45
การนําคําจากภาษาอื่นมาแปลงเสียง เชน เสยี ง - สาํ เนยี ง อวย - อาํ นวย ชุม - ชอุม
วธิ ี - พิธี - วหิ าร - พิหาร
การประสมคาํ เชน ตูเยน็ พดั ลม แมนํา้
การบญั ญัตคิ ําขึ้นใหม เชน โทรทัศน วดิ ีทัศน โลกกาภวิ ัฒน วิสยั ทศั น
10. ภาษาไทยมคี าํ สรอ ยหรือเสรมิ บทเพอื่ ใหไ พเราะนาฟง เชน กินขาวกนิ ปลา
ไปลามาไหว เออออหอ หมก
เร่อื งที่ 2 ถอยคาํ สาํ นวน คาํ พังเพย สุภาษติ
ถอยคําสาํ นวน หมายถงึ ถอ ยคาํ ที่นํามาเรยี บเรยี งใหมเ กดิ ความหมายใหมขึ้นทไ่ี มใช
ความหมายโดยตรงแตผ ูฟ ง จะเขาใจไดท ันที เชน ปากหวาน ใจใหญ ใจกวาง แมพระ พอพระ
สาํ นวนไทย หมายถงึ ถอ ยคําทเ่ี รยี บเรยี งและใชกันอยา งแพรหลาย เขาใจความหมายได
ทนั ที เชน ปากหวาน ใจออ น ใจแข็ง ใจงา ย มอื เบา
ลกั ษณะของสาํ นวนไทย มี 5 ลักษณะคอื
1. สํานวนไทยมคี วามหมายโดยนยั เชน กินดิบ - ชนะโดยงายดาย กนิ โตะ - รุมทาํ รา ย
กินหญา - โงไมม คี วามคดิ
2. สาํ นวนไทยมีความหมายใหตีความอยใู นตัว เชน เกลอื เปนหนอน กนิ ปูนรอนทอ ง ในนาํ้
มีปลาในนามีขาว ไกลปนเท่ียง
3. สาํ นวนไทยมีความหมายในเชงิ เปรียบเทยี บหรือคาํ อปุ มา เชน แข็งเหมือนเพชร ชาย
ขา วเปลือกหญิงขาวสาร ใจดําเหมอื นอีกา
4. สาํ นวนไทยมลี กั ษณะคาํ คมหรือคาํ กลา ว เชน ซ่ือกินไมหมดคดกนิ ไมน าน หาเชากินคํ่า
รักยาวใหบ ่นั รกั สั้นใหต อ
5. สํานวนไทยทม่ี ีเสียงสมั ผสั คลองจองกนั เชน ขา วแดงแกงรอน ประจบประแจง
เกบ็ หอมรอมริบ
สาํ นวน หมายถึง กลุม คําหรือวลีทีน่ ํามาใชใ นความหมายทีแ่ ตกตา งไปจากความหมายของคําเดิม
เชน เร่ืองกลว ย ๆ ไมไดหมายความถงึ เร่ืองของผลไม แตห มายความวา เปนเร่อื งงาย ๆ ปากหวาน
หมายความวา พูดเพราะ ลูกหมอ หมายถงึ คนเกา คนแกข ององคกรใดองคก รหนง่ึ เฒา หัวงู
หมายถึง ชายสูงอายุที่มีนสิ ยั เจา ชู
คาํ พงั เพย มคี วามหมายลึกซึ้งกวา สาํ นวนเปนคําท่ีกลา วขึ้นลอย ๆ และเปนกลาง ๆ มีความหมาย
ในการติชมหรือแสดงความคิดเห็นอยูในตัวเอง เชน เห็นกงจักรเปนดอกบัว หมายถึง เห็นสิ่งผิด
46
เปนสงิ่ ทดี่ งี าม หรอื เหน็ ผิดเปนชอบ รําไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนที่ทําผิดแตไมโทษตัวเอง
กลับไปโทษคนอื่นแทน
สุภาษิต หมายถึง คําที่กลาวไวดี คําพูดที่ยึดถือเปนคติส่ังสอนใหทําความดี ซ่ึงคําสุภาษิต
สวนใหญจ ะเกดิ จากหลกั ธรรมคาํ สอนทางศาสนา เหตุการณหรือบุคคลสําคัญท่ีเปนท่ีเคารพนับถือ
ของประชาชนสวนใหญ เชน ทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว ความพยายามอยูท่ีไหนความสําเร็จอยูท่ีนั่น
ใจเปนนายกายเปน บาว ทีใ่ ดมรี ักทน่ี ่นั มที กุ ข
เรอ่ื งท่ี 3 ลักษณะของประโยคในภาษาไทย
ลกั ษณะของภาษาไทยหนว ยที่เล็กทีส่ ดุ คอื พยางค คํา วลี และประโยค
พยางค หมายถึง หนวยทเ่ี ลก็ ท่ีสุดในภาษาไทยทอ่ี อกเสยี งออกมาครั้งหนงึ่ จะมคี วามหมายหรอื ไม
กไ็ ด เชน กิ ฉนั ปา เออ
คํา หมายถึง หนวยในภาษาไทยท่มี ีความหมายในตัวจะมีกพ่ี ยางคก ็ได เชน
มะละกอ 1 คาํ มี 3 พยางค หมายถงึ ผลไมช นิดหน่ึง
มลู คา 1 คาํ มี 3 พยางค หมายถงึ ราคา
สมยั 1 คาํ มี 2 พยางค หมายถงึ ชวงระยะเวลาหน่งึ
วลี หมายถงึ กลมุ คําทม่ี คี ําตง้ั แต 2 คําขึน้ ไปมารวมกนั ท่ีมคี วามหมายแตย ังไมเ ปนประโยค
เชน ดอกมะลิ เปน 1 วลี มี 2 คาํ คือ ดอกและมะลิ มี 3พยางค
ชายหาดแมรําพึง เปน 1 วลี มี 4 คํา คือ ชาย หาด แม ราํ พึง และมี 5 พยางค
ประโยค หมายถึง กลุม คําทนี่ าํ มาเรยี งแลวมีความหมายวา ใครทําอะไร โดยประโยคจะมี 2 สวน
คือ ภาคประธานและภาคกริยา เชน ฉันทํางาน ฉันเปนภาคประธาน ทํางาน เปน ภาคกรยิ า
ลักษณะของประโยคทแ่ี บงตามเจตนาของการสอ่ื สารได 4 ประเภท คอื
1. ประโยคบอกเลา มเี นอ้ื หาในเชงิ บอกกลาววาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เชน คุณพอ
ไปกรดี ยาง
2. ประโยคปฎิเสธ มีเนื้อหาใจความในทางปฎเิ สธโดยจะมคี ําวา ไม มิใช มไิ ด ไมไ ด ใชว า
เชน คนรวยใชวาจะเปน คนดเี สมอไป
3. ประโยคคาํ ถาม มีเน้ือหาของประโยคในเชิงคาํ ถามโดยจะมีคําที่แสดงคาํ ถามวา อะไร
ทําไม อยางไร ท่ีไหน ไหม เชน เธอจะไปเที่ยวกบั เราไหม เราจะแกไ ขปญ หานี้อยางไร
4. ประโยคขอรอ งและคาํ สงั่ เปน ประโยคท่ีมีเนือ้ หาบอกใหท ําหรือใหป ฎิบัติตามตา งกนั ท่ี
47
ประโยคขอรองจะมีคาํ ท่อี อ นโยน สภุ าพมากกวา ประโยคคาํ สง่ั ดังนี้
ประโยคขอรอง เชน โปรดเออ้ื เฟอ แกเ ดก็ สตรแี ละคนชรา
ประโยคคาํ ส่ัง เชน ปด ประตูหนาตางใหเ รยี บรอยนะ
ลักษณะของประโยคที่แบง ตามโครงสรา งของประโยคได 4 ชนิด คอื
1. ประโยคความเดียว หรือเอกรรถประโยค คอื ประโยคที่มใี จความสําคัญเพยี งใจความ
เดยี ว เชน เขาเปน คนมีระเบยี บวนิ ัย คณุ ยายชอบทาํ บญุ
2. ประโยคความรวม แบง เปนลกั ษณะยอ ย ๆ ได 4 ชนิด คือ
2.1 ประโยคคลอ ยตามกนั มักจะมีคาํ สันธาน กับ คร้ัน แลว จึง เช่ือมประโยค เชน
พี่กบั นองไปเท่ียวกัน เขาเปน เดก็ ดจี งึ มแี ตคนรกั
2.2 ประโยคขัดแยงกัน มักจะมคี าํ สันธาน แต กวา แตทวา เชอื่ ม เชน
ถึงเขาจะรวยแตก็รูจกั ใชจ าย กวาถ่ัวจะสุกงาก็ไหม
2.3 ประโยคใหเ ลือกอยางใดอยา งหนึ่งมกั จะมคี ําสนั ธาน หรือ มิฉะนั้น ไมเชน นน้ั
เช่ือม เชน เธอจะซกั ผาหรือถบู า น ตอ งทํางานมิฉะน้ันจะไมม เี งนิ
2.4 ประโยคเปนเหตุเปนผลกัน มีคาํ สันธาน จงึ เพราะ ดงั นน้ั มิฉะน้ัน เชอ่ื ม เชน
คนจนเพราะไมข ยันทํากนิ เพราะฝนตกเขาจึงมาสาย
3. ประโยคความซอ น เปน ประโยคท่ีมีความสําคญั เพียงใจความเดียว เรยี กวา มุขยประโยค
ประโยคท่ีมีใจความรอง เรียกวา อนปุ ระโยค ซง่ึ มีหนาท่ีขยายสว นใดสวนหน่ึงของประโยคหลัก
อนปุ ระโยคมี 3 ชนิด คือ
3.1 นามานปุ ระโยค คือ อนปุ ระโยคที่ทําหนา ท่คี ลา ยคํานาม เชน แมตีลกู พูดคาํ
หยาบ แมตลี ูกเปนมุขประโยค ลกู พดู คําหยาบเปน อนปุ ระโยค ครูสอนเด็กทาํ การบา น ครูสอนเด็ก
เปน มขุ ประโยค เดก็ ทําการบานเปนอนุประโยค
3.2 คุณานปุ ระโยค อนุประโยค ทําหนาที่ประกอบคาํ นาม หรือคําสรรพนาม เชน
ลูกหมาสีดาํ ตายแลว ลกู หมาตายแลว เปน มขุ ประโยค ลูกหมาสดี ี เปน อนุประโยค นอ งคนเล็ก
เรยี นจบแลว นอ งเรียนจบแลว เปนมุขประโยค นองคนเล็กเปน อนุประโยค
3.3 วิเศษณานปุ ระโยค อนปุ ระโยคทาํ หนา ทีป่ ระกอบคาํ กรยิ าหรอื คาํ วเิ ศษณ
เชน เขากลบั บานเมอ่ื ทกุ คนหลบั แลว (วิเศษณบ อกเวลา) นอ งชายเดินเหมือนพอมาก
(แสดงความเปรียบเทียบ)
4. ประโยคระคน เปนการนาํ ประโยคท้ัง 3 ลกั ษณะขางตน มาเขียนตอ เนื่องกนั เปน
ขอความยาว ๆ หรอื เปนเรือ่ ง กจ็ ะเปนลักษณะของประโยคระคนเสมอ เชน ครอบครัวของเรามี
48
สมาชกิ จาํ นวน 5 คน ตอนเชา พอ กับแมไปทํางานในขณะทีล่ ูก ๆ ไปโรงเรยี น ตอนเย็นพวกเรา
จึงจะไดอยูพรอมหนาพรอมตาและรบั ประทานอาหารเย็นรว มกัน
เรอื่ งที่ 4 คาํ สุภาพและคําราชาศพั ท
ภาษาไทยเปนภาษาทมี่ ีระดบั ในการใชใหเหมาะสมกับบุคคล สถานการณ เวลา สถานท่ี
ในสองลักษณะคอื คําสภุ าพ และคาํ ราชาศัพท
คาํ สุภาพ เปน ภาษาระดบั กลางทใ่ี ชไ ดกบั บคุ คลทัว่ ไป ในลักษณะตา ง ๆ ดังน้ี
1. ใชภ าษาหนังสอื ในการพูด แทนบุคคลใกลช ิดในครอบครวั เชน บิดา
มารดา ใหแทนคําวา พอ แม สามี - ภรรยา แทน ผัว - เมยี บุตร แทน ลกู
2. ใชคําสุภาพท่เี ก่ยี วของกบั การดําเนนิ ชวี ติ ทว่ั ๆ ไป เชน กิน เปน
รับประทานแทน ใชช วี ิต เปนดาํ เนินชวี ิต
3. ใชคาํ สุภาพใหต ดิ ปากในการสนทนาท่ัว ๆ ไป เชน หวั เปน ศีรษะ ตีน เปน เทา
4. ใชคําลงทายประโยคดว ยคาํ ตอบรับ คําทกั ทาย คะ ครับ สวสั ดคี ะ สวัสดคี รบั คําขอโทษ
คาํ ขอบคุณ ตามความเหมาะสมกับโอกาสและสถานการณอ ยเู สมอ
5. หลีกเล่ียงการใชภ าษาทจ่ี ะทาํ ใหผ ฟู งไมส บายใจ การใชภ าษาแสลง คําพดู สองแงส องงา ม
คํากระทบกระเทยี บเปรียบเปรย
6. ใชคําสภุ าพทงั้ ในภาษาพดู และภาษาเขียนใหถ กู ตอง เพราะในภาษาพดู และภาษาเขียน
บางครั้งใชไ มเหมือนกัน เชน
ภาษาพดู ภาษาเขียน
หมู สุกร
หมา สนุ ัข
นํ้าทว ม อทุ กภยั
ไฟไหม เพลิงไหม , อัคคีภยั
คําสุภาพทคี่ วรรูจกั มคี ําบางคาํ ท่คี นสวนใหญใชเ รียกจนเปน ปกติ ซง่ึ ภาษาไทยมคี าํ สภุ าพท่ี
ใชเรยี กดวย แตคนสว นใหญไมคอ ยรจู กั คําสภุ าพนั้น เชน
ขนมขี้หนู คําสภุ าพ ขนมทราย ผกั ตบ คําสุภาพ ผกั สามหาว
ปลาสลิด คาํ สภุ าพ ปลาใบไม ผักบงุ คําสภุ าพ ผกั ทอดยอด
สากกะเบือ คาํ สุภาพ ไมตพี รกิ ผกั กระเฉด คําสภุ าพ ผักรนู อน
ววั คําสภุ าพ โค ควาย คําสภุ าพ กระบือ
49
คําราชาศพั ท หมายถงึ คําศัพททใ่ี ชสําหรบั บคุ คลที่ควรเคารพนับถือตงั้ แต พระราชา
พระราชนิ ี พระบรมวงศานวุ งศ พระภิกษุ ตลอดจนคนสามัญธรรมดา ทม่ี ยี ศมีตําแหนง ในทาง
ราชการดวย เน่ืองจากคําราชาศัพทมีทมี่ าจากการปกครองบานเมืองท่ีเปล่ียนแปลงจากแบบ
พอ ปกครองลกู เปน พระเจา แผน ดินกบั พลเมือง จงึ เปนการสรา งคาํ ขึ้นใหม ใน 2 ลกั ษณะ คอื
1. ยมื คาํ จากภาษาอน่ื มาใชเ ปนคาํ ราชาศัพท ไดแ ก
1.1 ยืมคําจากภาษาบาลี สันสกฤต เน่ืองจากภาษาบาลี - สันสกฤตเปนภาษาท่ีใชกัน
ในศาสนาพุทธและพราหมณ เมื่อยืมคํามาใชในภาษาไทยเปนคําราชาศัพทจะตองเติม พระ หรือ
พระราช ขางหนา เชน พระเนตร พระพักตร พระกรรณ พระราชโอรส พระราชธิดา
1.2 ยืมคําจากภาษาเขมร เนื่องจากประเทศไทยกับประเทศกัมพูชามีพื้นท่ีชายแดนที่
ติดตอกัน ทําใหมีการติดตอส่ือสารกันมาชานานทางดานภาษาจึงมีคําไทย ท้ังที่เปนภาษาสามัญ
และคาํ ราชาศพั ทท่เี รามกี ารยืมคาํ ภาษาเขมรมาใชเปนจํานวนมาก คําราชาศัพทท่ียืมมาจากภาษา
เขมรมีทั้งท่ีเติมคําวา พระ พระราช และไมเติม เชน พระเพลา พระเขนย พระราชดําเนิน
พระราชดาํ ริ เสด็จ บรรทม โปรด
1.3 ยมื คําจากภาษามาลายู เนื่องมาจากมีพื้นที่ชายแดนที่ติดตอกันทางภาคใตของไทย
คําที่เปนที่รูจักกันดีและนํามาใชในคําราชาศัพท คือ พระศรี จาก sireh แปลวา ใบพลู ในภาษา
มาลายู
2. นาํ คําจากภาษาอน่ื มาสรา งเปน คาํ ใหมในลกั ษณะคําประสมของไทย ไดแ ก
2.1 เปน คําไทยทน่ี าํ มาเติมคําวา พระขา งหนา เชน พระพ่นี าง พระอู พระที่
2.2 เปนคาํ ไทยท่นี ําคําวา ทรง มาเติมขา งหนา เชน ทรงชา ง ทรงมา ทรงเลน
2.3 เปนคําไทยที่นํามาผสมกันใหเปนคําราชาศัพท เชน รับส่ัง เพ่ือนตน หองเครื่อง
(ครัว) ชางตน
2.4 นําคําไทยประสมกับคําตางประเทศท่ีใชเปนคําราชาศัพทอยูแลวใหเปนคําราชา
ศัพทคําใหม เชน มูล + พระชิวหา เปนมูลพระชิวหา (ล้ินไก) บัน + พระองค เปน บันพระองค
(เอว) พาน + พระศรี เปน พานพระศรี (พานหมากพลู) นํ้า + พระทัย เปน น้ําพระทัย
เอา + พระทยั + ใส เปน เอาพระทยั ใส
การใชคําราชาศัพท การใชคําราชาศัพทท่ีสําคัญคือ จะตองใชใหตรงกับฐานันดรศักด์ิชั้นของ
บุคคล ยศตาํ แหนง ใหถกู ตอ งเหมาะสมตามประเพณนี ิยมในท่นี ้จี ะขอกลาวถึงหมวดที่สําคัญและมี
ความจําเปน ทจ่ี ะตอ งรู 2 กลุม คอื กลมุ คาํ สรพพนาม และกลุมคํากริยา
50
กลมุ คาํ สรรพนาม จะแบงออกเปน 3 กลมุ ยอ ย คือ
1. คาํ สรรพนามบุรุษที่ 1 (ใชแทนตวั ผพู ูด)
บคุ คลทว่ั ไป ใช ขาพระพทุ ธเจา สําหรบั พระราชาหรือเจา นายช้ันสูง
เจา นายผูนอย ใช เกลา กระหมอ ม สาํ หรบั เจา นายผูใ หญ
เจา นายผูใหญ ใช กระหมอมฉัน สําหรบั เจา นายทีเ่ สมอกัน
เจานาย (ชาย) ใช กระหมอ ม สาํ หรับ เจานายเสมอกันหรอื ต่าํ กวา
เจา นาย (หญงิ ) ใช หมอมฉัน สาํ หรับ เจา นายเสมอกนั หรอื ตาํ่ กวา
บคุ คลทัว่ ไป เกลากระหมอ ม
พระภิกษสุ ามเณร ใช เกลา ผม สําหรับ ขา ราชการชัน้ ผูใหญห รอื พระภกิ ษผุ ูใหญท ีน่ บั ถอื มาก
เกลาฯ
พระภกิ ษสุ ามเณร ใช อาตมาภาพ สาํ หรบั ผูใหญหรือพระภกิ ษสุ งฆท ีน่ บั ถือผนู อย
บุคคลทว่ั ไป ใช กระผม
ผูใหญ ใช ผม สาํ หรับผูใ หญหรือพระภิกษสุ งฆท ีน่ ับถือผนู อ ย
ผูนอย ใช ดิฉนั (หญงิ )
บคุ คลทว่ั ไป
ผใู หญ ใช ฉัน สําหรบั บุคคลทวั่ ไป
ผูนอ ย ผนู อ ย (ท้ังคฤหสั ถแ ละพระสงฆ)
2. คาํ สรรพนามบุรุษที่ 2 (ใชเรียกผูทส่ี นทนาดวย)
เจา นายหรอื บคุ คลท่วั ไป ใช ใตฝา ละอองธลุ พี ระบาท สําหรบั พระเจาอยูหวั หรอื พระราชนิ ี
เจานายหรอื บคุ คลทวั่ ไป ใช ใตฝา ละอองธุลพี ระบาท สาํ หรบั พระบรมโอรสาธิราชฯ สมเด็จ
พระเทพฯ
เจา นายหรือบุคคลทั่วไป ใช ใตฝ า พระบาท สาํ หรบั เจา นายชนั้ สงู
เจานายเสมอกันหรือบุคคลทัว่ ไป ใช ฝาพระบาท สาํ หรบั เจา นายชน้ั รองลงมา
บุคคลทว่ั ไป ใช พระคณุ เจา สําหรับ พระภิกษทุ ่นี บั ถือ
บุคคลทวั่ ไป ใช พระเดชพระคุณ สําหรบั เจานายหรอื พระภิกษุท่ีนบั ถอื
พระภกิ ษุสามเณร ใช สมเดจ็ บรมบพิตร สาํ หรบั พระราชา (ยกยองนบั ถอื มาก)
พระภิกษุสามเณร ใช มหาบพติ ร สําหรบั พระราชา
พระภิกษสุ ามเณร ใช บพิตร สําหรับ เจานายหรอื ขุนนางขัน้ สูง
บคุ คลทั่วไป ใช ทาน สําหรับ บุคคลท่ัวไป (ยกยองใหเกยี รต)ิ
บคุ คลทว่ั ไป ใช คุณ สําหรบั บคุ คลทั่วไป
51
ผูใหญ ใช เธอ สําหรับ ผนู อย
บคุ คลทวั่ ไป ใช เธอ สําหรบั บคุ คลท่ัวไป (สนทิ กัน)
3. คําสรรพนามบุรุษท่ี 3 (ใชเ รียกบคุ คลท่กี ลาวถงึ )
บุคคลทั่วไปหรือเจา นาย ใช พระองค สาํ หรับ พระพทุ ธเจา เทพผเู ปน ใหญ พระราชา และเจา นาย
ช้นั สูง
บุคคลทั่วไป ใช ทาน สําหรบั เจานาย พระภกิ ษุ ขา ราชการช้นั ผใู หญ และผใู หญทีใ่ หความนับถอื
กลมุ คํากรยิ า การใชค ําราชาศัพททเี่ ปนกริยาคําท่ัว ๆ ไป ทีใ่ ชในชวี ติ ประจําวันจะแตกตางกัน
อยา งชัดเจน คือ คาํ ราชาศพั ท สาํ หรับ พระมหากษตั ริย และพระภกิ ษสุ งฆ
เชน เกิด ใช พระราชสมภพ สาํ หรบั พระราชา พระราชนิ ี
ประสูติ สาํ หรบั เจานายช้ันสูง
ปวย ใช ทรงพระประชวร สําหรับ พระราชา พระราชินี
ใช ประชวร สาํ หรบั เจานายช้นั สงู
ใช อาพาธ สาํ หรบั พระราชา พระภิกษุสงฆ
ตาย ใช สิ้นพระชนม สาํ หรบั เจา นายช้นั สงู และพระองคเ จา
สิน้ ชีพิตักษัย สาํ หรับ หมอมเจา
ถึงชพี ติ ักษัย สาํ หรับ หมอมเจา
อนิจกรรม สาํ หรบั ขา ราชการช้นั ผูใ หญ
มรณภาพ สาํ หรับ พระภกิ ษสุ งฆ
ถงึ แกกรรม สําหรับ บคุ คลท่ัวไป
ลม สําหรับ สตั วใหญท ีเ่ ปนพาหนะ เชน ชาง , มา
ฟง ธรรม ใช ทรงธรรม สาํ หรับ พระราชา , พระราชินี
ตักบาตร ใช ทรงบาตร สําหรบั พระราชา , พระราชินี
รบั ศลี ใช ทรงศีล สําหรับ พระราชา , พระราชนิ ี
เชญิ ใช นิมนต สาํ หรับ พระภิกษสุ งฆ
นอน ใช เขา ที่พระบรรทม สําหรบั พระราชา , พระราชนิ ี
บรรทม สําหรบั เจานาย
จําวัด สําหรบั พระภิกษสุ งฆ
บอก ใช กราบบังคมทลู พระกรณุ า สําหรับ พระราชา
กราบบงั คมทูล สําหรับ ราชินี ยพุ ราช เจานายชั้นสงู
กราบทูล สาํ หรบั เจานาย
52
รู ใช ทลู สําหรับ เจา นายทีเ่ สมอกันหรือตํ่ากวา
กราบเรียน สาํ หรับ ขา ราชการชน้ั ผใู หญ
เรยี น สําหรับ บุคคลทัว่ ไปทย่ี กยอ ง
ถวายพระพร สาํ หรับพระภิกษุกบั พระราชา
หรอื เจานายชัน้ สูง
เจริญพร สาํ หรบั พระภกิ ษุสงฆกับบุคคลท่ัวไป
ทราบฝา ละอองธลุ พี ระบาท สําหรบั พระราชา
ทราบฝา ละอองพระบาท สําหรบั ราชนิ ี ยุพราช
ทราบฝา พระบาท สาํ หรับ เจานายชน้ั สูง
ทรงทราบ สําหรับ เจานาย พระสงั ฆราช
เร่อื งที่ 5 เคร่ืองหมายวรรคตอน
เครือ่ งหมายวรรคตอน หมายถงึ เคร่อื งหมายสัญลักษณตาง ๆ ท่ใี ชในการเขียนหนังสือเพ่อื
สอ่ื ความหมายใหเขา ใจตรงกันกับผูท่ีอา นงานเขยี นนั้น ๆ ซึ่งในทน่ี ้ีจะขอนําเสนอเฉพาะ
เครื่องหมายที่ใชใ นปจจบุ นั เทานัน้ ดังนี้
ฯ เรียกวา ไปยาลนอ ย ใชเ ขยี นไวขางหลงั คาํ ท่ีรูก ันโดยทวั่ ไปแทนคําเต็ม เชน กรุงเทพฯ
คาํ เตม็ คอื กรุงเทพมหานคร จฬุ าฯ คําเตม็ คือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ฯลฯ เรยี กวา ไปยาลใหญ ใชเ ขียนไวข า งหลังคําในกลุม เดยี วกนั พวกเดยี วกนั ทนี่ ํามาเพียง
ตัวอยา งเทานน้ั หมายความวายงั มีอีกมาก เชน พชื ผักสวนครวั มมี ากมาย เชน พรกิ มะเขอื
ตําลึง ฯลฯ
; เรยี กวา อัฒภาค หรือ จดุ ครงึ่ ใชค่ันคําหรอื ประโยคเล็ก ๆ ทีข่ นานกันในภาษาไทยไม
นยิ มใชม ีท่ีใชอยใู นพจนานุกรมดังน้ี (ป.วตต; ส.วตร) แปลวา บาลี ใชว ตั ต สนั สกฤต
ใช วัตร
. เรียกวา มหพั ภาค หรือจดุ ใชเขียนไวขา งหลังตัวอักษร หรือตวั เลข เชน 05.00 น. พ.ศ.
ม.ค. ม.ร.ว. คบ. สส.
: เรียกวา จดุ คู ใชหลังขอ ความที่จะมตี วั อยา งหรอื คาํ ชี้แจงเพม่ิ เติม เชน
พันธุ : พวงมาลยั วงควาน เผา พนั ธุ พนั ธุพืช
? เรียกวา ปรัศนี หรือเคร่ืองหมายคาํ ถามใชเ ขียนไวขางหลงั ประโยคคาํ ถาม เชน คุณจะ
ไปไหน? ทําไมไมไ ปโรงเรยี น?
53
! เรียกวา อัศเจรยี หรือเคร่อื งหมายตกใจ ใชเขียนไวขางหลงั คาํ อทุ านหรอื ขอความท่ีแสดง
เหตุการณท ีน่ าตกใจ เชน อยุ ! ตายแลว ! ไฟไหม! อนจิ จงั อนิจจา!
( ) เรียกวา นขลิขิต หรือวงเลบ็ ใชสําหรับโจทยคณติ ศาสตรใ หท ําในวงเลบ็ กอน ถาใชสําหรับ
ภาษาไทยจะเปน การขยายความเพิ่มเติม เชน โรงเรียนบานมะขาม (สาครมะขามราษฎร)
{ } เรียกวา วงเล็บปกกา ใชส ําหรบั จดั หมวดหมูข องคําหรอื ประโยค โดยจะใชท ้ังขา งหนาหรือ
ขา งหลงั หรือใชเพียงขา งเดยี วกไ็ ด ดังน้ี
ไมด อก
พชื ไมผล
ผัก
มะลิ
กหุ ลาบ
พกิ ลุ ดอกไม
ดอกไม ดอกแกว ในวรรณคดี
มณฑา
_____ เรียกวา สญั ประกาศ หรือขดี เสน ใต เพื่อใชเนนขอความใหผูอานไดส งั เกตไดช ัดเจน
มากกวา ขอความปกติอืน่ ๆ เชน ในขอสอบท่ีเปนคําถามปฏเิ สธ ดงั นี้ ขอ ใดไมเขาพวก
“ ” เรยี กวา อญั ประกาศ หรอื เครอื่ งหมายคาํ พดู ใชเพอ่ื กาํ กับขอ ความท่ีตองการเนน เปน
ความคิดหรอื คาํ พดู ในการสนทนา เชน คําวา “สมาธ”ิ สาํ คญั มากซึ่งจะตอ งใชค กู ับคําวา “สต”ิ
อยเู สมอ
” เรียกวา บพุ สญั ญาใชเขยี นคําที่อยขู างบนท่ีเหมอื นกัน โดยไมตองเขยี นคําน้นั ซา้ํ บอย ๆ
เชน
สมราคากโิ ลกรมั ละ 50 บาท
ฝรัง่ ” 40 บาท
องนุ ” 100 บาท
- เรียกวา ยตภิ ังค หรือยัติภงั ค หรือขีดสัน้ ใชเขียนระหวางคําท่ีทา ยบรรทดั หรอื เขยี นแยกคาํ
อา น เชน สมมตุ ิ อานวา สม - มดุ
= เรยี กวา เสมอภาค หรอื สมพล หรอื เครื่องหมายเทา กับ ใชเขยี นระหวา งคําหรอื ขอความ
หรือตัวเลขวาขา งหนาและขางหลังเครอื่ งหมายมีความเทา กนั เชน 3 + 4 = 7 สตรี = เพศหญงิ
54
ๆ เรียกวา ไมยมก ใชเขียนไวขางหลังคําหรือขอความเพื่อใหอานออกเสียงซํ้าคําหรือขอความน้ัน
เชน อะไร ๆ ท่ดี ไี ปหมด ทําอะไรระวัง ๆ หนอ ยนะ
กจิ กรรมทายบทท่ี 5
กิจกรรมที่ 1 แบง กลมุ ผเู รียนทาํ รายงานเร่อื งการใชสํานวน สภุ าษิต คาํ พังเพย คาํ สุภาพ
และคําราชาศพั ท พรอมบอกความหมายที่ถกู ตอง อยางละ 10 คาํ เปนงานกลมุ และสง ครผู สู อน
(5 คะแนน)
กจิ กรรมที่ 2 ใหผ ูเรียนเขยี นรายชอ่ื วรรณคดี วรรณกรรมปจจุบัน และวรรณกรรมทองถิน่ และ
ขอ ใดท่ีไดรับจากการอานดงั กลา วตามแบบรายการดงั น้ี (3 คะแนน)
1. รายชอื่ วรรณคดที เ่ี คยอาน ขอ คดิ ท่ไี ดรบั
…………………………………………... ……………………………………………...
…………………………………………... ……………………………………………...
2. รายชอ่ื วรรณกรรมท่เี คยอา น ขอ คดิ ทีไ่ ดรบั
……………………………………………... …………………………………………...
……………………………………………... …………………………………………...
3. รายชอ่ื วรรณกรรมทอ งถน่ิ ที่เคยอา น ขอ คดิ ท่ีไดร บั
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
กิจกรรมท่ี 3 แบงกลุมผเู รยี นอภปิ รายสรุปเรอื่ งการใชภ าษาไทยในการพูดและการเขียน
เพ่อื การประกอบอาชีพ เปน งานกลมุ และสงผสู อน (5 คะแนน)
55
บทที่ 6
วรรณคดี วรรณกรรม
เรอ่ื งท่ี 1 วรรณคดี วรรณกรรม
วรรณคดี
วรรณคดี หมายถงึ วรรณกรรมหรอื หนังสือทีไ่ ดร บั การยกยองวาแตงดมี ีวรรณกรรม
ศิลป กลาวคือ มีลักษณะเดนในเชิงประพันธ การใชถอยคําภาษา มีคุณคาสูงในดานความคิด
อารมณและความเพลิดเพลินทําใหผูอานเห็นความงาม ความไพเราะ เกิดความซาบซึ้งกินใจ
วรรณคดจี ึงมคี วามงดงามดา นวรรณศลิ ป ชว ยยกระดบั จิตใจความรสู กึ และภมู ปิ ญ ญาของผูอานให
สูงขึ้น
วรรณกรรม
วรรณกรรม หมายถึง คาํ ประพันธท ุกชนิดทั้งที่เปนรอ ยแกวและรอยกรอง เปนงาน
เขียนท่ัว ๆ ไป ส่ิงซึ่งเขียนขึ้นท้ังหมด ไมวาจะเปนในรูปใด หรือเพื่อความมุงหมายใด กินความ
ครอบคลุมงานหนังสือทุกชนิดหรือสิ่งพิมพทุกประเภท ท้ังหนังสือท่ัวไป หนังสือตํารา หนังสือ
อางอิง วารสาร นติ ยสาร และเอกสารตา ง ๆ เปนตน และถา วรรณกรรมน้ันไดร บั การยกยอง
จากวรรณคดีสโมสรวาเปน วรรณกรรมท่แี ตงดจี ึงจะเรียกวรรณกรรมนน้ั วา “วรรณคด”ี
วรรณกรรมปจ จบุ ัน
วรรณกรรมไทยปจจุบัน น้ันหมายถึง วรรณกรรมในรูปแบบใดก็ตามไมวาจะเปน
รอยแกว หรือรอยกรอง ซึ่งขอบเขตของวรรณกรรมปจจุบันน้ันเริ่มตั้งแตสมัยเริ่มแรกของ
วรรณกรรมรอ ยแกว คอื ต้ังแตสมยั รชั กาลที่ 5 พ.ศ. 2442 จนถึงปจจุบัน
วรรณกรรมประเภทรอยแกวในปจจุบันจะอยูในรูปของบันเทิงคดี เชน เรื่องสั้น
นวนิยาย นทิ าน บทละคร สารคดี เชน บทความ หนังสือวชิ าการ งานวิจยั ฯลฯ
วรรณกรรมประเภทรอยกรองในปจจุบันเปนวรรณกรรมที่แตกตางจากเดิม คือ
เปน วรรณกรรมท่ีไมเนนวรรณศิลปทางภาษามากนัก ไมเนนในเรื่องของการใชภาษาแตเนนไปใน
เรอื่ งของการสื่อแนวคิด ส่ือขอคิดแกผูอานมากกวา เชน ใบไมท่ีหายไป ของ จิรนันท พิตรปรีชา
เปนตน
56
เร่อื งที่ 2 วรรณกรรมทอ งถิ่น
ภาษาถน่ิ
ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาท่ีใชส่ือความหมายตามทองถิ่นตาง ๆ ใชพูดกันแตละทองถ่ิน
โดยขึ้นอยูก ับบริบททางสังคมและสภาพแวดลอ ม ซ่ึงมเี อกลักษณเปนของตนเอง ซ่ึงจะแตกตางกัน
ในถอยคํา สําเนียงแตก็สามารถจะติดตอสื่อสารกันได และถือวาเปนภาษาเดียวกัน เพียงแต
แตกตางกันตามทอ งถ่นิ เทาน้ัน
ภาษาถ่นิ บางท่ีมักจะเรียกกันวา ภาษาพื้นเมือง ทั้งน้ี เพราะไมไดใชเปนภาษามาตรฐาน
หรอื ภาษากลางของประเทศ
ภาษาถิน่ หรือ สาํ เนยี ง คือ ภาษาเฉพาะของทอ งถ่นิ ใดทองถน่ิ หนึ่งทม่ี รี ูปลกั ษณะเฉพาะตัว
ทงั้ ถอ ยคําและสาํ เนยี งเปน ตน ภาษาถ่ินของไทยจะแบงตามภมู ิศาสตรหรือทองถิ่นที่ผูพูดภาษาน้ัน
อาศัยอยูในภาค ตาง ๆ แบงไดเปน 4 ถิ่นใหญ ๆ คือ ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถ่ินเหนือ ภาษาถิ่น
อีสานและภาษาถิน่ ใต
คุณคาและความสําคัญของภาษาถิ่น คือ เปนภาษาประจําถ่ินของกลุมชนที่บรรพบุรุษได
สรางสรรคและสืบทอดตอเนื่องมายังลูกหลาน โดยผานวัฒนธรรมทางภาษาท่ีเปนรากฐานทาง
ประวัติศาสตรและเปนบอ เกดิ ตนกําเนิดของวรรณกรรมทองถ่ิน และเปนสวนหนึ่งของภาษาไทย
และวรรณคดไี ทย การศกึ ษาภาษาถนิ่ จะชวยใหก ารสอ่ื สารและการศึกษาวรรณคดีได เขาใจลึกซึ้ง
ยง่ิ ข้ึน
วรรณกรรมทอ งถน่ิ
วรรณกรรมทองถิ่น หมายถงึ เรื่องราวของชาวบานท่ีเลาสืบตอกันมาหลายช่ัวอายุ
คนหรือผลงานท่เี กดิ ขึ้นจากการใชภ าษาโดยการพูดและการเขียนของกลมุ ชนในแตละทองถิ่นในรูป
ของ คติ ความเชื่อ และประเพณี เชน วรรณกรรมพื้นบานภาคเหนือ วรรณกรรมพ้ืนบานภาค
อีสาน วรรณกรรมพ้ืนบา นภาคใต เปนตน ซงึ่ ในแตล ะทองถิ่นก็จะใชภาษาพ้ืนบานในการถายทอด
เปน เอกลกั ษณ ใชถ อ ยคาํ สาํ นวนทอ งถิ่นทเ่ี รยี บงาย เปนวรรณกรรมทส่ี อื่ เร่อื งราวดานตาง ๆ ของ
ทองถน่ิ ใดทองถนิ่ หนง่ึ โดยเฉพาะ เชน จารีตประเพณี ชวี ิตความเปนอยู สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ทัศนคติ คานิยม ตลอดจนความเชื่อตาง ๆ ของบรรพบุรุษ อันเปนพื้นฐานของความคิดและ
พฤติกรรมของคนในปจจุบัน เชน นิทานพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย ภาษิต คําคม
บทเทศน และคาํ กลาวในพธิ กี รรมตาง ๆ
57
วรรณกรรมทอ งถิน่ แบง ไดเ ปน 2 ประเภท คือ
1.ประเภทมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมท่ีไมไดเขียนเปนลายลักษณ เปนวรรณกรรม
ปากเปลาจะถายทอดโดยการบอก หรือการเลาหรือการรอง ไดแก บทกลอมเด็ก นิทานพื้นบาน
เพลงพ้นื บาน ปริศนาคาํ ทาย ภาษิต สํานวนโวหาร คํากลาวในพิธกี รรมตา ง ๆ
2.ประเภทเขียนเปนลายลักษณ ไดแก นิทาน คํากลอน บันทึกทางประวัติศาสตร
ในทอ งถิ่นและตําราความรูตา ง ๆ
ภาษาถิ่นทีป่ รากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบนั วรรณกรรมทอ งถนิ่
การศกึ ษาภาษาถ่นิ ยอ มจะศึกษาทองถิ่นในดานท่ีอยูอาศัย ความเปนอยู ความเช่ือ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เพราะภาษาเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม ภาษาถิ่นจะ
รักษาคําเดิมไดด ีกวาภาษามาตรฐาน เพราะจะมกี ารเปล่ยี นแปลงทางภาษาและวฒั นธรรมนอยกวา
และมีประโยชนใ นการศึกษาดานวรรณคดีอีกดวย เพราะวรรณคดีเกา ๆ นั้น ใชภาษาโบราณ ซึ่ง
เปนภาษาถิ่นจํานวนมาก เชน วรรณคดีสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
ถา เราไมเ ขา ใจภาษาถน่ิ ทใ่ี ช ก็จะตีความไมออกและยากตอการศึกษาวรรณคดีนั้น ๆ ได ฉะน้ันจึง
ควรอยา งยิ่งท่ีจะตองศึกษาภาษาถ่ินทุกถ่นิ จึงจะมีความรูก วา งขวาง
แปลวา แพ ตวั อยา ง
หลกั ศิลาจารึกพอ ขนุ รามคาํ แหงหลกั ท่ี 1
“เมื่อกูข้ึนใหญไ ดส ิบเกา เขา ”
คําวา “เขา” แปลวา ป สบิ เกาเขา คอื อายุเตม็ 18 ยา ง 19
“ตนกูพุง ชางขนุ สามชนตวั ชอ่ื มาสเมอื งแพข ุนสามขนพา ยหน”ี
คําวา “แพ” ในทน่ี เี้ ปนภาษาถ่ินเหนือ แปลวา ชนะ คําวา “พาย” จงึ
ไตรภูมพิ ระรว ง
“เขาน้นั บม ิต่าํ บมิสูง บมิพี บมผิ อม”
“พ”ี ภาษาถิ่นใต หมายถงึ อว น ไทยมกั ใชคกู ันวา “อวนพี”
ลลิ ิตพระลอ
“ตรงึ นายแกว ยะยนั ตอ งนายขวัญทาวทบ”
“ทาว” ภาษาถน่ิ เหนอื และอีสาน หมายถงึ หกลม ลม
58
การเรียนรูภาษาถิ่นนอกจากจะทําใหสามารถเรียนรูวรรณกรรมทองถิ่นไดแลว ยังทําใหผูเรียน
สามารถติดตอสื่อสารกบั คนในทอ งถ่นิ ไดอยา งสะดวกและพูดภาษาถิน่ ไดถ กู ตอ งอกี ดวย
สาํ นวน สภุ าษติ ที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปจ จุบัน วรรณกรรมทองถิน่
ความหมายของสุภาษิตสาํ นวนไทย
สาํ นวน ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง คํากลาว
ท่มี คี วาม คมคาย กะทดั รดั งดงาม ฟงดูไพเราะจบั ใจ เปนคําท่ีรวมเน้อื หายาว ๆ ใหส น้ั ลง เปนคําท่ี
ถอยคาํ สั้นแตมคี วามหมายลกึ ซ้งึ
สภุ าษติ ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง คํากลาว
ท่ีดีงาม มักเปนคําสั่งสอน แนะนําใหประพฤติดี ปฏิบัติชอบ หรือละเวนจากการทําความชั่ว
เปนตน ดังนั้น สุภาษิตสํานวนไทย สรุปคือ คําที่มุงส่ังสอนให ประพฤติดี โดยเปน คําส้ัน ๆ
มคี วามคมคาย ไพเราะ นา ฟง
สุภาษิตสํานวนไทย เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา สะทอนใหเห็นความคิด
ความเชื่อ คา นิยมของสงั คมไทยทส่ี ง่ั สมสบื ทอดกนั มาในอดตี มีมาตงั้ แตก อ นสมัยพอขุนรามคําแหง
เปนถอยคําหรือขอความท่ีกลาวสืบตอกันมาชานานแลว มีความหมายไมตรงตามตัวหรือมี
ความหมายอ่ืนแฝงอยู สันนิษฐานวา สํานวนนั้นมีอยูในภาษาพูดกอนท่ีจะมีภาษาเขียนเกิดขึ้นใน
สมัยสุโขทัย โดยเมื่อพิจารณาจากขอความในศิลาจารึก พอขุนรามคําแหงแลว ก็พบวามีสํานวน
ไทยปรากฏเปน หลักฐานอยู เชน ไพรฟาหนา ใส หมายถงึ ประชาชนอยูเ ยน็ เปน สุข
สํานวนไทยหลายสํานวนมีปรากฏอยูในวรรณคดีไทยหรือมีท่ีมาจากวรรณคดีไทย
หลายเรื่อง หนงั สือกฎมณเฑยี รบาลของเกา ก็มีสํานวนไทยปรากฏอยู นอกจากน้ีในวรรณคดีไทย
ตาง ๆ ตั้งแตสมัยอยุธยาเปนตนมาก็มีสํานวนไทยปรากฏอยูมากมาย เชน ขุนชางขุนแผน ลิลิต-
ยวนพาย ลิลิตพระลอ ราชาธิราช หนังสือสุภาษิตพระรวงก็มีเน้ือหาเปนสํานวนไทยท่ียังใชอยูใน
ปจจุบันมากมาย เชน เมือ่ นอยใหเ รยี นวิชา ใหห าสนิ เมือ่ ใหญ เปนตน
ตัวอยาง สํานวน สภุ าษิตทม่ี ปี รากฏอยใู นวรรณคดีไทยหรือมที ม่ี าจากวรรณคดีไทย
ฤๅษีแปลงสาร
มาจากวรรณคดีไทยเร่อื ง นางสบิ สอง
พระรถเสนกําลงั เดินทางเอาสารไปใหนางเมรลี กู นางยักษ แลว เจอฤๅษกี ลางทาง
สารฉบบั นั้นบอกวา ถงึ กลางวันกินกลางวนั ถงึ กลางคืนกนิ กลางคืน ฤๅษใี ชเ วทมนตแปลงขอความ
เปน ถงึ กลางวนั แตงกลางวนั ถงึ กลางคืนแตง กลางคืน
59
รอ นอาสน
รอนอาสน ในหนังสือสํานวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลาไววา ปกติแลว
อาสน หรือแทนประทับของพระอินทรน้ีจะออนนุม ถาเกิดแข็งกระดางหรือรอนเปนไฟข้ึนมาจะ
บอกเหตวุ ามีเรอ่ื งเดอื ดรอนขนึ้ ในโลก พระอินทรตองรบี ลงไปแกไข ตามคติความเชื่อวาพระอินทร
เปนเทพผูมีหนาท่ีดับความทุกขรอนของมนุษย สํานวน รอนอาสน จึงมีความหมายวา มีเร่ือง
เดอื ดรอนตองรบี แกไ ข
เรอ่ื งที่ 3 วเิ คราะห ประเมนิ คา วรรณคดี วรรณกรรม
ทอ งถ่นิ
หลักการพนิ ิจและวจิ ารณว รรณคดีและวรรณกรรม
การพนิ จิ คอื การพจิ ารณาตรวจตรา พรอ มทั้งวิเคราะหแ ยกแยะและประเมินคาไดท้งั น้ี
นอกจากจะไดป ระโยชนตอ ตนเองแลว ยงั มจี ุดประสงคเพื่อนาํ ไปแสดงความคิดเห็น
และ ขอเท็จจรงิ ใหผ ูอ ื่นไดท ราบดว ย เชน การพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพือ่
แนะนาํ ใหบุคคลทวั่ ไปที่เปนผูอานไดรูจักและไดทราบรายละเอยี ดทีเ่ ปน ประโยชนใน
ดานตาง ๆ เชน ใครเปนผแู ตง เปน เร่ืองเกีย่ วกบั อะไร มีประโยชนตอ ใครบาง ทางดา นใด ผพู ินิจมี
ความเห็นวาอยางไร คณุ คา ในแตละดา นสามารถนาํ ไปประยกุ ตใหเ กิดประโยชนอ ยา งไรใน
ชีวิตประจาํ วนั
การวจิ ารณ หมายถึง การพิจารณาเพื่อเปน แนวในการตดั สินวา ส่งิ ใดดหี รอื ส่งิ ใดไมดี
การวจิ ารณวรรณคดจี ะตอ งพจิ ารณาทกุ ข้ันตอน ทุกองคประกอบของงานเขียนมีการแยกแยะต้ัง
แตการใชถอยคํา สํานวน ภาษา รูปประโยค เน้ือเรื่อง แนวคิด การนําเสนอเน้ือหา และคุณคา
ทง้ั ดา นวรรณศลิ ปแ ละคุณคา ทางดา นสังคม
แนวทางในการพนิ ิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม
การพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรมมแี นวใหป ฏิบตั อิ ยา งกวาง ๆ เพอื่ ใหครอบคลุมงานเขียน
ทกุ ชนิด ซึ่งผูพ นิ จิ จะตองดวู า จะพินิจหนังสอื ชนิดใด มีลกั ษณะเฉพาะอยา งไร ซง่ึ จะมีแนวในการ
พินิจท่ีจะตอ งประยุกตหรือปรับใชใ หเ หมาะสมกับงานเขยี นน้ัน ๆ
หลักเกณฑกวา ง ๆ ในการพินจิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มดี งั นี้
1. ความเปน มาหรอื ประวัติของหนงั สอื และผแู ตง เพ่อื ชว ยใหวิเคราะหในสว นอ่ืน ๆ ไดดีขน้ึ
2. ลักษณะคาํ ประพันธ
3. เรอ่ื งยอ
60
4. เน้อื เรอื่ ง ใหวเิ คราะหเ รื่องตามหัวขอตอไปนี้ตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมี
ก็ไดตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช
ถอยคําสํานวนในเร่ือง ทวงทํานองการแตง วิธีคิดท่ีสรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน
เปน ตน
5. แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวในเร่ือง หรือบางทีก็แฝงเอาไวในเรื่อง
ซึง่ จะตองวิเคราะหออกมา
6. คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งโดยปกติแลวจะแบงออกเปน 4 ดานใหญ ๆ
เพือ่ ความครอบคลมุ ในทกุ ประเดน็ ซ่ึงผพู ินจิ จะตอ งไปแยกแยะหวั ขอ ยอ ยใหสอดคลองกับลักษณะ
หนงั สือที่จะพินิจนั้น ๆ ตามความเหมาะสมตอ ไป
การพินิจคณุ คา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม มี 4 ประเด็นดังน้ี
1. คุณคา ดานวรรณศลิ ป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซ่ึงอาจจะเกิดจากรสของคํา
ที่ผแู ตงเลอื กใช และรสความทใี่ หความหมายกระทบใจผอู าน
2. คณุ คาดา นเนื้อหา คอื การใหความรดู านตา ง ๆ ใหคณุ คาทางปญญาและความคิดแกผ อู า น
3. คุณคาดา นสงั คม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและ
วรรณกรรมทดี่ ีสามารถจรรโลงสงั คมไดอ กี ดวย
4. การนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจําวัน เพ่ือใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชีวิต ได
ความคิดและประสบการณจากเรื่องที่อาน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต นําไปเปนแนวปฏิบัติ
หรอื แกป ญหารอบ ๆ ตวั
รสวรรณคดีไทย
รสวรรณคดีไทย มีอยู 4 ชนดิ คือ เสาวรจนี นารปี ราโมทย พโิ รธวาทงั สัลลาปง คพไิ สย
1) เสาวรจนี (บทชมโฉม) คือ การเลาชมความงามของตัวละครในเร่ือง ซึ่งอาจเปนตัว
ละครท่ีเปนมนุษย อมนุษย หรือสัตวซึ่งการชมน้ีอาจจะเปนการชมความเกงกลาของกษัตริย
ความงามของปราสาทราชวังหรอื ความเจริญรงุ เรอื งของบา นเมอื ง
2) นารีปราโมทย (บทเกีย้ ว โอโลม) คอื การกลา วขอความแสดงความรัก ทั้งที่เปนการพบ
กนั ในระยะแรก ๆ และในโอโลมปฏิโลมกอ นจะถึงบทสงั วาสนัน้ ดว ย
3) พิโรธวาทัง (บทตัดพอ) คือ การกลาวขอความแสดงอารมณไมพอใจ ต้ังแตนอยไปจน
มาก จึงเร่ิมตั้งแต ไมพอใจ โกรธ ตัดพอ ประชดประชัน กระทบกระเทียบเปรียบเปรย เสียดสี
และดาวาอยางรุนแรง
4) สัลลาปงคพิไสย (บทโศก) คือ การกลาวขอความแสดงอารมณโศกเศรา อาลัยรัก
การครวญครา่ํ ราํ พันราํ พงึ การโอดคราํ่ ครวญ หรอื บทโศกอนั วา ดว ยการจากพรากส่งิ อันเปน ทรี่ กั
61
บทท่ี 7
ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชพี
เร่อื งท่ี 1 คณุ คาของภาษาไทย
ความหมายของภาษา
คําวา “ภาษา” เปนคําภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพทหมายถึงคําพูดหรือถอยคํา ภาษา
เปน เครื่องมอื ของมนุษยท ่ใี ชใ นการส่อื ความหมายใหสามารถสื่อสารติดตอทําความเขาใจกันโดยมี
ระเบียบของคําและเสียงเปนเครื่องกําหนด ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
ใหค วามหมายของคาํ วา ภาษา คือ เสียงหรือกิริยาอาการท่ีทําความเขาใจกันได คําพูดถอยคําท่ีใช
พูดจากนั
ภาษา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ภาษาทเ่ี ปนถอยคาํ เรียกวา “ วจั นภาษา” เปน ภาษาที่ใชคําพูดโดยใชเสียงที่เปนถอยคํา
สรางความเขาใจกนั นอกจากนนั้ ยังมตี วั หนงั สือที่ใชแ ทนคาํ พูดตามหลักภาษาอีกดวย
ภาษาทไ่ี มเ ปนถอ ยคํา เรยี กวา “ อวัจนภาษา” เปนภาษาที่ใชสิ่งอ่ืนนอกเหนือจากคําพูด
และตัวหนงั สือในการสอื่ สาร เชน การพยกั หนา การโคงคาํ นบั การสบตา การแสดงออกบนใบหนา
ท่ีแสดงออกถึงความเต็มใจและไมเต็มใจ อวัจนภาษาจึงมีความสําคัญเพื่อใหวัจนภาษามีความ
ชดั เจนส่ือสารไดรวดเรว็ ย่ิงขึน้ นอกจากทาทางแลวยังมีสัญลักษณตาง ๆ ที่มนุษยสรางข้ึนมาใชใน
การสือ่ สารสรางความเขา ใจ อกี ดวย
คณุ คาของภาษาไทย
ภาษาไทยเปนภาษาที่บงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน มากกวา 700 ป
สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงประดิษฐอักษรไทยขึ้นราวป พ.ศ. 1826 สมัยกรุงสุโขทัย
ชาติไทยจึงจัดเปนชาติที่มีภาษาเปนของตนเองมาเปนระยะเวลายาวนาน และมีวิวัฒนาการ
ทางภาษาเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวาน และสิ่งท่ี
สําคัญคือเปนภาษาที่ใชในการสื่อสารของมนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยให
ถูกตอ งเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะแสดงถึงกิรยิ ามารยาทท่ีเรียบรอย นอบนอมมีสัมมาคารวะ
จะทําใหค นอื่นมคี วามรกั ใครในตวั เรา
นอกจากนี้ ภาษาไทยยังมีคุณคาในการดํารงชวี ิตดานตาง ๆ ทั้งดา นการติดตอ สอื่ สารในการ
ดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ การสรางสมั พันธข องคนในสังคม ดานวัฒนธรรมประเพณี ดา นสังคม
62
ดานศิลปะ และดา นการศกึ ษา นับวาภาษาไทยมีคุณคา ในการเปน เครื่องมอื ของการศกึ ษาหาความรู
ในสาขาวิชาตา ง ๆ ใหเ ยาวชนและประชาชนในชาติทุกคนไดเสาะแสวงหาความรไู ดตามความตอ งการ
อยา งไมมีทส่ี นิ้ สดุ
ฉะนั้น เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่นอยางมี
ประสิทธิภาพ รูจักแสวงหาความรูและประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึก
ความรูและขอมูลขาวสารที่ไดรับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษา และเห็นคุณคา
ของบรรพบุรุษที่ไดสรางสรรคผลงานไว ผูเรียนควรท่ีจะรูซ้ึงถึงคุณคา ตลอดจนรักษและหวงแหน
ภาษาไทย เพื่อใหค งอยูคูก บั คนไทยตลอดไป
เรือ่ งที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี
ภาษาเปนเคร่ืองมือในการสื่อสารระหวางผูสงสาร (ผูพูด ผูเขียน) กับผูรับสาร (ผูฟง ผูดู
ผอู าน) ท่ีมนุษยใชในการดาํ เนินชีวิตประจาํ วัน โดยเร่ิมตั้งแตวัยเด็กท่ีเริ่มหัดพูด จนตลอดชีพ
เพื่อสื่อสารกับคนในสังคม ระดับการใชภาษายากงาย ภาษาท่ีมีระบบระเบียบ มีหลักเกณฑการใช
ภาษาท่สี ลับซบั ซอ น ตามระดับการศกึ ษา
ภาษาไทยมีความสําคัญในการส่ือสารและการดํารงชีวิตของคนไทยมาก ภาษาไทยยังมี
ความสําคัญตอการประกอบอาชีพดวยอยางย่ิงโดยสามารถจําแนกกลุมอาชีพไดวากลุมอาชีพจะใช
ทักษะภาษาไทยดานการฟง กลุมอาชีพใดจะใชทักษะภาษาไทยดานการพูด กลุมอาชีพใดจะตองใช
ทักษะภาษาไทยดานการอาน หรือกลุมอาชีพใดท่ีจะตองใชทักษะภาษาไทยดานการเขียน การที่
จะใชท ักษะทางภาษาดานใดมากนอยเพียงใดน้ันจะข้ึนอยูกับลักษณะของแตละอาชีพ ในท่ีน่ีกลุมอาชีพ
ตา ง ๆ ทีใ่ ชทกั ษะภาษาไทยทัง้ 4 ทักษะดังน้ี
กลมุ อาชีพท่ใี ชท ักษะการฟง และทกั ษะการพดู
- อาชีพพนักงานขายของ
- อาชพี พนกั งานรับโทรศพั ท / ใหข อ มูลตดิ ตอ สอบถาม
- อาชพี ลา ม
เปนตน
กลมุ อาชพี ทใ่ี ชทักษะการพูด
- อาชีพพิธกี ร / ผูประกาศ
- อาชพี นกั จดั รายการวทิ ยุ - โทรทัศน
เปนตน
63
กลุมอาชีพทีใ่ ชทกั ษะการอา นและทกั ษะการพดู
- อาชีพนกั พากษ
- อาชีพนักอานขาว - วจิ ารณขาว
เปนตน
กลมุ อาชพี ทใี่ ชท ักษะการเขยี น
- อาชพี นักเขยี น
- อาชพี นักเขียนบทวทิ ยุ - โทรทศั น
เปนตน
เรือ่ งท่ี 3 การเพ่ิมพูนความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย
เพอื่ การประกอบอาชพี
จากการนําเสนอแนวทางของการนาํ ความรภู าษาไทยไปเปน ชองทางในการประกอบอาชีพ
ประเภทตาง ๆ เชน การพูด การเปนพิธีกร ผูประกาศ นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน ครูสอน
ภาษาไทยกบั ประชาชนอาเซียน การเขยี น นักเขียนขาว เขียนบทละคร เขียนนิทาน
เขียนสารคดี แลวนั้น เปนเพียงจุดประกายใหผูเรียนไดเรียนรูวาการเรียนวิชา
ภาษาไทยมิใชเรียนแลวนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันเทาน้ัน แตการเรียนรูวิชา
ภาษาไทยยังสามารถนําความรู ประสบการณทางดานภาษาไทยไปประกอบอาชีพ สรางรายได
ใหกับตนเองไดดวย แตการที่ผูเรียนจะเปนนักเขียนหรือนักพูดที่มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับของ
สังคม ผูเรียนจะตองแสวงหาความรู ทักษะ ประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษา
ทัง้ ภาครฐั และเอกชน ทเี่ ปนหลักสตู รเฉพาะเรือ่ ง หรือหากผูเรยี นตอ งการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม
ในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น ก็จะมีสถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เชน คณะนิเทศศาสตร
คณะวารสารศาสตร ฯลฯ ไดอีกทางเลือกหน่ึง หรือในขณะท่ีผูเรียนกําลังศึกษาอยูในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และตองการที่จะเรียนรูวิชาภาษาไทย เพื่อตอยอดไปสูชองทางการ
ประกอบอาชีพไดจ ริง ผูเรยี นสามารถเลอื กเรียนวชิ าเลือกตามหลักสูตรในระดับเดียวกันท่ีมีเน้ือหา
เฉพาะเรือ่ งทส่ี นใจไดอ กี ทางเลือกหนง่ึ ดว ย
นอกจากทผ่ี เู รียนจะเลอื กวิธีการศกึ ษา หาความรูเพ่ิมเติม โดยวิธีศึกษาเปนหลักสูตรส้ัน ๆ
เฉพาะเรื่อง หรือจะศึกษาตอเฉพาะสาขาวิชาในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นก็ตาม แตส่ิงสําคัญท่ี
ผูเรียน ควรปฏิบัติอยางตอเนื่อง คือการฝกฝนทักษะ ประสบการณในการเขียน หรือการพูด
อยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูก บั กลมุ คนที่มีความสนใจในอาชีพเดยี วกันดวย
64
เฉลยกิจกรรมทายบท
บทท่1ี
กจิ กรรมที่ 1 ใหแบง กลมุ ผูเรียนสรุปหลกั การเลือกส่ือในการฟง และการดู กลุมนาํ เสนอ จากนัน้
ผูสอนสรปุ เพิ่มเตมิ และผแู ทนผเู รยี นจดบนั ทกึ (รวม 3 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ หลกั การเลือกส่ือในการฟง และดู
1. ฟงและดอู ยา งมจี ุดมงุ หมายในแตล ะคร้งั
2. ฟงและดอู ยางมวี จิ ารณญาณ โดยใชเ หตแุ ละผล
3. สรุปสาระสาํ คัญในการฟงและดไู ดท กุ คร้ัง
4. นําความรจู ากการฟง และดูไปปฏิบัติไดอยา งเหมาะสม
เกณฑก ารใหค ะแนน
ตอบถูกตอ ง 4 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถูกตอง 2-3 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน
กิจกรรมท่ี 2 แบง กลุมผูเ รียนฟงเรอื่ ง “เสนอรฐั ออกกฎหมายหา มดืม่ สุราที่สาธารณะ”
จากการฟง ของผูเรยี นคนฟงและทาํ กจิ กรรมกลมุ ดงั น้ี (รวม7 คะแนน)
1. วจิ ารณความสมเหตสุ มผล และความเปนไปไดข องเร่อื งน้ี (3 คะแนน)
2. วิเคราะหความคดิ เห็นและขอเทจ็ จรงิ ของเรื่องโดยครูผูสอนถามแตล ะกลุม และ
ครผู ูส อนสรุปสาระสาํ คัญในขอ 1 และ 2 (4 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ
ความสมเหตสุ มผลและความเปนไปได
การแสดงบความคดิ เห็นที่จะออกกฎหมายหา มดืม่ สุราท่ีสาธารณะควรทาํ ไดเ พราะวยั รุน
ไทยดืม่ สรุ าและทํารา ยนักทองเทยี่ วอังกฤษและผอู ืน่ เพือ่ เปน การปอ งกนั ไมใหเ หตกุ ารณน เ้ี กิดข้นึ อีก
ประกอบกับในหลายๆ ประเทศไดออกกฎหมายนเี้ ชน กนั
ขอ เท็จจรงิ ความคิดเห็น
1. วัยรุนไทยด่ืมสรุ าและกอเหตทุ ํารา ย การออกกฎหมายหา มด่ืมสุราทีส่ าธารณะจะ
นักทองเทยี่ ว เปน ทางเลือกทภ่ี าครฐั สรางความเช่ือมั่น
2. หลายๆ ประเทศไดออกกฎหมายหา มดื่ม ดานความปลอดภยั ใหน กั ทอ งเท่ียว
สรุ าทีส่ าธารณะ
65
เกณฑก ารใหค ะแนน (รวม 3 คะแนน)
- เขยี นวิจารณความสมเหตุสมผลและความเปน ไปไดข องเรื่องไดตามแนวตอบได
3 คะแนน
- เขียนวเิ คราะหเฉพาะขอ เทจ็ จรงิ ไดต ามแนวตอบได 2 คะแนน
- เขยี นวิเคราะหเฉพาะความคิดเหน็ ไดต ามแนวตอบได 2 คะแนน
- เขยี นไมถูกตอ งตามแนวตอบแตใกลเ คยี งใหอยใู นดลุ พินิจของผูสอนในการใหคะแนน
1 คะแนน
3. เหตกุ ารณนสี้ ง ผลตอ ภาพลักษณของประเทศไทย
เสนอรัฐออก กฎหมายหามดม่ื สุราที่สาธารณะ
ดร.นพ.อุดมศักดิ์ แซโงว อาจารยประจําสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ และ
นกั วิจยั ศนู ยว ิจัยปญหาสุรา (ศวส.) กลาวถึงกรณีวัยรุนไทยดื่มสุรากอเหตุทํารายนักทองเท่ียวชาวอังกฤษ
ท่ีหวั หนิ ในเทศกาลสงกรานตท ผี่ า นมา ซงึ่ สง ผลกระทบตอภาพลักษณของประเทศไทย วาการดื่มสุราของ
วัยรุนกลุมนี้เปนการตั้งวงดื่มในพื้นท่ีสาธารณะ ภาครัฐควรจัดการแกไขปญหาโดยการออกกฎหมาย
“การหามด่ืมสุราในพ้ืนที่สาธารณะ” เพ่ือปองกันเหตุการณการทํารายนักทองเที่ยวไมใหเกิดขึ้นอีก
การด่ืมในลักษณะนี้เปนเรื่องผิดกฎหมายในหลายประเทศโดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแลว เชน
สหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ท้ังน้ีการออกกฎหมายหามด่ืมสุราในพ้ืนท่ี
สาธารณะพรอ มกบั การบงั คับใหก ฎหมายทม่ี ีอยูแลว อยางจริงจังเปนทางเลือกหนึ่งที่ภาครัฐสามารถทําได
เพ่ือสรา งความเช่ือมนั่ ดา นสวสั ดิภาพความปลอดภยั แกน ักทองเที่ยวรวมไปถงึ ประชาชนไทยเอง
กิจกรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนเขยี น “การปฏิบตั ิตน เปนผมู มี ารยาทในการฟงและดู” เปน งาน
รายบคุ คลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ การปฏิบัตติ นเปนผมู ีมารยาทในการฟง และดู
1. ฟงและดอู ยา งตง้ั ใจ
2. ไมสงเสียงรบกวนผอู ่นื เวลาท่ีฟงและดู
3. ไมสมควรสง เสยี งดงั เกินไปเม่ือชอบใจเรือ่ งทฟี่ ง และดเู ปนพิเศษ
66
4. การแตง กายสภุ าพเรียบรอ ยในการฟง และดูอยา งถูกกาลเทศะ
5. หากมีขอ สงสยั ไมเขา ใจในเรอ่ื งทฟ่ี ง และดคู วรคามเมอ่ื ผพู ูดพดู จบแลงถึงถามหรอื ผพู ูด
ใหถามได
6. ไมทดสอบภมู คิ วามรูผูพดู
เกณฑการใหคะแนน คะแนนเต็ม 3 คะแนน
ตอบถูกตอง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถกู ตอง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน
เฉลยกจิ กรรมทายบทที่ 2
กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นใชศลิ ปะการพูดไดอยางเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล โดยสมมุตกิ ารพดู
ในโอกาสตาง ๆ เอง (5 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ
อยใู นดุลยพินิจของครูผตู รวจ
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแนน 1 คะแนน
1. มกี ารเตรยี มตัวกอ นพูด 1 คะแนน
2. เน้ือเรอื่ งเหมาะสมกบั เรือ่ งทพี่ ดู 1 คะแนน
3. การใชก รยิ าทา ทางประกอบการพดู 1 คะแนน
4. การใชนํา้ เสยี งเหมาะสมกับเรอื่ งท่ีพดู 1 คะแนน
5. การใชภาษาถูกตอง
67
กจิ กรรมที่ 2 ใหแบงกลมุ ผูเรยี นวิเคราะหและประเมนิ คา การใชการพูดในการเขียนจากการอาน
เร่อื งนี้
อยดู ๆี ก็หาของท่ีเรามักจะใชป ระจําแตไ มเ จอเหมอื นวามนั พรอ มจะหาย เมื่อเราจะหาเปน ซะอยาง
บางทปี ากกากห็ าไมเ จอ แตม ารตู วั อกี ทกี ็เหนบ็ ไวทีข่ างหู มือถือไมรูว า หายไปจากกระเปากางเกงตอนไหน
ท้งั ๆ ทต่ี อนนก้ี ก็ ําลงั ใชม อื ถือโทรคุยอยู เอะ เปนอะไรกันละนี่ อยางนีจ้ ะเรียกวาหลงลืมหรอื ขลี้ มื ดนี อ
หลงลมื กบั ขล้ี มื น่ตี างกนั นะครับ เพราะถาเราไมไดใ สใจในเรอ่ื งบางเรอื่ ง โดยทไ่ี มเ อาสมาธไิ ปมุง
กบั เรื่องนั้น เรากจ็ ะจําไมไดเ รียกวา ขี้ลมื วธิ นี แ้ี กไดโดยเอาสมาธิไปใสในกับเรอ่ื งทเ่ี ราทาํ เชน จดบันทึก หรือ
ถายภาพมือถือไว วาจอดรถทชี่ ้ันไหน หรอื เบอรโทรศพั ทท ่ีตดิ ประกาศไวเบอรอ ะไร ตางกบั หลงลืม จะจํา
ไมไ ดเ ลยดวยซา้ํ วา ขบั รถมา หรือวางของผิดท่ี อยา งเอากุญแจไปวางในแกวน้าํ เอาเตารดี ไปแชตเู ย็น เปนตน
ถาไมอ ยากขี้ลืม ผมมเี คลด็ ลบั งา ยๆ มาชวยพฒั นาสมองพวกเรากบั ครบั
โดยวิเคราะหและประเมินจากหวั ขอ ดงั น้ี
1. เรอื่ งนี้นาจะมชี ่อื เร่อื งอะไร
2. เหตกุ ารณในเรอื่ งจะเกิดฟงบุคคลวัยใด
3. หลงลมื และขล้ี มื ตางกันอยา งไร
4. วิธีการแกไ ขการขลี้ มื ทําอยางไร
5. ยกตัวอยา งการใชก ารพดู ในการเขียน 2 ตวั อยา งและใหผ ูเรยี นสง ผลการวิเคราะหแ ละ
ประเมินคา การใชก ารพูด เปนงานรายบุคคล และสงครูผูส อน (5 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ
1. หลงลืมและขีล้ ืม
2. บุคคลสงู วยั
3. หลงลมื คอื ทาํ อะไรจะจาํ ไมได ข้ีลืม คอื ไมสนใจ ไมใ ชสมาธใิ นเรื่องน้นั ๆ
4. ตองพฒั นาสมอง
5. เอะ เปนอะไรกันละนี่ ขีล้ มื ดีนอ
68
เกณฑก ารใหค ะแนน ได 5 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 5 ขอ ได 5 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 4 ขอ ได 4 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถกู ตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน
กิจกรรมที่ 3 ใหผเู รียนเขียน “การปฏิบตั ติ นเปนผูมมี ารยาทในการพดู ” เปนงานรายบคุ คลและ
สงครูผูสอน (3 คะแนน)
แนวคําตอบ การปฏบิ ตั ติ นเปนผูมีมารยาทในการพดู
1. ใชคําพูดสภุ าพที่เหมาะสมกับ เวลา สถานท่ี โอกาสและบุคคล
2. ไมพดู เยาะเยย ถากถาง ดหู ม่นิ เสียดสี ขอบกพรอง และไมขดั คอผอู ืน่
3. หากจะพดู ใหเกิดอารมณขนั ควรเปน เร่ืองตลกขบขันและใชคําสุภาพ
4. ควรพดู ดว ยสาํ เนยี งชวนฟง และมคี าํ ลงทายเสริมการพดู ใหไ พเราะนา ฟง ยง่ิ ข้ึน
5. ควรพดู ในสงิ่ ท่เี ปนความจรงิ
6. ไมควรพดู ทกุ อยางท่รี ู
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 3 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน
69
เฉลยกจิ กรรมทายบทท่ี 3
กิจกรรมที่ 4 ใหผเู รียนอา นเรื่อง ซ่งิ บ๊กิ ไบค อปุ กรณปอ งกนั กช็ วยไมไ ด และวิเคราะหเรือ่ ง
ท่ีอานแลว ตอบคาํ ถามตอไปน้ี (5 คะแนน)
ซ่ิงบกิ๊ ไบค อุปกรณปอ งกันกช็ ว ยไมไ ด
บิ๊กไบคกับความปลอดภัยในสังคมไทย โดยคุณหมอมนูญ ลีเชวงวงศ ประธานทุนงวงอยาขับใน
พระอปุ ถมั ภส มเดจ็ พระเจาพี่นางเธอ เจาฟา กัลปย าณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร มลู นิธริ ามาธิบดี
ปจจบุ ันบ๊ิกไบคไ มไ ดจ าํ กดั เฉพาะคนรวยเทา น้ัน คนท่วั ไปเขาถงึ ได และใชสําหรับเดนิ ทาง
ในชีวติ ประจาํ วัน ขบั ข่ีในเขตเมือง เนอื่ งจากสภาพถนนของเมืองใหญของไทยไมดีเหมอื นในประเทศที่เจริญแลว
สภาพผวิ ถนนไมเรยี บ สูง ๆ ตาํ่ ๆ บางถนนมรี อยแยก มีเศษหินบนถนน ทําใหม โี อกาสสะดุดลม เองได บางครั้งมี
สนุ ขั วิ่งตดั หนา ปริมาณถนนบานเราก็นอย การจราจรกต็ ดิ ขดั ถนนคอ นขางแคบไมกวางเหมือนประเทศทพ่ี ัฒนา
แลวไมม ีเลนจกั รยานยนต คนขบี่ ก๊ิ ไบคสว นใหญไมขีช่ ดิ ซา ย จะข่ีครอมเสนแบงชองจราจรระหวางรถยนต แลว
แซงซายแซงขวาเพ่อื ขขี่ ้ึนไปขา งหนา ถนนบางสายชองจราจรแคบมากบิ๊กไบคไมสามารถแทรกผานได ตองเดิน
ลากบิก๊ ไบคซิ่งหนกั มาก
บริเวณแยกทมี่ ีสญั ญาณไฟจราจร เวลาเปลยี่ นเปนไฟเขียวจะสังเกตเหน็ บกิ๊ ไบคออกตวั เปน คันแรก
เพราะคนขส่ี ามารถเรง เครอื่ งไดเ รว็ กวา รถจกั รยานยนตท ั่วไป ถงึ แมระบบเบรกของบิก๊ ไบคด ีกวารถจกั รยานยนต
ธรรมดามี ABS แตก ไ็ มส ามารถหยดุ ไดทนั ที ตองใชระยะทางในการหยดุ รถ ย่งิ ทเ่ี ร็วย่ิงตอ งใชระยะทางเพิ่มข้นึ
บ๊กิ ไบคขด่ี วยความเรว็ 100 กโิ ลเมตรตอ ช่ัวโมง ตองใชระยะทาง 46 เมตร ถาข่เี รว็ 160 กโิ ลเมตรตอ ชั่วโมง
ตองใชร ะยะทางเพม่ิ ขนึ้ เปน 100 เมตร ในการหยุดบกิ๊ ไบค
ดงั นน้ั บอ ยคร้งั ที่คนขบ่ี ๊ิกไบคหลงั เรงเคร่ืองเต็มที่หากรถยนตคันหนา เล้ียวหรือหยุดกะทันหัน บิ๊กไบควิ่ง
ไปชนเพราะเบรกไมหยุด เพราะฉะนัน้ คนขบั รถยนตท กุ คนถาจะเปล่ียนเลนหรอื เลยี้ วรถตองมองกระจกหลงั และ
ใหสัญญาณไฟเล้ยี วแตเนนิ่ ๆ และเวลาจอดรถยนตข างทางคนขับรถยนตต องระมัดระวงั กอ นเปดประตูลงจากรถ
70
1. เพราะเหตใุ ดบิ๊กไบคยงั ไมเหมาะสมกบั การขับขใ่ี นเขตเมือง
2. เพราะเหตุใดบก๊ิ ไบคจึงมีอุบตั เิ หตชุ นกบั รถยนตค ันหนาท่ีเล้ยี วหรือออกกะทันหนั
3. หากทานขีบ่ ๊กิ ไบคจ ะปองกนั การเกิดอุบัติเหตุอยางไร
4. หากทา นจะสนบั สนุนการข่ีบกิ๊ ไบคควรพจิ ารณาอะไรบาง
5. ขอดีและขอ เสียของการขับข่ีบิ๊กไบค ใหเ ขยี นเปนรายงานรายบคุ คลและสงครผู สู อน
แนวคําตอบ
1. เพราะสภาพถนนยังไมเหมาะสม ผิวถนนไมเรยี บ การจราจรติดขดั ไมม เี ลน
จักรยานยนต และคนขีบ่ ๊กิ ไบคสว นใหญไมขีช่ ิดซาย
2. เพราะบก๊ิ ไบค หยุดกะทันหันไมไ ด
3. ขี่ดวยความระมัดระวังและรักษากฏจราจร
4. พฒั นาถนนใหผวิ ถนนเรยี บและมเี ลนจกั รยานยนต
5. ขอ ดี เดินทางสะดวกและรวดเร็ว ขอเสีย ถนนในเขตเมืองยังเหมาะสมท่จี ะขี่
เกณฑก ารใหค ะแนน ได 5 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 5 ขอ ได 5 คะแนน
ตอบถูกตอง 4 ขอ ได 4 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถกู ตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 1 ขอ ได 1 คะแนน
กจิ กรรมที่ 5 แบงกลมุ ผเู รียนคนควา จากแหลง ความรูในเรือ่ งตางๆ ดังน้ี
1. ความหมายของภาษาถ่ิน สํานวน สุภาษิตท่ปี รากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจ จุบนั
และวรรณกรรมทองถนิ่
2. คณุ คาของวรรณคดี วรรณกรรมปจ จุบัน วรรณกรรมทองถน่ิ ในดานแสดงถึงวิถชี ีวิต
ดานสังคม และการนาํ คณุ คาเหลา น้ีไปใช โดยจดั ทําเปนรายงานกลุม และสง ครูผูสอน (10 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ
อยูใ นดลุ ยพนิ ิจของครูผูตรวจ
71
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน
1.ความหมายของการเขยี น สํานวน สุภาษติ ทป่ี รากฎในวรรคดี วรรณกรรมปจ จุบัน และ
วรรณกรรมทองถิ่นครบทุกหัวขอและถูกตอ งชดั เจน คะแนนเต็ม 5 คะแนน
2. คุณคา ของวรรณคดี วรรณกรรมปจ จบุ ัน วรรณกรรมทอ งถิ่น ในดา นแสดงถงึ วิถีชวี ิต
ดา นสงั คม และการนําคุณคาเหลา นี้ไปใช ใหครบถว น ชดั เจน คะแนนเต็ม 5 คะแนน
กิจกรรมที่ 6 ใหผเู รยี นเขยี น “การมีมารยาทในการอานและการมีวนิ ยั รกั การอา น” เปนงาน
รายบุคคลและสงครูผสู อน (3 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ การมมี ารยาทในการอานและการมีวนิ ัยรกั การอา น
1. ไมอ า นหนังสือของผูอืน่ โดยไมไดร ับอนุญาต
2. ไมทาํ ลาย ขดี ฆา และทําเครอื่ งหมายในหนงั สอื ที่เปนของสวนรวม
3. อานหนังสือพิมพ หนังสืออื่น ๆ ทุกครั้งทม่ี โี อกาส
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 3 คะแนน
ตอบถกู ตอ ง 3 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถูกตอง 2 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถูกตอง 1 ขอ ได 1 คะแนน
72
เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 4
กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรยี นยอ ความโดยสรปุ ใจความสาํ คญั จากเร่อื ง “โทรศพั ทมือถือทําตาหวัง
หลังโกง” เปนงานรายบุคคลและสงครูผสู อน ( 5 คะแนน)
“โทรศัพทม อื ถือทาํ ตาหวังหลังโกง”
เคยมแี ตปรารภกนั ถงึ โทษของโทรศพั ทม อื ถอื เล็กๆ นอ ยๆ กนั บอ ยๆ แตบดั น้ีไดมกี ารคน พบ
อนั ตรายใหญของมนั โดยเฉพาะไดท าํ ลายทา ทางทรงตวั ของเราลง ไมเ พียงแตท ําใหค อแขง็
นกั กายภาพบําบัดผูมีชอื่ เสียงของนวิ ซแี ลนดไ ดก ลาววา เทคโนโลยีไดก ดตวั เราใหห ลังงอ อยางทเี่ ขา
เรยี กวาหลงั โกง ปกตศิ ีรษะของแตล ะคนจะหนกั ประมาณ 10- 12 ปอนด แตวาเวลาเรากําลงั ใชโ ทรศพั ทอยู
น้นั เราตอ งกม คอเราเปน มุม 60 องศา กลายเปน ภาระหนกั ของคอ นอกจากทต่ี อ งรบั นํา้ หนักเดมิ อยูแลว
ทา หลงั โกง ดังกลาวนน้ั ใหผ ลรายกับรา งกายของเราหลายอยา ง ต้ังแตมนั ทําใหเ ราอรมณต กหมด
ความภคภูมิใจในตนเองและยงั อาจจะกระทบกบั ความจําของเราดวย เขาอธบิ ายตอ ไปวา ขนาดของ
โทรศัพทท ี่มขี นาดเล็กนั้น ทําใหเ ราตอ งกม ตวั ของเราลง และย่ิงถูกยอใหม ีขนาดเลก็ ลงเทา ไร กท็ ําใหเ รา
จะตองกมตัวลงไปมากเทานั้นมนั เหมือนกบั ทําใหเ ราตกอยใู นทาทีทอ่ี ยูในภาวะจํายอม เขาไดสรปุ ตอนทาย
วา มนั กน็ าแปลกเหมอื นกนั ทเี่ ครอื่ งมอื ทค่ี ดิ ประดษิ ฐข้นึ เพื่อจะใหเ พิม่ สมรรถภาพและประสทิ ธภิ าพในการ
ทาํ งานของเรามากขน้ึ กลับมาลดภาระแสดงออกและบอนทาํ ลายความสามารถในการทํางานใหนอ ยลงไป
แนวคาํ ตอบ
ทํากายภาพบาํ บดั นิวซแี ลนดกลา ววาการใชโทรศัพทมือถอื จะทาํ ใหผ ูใชห ลงั โกง
เพราะตอ งกมคอไปทโี่ ทรศัพทยิ่งขนาดเล็กเทาใดจะตองกมตัวลงไปมากเทานัน้ ซ่ึงจะมีผลรา ยตอ
รางกายหลายอยา ง
73
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน
สรุปใจความสําคญั ไดค รบถว นตามแนวคําตอบ ได 4-5 คะแนน
สรปุ ใจความสําคัญไดบาง ตรงตามแนวคําตอบ แตไมครบถว น ได 3 คะแนน
สรุปใจความสําคญั ไดบางเลก็ นอย แตตรงตามแนวคําตอบ ได 2 คะแนน
สรุปใจความสําคัญไมไดตามแนวคําตอบ ได 1 คะแนน
สรุปใจความสําคญั ไมไ ดตามแนวคําตอบเลย ไมไดค ะแนน
กจิ กรรมที่ 2 แบง กลมุ ผเู รยี นตอ คาํ ประพนั ธ ประเภทกลอนสภุ าพ ใหม ีความยาว 2 บท หรอื
8 วรรค ในหัวขอ “ธรรมชาติยามเชาอากาศด”ี (5 คะแนน) เปนงานกลุม และสงผสู อน
ธรรมชาติยามเชา อากาศดี ........................................................
........................................................ ........................................................
........................................................ ........................................................
........................................................ ........................................................
แนวคําตอบ 2 คะแนน
อยูในดลุ ยพนิ ิจของครผู ูตรวจ 2 คะแนน
1 คะแนน
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเต็ม 5 คะแนน
1. แตง ถูกตองตามแผงผงั การแตง กลอนสภุ าพ
2. มีความไพเราะและตรงกบั ธรรมชาติยามเชา
3. มีสัมผสั ในเพ่มิ เติมจากสมั ผสั นอก
74
กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนเขียน “การปฏบิ ตั ิตนเปนผูมมี ารยาทในการเขียนและมกี ารจดบันทกึ
อยางสมํ่าเสมอ" เปนงานรายบุคคลและสง ครูผูสอน (3 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ การปฏบิ ัตติ นเปนผูมมี ารยาทในการเขยี นและมีการจดบนั ทึกอยางสมาํ่ เสมอ
1. เขยี นขอความถูกทีเ่ ปนความจรงิ
2. ไมเ ขียนขอ ความ รปู ภาพ ในพน้ื ที่สาธารณะ
3. ไมเขยี นขอ ความ เครือ่ งหมาย ในหนงั สอื ของสวนรวม
4. ใหเ ขียนคํา ขอความ ทกุ คร้งั ดวยคําสภุ าพ
5. จดบนั ทึกประจาํ วนั อยา งสมาํ่ เสมอ
6. เขยี นแผนทาํ งานทจ่ี ะตอ งทําเพอื่ ฝกการเขียน
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 3 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 5 – 6 ขอ ได 3 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 3 – 4 ขอ ได 2 คะแนน
ตอบถูกตอ ง 1 – 2 ขอ ได 1 คะแนน
เฉลยกจิ กรรมทา ยบทที่ 5
กิจกรรมที่ 1 แบงกลุมผูเรียนทํารายงานเร่ืองการใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําสุภาพ
และคําราชาศัพท พรอ มบอกความหมายทถ่ี ูกตอ ง อยา งละ 10 คาํ เปนงานกลุมและสง ครูผสู อน
(5 คะแนน)
แนวคาํ ตอบ
อยใู นดุลยพินจิ ของครูผตู รวจ
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแนน ได 5 คะแนน
1. หาไดครบทง้ั 5 อยา ง ๆ ละ 10 คาํ ได 4 คะแนน
2. หาไดครบทัง้ 5 อยา ง ๆ ละ 7-9 คํา ได 3 คะแนน
3. หาได 4 อยาง ๆ ละ 7-9 คํา ได 2 คะแนน
4. หาได 3 อยา ง ๆ ละ 7-9 คาํ ได 1 คะแนน
5. หาได 1-2 อยา ง ๆ ละ 5 คาํ
75
กิจกรรมที่ 2 ใหผูเรียนเขยี นรายชอ่ื วรรณคดี วรรณกรรมปจ จบุ ัน และวรรณกรรมทองถิ่น และ
ขอใดทไ่ี ดรับจากการอา นดงั กลาวตามแบบรายการดังนี้ (3 คะแนน)
1. รายชอื่ วรรณคดที ีเ่ คยอาน ขอ คิดที่ไดร บั
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
2. รายชื่อวรรณกรรมทีเ่ คยอา น ขอ คิดท่ีไดร บั
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
3. รายชอื่ วรรณกรรมทองถิน่ ทีเ่ คยอา น ขอ คดิ ที่ไดร ับ
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
แนวคาํ ตอบ
อยูใ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูตรวจ
กิจกรรมท่ี 3 แบงกลมุ ผเู รยี นอภปิ รายสรุปเรอื่ งการใชภ าษาไทยในการพดู และการเขียน
เพื่อการประกอบอาชีพ เปนงานกลุมและสง ผสู อน (5 คะแนน)
แนวตอบ
การใชภ าษาไทยในการพูดเพือ่ ประกอบอาชีพ
1. อาชีพพธิ กี ร
2. อาชพี โฆษณา
3. อาชีพพนักงานขายตรง
4. อาชพี ขายประกันชวี ติ
5. อาชีพครู
6. อาชีพนกั จดั รายการวทิ ยุ
การใชภาษาไทยในการเรยี นเขยี นเพอื่ การประกอบอาชพี
1. นักประพนั ธ
2. ผูเขยี นบทละครโทรทัศน
3. เลขานุการ
76
เกณฑก ารใหค ะแนน คะแนนเตม็ 5 คะแทน
1. การใชภ าษาไทยในการพูดเพ่ือประกอบอาชพี คะแนนเต็ม 3 คะแนน
2. การใชภ าษาไทยในการเขยี นเพือ่ ประกอบอาชพี คะแนนเต็ม 2 คะแนน
77
บรรณานุกรม
http://www.dek-d.com/board/view/2683016/
http://imkate-imkate.blogspot.com/2011/12/blog-post.html
อิสรยิ า เลาหตีรานนทh ttp://www.dailynews.co.th/Content/Article บริษทั เดลนิ ิวส เวบ็
จาํ กัด
https://sites.google.com/site/samnounthaiz/khwam-pen-ma-khxng-sanwn-thiy
http://forum.02dual.com/index.php?topic=165.0
http://www.siam1.net/article-8682.html
ผังการออกขอ สอบ
http://www.classstart.org/classes/4131
http://www.kroobannok.com/1830
http://www.baanjomyut.com/library/010.html
รัตนาภรณ แหวนเงนิ http://www.gotoknow.org/posts/495738
ผังการออกขอสอบ
78
คณะผูจัดทํา
ท่ปี รกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสรฐิ ทับสุพรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
2. นายชาญวทิ ย จาํ จด รองเลขาธกิ าร กศน.
3. นายสุรพงษ จนั ทรโ อกลุ ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพัฒนาสอ่ื การเรียนการสอน
4. นางวัทนี สวุ รรณพิทักษ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศึกษา
5. นางกนกพรรณ งามเขตต ผูอาํ นวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
6. นางศุทธินี
ผูเ รียบเรยี งและบรรณาธกิ าร
1. นายอรัญ จิตตโ ลหะ ขาราชการบาํ นาญ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดนนทบุรี
ศึกษานิเทศก สํานักงาน กศน.จงั หวัดจันทบรุ ี
2. นางอาํ นวย คณุ สุข กศน.อําเภอศรีนคร จังหวดั สโุ ขทยั
3. นางสาวกนกวรรณ บรสิ ทุ ธิ์
คณะทาํ งาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย
ผพู ิมพต น ฉบับ เพ็ชรสวา ง กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวสุลาง อนิ ทระสันต กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นางจุฑากมล
ผูอ อกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายศุภโชค
79
คณะผูจัดทํากิจกรรมทายบทเอกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี อ งรู
ระหวา งวนั ท่ี 1- 3 มิถุนายน 2559
ณ หอ งประชุมบรรจง ชสู กุลชาติ ชัน้ 6 สาํ นกั งาน กศน.
ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ าร กศน.
1. นายสุรพงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน.
2. นายกติ ติศกั ด์ิ รตั นฉายา ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ
3. นางพรรณทิพา ชินชัชวาล
ผเู ขียน/ผูเ รยี บเรียง และบรรณาธิการ สํานักงาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี
1. นายเริง กองแกว สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดลพบรุ ี
2. นางสาวนติ ยา มุขลาย กศน.อําเภอเมือง จังหวดั ชลบรุ ี
3. นางสาวเอมอร แกว กล่าํ ศรี กศน.เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร
4. นางสาวอริญชยั อนิ ทรนัฏ
คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ
1. นางเกณิกา ซกิ วารทซอน กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ
2. นายธานี เครืออยู กลุม พัฒนาระบบการทดสอบ
3. นางสาวจรุ รี ัตน หวังสิริรตั น กลุมพัฒนาระบบการทดสอบ
4. นางสาวอุษา คงศรี กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ
5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพิพฒั น กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ
6. นายภาวติ นธิ โิ สภา กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ
7. นางสาวหทัยมาดา ดิฐประวรรตน
80