ดบั ท่ี 2 หัวหนาฝา ยคา น
หัวหนาฝายคานจะไดรับเชิญข้ึนพูดเปนอันดับท่ี 2 ตอจากหัวหนาฝายเสนอหัวหนา
ฝายคาน จะรวบรวมขอเสนอของหัวหนาฝายเสนอทุกขอทุกประเด็นมาคัดคานดวยเหตุผลและ
หลกั ฐานเพ่อื หักลา งใหไ ดท ุกประเด็น แลว จงึ เสนอความคิด เหตุผลและหลกั ฐานสนับสนุนความคิด
ของฝา ยคานไวใหม ากที่สุด
ลําดับท่ี 3 - 6 หรือ 8 ผูส นบั สนุนทง้ั สองฝา ย
ตอจากหวั หนาฝายคาน ก็จะเปนหนาที่ของผูสนับสนุนฝายเสนอและฝายคานสลับกันไป
โดยทุกคนจะทําหนาท่ีสนับสนุนความคิดและเหตุผลของฝายตนเอง คัดคานหักลางความคิดและ
เหตุผลของฝา ยตรงกนั ขามใหครบทุกประเด็น แลวก็จะเสนอความคิดเหตุผลและหลักฐานตาง ๆ
สนับสนุนฝายตนเอง
ลําดับสุดทาย
เม่ือผูส นบั สนนุ ท้งั 2 ฝายพดู ครบทกุ คนแลว จะใหห วั หนาทั้งสองฝา ยมาพดู สรุปอีกคร้งั หนงึ่
โดยจะใหหัวหนา ฝายคา นเปนผสู รุปกอ นแลว จงึ ใหห ัวหนา ฝายเสนอสรุปเปนคนสดุ ทาย
4. ผูฟง ผฟู ง การโตวาทีเปนผูร ับความรู ความคิด ทรรศนะของผูโ ตวาทที ัง้ สองฝา ยแลว
จะตอ งใชวิจารณญาณท่จี ะนําไปใชใหเกิดประโยชน ผูฟ ง การโตวาทีไมม โี อกาสไดรวมแสดงความ
คิดเห็นเหมือนกจิ กรรมการฟง อภปิ รายประเภทอื่น มแี ตเพียงตอ งปฏบิ ัติตนใหเปนผูฟ ง ท่ดี เี ทา น้ัน
25
กิจกรรมท่ี 5
ใหผูเรียนเขารวมกิจกรรมการโตวาทีของกลุมในโอกาสสําคัญ โดยเขารวมเปนคณะผูจัด
คณะผูโ ตหรืออน่ื ๆ ตามความเหมาะสมเพื่อฝกฝนการพูด
ผมู ีมารยาทดีในการพดู
การมมี ารยาทในการพูดก็จะคลายคลึงกับลักษณะการพูดที่ดีดังท่ีไดกลาวในตอนตนแลว
ซ่งึ อาจประมวลไดดังนี้
1. ผพู ดู เปนผูทถี่ ายทอดความรูสึก ความคดิ เห็น ขอ เท็จจรงิ ตลอดจนทัศนคติของตนไปสู
ผฟู ง โดยส่ือภาษาทาง เสียง อากัปกิริยา และบุคลิกภาพ ใหมีประสิทธิภาพที่สุด ผูพูดจะตองมี
มารยาทและคณุ ธรรมในการพูด และผูพ ดู เองตองมีการเตรียมตัว มีความรู และประสบการณใน
เรอ่ื งทจี่ ะพูดอยา งดี และตองรวบรวมเรียบเรียงความรูเหลาน้ันใหเปนระบบและถายทอดใหผูฟง
เขา ใจงาย และชัดเจน ผูพูดเองตอ งมที ักษะในการพูดมคี วามสนใจทีจ่ ะพัฒนาบุคลกิ ภาพอยูเสมอ
เปน การสรางความม่ันใจใหผ พู ูดเอง
2. เร่ืองและสาระทีพ่ ดู ตองมีประโยชนตอผูฟง ควรเปนเรื่องทันสมัย เนื้อหาชัดเจน ผูพูด
ตอ งขยายความคดิ และยกตัวอยา งใหชัดเจน
3. ผพู ดู ตองรจู กั กลมุ ผฟู งกอ นลวงหนา ทงั้ อาชพี วยั เพศ ความสนใจของผูฟ ง ฯลฯ
รวมทัง้ จุดมงุ หมายในการพูด เพือ่ จะไดเ ตรียมตวั และเนื้อหาไดถ กู ตองนา สนใจ
4. ผูพูดตองคนควาหาความรู และประมวลความคิดทั้งหมด แยกแยะใหไดวาความคิด
หลักคืออะไร ความคิดรองคืออะไร และควรหาส่ิงสนับสนุนมาประกอบความคิดน้ัน ๆ เชน
เหตุการณที่รับรูกันไดทั่วไป หรือบุคคลที่มีช่ือเสียง ฯลฯ พรอมกันนั้นถามีการอางอิงเรื่องที่มา
ประกอบการพดู ทผี่ พู ดู ตอ งบอกแหลงที่มาดว ย
5. การจัดระเบียบ และวางโครงเรือ่ ง ตองเตรียมใหดีเพอื่ จะไดไ มพดู วกวน
เพราะมิฉะนั้นจะทําใหการพูดไมนาสนใจ และอยาลืมวาในการพูดแตละครั้งตองใหครอบคลุม
จุดมงุ หมายใหครบถว น
6. ผูพูดตอ งเราความสนใจของผูฟงดวยการใชภาษา เสียง กิริยาทาทาง และบุคลิกภาพ
สว นตนเขาชว ยใหผูฟงฟง อยางต้งั ใจ และผพู ูดตอ งพรอ มในการแกป ญหาเฉพาะหนาท่ีอาจเกดิ ขึ้น
ดว ย
26
กจิ กรรมท่ี 6
ผูเรียนลองประเมนิ ตนเองวา ทานสามารถเปนนกั พูดระดับใด ถา กําหนดระดับ A B C
และ D โดยทานเปนผตู ั้งมาตรฐานเองดวย และถา ไดระดบั C ลงมา ทานคดิ จะปรบั ปรงุ ตนเอง
อยา งไรบางหรือไม
กิจกรรมทายบทท่ี 2
กจิ กรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นใชศลิ ปะการพดู ไดอยา งเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล โดยสมมุติการพดู
ในโอกาสตา ง ๆ เอง (5 คะแนน)
กิจกรรมท่ี 2 ใหแ บงกลมุ ผูเ รยี นวเิ คราะหและประเมินคา การใชการพูดในการเขียนจากการอาน
เร่อื งนี้
อยดู ี ๆ ก็หาของทเ่ี รามกั จะใชป ระจาํ แตไ มเ จอเหมือนวา มนั พรอมจะหาย เมื่อเราจะหาเปน
ซะอยา ง บางทปี ากกากห็ าไมเ จอ แตม ารตู ัวอีกทกี เ็ หนบ็ ไวทขี่ างหู มือถือไมร ูวา หายไปจากกระเปา
กางเกงตอนไหน ทง้ั ๆ ท่ตี อนน้ีกก็ ําลงั ใชม อื ถือโทรคยุ อยู เอะ เปนอะไรกันละนี่ อยางนจ้ี ะเรียกวา หลงลมื
หรือขล้ี ืมดนี อ
หลงลมื กบั ขีล้ มื นต่ี างกนั นะครบั เพราะถาเราไมไดใสใจในเรอ่ื งบางเรอื่ ง โดยท่ีไมเ อาสมาธิ
ไปมงุ กบั เร่ืองนั้น เรากจ็ ะจาํ ไมไ ดเ รยี กวา ขี้ลืม วิธีนแ้ี กไ ดโดยเอาสมาธิไปใสในกบั เรอื่ งทเ่ี ราทาํ เชน
จดบันทกึ หรือถา ยภาพมอื ถอื ไว วา จอดรถที่ชนั้ ไหน หรอื เบอรโทรศัพทท ต่ี ิดประกาศไวเบอรอ ะไร
ตางกับหลงลมื จะจาํ ไมไดเ ลยดว ยซา้ํ วา ขบั รถมา หรอื วางของผิดท่ี อยา งเอากญุ แจไปวางในแกว นาํ้
เอาเตารดี ไปแชต เู ยน็ เปนตน
ถา ไมอยากขล้ี ืม ผมมเี คลด็ ลบั งาย ๆ มาชว ยพัฒนาสมองพวกเรากบั ครบั
โดยวิเคราะหแ ละประเมนิ จากหัวขอดังนี้
1. เรอ่ื งน้ีนา จะมชี ่อื เร่ืองอะไร
2. เหตุการณในเรื่องจะเกดิ ฟงบคุ คลวัยใด
3. หลงลืมและขี้ลืมตา งกันอยา งไร
4. วธิ ีการแกไขการขีล้ มื ทาํ อยางไร
5. ยกตัวอยา งการใชการพูดในการเขียน 2 ตวั อยางและใหผูเรียนสงผลการวิเคราะหและ
ประเมนิ คา การใชการพดู เปน งานรายบุคคล และสงครูผสู อน (5 คะแนน)
กิจกรรมที่ 3 ใหผ ูเ รยี นเขียน “การปฏิบัตติ นเปนผูม มี ารยาทในการพดู ” เปน งานรายบคุ คลและ
สงครูผูสอน (3 คะแนน)
27
บทท่ี 3
การอา น
เรือ่ งที่ 1 ความสําคญั ของการอา น
1. การอานชวยใหผ อู า นไดรับสาระความรแู ละขาวสารขอมูลตาง ๆ ทเ่ี กดิ ประโยชนตอการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของผอู า น พัฒนาชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตไิ ด
2. การอานชวยใหค วามเพลดิ เพลนิ ไดร บั ความสุข เกิดความคิดและจนิ ตนาการ การอาน
จึงเปนการพักผอ นและคลายเครยี ดไดดี
3. การอานชวยใหการดําเนินชีวิตของมนุษยมีความสุขสมบูรณในการดําเนินชีวิตอยูใน
ชุมชนและสังคมเพ่ิมมากขึ้น เพราะการอานจะชวยสรางความคิดประสบการณใหโลกทัศน
กวางขวางขึน้ มีความเขา ใจอันดีระหวางคนในสังคม
เร่ืองที่ 2 วิจารณญาณในการอาน
วิจารณญาณในการอาน คือ การอานอยางใชสติปญญาไตรตรอง รูจักนําประสบการณ
ความรูและเหตุผลมาประกอบในการตัดสินใจและสามารถนําไปใชไดอยางถูกตองตามความ
เหมาะสม
ลักษณะของการอานอยางมีวิจารณญาณตองสรุปใหไดวาส่ิงใดเปนใจความสําคัญ ส่ิงใด
เปนพลความหรือใจความประกอบและเขาใจวาขอความใดเปนขอเท็จจริง ขอความใดเปนความ
คิดเห็น ตลอดจนสามารถประเมินคางานเขียนท่ีอานไดวามีคุณคาดานใด มีแงคิด
อะไรและสามารถนาํ ความรคู วามคิดนน้ั มาใชใ หเ กิดประโยชนไดอ ยา งไร
ขน้ั ตอนการอานอยา งมีวิจารณญาณ
1. อา นใหเ ขาใจตลอดเร่อื ง
2. วิเคราะหวาเรือ่ งที่อา นน้ันมีสาระสําคัญอะไร อะไรเปนขอคิดเห็น อะไรเปนขอเทจ็ จริง
เจตนาของเร่ืองคืออะไรและมปี ระโยชนดานใดบาง
3. ประเมนิ คา เม่ือวเิ คราะหแลววาเรือ่ งทีอ่ านน้ันมคี ุณคาดานใดและสามารถนําไปใชใ ห
เกดิ ประโยชนกบั ใครดา นใดและอยางไรตอ ไป
4. นาํ เร่ืองท่ีอานไปใช เมือ่ วิเคราะหและประเมินคาไดแลว นาํ สาระสําคัญท่ีไดจากเร่ืองไป
ใชใ หเ กิดประโยชนตอ ตนเอง ชุมชนและสงั คมอยางเหมาะสม
28
หลักการอานอยางมวี จิ ารณญาณ
1. พจิ ารณาความถกู ตองของภาษาทั้งดานความหมายและความถกู ตองของการใชภ าษา
2. พจิ ารณาความสมเหตสุ มผลของเรอ่ื งหรือการนาํ เสนอเนื้อหาท่ีสอดคลอ งกันและเปนไป
ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอน
3. พิจารณาความตอ เนื่องสมั พันธก ันระหวางแกนหลกั แกนรอง และสวนประกอบ
ท่เี หมาะสมกลมกลืนกนั
4. แยกแยะวา สวนใดเปนความรู ความคิดเห็นหรอื ขอ เท็จจรงิ อยางถกู ตอ ง
5. พิจารณาเน้ือหาความรูทไ่ี ดจ ากการอาน มคี วามสัมพันธก นั มคี วามเปน
รปู ธรรม เขา ใจงา ย มคี วามนา สนใจและใหคุณประโยชนม ากเพียงใด
เร่อื งที่ 3 การอานแปลความ ตคี วาม ขยายความ จับใจความหรือสรปุ ความ
การอา นแปลความ หมายถงึ การแปลงจากคําเดิมเปนคําใหมที่ยังคงความหมายและ
สาระสาํ คญั ของเน้อื หาเดมิ ไวอ ยา งครบถว น การแปลความทีน่ ยิ มกันมากท่ีสดุ คือ การถอด
คาํ ประพันธจากภาษารอ ยกรองเปนภาษารอยแกว
การอานตคี วาม แตกตางจากการแปลความ คอื การแปลความนน้ั เปนการแปลคําตอคํา
ในขณะท่กี ารตคี วามมีการแปลความ ถอดความและตีความคาํ ทง้ั ความหมายตรงและความหมาย
โดยนัย ใหตรงตามเจตนาของผูเขยี นไวดวย
ลกั ษณะของการตคี วามทดี่ ี
1. เขา ใจความรู ความคิดพน้ื ฐานของผเู ขียน
2. มีความรู ความเขา ใจสภาพหรือบรบิ ทของสังคมตามยคุ สมยั ทง่ี านเขียนสรางขึน้ วามี
พ้นื ฐานหรอื สภาพของสงั คมในชวงนั้น ๆ วาเปน อยางไร
3. ควรอา นงานเขยี นท่จี ะตีความน้ันหลาย ๆ ครงั้ เพือ่ เกบ็ รายละเอยี ดใหไ ดทัง้ หมดจะ
ทาํ ใหการตคี วามไดอ ยางชัดเจนครบถวน
4. การอานตีความที่ดไี มค วรยดึ ถอื วาการตคี วามของตนเองถกู ตอ งเสมอ
การอา นขยายความ เปน การอธิบายเพ่ิมเตมิ จากการตคี วามใหก วางขวาง ครอบคลุม
เน้อื หาใหมีความชัดเจนย่งิ ข้ึน ลักษณะของการอานขยายความ ไดแก การขยายความ ไดแ ก
การขยายความ สาํ นวน พงั เพย สุภาษิต คําขวัญ เปนตน
29
การอา นจบั ใจความหรอื สรปุ ความ
ใจความสาํ คัญ คือ สาระเนื้อหาหลักของเรือ่ งทีอ่ านทั้งหมดหรือท่ีเรียกวา แกนของเรื่อง
หัวใจของเรอ่ื งหรอื ความคิดหลักของเรื่อง
ในแตละยอ หนาของเรือ่ งทอ่ี านจะมีใจความสาํ คญั ของเรอื่ งเพียงใจความเดยี ว ซึง่ สว นใหญ
จะปรากฏในประโยคแรกของยอ หนา รองลงมาคอื ประโยคสุดทา ยของยอ หนา มเี พยี งสวนนอยที่
ประโยคใจความสาํ คัญจะอยตู อนกลางของยอหนา
การอานและพิจารณานวนยิ าย นวนิยายจดั เปน วรรณกรรมปจจุบนั ประเภทรอ ยแกว
นวนิยายแบงตามเนื้อหาในการนาํ เสนอได 6 ประเภท คอื
1. นวนยิ ายอิงประวัติศาสตร เชน ส่ีแผนดิน คูกรรม รัตนโกสินทร
2. นวนิยายวิทยาศาสตร เชน กาเหวาทบ่ี างเพลง มนษุ ยพ ระจันทร มนุษยลอ งหน
3. นวนิยายลกึ ลบั ฆาตกรรม นกั สบื สายลบั เชน เชอรลอกโฮม มฤตยยู อดรกั นวลฉวี
4. นวนิยายเก่ียวกับภูตผปี ศ าจ เชน แมนาคพระโขนง กระสอื ศรีษะมาร
5. นวนยิ ายเกีย่ วกับการเมอื ง เชน ไผแ ดง สารวัตรใหญ ฟาเปลย่ี นสี
6. นวนยิ ายดานสงั คมศาสตร เชน เมียนอย ทองเน้ือเกา แรงเงา
หลักการอา นและพจิ ารณานวนยิ าย
1. โครงเรือ่ งและเน้ือเรื่อง คือ เรือ่ ราวของเรอ่ื งวา ใครทําอะไร อยางไร ท่ีไหน กบั ใคร
เมื่อใด โครงเรอ่ื งทด่ี เี หตุการณตา ง ๆ ในเรือ่ งจะตองมคี วามสมั พันธตอ เนื่องกัน มกี ารสรา งจุดสนใจ
ใหผูอา นติดตามเร่ืองตลอดและตองมีความสมจริงสมเหตุผลในการนาํ เสนอดวย
2. กลวิธีในการดําเนินเรื่อง คือข้ันตอนในการนําเสนอเรื่องจะทําใหนวนิยายมีความ
นาสนใจและประทับใจผูอ าน กลวิธีดําเนินเรอื่ งท่ีดีจะตองเรียงลําดับเหตุการณจากกอนไปหลังจะ
ทาํ ใหผอู า นไมส ับสนและชวนใหติดตาม
3. ตัวละคร นวนิยายที่ดีจะตองมีลักษณะนิสัยหรือพฤติกรรมของตัวละครท่ีสมจริง
สมเหตุสมผล ผูอา นจะรจู กั พฤตกิ รรมหรอื บุคลิกลกั ษณะของตัวละครไดจากบทสนทนา
4. ฉาก หมายถึง สถานที่ สภาพแวดลอม เวลาที่เกิดเหตุการณตาง ๆ ในนวนิยายแตละ
เร่ืองทตี่ องสอดคลอ งกบั แนวของเรือ่ ง เชน นวนยิ ายเก่ียวกบั ผีปศ าจ ฉากท่ปี รากฏในเรื่องสวนใหญ
ก็จะเวลากลางคืน
5. สารัตถะหรือสารของเร่ืองนวนิยายท่ีดีจะบอกแนวของเรื่องท่ีชัดเจนมีคุณคาดาน
คุณธรรมจริยธรรมท่ีดี เชน ทําดีไดดี ทําชั่วไดช่ัว ธรรมชนะอธรรม พนทุกขไดเพราะความเพียร
ดังนี้ เปน ตน
30
เรื่องท่ี 4 มารยาทและนสิ ัยรกั การอาน
มารยาทในการอาน มดี งั น้ี
1. ไมค วรอานเอกสารทเี่ ปน สว นตวั ของบุคคลอื่น อาทิ สมุดบนั ทกึ จดหมายสว นตัว
2. ในขณะที่ผอู น่ื กาํ ลังอานหนังสืออยูไมควรชะโงกหนาไปอานหนังสือฉบบั เดียวกันจาก
ดา นหลงั หรอื ดานขาง เพราะจะทาํ ใหผทู ีก่ าํ ลังอานอยนู ้ันเกิดความอดึ อัดรําคาญได
3. ใชการอา นในใจในขณะท่ีมีผูอ่นื อยูดวยในสถานท่ีนั้นเพราะผอู ื่นที่อยดู วยอาจตองการ
ความสงบ
4. ไมอานในลักษณะท่ีเปน การลอ เลยี นผอู น่ื
5. ไมถ ือวสิ าสะหยบิ หนงั สอื หรอื เอกสารของบคุ คลอื่นมาอานโดยที่ไมไ ดร บั
อนญุ าต
6. ไมอ า นหนังสอื ในขณะนงั่ ประชมุ หรอื อยูในวงสนทนาโดยหนงั สอื หรอื เอกสารนน้ั
ไมเ ก่ียวของกบั การประชมุ หรือเรอื่ งทีก่ ําลงั สนทนา
7. การอานหนังสอื ในหอ งสมดุ หรอื สถานทท่ี จ่ี ัดไวสําหรับการอานหนังสือโดยเฉพาะจะตอง
ไมสงเสียงดังและปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บขอบงั คับของสถานทีน่ ั้น ๆ อยางเครงครัด
การสรางนสิ ยั รกั การอา น
1. หาหนังสอื ประเภททต่ี นเองชอบหรอื สนใจมาอา นกอนโดยเลอื กท่ีความยาวไมม ากนกั
2. หยิบหนังสอื หรือเอกสารมาอานทกุ ครัง้ ทม่ี ีเวลา เชน ขณะไปรอการตรวจรกั ษาใน
คลินิกแพทย ทันตแพทย การไปรอประชุมตาง ๆ เปนตน
3. เลอื กอานหนงั สอื ทมี่ รี ูปเลม เลก็ กะทดั รดั มภี าพประกอบและสสี นั สวยงามมาอา นกอ น
เพอ่ื จงู ใจตนเองใหอานบทความในเวลาไมม ากนกั
4. มเี ทคนคิ การอา นเรว็ โดยการจบั เวลาในการอา นหนงั สือแตละคร้ังและอานปายประกาศ
ตามสถานทต่ี าง ๆ ทผี่ า นไปพบหรือตัววิ่ง การคนหาคําในพจนานกุ รมทส่ี ําคญั ท่สี ุดในการจะชว ย
ใหอ านเรว็ คือ การมสี มาธทิ ี่แนวแนจ ดจออยูกับเรอ่ื งท่ีอา น
5. ฝกเทคนิคการตัง้ คาํ ถามลักษณะการตง้ั คาํ ถามมี 2 อยาง คอื การต้ังคําถามกอนการอา น
จะทําใหอ ยากจะอา นเรอ่ื งราววา เปน อยางไรกบั การตั้งคําถามเม่ืออานจบแลววา ตนเองยังมีขอ
สงสัยขอ งใจหรอื ไมชัดเจนในเรือ่ งใดตอนใดถายังไมไดคําตอบก็กลบั ไปอา นทบทวนซํ้าอีกครัง้ หน่ึง
31
กจิ กรรมทายบทที่ 3
กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนอานเรอ่ื ง ซงิ่ บิก๊ ไบค อปุ กรณป อ งกันก็ชวยไมไ ด
และวิเคราะหเ รอ่ื งทอ่ี านแลว ตอบคําถามตอไปนี้ (5 คะแนน)
ซ่งิ บ๊ิกไบค อุปกรณปองกันกช็ ว ยไมได
บ๊ิกไบคกับความปลอดภัยในสังคมไทย โดยคุณหมอมนูญ ลีเชวงวงศ ประธานทุนงวงอยาขับใน
พระอปุ ถมั ภส มเดจ็ พระเจา พ่ีนางเธอ เจา ฟา กลั ปย าณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร มลู นธิ ริ ามาธบิ ดี
ปจ จุบนั บกิ๊ ไบคไ มไ ดจาํ กดั เฉพาะคนรวยเทานั้น คนท่วั ไปเขาถงึ ได และใชสําหรบั เดนิ ทางใน
ชวี ติ ประจําวนั ขบั ขใ่ี นเขตเมอื ง เน่อื งจากสภาพถนนของเมอื งใหญของไทยไมดีเหมอื นในประเทศท่เี จริญแลว
สภาพผิวถนนไมเรียบ สงู ๆ ต่าํ ๆ บางถนนมีรอยแยก มเี ศษหินบนถนน ทําใหมโี อกาสสะดดุ ลมเองได บางครงั้
มีสนุ ัขวิ่งตัดหนา ปริมาณถนนบานเราก็นอ ย การจราจรก็ติดขดั ถนนคอนขา งแคบไมกวางเหมอื นประเทศท่ี
พฒั นาแลวไมม เี ลนจกั รยานยนต คนข่ีบิก๊ ไบคสว นใหญไ มขี่ชดิ ซา ย จะขคี่ รอ มเสนแบงชอ งจราจรระหวา งรถยนต
แลวแซงซายแซงขวาเพ่ือขี่ข้นึ ไปขา งหนา ถนนบางสายชองจราจรแคบมากบกิ๊ ไบคไมส ามารถแทรกผา นได ตอ ง
เดนิ ลากบ๊กิ ไบคซ ง่ิ หนกั มาก
บริเวณแยกท่ีมีสัญญาณไฟจราจร เวลาเปล่ียนเปนไฟเขียวจะสังเกตเห็นบิ๊กไบคออกตัวเปนคันแรก
เพราะคนข่ีสามารถเรง เครือ่ งไดเ รว็ กวารถจกั รยานยนตท่วั ไป ถงึ แมระบบเบรกของบิ๊กไบคด กี วารถจักรยานยนต
ธรรมด1า.มี AเพBรSาะแเตหก ต็ไมุใดสาบมกิ๊ าไรบถคหย งัดุ ไมดทเ หนั มทาี ตะอสงมใกชรบั ะกยาะรทขาบังใขนใี่ กนาเรขหตยเุดมรือถงยงิ่ ท่เี รว็ ย่ิงตอ งใชร ะยะทางเพ่ิมข้ึน
บิก๊ ไบคข่ดี วยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง ตองใชระยะทาง 46 เมตร ถาข่ีเร็ว 160 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ตองใช2ร ะ. ยเะพทราางเะพเมิ่หขตน้ึ ใุ ดเปบน ิก๊ 1ไบ00คจเมึงตมรอี ใุบนัตกิเาหรตหุชยุดนบกกิ๊ับไรบถคย นตคันหนา ท่ีเล้ยี วหรือออกกะทันหัน
3.ดังหนา้นั กบทอ ายนคขรั้งีบ่ ทิก๊ ค่ี ไนบขค่ีบจ ก๊ิ ะไบปคอหงกลงัันเกรง าเรคเรกื่อดิ งเอตบุ ็มตัทิเห่ี หาตกุอรถยยานงไตรคนั หนา เล้ียวหรือหยดุ กะทันหัน บิ๊กไบคว ่ิง
ไปชนเพ4.ราหะเาบกรทกไา มนหจยะุดสเนพบั รสาะนฉุนะกนา้ันรคขนีบ่ ข๊ิกับไรบถคยคนวตรทพุกิจคานรถณาจาอะเะปไลร่ียบนาเงลนหรือเลี้ยวรถตองมองกระจกหลัง
และใหสัญญาณไฟเล้ียวแตเน่ิน ๆ และเวลาจอดรถยนตขางทางคนขับรถยนตตองระมัดระวังกอนเปดประตู
ลงจาก5ร.ถ ขอดแี ละขอเสียของการขบั ขบ่ี ิ๊กไบค ใหเขียนเปน รายงานรายบุคคลและสง ครูผสู อน
32
กิจกรรมท่ี 2 แบงกลมุ ผเู รียนคน ควา จากแหลง ความรูในเร่อื งตา ง ๆ ดังนี้
1. ความหมายของภาษาถ่ิน สํานวน สุภาษิตที่ปรากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจจุบัน
และวรรณกรรมทองถน่ิ
2. คุณคาของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบัน วรรณกรรมทองถ่ิน ในดานแสดงถึงวิถีชีวิต
ดา นสงั คม และการนาํ คณุ คาเหลา น้ไี ปใช โดยจดั ทาํ เปน รายงานกลุมและสงครูผูส อน (10 คะแนน)
กิจกรรมท่ี 3 ใหผูเรียนเขียน “การมีมารยาทในการอานและการมีวินัยรักการอาน” เปนงาน
รายบุคคลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน)
33
บทที่ 4
การเขยี น
เรือ่ งท่ี 1 หลักการเขยี นประเภทตา ง ๆ
การเขยี นยอความ
การเขียนยอความเปนการนําเร่อื งราวตา ง ๆ มาสรุปใหเหลือเพยี งใจความสาํ คญั
แลวเขยี นใหมดวยสาํ นวนของผยู อ ความ
หลักการยอความ
1. อานเนือ้ เรอ่ื งท่ีจะยอความใหเขาใจ
2. จับใจความสําคัญแตล ะยอหนาของเรอ่ื งท่จี ะยอความใหครบถวน
3. นําใจความสาํ คญั ของแตล ะยอ หนา มาสรปุ เขยี นใหม ดวยสาํ นวนของตนเอง
โดยไมใ ชอกั ษรยอ ไมใ ชเครือ่ งหมายตาง ๆ ใหคงราชาศพั ทเดมิ ไวแ ละเมอ่ื ยอแลวความยาวของยอ
ความประมาณ 1 ใน 4 ของเรอื่ งเดมิ
การเขียนเรยี งความ
การเขยี นเรียงความ ประกอบดว ย 3 สวน คือ
คาํ นํา เปน สวนแรกของเรียงความเพ่ือปพู ื้นฐานเพอ่ื จะนําผูอ านหรือโยงความ
สนใจของผูอา นกอ นท่ีจะไปพบรายละเอยี ดของเน้ือหาในชว งตอ ไป
เนอื้ เรอื่ ง เปน สว นของการนาํ เสนอรายละเอยี ดของเรอ่ื งตามหัวเร่อื งท่ีตง้ั ไวดว ย
การใหข อ เท็จจรงิ ขอ มูล หรอื ยกตวั อยา งประกอบความคดิ เห็นใหผ ูอานไดเ ห็นภาพชดั เจน เกิด
ความคดิ ความรูสึกทีค่ ลอยตามไดตรงตามจุดประสงคของการนาํ เสนอเรยี งความนั้น
สรุป เปนการสรุปหรือปดประเดน็ ในการนาํ เสนอดวยการเนนยา้ํ ใหผอู า นเขาใจ
ภาพรวมของเรือ่ ง สาระสําคญั ของเร่ือง และเกิดความประทบั ใจกับผอู า น
จดหมาย แบง ตามเนอ้ื หาของจดหมายได 3 ประเภท
จดหมายสว นตัว เปน จดหมายท่ีเขียนตดิ ตอส่อื สารกันระหวางญาติ เพ่ือน ครู
อาจารย ในเรื่องหรือธรุ ะทีเ่ ปนเร่ืองสว นตวั
จดหมายกจิ ธุระ เปน จดหมายทเ่ี ขียนตดิ ตอส่ือสารกบั บคุ คล หนวยงาน บรษิ ัท
เรือ่ งธรุ กจิ ตาง ๆ เชน จดหมายสมคั รงาน จดหมายขอความชว ยเหลือ ขอคาํ ปรึกษา ขอคาํ แนะนาํ
ตาง ๆ
จดหมายธุรกจิ เปนจดหมายท่ีเขยี นติดตอสอ่ื สารกันดวยเร่อื งธุรกจิ เชน การสง่ั ซอื้
สนิ คาของบริษัท หางรา น หรอื องคกร
34
สว นประกอบของจดหมาย ประกอบดวย ท่อี ยูข องเจา ของจดหมาย วัน เดือน ป
ทเ่ี ขยี นจดหมาย คําขนึ้ ตน ขอ ความหรอื เนอ้ื หาทต่ี อ งการส่ือสาร คาํ ลงทาย
ลักษณะของการเขียนจดหมายท่ีดี จะตองใชภาษาท่ีสุภาพ สรางสรรค เหมะสม
กับสถานการณหรือบุคคลที่เราตองการจะสื่อสารดวย กระดาษเขียนจดหมาย ซองใสจดหมาย
ตอ งถูกตอ งเหมาะสมกบั ประเภทของจดหมาย
โวหารในการเขียน
โวหาร หมายถงึ การเลือกใชถอยคาํ สาํ นวนในการเขยี นใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน
เขยี นในการถา ยทอดอารมณ ความรูสกึ นกึ คดิ จนิ ตนาการ แบง เปน 5 ประเภท คอื
1. บรรยายโวหาร เปนโวหารที่ใชเขียนอธิบายหรือบรรยายเหตุการณตาง ๆ อยาง
ตรงไปตรงมา เพ่ือใหผูอานมีความเขาใจชัดเจน บรรยายโวหารจะใชในการเขียนหนังสือเรียน
ตําราวชิ าการ รายงาน เปน ตน
2. พรรณนาโวหาร เปนการเขียนที่สอดแทรกอารมณ ความรูสึกของผูเขียนลงไปใน
งานเขยี น เพือ่ ใหผูอ า นมีอารมณค ลอยตาม พรรณนาโวหารจึงมักจะมีการใชถอยคําภาษาท่ีทําให
เกดิ ภาพพจนตา ง ๆ งานเขียนทนี่ ยิ มใชพรรณนาโวหารมากท่ีสดุ คอื งานเขียนประเภทนวนยิ าย
3. อุปมาโวหาร เปนการเขียนท่ีใชสํานวนเปรียบเทียบเพ่ือใหผูอานมีความเขาใจได
อยางชดั เจน เชน “เปรยี บเธอเพชรงามน้าํ หนง่ึ หวานปานน้าํ ผ้งึ เดือนหา ”
4. เทศนาโวหาร แนวการเขียนจะเปนในลักษณะส่ังสอนใหเห็นคุณเห็นโทษ เพ่ือโนม
นา วใจ ชีแ้ นวใหผ ูอา นเห็นคลอ ยตามเพื่อประพฤตดิ ปี ระพฤติชอบ งานเขียนที่มีลักษณะเปนเทศนา
โวหารชดั เจน ไดแก พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั
5. สาธกโวหาร ลักษณะของสาธกโวหาร เปนการยกตวั อยางประกอบในการเขียน
เพอื่ ใหผ อู า นมคี วามชดั เจนมากยง่ิ ข้ึน ตัวอยา งในการใชส าธกโวหารในการเขียนท่ีชัดเจน เชน
นทิ านชาดก นิทานสภุ าษิต
เรอ่ื งท่ี 2 หลักการแตง คาํ ประพนั ธ
คําประพันธ เรยี กอีกอยา งวา รอยกรอง หมายถงึ การนําถอยคาํ มาเรียงรอ ย เรยี บเรียง
ตามลกั ษณะบงั คบั หรอื ฉนั ทลกั ษณข องแตละคาํ ประพันธ หรือรอ ยกรองน้ัน ๆ ไดแก กาพย
กลอน โคลง ฉนั ท
35
กาพย ทีเ่ ปนท่ีรจู กั กนั มี 3 ชนิด คือ กาพยยานี กาพยฉ บัง และกาพยสุรางคนางค
กาพยยานี 11 มลี กั ษณะบงั คับ คือ
คณะ กาพยย านี 1 บท มี 2 บาท เรยี ก บาทเอก และบาทโท ใน 1 บทมี 2 วรรค
เรยี ก วรรคแรกกบั วรรคหลงั
สมั ผัส คําทา ยของวรรคแรกสัมผัสกบั คาํ ท่ี 3 ของวรรคหลัง และคาํ สุดทา ยของ
บาทแรกสมั ผสั กบั คําสดุ ทายของวรรคแรกในบทตอไป เปน สมั ผสั ระหวา งบท
พยางค คอื จาํ นวนคําในวรรคแรก มี 5 คาํ วรรคหลงั มี 6 คาํ ดังนี้
กาพยฉบัง 16 มีลักษณะบงั คบั คือ
คณะ กาพยฉ บังบทหน่ึงมีเพียง 1 บาท แตม ี 3 วรรค คือ วรรคตน วรรคกลาง
และวรรคทาย
สัมผัส คาํ สุดทายของวรรคตนสมั ผสั กับคาํ สดุ ทา ยของวรรคกลางและคําสุดทาย
ของวรรคทายสมั ผัสกบั คําสุดทา ยของวรรคแรกในบทถัดไปเปนสัมผสั ระหวางบท
พยางค พยางคหรือคําในวรรคตน มี 6 คํา วรรคกลางมี 4 คํา วรรคทา ยมี
6 คํา ดังนี้
กาพยสุรางคนางค 28 มลี กั ษณะบังคับ คือ
คณะ ใน 1 บท จะมี 7 วรรค
สมั ผัส คําสุดทายของวรรคแรกสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค 2 คําสุดทายของ
วรรคสามสัมผสั กบั คาํ สุดทา ยของวรรค 5 คําสุดทายของวรรค 5 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรค 6
36
และคําสุดทายของวรรค 7 ในบทแรกสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคสามและวรรคหาในบทถัดไป
เปน สัมผัสระหวางบท
พยางค ในแตละวรรคจะมี 4 คาํ สว นรูปแบบในการจดั เรียงรูปแบบของผังกาพย
สุรางคนางค ได 2 รูปแบบ ดังนี้
รปู แบบท่ี 1
รูปแบบที่ 2
กลอน กลอนที่เปนที่รจู ักกนั อยางแพรห ลาย คอื กลอนแปดหรอื กลอนสภุ าพ
ซงึ่ มีลักษณะ ดังนี้
คณะ ในหน่ึงบท มี 2 บาท ในแตล ะบาท มี 4 วรรค คอื สดบั รับ รอง และสง
พยางค ในแตล ะวรรค มีได 7 ถึง 9 คาํ แตท ี่นยิ ม คือ 8 คาํ จึงเรียกวา กลอนแปด
สมั ผสั คาํ สุดทา ยของวรรคสดับ สมั ผสั กับคําท่ี 3 หรือ 5 ของวรรครบั
คําสุดทายวรรครบั สัมผสั กบั คําสุดทา ยของวรรครอง และคาํ สุดทา ยของวรรคสง ในบทแรกสมั ผัส
กับคาํ สดุ ทายของวรรครับในบทถดั ไปเปนสัมผัสระหวา งบท ดงั ผังของกลอนสภุ าพหรอื กลอนแปด
ดงั นี้
37
โคลง โคลงท่ีเปนท่รี ูจกั มากท่สี ดุ คอื โคลงส่สี ุภาพ มลี กั ษณะบงั คับ คอื
คณะ โคลง 1 บท มี 4 บาท ใน 1 บาท มี 2 วรรค คือ วรรคหนา กับวรรคหลัง
พยางค ในวรรคหนาของทุกบาทจะมีจาํ นวน 5 คํา เทา กนั ทกุ บาท วรรคหลัง
ของบาทแรกมี 2 คาํ หลัก และมีคาํ สรอ ยไดอีก 2 คาํ วรรคหลังของบาทท่ี 2 ป 2 คาํ วรรคหลังของ
บาทท่ี 3 มีคาํ หลกั 2 คํา และมคี าํ สรอ ยไดอีก 2 คํา วรรคหลังของบาทที่ 4 มี 4 คํา
สัมผสั คาํ สดุ ทายของวรรคหลงั (ไมนับคําสรอ ยทจ่ี ะมกี ไ็ ดไมมีกไ็ ด) ในบาทแรก
สัมผสั กับคาํ สุดทา ยของวรรคหนาในบาทท่ี 3 คาํ สุดทายของวรรคหลัง (ไมนบั คาํ สรอ ยทจี่ ะมกี ็ไดไม
มีก็ได) ในบาทที่ 3 สมั ผัสกบั คาํ สดุ ทา ยของวรรคหนาในบาทท่ี 4
ลักษณะบงั คบั ของโคลงสี่สภุ าพท่ีแตกตา งจากคาํ ประพันธอนื่ คือ มกี ารบงั คบั
วรรณยุกตเ อก 7 แหง และวรรณยุกตโท 4 แหง ดังผังของโคลงส่สี ภุ าพ ดงั น้ี
ฉันท เปน คาํ ประพันธทีม่ าจากภาษาบาลี สันสกฤต มีทัง้ หมด 108 ฉนั ท แตท ่ี
ไทยนาํ มาปรบั ปรงุ ดัดแปลงใหเหมาะสมกับภาษาไทยมี 58 ชนิด ลกั ษณะบงั คับของฉันทจ ะ
แตกตางกันไปตามชนิดของฉันท จํานวนคาํ และสมั ผัสกจ็ ะแตกตา งกนั ออกไปแลวแตชนดิ ของ
ฉันท แตท ่เี หมือนกันคอื ลักษณะบงั คับของฉนั ท จะเปน คําครุ ( ั ) และคําลหุ ( ุ ) หรือท่เี รียกวา
คําเสยี งหนกั เสียงเบา ในที่น้จี ะนาํ เสนอฉันทท่มี ีความไพเราะเปน ท่รี ูจกั กนั ดี 3 ชนิด ดังนี้
38
1. วสนั ตดลิ ก (15) มีลักษณะบังคับของรอยกรอง ดงั น้ี
สามยอดตลอดระยะระยับ ตัวอยางคําประพนั ธ
ชอฟาตระการกลจะหยัน วะวะวิบสลบั พรรณ
จะเยาะย่วั ฑฆิ มั พร
บราลีพิลาศศุภจรญู นภศูลประภัสสร
หางหงศผ จงพจิ ติ รงอน ดจุ กวกั นภาลยั
(จากสามคั คเี ภทคาํ ฉนั ท - ชติ บรุ ทัต)
2. อนิ ทรวเิ ชียรฉนั ท (11) มีลกั ษณะบงั คับของรอยกรอง ดังน้ี
ตวั อยางคาํ ประพันธ พิศเสนสรีรร วั
ยลเน้ือก็เน้อื เตน กร็ ะรกิ ระริวไหว
หิตโอเ ลอะหล่งั ไป
ทั่วรา งและทั้งตัว ระกะรอยเพราะรอยหวาย
แลหลงั ละลามโล-
เพงผาดอนาถใจ (จากสามัคคเี ภทคาํ ฉันท - ชิต บรุ ทัต)
39
3. ภชุ งคประยาตฉันท (12) มลี ักษณะบังคับของรอ ยกรอง ดังนี้
ตัวอยา ง นรินทรไทยมิทอ ถอน
มนสั ไทยประณตไท มพิ งึ่ บารมบี ญุ
บุรษุ นาํ อนงคหนุน
มิผกู รกั มภิ กั ดบิ วร ประจญรวมประจญั บาน
ถลันจวงทะลวงจํา้
(ฉันทย อเกียรตชิ าวนครราชสมี า)
บรุ ุษรกุ อนงครนุ
เรื่องที่ 3 มารยาทและนิสยั รกั การเขยี น
มารยาทในการเขียน การที่จะเปนผเู ขยี นท่ีดไี ดน ั้นจะตอ งมีมารยาทในการเขียน คอื
1. เขียนหนังสอื ใหถกู ตองตามอกั ขรวิธี ตวั สะกด การนั ต วรรณยุกต เครื่องหมายวรรค
ตอนตา ง ๆ ท่ีสื่อความหมายไดอ ยางถูกตองชัดเจน
2. ถา เปนการเขียนดวยลายมอื ควรเขียนใหช ดั เจน อานงาย เปน ระเบียบ
3. เลอื กใชถอ ยคาํ ภาษาท่ีเหมาะสมกับเรอื่ งท่ีเขยี น กะทดั รัดไดใจความ
4. เลอื กใชภาษาใหเ หมาะสมกับกลุมเปาหมายทีจ่ ะสอื่ ความไปถงึ โดย
คํานึงถึง เพศ วยั สาขา อาชพี
5. ใชภาษาทีส่ ุภาพ และไมควรใชภ าษาพูดในภาษาเขียน โดยเฉพาะอยางย่ิงที่เปน
ความรหู รอื วิชาการ
6. เขยี นในสงิ่ ทีส่ รา งสรรคไมเขยี นในส่งิ ทีจ่ ะไปทาํ ใหเกดิ ความเสียหายกบั บุคคลใด
กลุม คนใด หรอื สังคมประเทศชาตโิ ดยสว นรวม
ลักษณะการเขียนทดี่ ี
ผเู ขียนจะเปนผเู ขยี นท่ดี ไี ดต องคํานงึ ถึงส่งิ ตอไปน้ี
1. จะตองเปน ผทู ่มี ีความรอบรูในเรือ่ งทจี่ ะเขียนเปนอยางดี เพราะจะสามารถถายทอด
เรื่องนน้ั ๆ ไดเปนอยางดี
40
2. เลอื กรปู แบบและกลวิธีในการเขียนไดอ ยา งเหมาะสมกับเรอ่ื งทีน่ ําเสนอจะทาํ ใหเ ปน
เรื่องท่นี า อานและนาติดตาม
3. มีศิลปะในการเลือกใหภาษาไดอ ยางถกู ตองเหมาะสมกับเรอื่ งท่เี ขยี นแนวทางการ
นาํ เสนอและกลมุ เปาหมายทต่ี องการจะสอื่ สารงานเขยี นน้ัน ๆ
4. มคี วามละเอียด รอบคอบ ในการใชภาษาในการสือ่ ความหมายเพราะภาษาเปน
เอกลกั ษณข องชาติทีจ่ ะสามารถถา ยทอดวัฒนธรรม ประเพณี ที่ดงี ามใหก ับสังคมและชนรนุ หลงั ได
อยางมน่ั คงและงดงาม
5. มวี สิ ัยทศั นและมีความรบั ผิดชอบในการเขียนของตนเอง กลา วคือ ยอมรบั ฟงคาํ -
วิพากษวจิ ารณ อยางใจกวา งและมใี จเปน ธรรมในขณะเดยี วกนั กม็ ีความรับผิดชอบในผลการเขยี น
ของตนเองในกรณที ่อี าจเกิดความผดิ พลาดใด ๆ ตามมาจากงานเขยี นนน้ั ๆ
การสรา งนสิ ัยรกั การเขยี น
ในการเร่ิมตนของการเขียนอะไรก็ตาม ผูเขียนจะเขียนไมออกถาไมต้ังเปาหมาย
ในการเขียนไวลวงหนาวาจะเขียนอะไร เขียนทําไม เพราะการเขียนเรื่อยเปอยไมทําใหงานเขียน
นาอานและถาทําใหงานช้ินนั้นไมมีคุณคาเทาที่ควร งานเขียนท่ีมีคุณคาคืองานเขียนอยางมี
จุดหมาย มขี อมูลขา วสารไรพรมแดน ดงั เชน ในปจจุบัน การมีขอมูลมากยอมทําใหเปนผูไดเปรียบ
ผอู ่นื เปน อันมาก เพราะยคุ ปจ จบุ นั เปน ยคุ แหงการแขง ขันกันในทุกทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ
ใครมีขอมูลมากจะเปนผูไดเปรียบคูแขงขันอื่น ๆ เพราะการนําขอมูลมาใชประโยชนไดเร็วกวา
นั่นเอง การหมั่นแสวงหาความรูเพื่อสะสมขอมูลตาง ๆ ใหตัวเองมาก ๆ จึงเปนความไดเปรียบ
และควรกระทําใหเปน นสิ ัยตดิ ตัวไป เพราะการกระทาํ ใด ๆ ถาทําบอย ๆ ทําเปนประจําในวันหน่ึง
กจ็ ะกลายเปน นิสยั และความเคยชนิ ทีต่ องทาํ ตอ ไป
การคนควารวบรวมขอมลู เปน กิจกรรมท่ีจะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการ
เพราะยิ่งคนควาก็จะย่ิงทําสิ่งท่ีนาสนใจมากข้ึน ผูท่ีฝกตนใหเปนผูใครรู ใครเรียน ชอบแสวงหา
ความรูจะมีความสุขมาก เมื่อไดศึกษาคนควาและไดพบส่ิงแปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทย หรือใน
ความรแู ขนงอืน่ ๆ บางคนเมอ่ื คนควาแลว จะรวบรวมไวอยา งเปนระบบ
41
กจิ กรรมทา ยบทที่ 4
กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนยอ ความโดยสรปุ ใจความสาํ คญั จากเรอื่ ง “โทรศัพทม อื ถือทําตาหวัง
หลังโกง ” เปนงานรายบคุ คลและสงครูผสู อน ( 5 คะแนน)
“โทรศพั ทม อื ถอื ทําตาหวงั หลังโกง”
เคยมแี ตป รารภกันถึงโทษของโทรศพั ทม ือถือเลก็ ๆ นอย ๆ กันบอ ย ๆ แตบ ดั นไี้ ดม ีการคนพบ
อนั ตรายใหญของมนั โดยเฉพาะไดท าํ ลายทาทางทรงตวั ของเราลง ไมเพยี งแตทําใหค อแขง็
นักกายภาพบําบัดผูมีชื่อเสยี งของนิวซีแลนดไ ดก ลาววา เทคโนโลยีไดก ดตัวเราใหหลงั งอ
อยางทเี่ ขาเรียกวาหลงั โกง ปกติศรี ษะของแตล ะคนจะหนกั ประมาณ 10- 12 ปอนด แตวา เวลาเรากําลัง
ใชโทรศัพทอ ยนู น้ั เราตองกม คอเราเปน มุม 60 องศา กลายเปนภาระหนกั ของคอ นอกจากท่ีตองรบั
น้ําหนักเดมิ อยูแ ลว
ทาหลงั โกง ดังกลาวนั้นใหผ ลรา ยกับรางกายของเราหลายอยา ง ตั้งแตมันทําใหเ ราอารมณต ก
หมดความภาคภูมิใจในตนเอง และยงั อาจจะกระทบกบั ความจําของเราดว ย เขาอธิบายตอไปวา ขนาด
ของโทรศพั ททม่ี ีขนาดเลก็ นั้น ทําใหเราตองกม ตัวของเราลง และยงิ่ ถกู ยอ ใหม ขี นาดเล็กลงเทาไร ก็ทาํ ให
เราจะตองกมตัวลงไปมากเทานนั้ มันเหมอื นกบั ทาํ ใหเราตกอยใู นทาทที ี่อยูในภาวะจาํ ยอม เขาไดส รปุ
ตอนทายวา มนั กน็ า แปลกเหมอื นกนั ทเี่ ครอ่ื งมอื ทคี่ ิดประดิษฐข้ึนเพื่อจะใหเพิม่ สมรรถภาพและ
ประสิทธิภาพในการทํางานของเรามากข้นึ กลบั มาลดภาระแสดงออกและบอนทาํ ลายความสามารถ
ในการทํางานใหนอ ยลงไป
กจิ กรรมที่ 2 แบง กลุมผูเรยี นตอ คาํ ประพนั ธ ประเภทกลอนสุภาพ ใหม ีความยาว 2 บท หรือ
8 วรรค ในหัวขอ “ธรรมชาตยิ ามเชา อากาศด”ี (5 คะแนน) เปน งานกลุมและสงผสู อน
ธรรมชาติยามเชา อากาศดี ........................................................
........................................................ ........................................................
........................................................ ........................................................
........................................................ ........................................................
42
กจิ กรรมที่ 3 ใหผูเรียนเขียน “การปฏิบตั ติ นเปนผูมีมารยาทในการเขยี นและมกี ารจดบนั ทึก
อยา งสมาํ่ เสมอ" เปน งานรายบุคคลและสง ครูผสู อน (3 คะแนน)
43
บทที่ 5
หลักการใชภ าษา
เร่ืองท่ี 1 ธรรมชาติของภาษา
ภาษา หมายถงึ เครือ่ งมือทีม่ นุษยใชในการส่อื สาร สอ่ื ความหมายใหมีความเขาใจ
ความรูส กึ นกึ คิด หรือถายทอดความรรู ะหวางบคุ คล หรือกลุม บคุ คลหรอื สาธารณชนไมวาจะเปน
ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาทา ทาง ตลอดจนสญั ลักษณตา ง ๆ
ความสาํ คญั ของภาษา
1. ภาษาเปนเครอ่ื งมอื ในการติดตอสื่อสาร
2. ภาษาเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู ความคิด และความบนั เทิง
3. ภาษาเปนเครอื่ งมอื ในการประกอบอาชีพ
4. ภาษาเปน เครอ่ื งมือในการปกครองและการอยรู ว มกนั ในสงั คม
5. ภาษาเปนเคร่ืองมอื ในการถา ยทอดเชื่อมโยงวัฒนธรรมประเพณจี ากรนุ สรู นุ ใหด ํารงอยู
คสู งั คมไทย
ธรรมชาตขิ องภาษา
1. ภาษาใชเสียงส่ือความหมาย ธรรมชาติของภาษาทุกภาษาจะใชเสียงในการสื่อ
ความหมายท้งั สน้ิ เชน
ปา ปา ปา
ปา หมายถงึ อาการทขี่ วางของออกไปจากมอื ไปยังเปาหมายขา งหนา เชน ปาเปา
ปา หมายถงึ พนื้ ทท่ี ่มี ตี นไมอ ยูจาํ นวนมาก
ปา หมายถงึ พ่สี าวของพอ หรอื แม
2. ภาษาเกดิ จากการรวมหนวยเลก็ ๆ เปน หนวยทใ่ี หญข ึ้น ตัวอยางเชน ภาษาไทยเมือ่ รวม
พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ตจ ะเปน คาํ คาํ มากกวา หน่ึงคาํ เปนวลี จากคาํ หลายคําหรือวลีหลาย
วลีรวมกนั เปน ประโยค
3. ภาษามีการเปลี่ยนแปลงสาเหตุของการเปลย่ี นแปลงมดี ังน้ี
3.1 จากการพดู ในชีวิตประจาํ วนั เชน สูจนเยบ็ ตา เปน สูจ นยบิ ตา อยา งน้ี เปน
อยางง้ี
3.2 อิทธพิ ลของภาษาอื่น เชน โอเค เจง ฮัลโหล
44
3.3 ความเปล่ียนแปลงของสงิ่ แวดลอม ภาษาจะถูกเปล่ยี นแปลงไปตามยคุ สมยั
และใชอ ยใู นชวงระยะเวลาหนึง่ เทา น้ัน ซึ่งเรยี กวา คําแสลง เชน เอา ะเอาะ กระจอก เรยี บรอ ย
โรงเรียนจนี ซา เวอ
ลักษณะของภาษาไทย ภาษาไทยมีลกั ษณะสาํ คญั สรุปไดด งั น้ี
1. ภาษาไทยมตี ัวอกั ษรเปนของตัวเอง กลาวคอื มีรูปพยญั ชนะ 44 ตวั 21 เสยี ง มีสระ 32
รูป 24 เสียง และมเี สียงวรรณยุกต 5 เสยี ง 4 รปู
2. ภาษาไทยแทจะเปน ภาษาคําโดด คือ เปลงเสียงออกมา 1 เสียงและมีความหมาย เชน
พอ แม กนิ นอน บา น เรือน พ่ี นอ ง
3. ภาษาไทยแทจ ะมตี วั สะกดตรงตามมาตรา เชน นก ยืน นัง่ ดาว ยาย สม จับ ปด
4. คําคําเดียวกันทาํ หนาท่ีตางกนั ความหมายตางกนั เชน
ตาน่งั จกั ตอกในขณะทพ่ี อ ตอกตะปู
แมตกั ขาวใสข ันเตรียมใสบาตรตอนทไ่ี กข ันตอนเชา ตรู
5. ภาษาไทยเปนภาษาเรียงคําเม่ือสลับคํากันความหมายจะเปลี่ยน เชน เพื่อนพ่ี กับ
พเี่ พื่อน การเรียงประโยคจะเรียงจากประธาน กริยา และกรรมตามลําดับ เชน ครูตีนักเรียน คํา
ขยายจะอยตู อ จากคาํ ท่ขี ยาย เชน ชายชราเลยี้ งหมาสีขาว
6. ภาษาไทยมคี ําลักษณะนาม เชน ชาง - เชอื ก โขลง รถยนต - คนั มุง - หลัง เลื่อย - ปน
ขลยุ - เลา
7. ภาษาไทยมีลักษณะเปน ภาษาดนตรีคอื มีเสยี งตา่ํ เสยี งสงู มเี สยี งคลอ งจองและมคี ํา
เลยี นเสยี งธรรมชาติ
เชน จา จา จา จา จา ปา ปา ปา ปา ปา
ไปไหนมาสามวาสองศอก ขงิ ก็ราขาก็แรง
เสยี งฟารอ งครางครนื ครืน ระฆังดังหงา งหงา ง
8. ภาษาไทยมีคําพองรูปและพองเสยี ง
คาํ พองรูป คอื เขยี นเหมอื นกันอา นออกเสียงตางกันความหมายตางกนั
เชน เพ - ลา - เพลา โค - ลง - โคลง
คาํ พอ งเสียง คอื ออกเสยี งเหมือนกนั แตเ ขียนตา งกันความหมายตา งกัน
เชน การ กาฬ กาล การณ กานต กานท กาญจน
9. ภาษาไทยมกี ารสรา งคาํ ใหมท ัง้ คําที่มาจากภาษาอืน่ การประสมคาํ และการบญั ญัติคาํ
ขึน้ ใหม