The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันการทุจริต ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:04:37

การป้องกันการทุจริต ประถม (สค12026)

การป้องกันการทุจริต ประถม

Keywords: สค12026,การป้องกันการทุจริต

1

หนงั สอื เรยี น
สาระการพฒั นาสังคม

รายวิชา การปอ งกนั การทจุ ริต

รหัสรายวชิ า สค12026
รายวชิ าเลอื ก ระดับประถมศึกษา

ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551

สํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ



สารบัญ 3

คํานาํ หนา
คาํ แนะนําการใชหนังสือเรียน
โครงสรา งรายวชิ า 1
แบบทดสอบกอนเรยี น 2
บทท่ี 1 การคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม 3
6
เรื่องที่ 1 การคิดแยกแยะ 8
เรอ่ื งท่ี 2 ความแตกตา งระหวา งจริยธรรมและการทจุ รติ 9
เรอ่ื งที่ 3 ประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม
เร่อื งท่ี 4 หลกั การคดิ เปน 10
เรื่องที่ 5 ผลประโยชนทับซอน 14
เรือ่ งที่ 6 รูปแบบของผลประโยชนท บั ซอน ศาสตรพ ระราชา 15
16
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 20
21
บทท่ี 2 ความละอายและความไมท นตอ การทุจริต 21
เรื่องที่ 1 ความละอายและความไมท นตอการทุจรติ 27
เรอื่ งท่ี 2 การปฏิบตั ติ นตามกฎ กติกา ของสถานศึกษา ชุมชน สงั คม 28
32
บทที่ 3 STRONG : จติ พอเพียงตา นการทุจริต 35
เรอ่ื งท่ี 1 STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทจุ ริต 37
เรื่องที่ 2 องคป ระกอบการสรางจติ สํานึกพอเพยี งตานการทจุ รติ

บทท่ี 4 พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม
เรือ่ งท่ี 1 ความเปน พลเมอื ง
เรื่องท่ี 2 การเคารพสทิ ธหิ นาท่ีตอ ตนเองและผอู ่ืนที่มตี อ สงั คม
เรื่องท่ี 3 ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย
เรือ่ งที่ 4 ความรับผดิ ชอบตอชมุ ชน

สารบัญ (ตอ ) 4

แบบทดสอบหลงั เรียน หนา
เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น – หลังเรียน
แนวคําตอบกิจกรรม 41
บรรณานุกรม 46
คาํ สัง่ สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 47
การประชุมจดั ทาํ หนงั สอื เรียนรายวชิ าการปอ งกันการทจุ ริต 52
คณะผูจดั ทํา 55
63
68

5

คําแนะนาํ การใชหนังสอื เรียน
รายวิชา การปองกนั การทุจรติ

รายวิชาการปองกันการทุจริต รหัสรายวิชา สค12026 รายวิชาเลือก ระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย โครงสรางของรายวิชา
โครงสรางของบทเรียน เนื้อหา และกิจกรรมเรียงลําดับตามบทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน กิจกรรม
การเรียนรู แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคําตอบกิจกรรม
เรียงลาํ ดบั ตามบทเรยี น

วธิ ีการใชร ายวิชา

ใหผูเรียนดาํ เนินการตามข้นั ตอน ดงั นี้
1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางรายวิชาโดยละเอียด เพ่ือใหผูเรียนทราบวาตองเรียนรูเน้ือหา
ในเรือ่ งใดบาง
2. วางแผนกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผูเรียนมีความพรอมจะศึกษารายวิชา เพื่อใหสามารถ
ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาไดค รบทุกบทเรยี น และทาํ กจิ กรรมตามท่ีกาํ หนดใหท ันกอนสอบปลายภาค
3. ทําแบบทดสอบกอนเรียนของรายวิชาตามท่ีกําหนด เพ่ือทราบพื้นฐานความรูเดิมของผูเรียน
และตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยแบบทดสอบทา ยเลม
4. ศกึ ษาเน้ือหาของแตล ะบทเรียนอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งในหนังสือเรียนและสื่อประกอบ (ถามี)
และทํากจิ กรรมทกี่ าํ หนดไวใ หครบถวน
5. ทาํ แตละกิจกรรมเรยี บรอยแลว ผูเรยี นสามารถตรวจสอบคําตอบไดจากแนวคําตอบ/เฉลยทายเลม
หากผูเ รยี นยังทาํ กิจกรรมไมถูกตอ งใหผ ูเ รียนกลบั ไปทบทวนเน้ือหาในเรอื่ งนน้ั ๆ ซ้าํ จนกวาจะเขา ใจ
6. หลังจากศึกษาเน้ือหาครบทุกบทเรียนแลว ใหผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบ
แนวคําตอบจากเฉลยทา ยเลม วาผูเ รยี นสามารถทาํ แบบทดสอบไดถูกตอ งทกุ ขอหรือไม หากขอใดยังไมถูกตอง
ใหผเู รยี นกลบั ไปทบทวนเน้อื หาในเร่อื งนั้นใหเขา ใจอีกคร้งั
ขอ แนะนาํ ผเู รียนควรทําแบบทดสอบหลงั เรียน ใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียนและควรได
คะแนนไมน อยกวารอยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด เพือ่ ใหมัน่ ใจวา จะสามารถสอบปลายภาคผาน
7. หากผูเรียนไดศึกษาเนื้อหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถสอบถามและ
ขอคาํ แนะนําไดจ ากครหู รือคน ควาจากแหลง เรียนรอู ืน่ ๆ เพมิ่ เตมิ ได

6

การศกึ ษาคน ควา เพิ่มเตมิ

ผเู รยี นอาจศกึ ษาหาความรูเพ่มิ เตมิ ไดจ ากแหลง เรียนรอู ืน่ ๆ ทีเ่ ผยแพรความรใู นเร่ืองทเี่ กยี่ วขอ งและ
ศกึ ษาจากผรู ู

การวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

การจดั ใหมีการวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ดังน้ี
1. ระหวางภาค วดั ผลจากการทาํ กิจกรรมหรืองานที่ไดรับมอบหมายระหวา งเรียน
2. ปลายภาค วดั ผลจากการทําขอ สอบวดั ผลสัมฤทธ์ปิ ลายภาค

7

โครงสรา งรายวิชา
การปองกนั การทุจริต

มาตรฐานการเรยี นรรู ะดบั

1. มคี วามรู ความเขา ใจดาํ เนนิ ชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย กฎหมายเบ้ืองตน กฎระเบียบของชมุ ชน
สังคม และประเทศ

2. มคี วามรู ความเขา ใจหลกั การพฒั นาชมุ ชน สังคม และวิเคราะหขอ มลู ในการพฒั นาตนเอง
ครอบครวั ชุมชน สังคม

ตวั ชว้ี ดั

1. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนส วนรวม
2. บอกความหมาย ความสาํ คญั ของหลกั การคิดเปน
3. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตนกบั ผลประโยชนส วนรวมได โดยใชก ระบวนการคดิ
ตามหลักปรัชญาคิดเปน
4. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกับความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
5. ปฏิบตั ิตนเปน ผูละอายและไมทนตอการทจุ รติ ทุกรปู แบบ โดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลักปรชั ญา
คดิ เปน
6. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั STRONG : จติ พอเพยี งตา นการทุจริต โดยใชก ระบวนการคดิ ตาม
หลกั ปรัชญาคดิ เปน
7. ปฏิบตั ิตนเปน ผูท่ี STRONG : จติ พอเพียงตา นการทจุ รติ โดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลักปรัชญา
คิดเปน
8. มคี วามรู ความเขาใจเกีย่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอสังคม
9. ปฏบิ ัตติ ามหนา ท่ีพลเมือง และมีความรับผิดชอบตอสังคม โดยใชกระบวนการคิดเปนตามหลัก
ปรชั ญาคิดเปน
10. ตระหนกั และเหน็ ความสาํ คัญของการปอ งกนั การทจุ รติ

8

สาระสําคญั

ยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564)
ไดกาํ หนดยทุ ธศาสตรท ่ี 1 สรา งสังคมทไ่ี มทนตอการทุจริตอันมีกลยุทธวาดวยเรื่องของการปรับฐานความคิด
ทกุ ชว งวัย ใหส ามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม สงเสริมใหมีระบบและ
กระบวนการกลอ มเกลาทางสงั คมเพอ่ื ตานทจุ รติ ประยุกตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนเครื่องมือ
ตา นทุจริต เสรมิ พลงั การมีสว นรวมของชมุ ชน (Community) และบูรณาการทกุ ภาคสว นเพ่อื ตอตานการทจุ รติ

ดังน้ัน เพ่ือใหเปนไปตามยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต โครงสราง
รายวิชาการปองกันการทุจริต ซ่ึงเปนรายวิชาเลือก จึงไดจัดทําสื่อการเรียนรูเพ่ือนํามาใชประกอบ
การจดั กิจกรรมการเรียนรู สรางความรู ความเขาใจ และทักษะใหแ กผ ูเ รยี น ซง่ึ ประกอบไปดวยเน้ือหา การคิด
แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม โดยการคิดแยกแยะจากการใชระบบคิด
ฐานสองและกระบวนการคิดเปน เพื่อใหมีความละอายและไมทนตอการทุจริต สามารถปฏิบัติตนตามกฎ
กติกาตาง ๆ มีการประยุกตใชหลัก STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจริต และใหความรูเกี่ยวกับความเปน
พลเมืองดีกับความรบั ผิดชอบตอสังคม เพือ่ ใหผ เู รียนเคารพสิทธิ หนาท่ีตอตนเองและผูอ่ืน อยูในระเบียบ กฎ
กตกิ า และกฎหมาย

ขอบขายเนอื้ หา

บทที่ 1 การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนกบั ผลประโยชนสวนรวม
บทที่ 2 ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
บทที่ 3 STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทุจรติ
บทที่ 4 พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

สื่อประกอบการเรยี นรู

1. รายวชิ าการปองกนั การทจุ ริต รหัสรายวิชา สค12026
2. สอื่ เสรมิ การเรยี นรูอื่น ๆ

จํานวนหนวยกติ

จํานวน 2 หนวยกติ

9

กจิ กรรมเรยี นรู

1. ทําแบบทดสอบกอนเรยี น และตรวจสอบแนวคําตอบจากเฉลยทายเลม
2. ศกึ ษาเนือ้ หาในบทเรียนทกุ บท
3. ทํากจิ กรรมตามทก่ี ําหนด และตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม
4. ทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทา ยเลม

การประเมินผล

1. ทาํ แบบทดสอบกอนเรยี น และแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. ทาํ กจิ กรรมในแตละหนวยการเรียนรู
3. เขา รับการทดสอบปลายภาค

1

แบบทดสอบกอ นเรยี น

1. ขอ ใดเปน การนํากระบวนการของการคิดเปน มาใช
ก. นาํ ขอ มูลตนเอง งานวจิ ัย สงิ่ แวดลอมและสงั คมมาใช
ข. นาํ ขอ มลู ตนเอง สงั คม ส่ิงแวดลอ ม และวชิ าการมาใช
ค. นําขอมลู จากสื่ออินเทอรเ น็ต เอกสารอางอิงและตนเองมาใช
ง. นําขอมลู จากเพอ่ื นรว มงาน สอื่ อินเทอรเ น็ต และวชิ าการมาใช

2. ถา ตอ งการอยรู วมกบั ผอู ืน่ ในสังคมไดอ ยางมคี วามสขุ โดยนาํ กระบวนการคดิ เปนมาใช
เราควรปฏบิ ตั ิตนตามขอใด
ก. การมสี ว นรวม
ข. ความยนิ ยอม
ค. การปรับตัว
ง. แกป ญหาได

3. นายเหลีย่ ม เปนขาราชการเกษียณ ตอ มาไดเปนสมาชิกสภาเทศบาล รลู ว งหนาจากการประชุมสภาวา
สภาเทศบาลอนุมัติใหตัดถนนผานชุมชนแหงหน่ึง นายเหลี่ยม จึงไดไปกวานซื้อท่ีดินบริเวณที่ถนน
ตัดผานนั้น เพอ่ื เก็งกําไรทด่ี นิ พฤติการณข องนายเหล่ยี ม เปน ผลประโยชนท บั ซอนรูปแบบใด
ก. การรับผลประโยชนตา ง ๆ
ข. การทํางานหลังเกษียณ
ค. การทําธุรกิจกับตนเอง
ง. การรูขอมลู ภายใน

4. การคดิ แยกแยะหมายถงึ ขอใด
ก. เกบ็ เงินไดนําไปใหค ุณครู
ข. ขายเสอ้ื ผาตามรมิ ถนนในตัวเมือง
ค. ทาํ การเกษตรในเขตท่ดี ินสาธารณะ
ง. การแซงคิวซอ้ื อาหารในรานอาหาร

2

5. ขอ ใดคือความหมายของคําวา “ความละอาย”
ก. ความมุงมัน่ ในการเอาชนะ
ข. ความมงุ ม่ันในการทําความดี
ค. ความเกรงกลวั ตอสิง่ ทจ่ี ะมาทาํ ราย
ง. ความเกรงกลัวตอสงิ่ ทีไ่ มดี ไมถกู ตอ ง

6. ขอ ใด ไมใ ช การปฏบิ ตั ิตนตามกฎกติกาของสถานศึกษา
ก. การทาํ งานตามท่ีไดรบั มอบหมายดวยตนเอง
ข. การซักถามครเู มอ่ื เกิดปญ หาจากการทํางาน
ค. การนาํ ชนิ้ งานเพอื่ นมาคดั ลอกเพอ่ื สง ใหท นั เวลา
ง. การแนะนาํ เพอ่ื นใหเ ขาใจและสามารถทํางานเองได

7. ขอใด ไมควร กระทาํ ในการเขา สอบ
ก. ทาํ ขอ สอบดว ยตนเอง
ข. นั่งตามที่ ๆ กาํ หนดให
ค. ต้ังใจอา นขอ สอบใหเ สียงดงั
ง. ไมเขา หองสอบกอ นไดรบั อนุญาต

8. “การรับเงินสนิ บน” เปน พฤตกิ รรมตรงกับขอ ใด
ก. ทจุ ริต
ข. การเพมิ่ รายได
ค. ความไมท น
ง. การใหค วามชวยเหลอื

9. เหตผุ ลทส่ี ถานศกึ ษามอบหมายใหผ ูเรยี นทาํ ความสะอาดสถานทพ่ี บกลมุ คอื ขอใด
ก. เพอ่ื ใหไ ดคะแนนระหวางเรยี น
ข. ฝก ความอดทน และความขยัน
ค. เพื่อชว ยเหลอื ครูในการทาํ ความสะอาด
ง. เพือ่ ฝก ความเสียสละ และความรับผิดชอบ

3

10. ปรัชญาที่นํามาประยุกตใชในการตอ ตา นการทุจริตไดดีทสี่ ุดคอื อะไร
ก. ปรัชญาการศกึ ษาผูใหญ
ข. ปรัชญาของทฤษฎใี หม
ค. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ง. ปรชั ญาจติ อาสาเพอื่ พัฒนาทอ งถ่ิน

11. หลักของจติ พอเพียงเพอื่ ตอ ตานการทจุ ริตคอื อะไร
ก. STAR
ข. STRONG
ค. STORM
ง. STRANGER

12. การประพฤตปิ ฏิบัติตนใหถ กู ตอ งตามหลกั ปฏิบตั ิ ระเบียบ ขอปฏิบัติ กฎหมาย ซ่ึงสามารถตรวจสอบได
โดยผทู ่ีเกีย่ วขอ งเรียกวา อะไร
ก. ความโปรง ใส (Transparent)
ข. ความพอเพยี ง (Sufficient)
ค. ความตืน่ รู (Realize)
ง. ความรู (Knowledge)

13. ขอใดบอกลักษณะของบุคคลท่ีมคี วามตนื่ รูในเรือ่ งการทุจริตได
ก. สมสว น เลา เรอ่ื ง “ผอ.สามเสนถกู สอบแปะ เจี๊ยะ”
ข. สดสวย กลา ววา “เรอ่ื งคอรรปั ชนั เปน เรอื่ งปกติธรรมดามาก”
ค. สดสี ใหค วามรว มมอื ในกจิ กรรมตาง ๆ ของหมบู านเปน อยา งดี
ง. แสนงาม อยูในกลุมชาวบานประทวงเรอื่ งการทจุ รติ จาํ นาํ ขาวของรัฐบาล

4

14. ขอ ใดบอกลกั ษณะหรอื การกระทําทเ่ี ปนการต่นื รูได
ก. มงุ มั่นทํางานเพอ่ื ใหส ําเร็จตามเปา หมาย
ข. รูจักแกป ญ หาในงานทม่ี อี ปุ สรรค
ค. มีความรบั ผิดชอบในหนาท่ีการงาน
ง. ใชเ วลาทํางานอยา งเหมาะสม

15. ขอใดเปน ผทู ม่ี ีความเออื้ อาทรตอ เพอ่ื นมนษุ ย
ก. แบง ปน อาหารใหส ุนัขเรร อ น
ข. จติ อาสาชวยผปู ระสบภยั นา้ํ ทวม
ค. บรจิ าคเงินชวยเหลอื วดั ใกลบา น
ง. ปลกู ปา ชายเลนเพอื่ อนุรกั ษชายฝง

16. ขอใดกลา วถึงความเปน พลเมืองถกู ตอ งทสี่ ุด
ก. ราษฎรและความเทาเทยี มกนั ในสงั คม
ข. สามัญชนคนท่วั ไปทอี่ ยูในประเทศไทย
ค. ชาวเมืองและการยอมรบั ความแตกตาง
ง. สถานภาพของบุคคลทีก่ ฎหมายรบั รองสทิ ธิและหนาท่ี

17. ขอใดกลาวถกู ตองทส่ี ุด
ก. การมเี สรีภาพในการกลา วรายผอู ื่น
ข. การมสี ทิ ธใิ นการไมไ ปใชสทิ ธเิ ลอื กตงั้
ค. การมหี นาทใี่ นการถอื ครองกรรมสิทธ์ทิ รพั ยส ิน
ง. การยอมรับความคิดเหน็ ตา งและรบั ฟงเสยี งสว นนอย

18. สถานการณใดเปน การกระทาํ ทผ่ี ดิ กฎหมาย
ก. ขบั รถฝา ไฟแดง
ข. แจงเกิดภายใน 7 วัน
ค. แจงตายภายใน 24 ชั่วโมง
ง. ขึน้ ทะเบยี นเกณฑทหารเมอื่ อายุ 18 ป

5

19. พลเมอื งดีในขอ ใดทส่ี ง ผลตอ ความเปน ระเบยี บเรียบรอ ยของสงั คมมากทส่ี ดุ
ก. ปฏิบัติตนตามคานยิ มที่ดี
ข. รบั การศกึ ษาภาคบงั คบั
ค. ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย
ง. การใชสิทธิ 30 บาท รกั ษาทุกโรค

20. บคุ คลใดเปนคนดีของสงั คม
ก. นายดํา ตัดไมสักมาสรา งบา นใหแม
ข. ผใู หญบ ญุ ระดมชาวบานซอมสะพาน
ค. กาํ นันวชิ ยั บุกรุกปา ชายเลนเพอื่ ทาํ นากงุ
ง. ครูใหญ เปนหัวคะแนนใหพ รรคการเมืองดงั ในทองถน่ิ

1

บทท่ี 1
การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสว นรวม

สาระสาํ คญั

การทุจริตเปน หนง่ึ ในประเด็นท่ที ัว่ โลกกาํ ลงั กงั วล อนั เน่อื งมาจากการปฏบิ ัติหนา ที่ท่ีมีความซับซอน
ยากตอ การจดั การ และเก่ยี วขอ งกับทกุ ภาคสวน จึงจําเปนตองมีการแกไขปญหาแบบยั่งยืน โดยปรับเปลี่ยน
การคิดของคนในสังคม และแยกแยะใหเห็นวาส่ิงใดเปนประโยชนสวนตน สิ่งใดเปนประโยชนสวนรวม
โดยนําเอาการคิดแบบฐานสอง การคิดเปน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการ
แกปญหา การทุจรติ แบบยั่งยนื

ตัวชว้ี ดั

1. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนส ว นรวม
2. บอกความหมาย ความสาํ คัญของหลักการคิดเปน
3. สามารถคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนส ว นรวมได โดยใชก ระบวนกา
คดิ ตามหลกั ปรชั ญาคดิ เปน

ขอบขายเน้อื หา

เร่อื งที่ 1 การคิดแยกแยะ
เรื่องท่ี 2 ความแตกตา งระหวา งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
เรอ่ื งท่ี 3 ประโยชนสว นตนและประโยชนสว นรวม
เร่อื งที่ 4 หลกั การคดิ เปน
เรอ่ื งท่ี 5 ผลประโยชนท ับซอ น
เรอ่ื งที่ 6 รูปแบบของผลประโยชนท ับซอ น ศาสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2

เรื่องท่ี 1 การคดิ แยกแยะ

1. ความหมายของการคิดแยกแยะ
คิด หมายถึง ใครครวญ ไตรตรอง คาดคะเน คํานวณ นึก เชน เร่ืองนี้ยาก ยังคิดไมออก คิดวา

เย็นน้ีฝนอาจจะตก คิดเลขในใจ คดิ ละอาย
แยกแยะ หมายถึง กระจายออกใหเห็นชัดเจน เชน แยกแยะปญหาใหเห็นเปนเร่ือง ๆ หรือ

ประเด็น ๆ ไป
การคิดวเิ คราะห (Analytical thinking) หมายถงึ กระบวนการคดิ ในรายละเอยี ดความสามารถ

ในการแยกแยะสวนตา ง ๆ ออกเปนสวนพนื้ ฐาน หรอื สวนยอย ๆ เพ่ือตรวจสอบและวิเคราะหความเช่ือมโยง
หรือความสมั พนั ธของสวนประกอบตา ง ๆ เปน การคิดในเชงิ ตรรกะทลี ะข้ันตอนเพ่ือแบง ระบบขอ มูลขนาดใหญ
ออกเปนสว น ๆ เพอ่ื มาวิเคราะหห าสาเหตุหรอื เปาหมายท่ตี องการ

จากขอ มลู ขางตน การคดิ แยกแยะ หมายถึง การคิดวเิ คราะห ไตรตรองท่ีมุงใหมองเห็นความ
แตกตา งของขอ มูล สามารถแยกแยะหาสาเหตุหรือเปาหมายที่ตองการไดอยางถูกตอง เปนการคิดที่มุงให
มองและใหร ูจกั สิง่ ทงั้ หลายตามความเปนจรงิ โดยอาศัยการแยกแยะออกเปนสวนประกอบตาง ๆ เปนวิธีคิด
แบบวเิ คราะห นอกจากแยกแยะหรือแจกแจงออกไปเปนสวนประกอบตาง ๆ แลวยังมีการจัดหมวดหมูหรือ
จดั ประเภทไปดว ยพรอมกนั เชน ผูเรียนมาเรียนสาย สามารถแยกแยะสาเหตขุ องการมาสายได

2. ระบบคดิ “ฐานสอง Digital”
การแกปญหาการทุจริตอยางย่ังยืน ตองเริ่มตนแกไขท่ีตัวบุคคล โดยการปรับเปลี่ยนระบบ

การคิดของคนในสังคม โดยนาํ ระบบความคดิ แบบฐานสอง มาใชใ นการแกปญ หา
ระบบคิด “ฐานสอง Digital” เปน ระบบการคดิ วเิ คราะหขอมูลท่ีสามารถเลือกได 2 ทางเทาน้ัน

คือ 0 (ศูนย) กับ 1 (หนึ่ง) หมายถึง โอกาสท่ีจะเลือกไดเพียง 2 ทาง เชน ใช กับ ไมใช, เท็จ กับ จริง, ทําได
กับ ทําไมได, ประโยชนสวนตน กับ ประโยชนสวนรวม เปนตน ระบบคิด “ฐานสอง Digital” จึงเหมาะกับ
การนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีของรัฐที่ตองสามารถแยกเร่ืองตําแหนงหนาที่กับ
เร่ืองสวนตัวออกจากกันไดอยางเด็ดขาด และไมกระทําการท่ีเปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและ
ประโยชนสวนรวม

ตัวอยา งการปฏิบตั แิ บบใช “ฐานสอง Digital”
“การปฏบิ ัติงานแบบใชระบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การที่เจาหนาท่ีของรัฐมีระบบการคิด

ท่ีสามารถแยกเร่ืองตําแหนงหนาที่กับเร่ืองสวนตนออกจากกันไดอยางชัดเจน วาสิ่งไหนถูก ส่ิงไหนผิด
สิ่งไหนทําได สิ่งไหนทําไมได ส่ิงไหนคือประโยชนสวนตน สิ่งไหนคือประโยชนสวนรวม ไมนํามาปะปนกัน

3

ไมนําบุคลากรหรือทรัพยสินของราชการมาใชเพ่ือประโยชนสวนตน ไมเบียดบังราชการ เห็นแกประโยชน
สวนรวมของหนวยงานเหนือกวาประโยชนของสวนตน เครือญาติ และพวกพอง ไมแสวงหาประโยชน
จากตําแหนงหนาที่ราชการ ไมรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากการปฏิบัติหนาที่ กรณีเกิดการขัดกัน
ระหวางประโยชนสว นตนและประโยชนส ว นรวม กจ็ ะยึดประโยชนส ว นรวมเปนหลกั

เรือ่ งที่ 2 ความแตกตา งระหวา งจริยธรรมและการทจุ รติ

1. จริยธรรม
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหความหมายของจริยธรรมไววา
จรยิ ธรรม หมายถงึ ธรรมทเ่ี ปนขอ ประพฤติปฏิบัติ
จรยิ ธรรม หมายถงึ ความประพฤติท่ีอบรมกิริยาและปลูกฝงลักษณะนิสัยใหอยูในครรลองของ

คณุ ธรรม หรือศลี ธรรม (การสรางผลติ ผลในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ) คุณคาทางจริยธรรมช้ีใหเห็นความ
เจรญิ งอกงามในการดํารงชวี ิตอยา งมีระเบียบแบบแผน ตามวัฒนธรรมของบุคคลท่ีมีลักษณะทางจิตใจท่ีดีงาม
ประพฤติอยูในสังคมไดอยางสงบ เรียบรอย และเปนประโยชนตอผูอ่ืน มีคุณธรรม และมโนธรรมท่ีจะสราง
ความสมั พันธอ ันดี

จริยธรรม หมายถึง ส่งิ ทท่ี าํ ไดใ นทางวินัยจนเกดิ ความเคยชนิ มีพลงั มีความต้ังใจแนวแน จึงตอง
อาศยั ปญญา และปญ ญาอาจเกิดจากความศรัทธาเชื่อถือผอู น่ื ในทางพทุ ธศาสนาสอนวา จรยิ ธรรม คือ การนํา
ความรู ความจริงหรือกฎธรรมชาติมาใชใ หเปน ประโยชนต อ การดําเนินชีวติ ท่ดี ีงาม (พระราชวรมณุ ี)

ดังนั้น สรุปไดวา จริยธรรม หมายถึง แนวทางซ่ึงเปนกฎเกณฑในการประพฤติปฏิบัติในส่ิงที่
ถูกตอง และเปนลักษณะท่ีสังคมตองการ เปนส่ิงท่ีเกิดประโยชนตอตนเองและสังคมสวนรวม บุคคลท่ีมี
จรยิ ธรรมอยูในตนเอง ยอ มเปนทย่ี อมรบั นบั ถอื ของสังคมและสามารถดําเนินชีวิตไดอยางปกติสุข เปนคนท่ีมี
คุณภาพและเปน ท่ยี อมรบั ของสังคมสวนรวม

4



18
การทุจรติ Corruption

ทจุ รติ Corruption
(คอ – รบั – ชนั่ )

ผลประโยชนทบั ซอ น
Conflict of Interests
(คอน – ฟลิคท– ออฟ - อิน – เทอ – เรท)

จรยิ ธรรม
Ethics (เอธ – อคิ ซ)

ภาพพ้นื ฐานแนวคดิ เกี่ยวกบั การขดั กันระหวา งผลประโยชนส ว นตน ผลประโยชนส ว นรวม และการทจุ ริต

จากภาพแสดงใหเห็นวา ถาหากเจาหนาที่ของรัฐมีจริยธรรม และมีผลประโยชนทับซอนนอย
การทุจรติ ก็จะนอ ยลงไปดวยเชน กนั

“จรยิ ธรรม” เปน หลักสาํ คญั ในการควบคุมพฤตกิ รรมของเจาหนาท่ีของรัฐเปรียบเสมือนโครงสรางพ้ืนฐาน
ทีเ่ จา หนา ท่ขี องรฐั ตองยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ

“การขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม” เปนพฤติกรรมที่อยูระหวางจริยธรรม
Etกhiบัcsการทุจริตทจ่ี ะกอ ใหเ กดิ ผลประโยชนส วนตนกระทบตอผลประโยชนสวนรวม ซ่ึงพฤติกรรมบางประเภท

มีการบัญญัติเปนความผิดทางกฎหมาย มีบทลงโทษชัดเจน แตพฤติกรรมบางประเภทยังไมมีการบัญญัติ
ขอ หา มไวใ นกฎหมาย

“การทจุ รติ ” เปน พฤติกรรมท่ฝี าฝนกฎหมายโดยตรง ถอื เปนความผิดอยางชัดเจน สังคมสวนใหญจะมีการ
บัญญัตกิ ฎหมายออกมารองรับ มีบทลงโทษชัดเจน ถือเปนความผิดข้ันรุนแรงท่ีสุดที่เจาหนาท่ีของรัฐตอง
ไมป ฏิบตั ิ

“เจา หนาที่ของรัฐท่ีขาดจริยธรรมในการปฏิบัติหนาที่โดยเขาไปกระทําการใด ๆ ที่เปนการขัดกันระหวาง
ประโยชนสว นตนและประโยชนสวนรวมถอื วาเจาหนา ที่ของรัฐผูน้ันขาดความชอบธรรมในการปฏิบัติหนาที่
สภแาลพะจปะญเปหนาตกนารเหขตาดุขอจงรกยิ าธรรทรมจุ ริตตอ ไป”

5

สภาพปญ หาการขาดจรยิ ธรรม
1. ขาดการปลูกฝง คานิยมพ้นื ฐานจากครอบครัวและสงั คม
2. ขาดการปลกู ฝง คา นยิ ม ความรใู นการศกึ ษาเรื่องจรยิ ธรรม และมาตรฐานการเรยี นการสอน

เก่ียวกบั จรยิ ธรรม
3. ขาดตน แบบของบุคลากรที่ดาํ รงตนเปนตัวอยา งดา นจรยิ ธรรม
4. ความจาํ เปนทางเศรษฐกจิ และสังคมท่เี ปลีย่ นแปลงไป
5. การทจุ ริต และมีการกระทําฝา ฝนจรยิ ธรรมวิชาชพี ในกรณอี นื่
6. การขัดกันระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสวนรวม
7. ขาดการเขามามสี วนรวมในการตรวจสอบของสือ่ มวลชนและประชาชน

หลกั จรยิ ธรรมในการดาํ รงตนใหป ราศจากอคติธรรม 4 ประการ ดังน้ี
1. ปราศจากฉนั ทาคติ หมายถงึ การทาํ ใหจ ิตปราศจากความโลภ
2. ปราศจากโทษาคติ หมายถงึ การทําใหจ ติ ปราศจากความโกรธ พยาบาท จองเวร
3. ปราศจากภยาคติ หมายถึง การทําใหจ ติ ปราศจากความกลวั กระทาํ จติ ใหม น่ั คง
4. ปราศจากโมหาคติ หมายถงึ การทาํ ใหจติ ปราศจากความโงเ ขลา ความหลง ไมร จู ักความทกุ ข

ความดับ
2. การทุจรติ
การทุจริตเปนภัยรายแรงที่สําคัญที่ทําลายความม่ันคงของชาติ รัฐบาลจึงมีนโยบายสราง

มาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาลใหแกขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐ พรอมทั้งพัฒนาความโปรงใสในการ
ปฏบิ ัตงิ านของหนวยงานภาครัฐ เพอ่ื ใหเปนท่ีเชอื่ ถือไววางใจของประชาชน

คําวา ทจุ ริต พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสภา พ.ศ. 2554 ใหค วามหมายไว ดงั นี้
“ทุจรติ ” หมายถึง ประพฤติชั่ว ประพฤติไมดี ไมซื่อตรง คดโกง ฉอโกง โดยใชอุบายหรือเลหเหลี่ยม
หลอกลวง เพ่ือใหไดส่งิ ทตี่ องการ
การทจุ ริตตอ หนา ท่ี หมายถงึ การปฏิบัติหรอื ละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติกรรมท่ีอาจทําให
ผูอื่นเช่ือวามีตําแหนงหรือหนาท่ี ท้ังท่ีตนมิไดมีตําแหนงหรือหนาที่นั้น ๆ หรือใชอํานาจในตําแหนง
เพือ่ แสวงหาผลประโยชนท ่มี ิควรไดโ ดยชอบสําหรับตนเองและผอู นื่
ลักษณะของพฤติกรรมการทุจริต
พฤตกิ รรมการทจุ ริตมหี ลากหลายท้ังในหนวยงานราชการและหนวยงานตา ง ๆ ดังนี้

1. ฝา ฝน หลีกเล่ยี ง ระเบยี บแบบแผน หรอื กฎขอ บงั คบั

6

หรือพวกพอง 2. จูงใจ เรยี กรอ ง บงั คบั ขม ขู หนวงเหน่ยี ว กล่ันแกลง หรอื หาประโยชนใสต นเอง เครอื ญาติ
ตามหนา ที่
3. การสมยอม รเู หน็ เปน ใจ เพิกเฉย ละเวน การกระทําในการทต่ี อ งปฏบิ ตั หิ รือรบั ผดิ ชอบ
ประโยชนได
4. ยกั ยอก เบียดบังซึ่งทรัพยส ินของทางราชการ
5. การกระทาํ ใด ๆ อนั เปน เทจ็
6. มีผลประโยชนร วมในกจิ กรรมบางประเภททสี่ ามารถใชอ าํ นาจหนาทข่ี องตนบันดาล

เรื่องที่ 3 ประโยชนส ว นตนและประโยชนส ว นรวม

1. ประโยชนสว นตน (private interest)
การท่คี นเรามีความสนใจแตตนเองและคาํ นงึ ถงึ แตตนเอง จึงสงผลใหเ กิดเปนประโยชนส ว นตน

ดังมีความหมายทส่ี รปุ ได ดังน้ี
ประโยชนส ว นตน หมายถงึ ความสนใจตนเอง การคํานึงถงึ ตนเอง
ประโยชนสวนตน หมายถึง ผลประโยชนที่บุคคลไดรับ โดยอาศัยตําแหนงหนาที่ของตน

หาผลประโยชนจากบุคคลหรอื กลุมบคุ คล ผลประโยชนส ว นตนมที ง้ั ที่เกีย่ วกบั เงนิ ทองและไมไ ดเ กยี่ วกบั เงนิ ทอง
เชน ท่ีดิน หุน ตําแหนง หนาที่ สัมปทาน สวนลด ของขวัญ หรือส่ิงที่แสดงน้ําใจไมตรีอื่น ๆ การลําเอียง
การเลือกปฏิบตั ิ เปน ตน

กลา วโดยสรปุ ประโยชนสว นตน เปนการคํานึงถึงตนเอง เปนการแสวงหาผลประโยชนจากบุคคล
หรือกลมุ บคุ คล เพ่ือใหไดส ่ิงท่ตี นตอ งการ ไมวา ส่ิงน้ันจะถกู หรอื ผิด

2. ผลประโยชนสวนตน (private interest) “ผลประโยชน” คือสิ่งใด ๆ ที่มีผลตอบุคคล กลุมบุคคล
ไมวาในทางบวกหรอื ลบ “ผลประโยชนสวนตน” ไมไดค รอบคลมุ เพียงผลประโยชนด านการงานหรือธุรกิจของ
เจา หนา ท่ี แตรวมถึงคนท่ีติดตอสัมพันธดวย เชน เพ่ือน ญาติ คูแขง ศัตรู เม่ือใดเจาหนาที่ประสงคจะใหคน
เหลานีไ้ ดหรือเสยี ประโยชน เมื่อนนั้ ก็ถอื วา มเี รอ่ื งผลประโยชนสวนตนมาเกยี่ วขอ ง ดงั นั้น ผลประโยชนสวนตน
สามารถแบงได 2 ประเภท คอื ที่เก่ยี วกบั เงิน (pecuniary) และทไ่ี มเกยี่ วกบั เงนิ (non-pecuniary)

2.1 ผลประโยชนสวนตนที่เกย่ี วกบั เงิน ไมไดเก่ยี วกับการไดมาซึ่งเงินทองเทานั้น แตยังเก่ียวกับ
การเพม่ิ พนู ประโยชนหรือปกปองการสญู เสียของสิ่งทีม่ อี ยูแ ลว เชน ที่ดิน หุน ตําแหนงในบริษัทท่ีรับงานจาก

7

หนวยงาน รวมถึงการไดมาซ่ึงผลประโยชนอ่ืน ๆ ท่ีไมไดอยูในรูปตัวเงิน เชน สัมปทาน สวนลด ของขวัญ
หรือของทแ่ี สดงนา้ํ ใจไมตรอี ่นื ๆ

2.2 ผลประโยชนท ่ีไมเ กี่ยวกับเงนิ เกดิ จากความสัมพันธระหวา งบุคคล ครอบครัว หรือกิจกรรม
ทางสังคม วัฒนธรรมอ่ืน ๆ เชน สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิ แนวคิด มักอยูในรูปความลําเอียง อคติ
เลือกที่รักมกั ท่ชี งั และมขี อ สงั เกตวา แมแตความเชอ่ื ความคิดเหน็ สวนตวั กจ็ ัดอยูในประเภทนี้

ประโยชนสวนตน กรณีท่ีเปนประชาชนท่ัวไป หมายถึง การท่ีตนเองตองการผลประโยชน
หรือสิทธิ หรือการอํานวยความสะดวกบางประการ จึงไดกระทําการตาง ๆ ผานเจาหนาที่ของรัฐ เชน
การติดสนิ บน การแอบอา งตําแหนง หนา ทีข่ องเจา หนาทรี่ ฐั เพื่อประโยชนสวนตน เปน ตน

ประโยชนส วนตน กรณีที่เปน เจาหนา ท่ีของรัฐ หมายถึง การที่เจาหนาท่ีของรัฐไดกระทําการ
ตา ง ๆ เพ่อื ประโยชนส วนตนและบุคคลทเี่ ก่ยี วขอ ง ในลกั ษณะตาง ๆ เพอ่ื หาประโยชนในทางการเงินหรือธรุ กจิ
จนกระทบตอ การปฏบิ ัตหิ นา ท่ี

2. ประโยชนส วนรวม
การท่ีคนเรามีความสนใจและคํานึงถึงผูอื่น หรือสวนรวมมากกวาตนเอง แสดงถึงการเปนผูท่ีเห็นแก

ประโยชนสวนรวม ซ่ึงในหนังสือเรียนรายวิชาการปองกันการทุจริตไดใหความหมายของประโยชนสวนรวมวา
หมายถงึ การคํานึงถงึ ผลประโยชนสว นรวมของชาติมากกวา ประโยชนของตนเอง

ประโยชนสวนรวมหรือประโยชนสาธารณะ หมายถึง การท่ีบุคคลใด ๆ ในสถานะที่เปน
เจา หนา ที่ของรัฐ (ผูด าํ รงตําแหนงทางการเมือง ขา ราชการ พนกั งานรัฐวิสาหกจิ หรอื เจา หนา ที่ของรัฐในหนว ยงาน
ของรฐั ) ไดก ระทําการใด ๆ ตามหนาทีห่ รอื ไดป ฏิบตั หิ นาทีอ่ ันเปน การดําเนินการในอีกสวนหน่ึงท่ีแยกออกมา
จากการดําเนนิ การตามหนา ท่ีในสถานะของเอกชน การกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีของเจาหนาท่ีของรัฐจึงมี
วตั ถปุ ระสงคห รือมเี ปาหมายเพื่อประโยชนของสว นรวม หรือการรักษาประโยชนสวนรวมที่เปนประโยชนของรัฐ
การทําหนาท่ีของเจาหนา ที่ของรฐั จึงมีความเกยี่ วเน่ืองเชื่อมโยงกับอํานาจหนาทตี่ ามกฎหมาย

3. ผลประโยชนท ับซอ น
การมีผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมขัดกันสงผลใหเกิดผลประโยชนทับซอน

ซ่ึงสามารถสรุปความหมายของ ผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interests) ไดวา เปนการขัดกันของ
ผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสว นรวม หรอื การขดั กันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม
หรือการขัดกันระหวางผลประโยชนสาธารณะและผลประโยชนสวนตน และนอกจากนี้ องคกรสากล
Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) ใหนิยามและแบงประเภทของ
ผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interests) ไววา เปนความทับซอนระหวางผลประโยชนสวนตนและ
ผลประโยชนส วนรวม ผลประโยชนทบั ซอ น มี 3 ประเภท ดังนี้

8

1. ผลประโยชนทับซอนทเ่ี กิดข้นึ จริง (actual) มีความทบั ซอนระหวางผลประโยชนสวนตนและ
สาธารณะเกิดข้นึ

2. ผลประโยชนท ับซอนทเี่ ห็น (perceived & apparent) เปน ผลประโยชนท ับซอ นท่ีคนเห็นวามี
แตจริง ๆ อาจไมมกี ไ็ ด ถา จัดการผลประโยชนทับซอนประเภทนอี้ ยา งขาดประสทิ ธภิ าพ ก็อาจนํามาซึ่งผลเสีย
ไมน อยกวาการจัดการผลประโยชนท บั ซอนทีเ่ กดิ ข้นึ จริง ขอ นีแ้ สดงวาเจา หนา ท่ไี มเพยี งแตจะตองประพฤติตน
อยา งมีจริยธรรมเทานั้น แตต องทําใหคนอนื่ ๆ รับรู และเห็นดวยวา ไมไ ดร บั ประโยชนเ ชน นน้ั จรงิ

3. ผลประโยชนท ับซอนทเ่ี ปนไปได (potential) ผลประโยชนสวนตนท่ีมีในปจจุบันอาจจะทับซอน
กับผลประโยชนส าธารณะไดในอนาคต

เรอื่ งที่ 4 หลักการคดิ เปน

ในชีวิตประจําวันทุกคนตองเคยพบกับปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนปญหาการงาน การเงิน สุขภาพ
หรือปญหาอื่น ๆ เชน ปญหาขัดแยงในครอบครัว ปญหาขัดแยงของเด็ก ปญหาของเพื่อนรวมงาน เปนตน
เมื่อเกดิ ปญหาก็เกิดทุกข แตละคนกจ็ ะมีวธิ ีแกไขปญหา หรือแกทุกขดวยวิธีการที่แตกตางกันไป ซ่ึงแตละคน
อาจมีวธิ กี ารเหมือนหรือตา งกนั และอาจใหผลลัพธทเี่ หมอื นกันหรอื ตา งกันกไ็ ด ท้งั นข้ี ึน้ อยูก ับพนื้ ฐานความเชือ่
ความรู ความสามารถและประสบการณข องบคุ คล อาจจะขนึ้ อยกู บั ทฤษฎีและหลกั การของความเช่ือท่ีตางกัน
เหลานนั้ ดวย

1. ความหมายของการคดิ เปน
“คิดเปน” หมายถึง กระบวนการที่คนเรานํามาใชในการตัดสินใจโดยตองแสวงหาขอมูลของ

ตนเอง ขอมูลของสภาพแวดลอมในชุมชนและสงั คม และขอมูลทางหลักวิชาการ แลว นาํ มาวเิ คราะหห าทางเลอื ก
ในการตัดสินใจทเ่ี หมาะสม มคี วามพอดรี ะหวา งตนเองและสังคม

สรุป ความหมายของ “คิดเปน”
1. การวเิ คราะหป ญหาและแสวงหาคําตอบหรือทางเลือกเพือ่ แกป ญ หาและดับทกุ ข
2. การคิดอยา งรอบคอบเพื่อการแกปญหาโดยอาศัยขอมูลตนเอง ขอมูลสังคมสิ่งแวดลอมและ
ขอมลู วิชาการ
2. ความสําคัญของการคดิ เปน
ความสําคัญของการคิดเปน เปนสิ่งท่ีมีคุณคา เพราะการคิดชวยใหคนไดมองเห็นสภาพปญหา
ตา ง ๆ ในอนาคต ซงึ่ จะชวยใหบุคคลไดคิดหาแนวทางในการหลีกเล่ียงหรือปองกันได และการคิดชวยขยาย
ความหมายของสง่ิ ตา ง ๆ ในโลกได และผลกระทบทอ่ี าจเกิดขนึ้ จากการคิด คือ คนจะมีการปฏิบัติหรือการกระทํา

9

ตามทเ่ี ขาคดิ ถึงแมวา มันจะถูกหรือผิดกต็ าม เนือ่ งจากการคดิ มีพลังอํานาจ จงึ ตอ งมีการควบคุม โดยไดแนะนํา
วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรใ นการชวยรักษาความคิดใหเปนไปอยางถกู ตอง มกี ารควบคุมเง่อื นไขภายใตก ารสังเกต
สรุปความคิดตามส่งิ ทเี่ กิดขึน้ และมกี ารคดิ ทบทวนแนวคิด กลาวไดวา สิ่งที่บุคคลรูจะเปนสิ่งที่กระตุนใหเกิด
กระบวนการคิดคร้ังแรก แลวจึงนําไปสูการคิดในสิ่งอื่น ๆ ซ่ึงสามารถเช่ือมโยงใหเกิดความสมบูรณของ
กระบวนการคิดนัน้ เน่ืองจากการคดิ มีอิทธิพลอยางมากจากกเิ ลสทอี่ ยูในภายในตวั บุคคลและสังคม

เรื่องที่ 5 ผลประโยชนทบั ซอน

ผลประโยชนทับซอน เปนการขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม หรือการ
ขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม หรือการขัดกันระหวางผลประโยชนสาธารณะและ
ผลประโยชนส วนตน

การขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวม มีลักษณะทํานองเดียวกันกับ
กฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี หลักคุณธรรม จริยธรรม กลาวคือ การกระทําใด ๆ ที่เปนการขัดกัน
ระหวา งประโยชนส ว นตนกับประโยชนสวนรวม เปนสิ่งท่ีควรหลีกเล่ียง ไมควรจะกระทํา แตบุคคลแตละคน
แตล ะกลุม แตละสังคมอาจเห็นวาการขัดกันก็ยังอาจจะมีระดับของความหนักเบาแตกตางกัน และในกรณีท่ีมี
การฝาฝนบางเร่ือง บางคนอาจเห็นวาไมเปน ไร เปน เร่ืองเลก็ นอ ย หรืออาจเหน็ เปนเรื่องใหญ ตองถูกประณาม
ตาํ หนิ ฯลฯ แตกตางกนั ตามสภาพของสังคม

โดยพ้ืนฐานแลว เรื่องการขัดกันแหงผลประโยชนจึงเปนกฎศีลธรรมประเภทหน่ึง ท่ีบุคคลไมควร
ละเมดิ หรือฝาฝน แตเน่ืองจากมีการฝาฝนกันมาก และบุคคลผูฝาฝนไมมีความเกรงกลัวหรือละอายตอการ
ฝาฝนนั้น สงั คมกไ็ มลงโทษหรอื ลงโทษไมเ พียงพอที่จะมีผลเปนการหามการกระทําดังกลาว และในที่สุดจึงมี
การตรากฎหมายท่เี กยี่ วของกบั การขัดกันแหง ผลประโยชนม ากขึน้

หนา ท่ีทับซอ น (conflict of duty) หรือผลประโยชนเบยี ดซอ นกัน (competing interests)
มี 2 ประเภท

1. ประเภทแรก เกดิ จากการท่ีเจาหนาทม่ี ีบทบาทหนา ทมี่ ากกวา หนึ่ง เชน เปน เจาหนาทใ่ี นหนวยงาน
และเปน คณะกรรมการดา นระเบียบวนิ ัยประจาํ หนวยงานดวย ปญหาจะเกิดเมื่อไมสามารถแยกแยะบทบาท
หนาที่ท้ังสองออกจากกันได อาจทําใหทํางานไมมีประสิทธิภาพ หรือแมกระทั่งเกิดความผิดพลาด หรือผิด
กฎหมาย ปกติหนวยงานมักมีกลไกปองกันปญหาน้ี โดยแยกแยะบทบาทหนาที่ตาง ๆ ใหชัดเจน แตก็ยังมี
ปญหาไดโดยเฉพาะอยางยิ่งในหนวยงานท่ีมีกําลังคนนอย หรือมีเจาหนาที่บางคนเทาน้ันท่ีสามารถทํางาน

10

บางอยางทคี่ นอืน่ ๆ ทาํ ไมไ ด คนสวนใหญไมค อ ยหว งปญ หานี้กนั เพราะดูเหมือนไมมีเร่ืองผลประโยชนสวนตน
มาเกีย่ วขอ ง

2. ประเภททส่ี อง เกิดจากการที่เจาหนาที่มีบทบาทหนาท่ีมากกวาหน่ึงบทบาท และการทําบทบาท
หนา ที่ในหนวยงานหนึง่ นัน้ ทาํ ใหไ ดขอมูลภายในบางอยา งทอี่ าจนาํ มาใชเ ปน ประโยชนแกการทําบทบาทหนา ท่ี
ใหแ กอกี หนวยงานหนึ่งได ผลเสีย คือ ถานําขอมูลมาใชก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบหรือความลําเอียงอคติ
ตอคนบางกลุม

ดังนั้น ควรถือไดวาหนาท่ีทับซอนเปนปญหาผลประโยชนทับซอนดวย เพราะวามีหลักการจัดการ
แบบเดียวกนั นน่ั คือ การตดั สินใจทาํ หนา ท่ตี อ งเปนกลางและกลไกการจัดการผลประโยชนทับซอนก็สามารถ
นํามาจัดการกับหนาที่ทบั ซอนได

เร่อื งท่ี 6 รูปแบบผลประโยชนท บั ซอ น ศาสตรพระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. ความหมายของผลประโยชนท บั ซอ น
ความหมายของผลประโยชนทับซอน (conflict of Interest) คือ ผลประโยชนสวนตัวของ

เจา หนา ที่รัฐไปขดั แยงกับผลประโยชนสวนรวมแลวตองเลือกเอาอยางใดอยางหน่ึง ซึ่งทําใหตัดสินใจไดยาก
ในอันทีจ่ ะปฏิบตั ิหนา ท่ใี หเกดิ ความเปน ธรรมและปราศจากอคติ

2. รูปแบบของผลประโยชนท ับซอ น มีรปู แบบดังตอ ไปนี้
2.1 การรับผลประโยชนตาง ๆ (Accepting benefits) เชน การรับของขวัญจากบริษัทธุรกิจ

บรษิ ทั ขายยา หรืออุปกรณการแพทย สนบั สนุนคาเดนิ ทางใหผูบรหิ าร และเจาหนาท่ีท่ีไปประชุมเรื่องอาหาร
และยาที่ตางประเทศหรือหนวยงานราชการรบั เงนิ บรจิ าค สรา งสาํ นักงานจากธุรกิจทเ่ี ปน ลูกคาของหนวยงาน
หรือแมกระท่ังในการใชง บประมาณของรัฐ เพื่อจัดซื้อจัดจางแลวเจาหนาท่ีไดรับของแถม หรือประโยชนอื่น
ตอบแทน เปน ตน

2.2 การทาํ ธุรกจิ กบั ตนเอง (Self – dealing) หรอื เปน คสู ัญญา (Contracts) หมายถึง สถานการณ
ที่ผูดํารงตําแหนงสาธารณะ มีสวนไดเสียในสัญญาท่ีทํากับหนวยงานท่ีตนสังกัด เชน การใชตําแหนงหนาท่ี
ทําใหห นวยงานทาํ สญั ญาซือ้ สินคา จากบรษิ ัทของตนเอง หรือจางบริษทั ของตนเปน ทีป่ รกึ ษา หรือซ้ือที่ดินของ
ตนเองในการจัดสรางสํานักงาน สถานการณเชนน้ีเกิดบทบาทท่ีขัดแยง เชน เปนท้ังผูซ้ือ และผูขายในเวลา
เดยี วกนั

11

2.3 การทํางานหลังจากออกจากตาํ แหนง หนาที่สาธารณะ หรือหลังเกษียณ (Post - employment)
หมายถึง การที่บุคคลลาออกจากหนวยงานของรัฐ และไปทํางานในบริษัทเอกชนที่ดําเนินธุรกิจประเภท
เดยี วกนั เชน ผูบริหารหรอื เจาหนาท่ขี ององคก ารอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไปทาํ งานในบรษิ ัท
ผลิตหรอื ขายยา หรอื ผูบริหารกระทรวงคมนาคมหลงั เกษียณออกไปทํางานเปน ผบู รหิ ารของบริษทั ธรุ กจิ สอื่ สาร

2.4 การทํางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบนี้มีไดหลาย
ลักษณะ เชน ผูดํารงตําแหนงสาธารณะตั้งบริษัทดําเนินธุรกิจที่เปนการแขงขันกับหนวยงาน หรือองคการ
สาธารณะทสี่ งั กัด หรือการรบั จางเปน ทป่ี รกึ ษาโครงการ โดยอาศยั ตําแหนง ในราชการสรางความนาเช่ือถือวา
โครงการของผูว าจางจะไมม ีปญหาติดขดั ในการพิจารณาจากหนว ยงานทท่ี ่ปี รึกษาสังกัดอยู หรือในกรณีที่เปน
ผูตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร ก็รับงานพิเศษเปนที่ปรึกษา หรือเปนผูทําบัญชีใหกับบริษัทท่ีตอง
ถกู ตรวจสอบ

2.5 การรขู อมูลภายใน (Inside information) หมายถึง สถานการณทีผ่ ดู าํ รงตําแหนงสาธารณะ
ใชป ระโยชนจ ากการรูขอมูลภายในเพอื่ ประโยชนของตนเอง เชน ทราบวามีการตดั ถนนผานบริเวณใดก็จะเขา
ไปซอ้ื ทด่ี ินน้นั ในนามของภรรยา หรอื ทราบวา จะมีการซอื้ ขายท่ีดนิ เพื่อทําโครงการของรัฐ ก็จะเขาไปซ้ือที่ดิน
นน้ั เพอ่ื เก็งกาํ ไร และขายใหกับรฐั ในราคาทีส่ ูงขึน้

2.6 การใชท รพั ยส ินของราชการเพือ่ ประโยชนธรุ กิจสวนตวั (Using your employer’s
property for private advantage) เชน การนําเครื่องใชสํานักงานตาง ๆ กลับไปใชท่ีบาน การนํารถยนต
ราชการไปใชใ นงานสว นตัว

2.7 การนาํ โครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้ง เพ่ือประโยชนทางการเมือง (Pork - barreling)
เชน การที่รัฐมนตรีอนุมัติโครงการไปลงพ้ืนที่ หรือบานเกิดของตนเอง หรือการใชงบประมาณสาธารณะ
เพอื่ หาเสยี ง

2.8 การใชตําแหนงหนาที่แสวงหาประโยชนแกเครือญาติ หรือพวกพอง (Nepotism) เปน
“ระบบอุปถัมภพิเศษ” เชน การท่ีเจาหนาท่ีของรัฐ ใชอิทธิพลหรือใชอํานาจหนาที่ทําใหหนวยงานของตน
เขาทําสญั ญากบั บริษัทของพนี่ องของตน

2.9 การใชอิทธิพลเขา ไปมีผลตอการตัดสนิ ใจของเจาหนาที่รัฐ หรอื หนวยงานของรัฐอนื่
(influence) เพ่ือใหเ กิดประโยชนแ กต นเองหรอื พวกพอง เชน เจาหนา ท่ีของรัฐใชตาํ แหนงหนา ทขี่ ม ขูผูใ ตบ งั คับบัญชา
ใหห ยดุ ทาํ การตรวจสอบบริษัทของเครอื ญาตขิ องตน

ดังน้ัน จําเปน อยา งยง่ิ ทคี่ นทกุ วัย ทกุ ระดบั ในสังคมตองจดั การระบบการคิดใหสามารถแยกแยะ
ไดอ ยา งชดั เจน ระหวา งผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนส ว นรวม (ประเทศชาติ) ซง่ึ การสรางสังคมสุจริต
ทกุ ฝายตองรวมมือกันลดสิ่งที่เกิดจากการขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ถาคน

12

ในสงั คมไมเหน็ ความสําคัญอาจนาํ ประเทศชาติไปสูการทจุ รติ อยางมหาศาล กอใหเ กดิ ผลเสยี หายรายแรงท่ีไมอาจ
ประเมนิ คา ไดตอประเทศชาติในอนาคต

จากทก่ี ลา วมาขา งตนน้ี การนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใช จะชว ยใหลดการเกิด
ผลประโยชนทับซอนจากการทุจริต โดย ดร. อานนท ศักดิ์วรวิชญ คณะสถิติประยุกต สถาบันบัณฑิต
พฒั นบรหิ ารศาสตร กลา วสรปุ ศาสตรพ ระราชา จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู ารพัฒนาอยา งยงั่ ยืน ดังนี้

1. จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะหลักการนําทาง ประกอบดวย สามหวง สองฐาน
คอื ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี มู ิคมุ กันในตน มฐี านความรู และฐานคณุ ธรรม

2. วธิ กี ารของศาสตรพระราชา คือ เขา ใจ เขาถึง พัฒนา โดยตองเขาใจ เขาถึง พัฒนา คน วัตถุ
สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม เขาใจ หมายถึง การใชขอมูลท่ีมีอยูแลว การใชและแสวงหาขอมูลเชิง
ประจักษ การวิเคราะหและการวิจัย การทดลองใชจนไดผลจริงกอนเขาถึง หมายถึง การระเบิดจากขางใน
เขา ใจกลมุ เปาหมายในการพฒั นา และสรา งปญ ญาสังคม พฒั นา หมายถึง การพัฒนาท่ีประชาชนเริ่มตนดวย
ตนเอง พึ่งพาตนเองได และมีตนแบบในการเผยแพรค วามรูใหป ระชาชนไดเ รยี นรูและนาํ ไปประยกุ ตใ ช

3. การประยกุ ตแ หง ศาสตรพระราชา ตองทําดวยความรัก ความปรารถนาและดวยใจ ตองประยุกตใช
อยางยั่งยืน ไมยึดติดตํารา ปรับตามบุคคล สภาพพื้นท่ีและสถานการณ ตัวอยาง การประยุกตแหงศาสตร
พระราชา ไดแก โครงการพระราชดําริกวา 4,000 โครงการ เกษตรทฤษฎีใหม แกลงดิน แกมลิง ฝนหลวง
กังหันนํ้าชัยพัฒนา หญาแฝก เข่ือนปาสักชลสิทธิ์ สถานีวิทยุ อส. ถนนวงแหวน ถนนรัชดาภิเษก ทางดวน
ลอยฟาถนนบรมราชชนนี สะพานพระราม 8 เปน ตน

4. ผลลัพธข องศาสตรพระราชา คือ ตามพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม
เพือ่ ประโยชนส ุขแหงมหาชนชาวสยาม” ในสวน “ประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” แสดงใหเห็นถึงทรง
ทําเพ่ือสวนรวม คนในสังคมจะไดรับประโยชนทั่วกัน สอนใหประชาชนรูจักพออยูพอกิน และรูรักสามัคคี
อนั เปนการพฒั นาอยางยั่งยืนทําใหเกิดความพอเพียง พอประมาณ สงผลทําใหไมเกิดการทุจริต หาประโยชน
สวนตน และไมกอ ใหเกิดเปน ผลประโยชนท บั ซอน

13

กิจกรรม

คําช้ีแจง : ใหผ เู รยี นแบง กลมุ ละ ๆ 4 – 5 คน รวมกันอภปิ รายตามประเดน็ ทกี่ าํ หนด แลว จดบนั ทึกลงใน
แบบบันทึกน้ี พรอ มนาํ เสนอผลการอภิปราย
1.1 ผเู รยี นเขา ใจเรื่องผลประโยชนท บั ซอ นอยา งไร

1.2 ในชุมชนหรอื ตาํ บลของผเู รยี นมีโครงการที่ภาครฐั หรอื เอกชนไดดาํ เนนิ การไปแลว และเขาขาย
ผลประโยชนทับซอนมีอะไรบา ง

1) ................................................................................................................................................
มีลกั ษณะ คือ…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2) ................................................................................................................................................
มลี กั ษณะ คือ ……………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

14

บทท่ี 2
ความละอายและความไมท นตอ การทุจริต

สาระสําคญั

ปญหาใหญที่เกิดขึ้นในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ไมวาจะเปนประเทศที่พัฒนาหรือประเทศ
ดอยพัฒนา คือ ปญ หาการทจุ ริตทป่ี จ จบุ ันไดก ลายมาเปนปญหาท่ีมีความสําคัญที่สุดปญหาหนึ่งของประเทศ
และไมม ที ที าวาจะหมดไป หากแตทวีความรุนแรงและซับซอนมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งประเทศไทยก็เปนอีกหนึ่ง
ประเทศท่ีเผชิญกับปญหาการทุจริตในลําดับตน ๆ ท่ีสงผลตอการพัฒนาประเทศเปนอยางมาก และพบวา
มีอยูเกอื บทกุ กลมุ อาชีพในสังคมไทยจนกลายเปน ปญหาที่สะสมมายาวนาน

การสรางสังคมทีไ่ มท นตอ การทจุ รติ เปนการปรับเปลยี่ นสภาพสงั คมใหเปนสภาวะ “ท่ีไมทนตอการ
ทุจรติ ” โดยเริ่มตงั้ แตกระบวนการกลอมเกลาทางสงั คมทกุ ชวงวัย เพอื่ สรา งวัฒนธรรมตอตานการทุจริต และ
ปลกู ฝง ความพอเพยี ง มวี ินยั ซ่อื สัตยส ุจรติ ความเปน พลเมอื งดี มจี ติ สาธารณะ เพอ่ื ใหเ ด็ก เยาวชน ผูใหญเกิด
พฤติกรรมท่ีละอายตอการกระทาํ ความผิด การไมย อมรบั และตอตานการทจุ ริตทุกรูปแบบ

ตวั ชีว้ ัด

1. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกับความละอายและความไมท นตอการทุจรติ
2. ปฏิบัติตนเปน ผูล ะอายและไมท นตอ การทุจรติ ทกุ รปู แบบ โดยใชกระบวนการคดิ ตามหลกั ปรชั ญา

คิดเปน

ขอบขายเนือ้ หา

เร่อื งท่ี 1 ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
เรื่องท่ี 2 การปฏบิ ตั ติ นตามกฎ กตกิ า ของสถานศึกษา ชุมชน สงั คม

15

เรื่องที่ 1 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ รติ

ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต เปน การสรางสงั คมท่ีไมทนตอการทุจริต เปนการปรับเปล่ียน
สภาพสังคม โดยเร่ิมต้ังแตกระบวนการกลอมเกลาในทุกชวงวัย เพ่ือสรางวัฒนธรรมตอตานการทุจริต
และปลูกฝงความพอเพยี ง มีวินัย ซือ่ สตั ยสจุ ริต ความเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ เพ่ือใหเด็ก เยาวชน ผูใหญ
เกิดพฤติกรรมท่ีละอายตอการกระทําความผิด ดังนั้น เราตองแยกแยะใหไดวา พฤติกรรมใดที่จะตอง
มคี วามละอายตอการทุจริตและพฤตกิ รรมใดทีไ่ มค วรทนตอการทุจรติ แลวนาํ ไปปฏบิ ัติ เพื่อใหการทุจริตลดลง
จากสงั คมปจจบุ นั

1. ความหมายของความละอายและความไมทนตอ การทุจริต
คาํ วา “ความละอาย” และ “ความไมทน” ไดมกี ารใหความหมายไว ดังน้ี
พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหค วามหมายของคําวา ละอาย หมายถึง การรูสึก

อายท่จี ะทาํ ในสิ่งท่ีไมถูกไมค วร เชน ละอายทจ่ี ะทําผดิ ละอายใจ
ความละอาย เปน ความละอายและความเกรงกลวั ตอส่งิ ท่ีไมด ี ไมถ กู ตอ ง ไมเหมาะสม เพราะเห็น

ถึงโทษหรือผลกระทบที่จะไดรับจากการกระทํานั้น จึงไมกลาที่จะกระทํา ทําใหตนเองไมหลงทําในส่ิงท่ีผิด
นั่นคอื มคี วามละอายใจ ละอายตอการทําผดิ

ความไมท นตอ การทจุ รติ หมายถึง การแสดงออกตอการกระทําท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง หรือบุคคล
ท่ีเก่ียวของหรือสังคมในลักษณะท่ีไมยินยอม ไมยอมรับในพฤติกรรมท่ีเปนการประพฤติชั่ว ประพฤติไมดี
ไมซ อ่ื ตรง คดโกง ฉอโกง

2. ความสําคัญของความละอายและความไมทนตอการทุจริต
ปจจุบันปญหาการทุจริตในประเทศไทย มีแนวโนมหนักหนวง และรุนแรงมากขึ้น การทุจริต

มีรากฐานมาจากทัศนคติของผูคนในสังคม คานิยมแบบนิยมพวกพอง และเครือญาติ ระบบอุปถัมภ
ความสัมพนั ธใ นเชงิ ผลประโยชน จนเกดิ การทุจรติ ในรปู แบบตาง ๆ ดงั น้ัน การสรา งสังคมที่ไมทนตอการทุจริต
จงึ เปนการปรบั เปลย่ี นทัศนคติ วฒั นธรรม เพอื่ สรา งความเขมแข็งในทางคณุ ธรรมของสังคม จาํ เปนตอ งปลกู ฝง
คุณธรรมใหผูคนในสังคมเกิดความละอาย และความไมทนตอการทุจริต เพ่ือเปนการแกปญหาสังคมไทย
ทยี่ งั่ ยืน ในฐานะท่ีผูเรยี นเปน สวนหนง่ึ ของสังคม เม่อื พบพฤติกรรมทเ่ี ปน การทุจรติ ผเู รยี นควรจะเปน ผูท แ่ี สดง
ถงึ ความเปนผมู คี วามไมท นตอการทุจริตได เชน กรณีตัวอยา งตอ ไปน้ี

1) เมือ่ พบวาเพื่อนปฏบิ ัติตนเปนผูท จุ ริต ตองแจง ครู ผูปกครอง หรือผูเกี่ยวของ เพ่ือไมใหเพื่อน
กระทาํ ผดิ

16

2) เมอ่ื พบบุคคลอ่ืน ๆ ไมปฏิบัติตนในการเขาแถวรับบริการตาง ๆ ในสังคม ควรแจงใหปฏิบัติ
ใหถ กู ตองดวยวาจาทส่ี ุภาพ

เร่อื งท่ี 2 การปฏบิ ตั ติ นตามกฎ กตกิ า ของสถานศึกษา ชุมชน สังคม

การปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมเปนการประพฤติและปฏิบัติ หรือ
แสดงออกทางดา นบุคลิกภาพท่ัวไป เพอ่ื ใหถ อื ปฏบิ ตั ิ ดังกรณีตอ ไปน้ี

1. การทาํ งานทีไ่ ดรับมอบหมาย หมายถึง งานท่ีครูไดมอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาคนควาเรียนรู
ดวยวธิ กี ารเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย และนําเสนอผลการเรยี นรูต ามระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ตวั อยาง เชน ครมู อบหมายใหผูเ รยี นทาํ บัญชรี ายรับ – รายจา ย และสรปุ เปน รายสัปดาห แลวนํามา
เสนอในกลมุ ใหญ

2. การทําความสะอาดสถานที่พบกลุม หมายถึง การผลัดเปลี่ยนกันทําความสะอาดของ
สถานที่พบกลุมของผูเรียน ตามที่ไดรับมอบหมาย โดยอาจกําหนดใหทําความสะอาดในพื้นที่บริเวณตาง ๆ
ของสถานที่พบกลุม เหตุผลของการใหทําความสะอาดสถานที่พบกลุม เปนการฝกการเสียสละให
สวนรวม มคี วามรบั ผดิ ชอบ รักษาความสะอาดของสถานทพี่ บกลมุ

3. การสอบ หมายถึง การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษา ซง่ึ มขี อ ปฏิบตั ิ กฎ ระเบยี บของผูเขาสอบ
ตองปฏิบตั ิในการสอบดงั ตอไปนี้

1) การแตงกาย ถาเปนผูเรียนตองแตงเครื่องแบบผูเรียนแลวแตกรณี ถาเปนผูเขาสอบ
ตอ งแตง กายใหส ภุ าพเรียบรอ ยตามประเพณนี ยิ มที่สถานศกึ ษากาํ หนด

2) ไปถึงสถานที่สอบกอนเวลาเร่ิมสอบ ผูใดไปไมทันเวลา เมื่อลงมือสอบวิชาใดแลวไมมีสิทธิ
เขาสอบในวิชานนั้

3) ไมเขาหอ งสอบกอ นไดรับอนญุ าต
4) ไมนาํ เอกสาร เคร่อื งอเิ ล็กทรอนิกสห รือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ เขา ไป ในหอ งสอบ
5) นั่งตามทกี่ ําหนดให จะเปลี่ยนทีน่ ัง่ กอ นไดร บั อนุญาตไมไ ด
6) ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บเก่ยี วกบั การสอบ และคําสง่ั ของผูกํากบั การสอบ โดยไมท ุจรติ ในการสอบ
7) มใิ หผูเขาสอบคนอ่นื คัดลอกคําตอบของตน รวมทงั้ ไมพูดคุยกับผูใดในเวลาสอบ เมื่อมีขอสงสัย
หรอื มีเหตจุ าํ เปนใหแ จงตอผกู ํากบั การสอบ
8) ประพฤตติ นเปนสุภาพชน

17

9) ผใู ดสอบเสรจ็ กอน ผนู ้ันตอ งออกไปหางจากหอ งสอบ และไมกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวน
แกผูท ่ียงั สอบอยู

10) ไมน าํ กระดาษคําตอบทผ่ี กู าํ กบั การสอบแจกใหออกไปจากหอ งสอบ
4. การแตงกาย เปนส่ิงสําคัญและเปนสิ่งแรกที่คนทั่วไปพบเห็น การแตงกายท่ีดีจะชวยสงเสริม
บุคลกิ ภาพ เกิดความประทับใจ มีความนาเช่อื ถือใหก บั ผูท่ีพบเหน็ แตท างตรงกนั ขามหากแตงกายไมเรยี บรอย
ไมถ กู กาลเทศะกอ็ าจจะถกู มองในแงล บได โดยผเู รยี นควรแตงกายสุภาพเรยี บรอยตามประเพณนี ิยม
5. กจิ กรรมผูเรียน (ในสถานศึกษา ชุมชน สังคม) หมายถึง วิธีการ กิจกรรมท่ีครู หรือผูเก่ียวของ
นํามาใชเพือ่ ใหผูเ รยี นเกดิ การเรียนรจู ากประสบการณจริง การฝก ปฏบิ ตั ใิ หค ดิ ได คดิ เปน ทาํ เปน เพอื่ ใหเ กดิ การ
ใฝรอู ยา งมปี ระสิทธภิ าพตามเปาหมาย เชน จดั ใหผ ูเ รียนไปคนควาศึกษานอกสถานท่ี เปนตน
6. การเขาแถวรับบริการ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมาย
“บริการ” หมายถึง ปฏิบัติรับใช หรือใหความสะดวกตาง ๆ การใหบริการเปนงานท่ีมีผูคอยชวยอํานวย
ความสะดวกซึง่ ก็คอื “ผูใหบริการ” และผูมารบั ความสะดวกก็คือ “ผมู ารบั บรกิ าร”

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายคําวา “เขาแถว” หมายถึง
ยืนเรยี งตอกันเปน แนว เชน เขา แถวหนา กระดาน เขาแถวตอนเรยี งหนึง่

ดังน้ัน การเขาแถวรับบริการ จึงหมายถึง การยืนเรียงตอกันเปนแถวตอนเรียงหนึ่งของ
ผรู บั บริการ เพ่อื รบั บริการ หรือความสะดวกอยางหนง่ึ อยางใดจากผูใหบริการ เชน เขาแถวซื้ออาหาร ใชบริการ
รถโดยสารประจําทาง จายเงนิ ชําระคา นา้ํ คา ไฟฟาตามเคานเ ตอรใ หบรกิ าร เปน ตน

18

กจิ กรรม

คําชแ้ี จง : ใหผ ูเรียนแบงกลุมละ ๆ 4 - 5 คน แลวอภปิ รายเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ติ นใหเปน ไปตามกฎ กตกิ าตาง ๆ
จากประสบการณจ ริงในกิจกรรมตา ง ๆ ใหระบถุ งึ พฤตกิ รรมทีก่ อ ใหเกดิ การทจุ รติ พฤติกรรมที่
แสดงออกถึงความละอายตอการทจุ รติ และพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความไมทนตอ การทจุ รติ
ลงในแบบฟอรม ท่ีกําหนด

ท่ี กจิ กรรม พฤตกิ รรมท่ีแสดงถึง พฤตกิ รรมทแี่ สดงถึง พฤติกรรมท่ีแสดงถงึ
การทุจริต ความละอายตอการทจุ ริต ความไมท นตอ การทจุ ริต
1 การทาํ งาน
ทีไ่ ดรบั มอบหมาย

2 การทาํ
ความสะอาด
สถานท่พี บกลมุ

3 การสอบ

ท่ี กจิ กรรม พฤตกิ รรมทแี่ สดงถงึ พฤตกิ รรมท่ีแสดงถงึ 19
4 การแตงกาย การทจุ รติ ความละอายตอ การทุจริต
พฤตกิ รรมท่ีแสดงถงึ
ความไมทนตอ การทจุ รติ

5 กจิ กรรมผเู รียน

6 การเขา แถว
รับบริการ

20

บทที่ 3
STRONG : จิตพอเพยี งตานการทุจรติ

สาระสาํ คญั

STRONG : จติ พอเพียงตา นการทจุ ริต เปน การมจี ติ สํานึกในการดําเนนิ ชีวติ แบบพอเพยี ง และองคป ระกอบ
ในการสรางจิตพอเพียงตานการทุจริตใหเกิดข้ึน โดยการคิดคนโมเดล “STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจริต”
ประกอบดว ย ความพอเพียง ความโปรงใส ความตน่ื รู มงุ ไปขา งหนา ความรแู ละความเอ้อื อาทร มาประยุกต
ตามหลกั ความพอเพียง

ตวั ช้ีวัด

1. มคี วามรู ความเขา ใจเก่ียวกบั STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทุจริต
2. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผทู ่ี STRONG : จติ พอเพยี งตานการทุจรติ โดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรัชญา

คดิ เปน

ขอบขายเนอื้ หา

เร่อื งท่ี 1 STRONG : จิตพอเพยี งตานการทจุ ริต
เร่ืองที่ 2 องคประกอบการสรา งจิตพอเพียงตานการทจุ ริต

21

เร่ืองท่ี 1 STRONG : จติ พอเพยี งตา นการทจุ รติ

การแกปญหาการทุจรติ เปนเรื่องท่ีทุกคน ทกุ ภาคสว นของประเทศ ตองมีสวนรวม เริ่มจากท่ีแตละคน
สามารถคิดแยกแยะไดว า อะไรคอื “ผลประโยชนส วนตน” อะไรคือ “ผลประโยชนสวนรวม” จนเกิด “ความละอาย”
ในจิตใจทจี่ ะไมกระทาํ การใดทเ่ี ปนสวนหน่งึ ของการทจุ รติ คาํ ถามตอมาคือแตละคนจะรักษา “ความละอาย”
ดังกลาวใหตอเนื่องย่ังยืนที่จะไมกระทําทุจริต ไมยอมรับการทุจริตและมีสวนรวมในการ “ตานการทุจริต”
อยา งสรา งสรรคไ ดอ ยา งไร

ความหมาย STRONG : จิตพอเพยี งตานการทจุ ริต
จิตพอเพยี งตานการทจุ รติ หมายถึง การมจี ิตสํานึกในการดําเนินชีวติ แบบพอเพยี งที่จะไมก ระทําการ
ทจุ ริต รวมท้ังตอตานการทุจริตดวย (ความหมายดังกลาว ท่ีประชุมคณะทํางานประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํา
สือ่ ประกอบการเรียนรู ดานการปองกันการทุจริต หลักสูตรตานทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education)
รวมกนั นยิ ามขน้ึ )

เรอ่ื งที่ 2 องคป ระกอบการสรา งจิตสํานกึ พอเพยี งตา นการทจุ รติ

หนวยงานทุกภาคสวนใหความสําคัญในการประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช
ประกอบหลักการตานการทุจรติ ตา ง ๆ เพือ่ สรา งฐานคิดจิตพอเพียงตานการทุจริตใหเปนพื้นฐานความคดิ ของแตล ะ
บุคคล โดยรองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ไดคิดคนโมเดล “STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจริต”
เม่อื ป พ.ศ. 2560 ใหเ กดิ ขึน้ ในจติ ใจของแตล ะบคุ คล ซงึ่ มอี งคป ระกอบของ STRONG : จติ พอเพียงตา นการทุจริต
ดงั นี้

1) S (Sufficient) : ความพอเพยี ง
2) T (Transparent) : ความโปรง ใส
3) R (Realize) : ความตื่นรู
4) O (Onward) : มุงไปขา งหนา
5) N (Knowledge) : ความรู
6) G (Generosity) : ความเอื้ออาทร
ตามแผนภาพ “การประยกุ ตหลกั ความพอเพยี ง ดว ยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจรติ

22

การประยกุ ตห ลักความพอเพยี ง

ดว ยโมเดล

STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทุจริต

หลกั ความพอเพียง โดยบคุ คลสามารถแยกแยะ

ผลประโยชนส ว นตวั และผลประโยชนส วนรวม

อยางเปนอัตโนมัติ บคุ คลและหนว ยงาน

รว มพัฒนาใหเ กดิ ปฏิบัติงานบนฐาน
ความเอื้อเฟออาทร
ตอกันบนพืน้ ฐาน ของความโปรงใส
ของจริยธรรมและ
จติ พอเพยี ง

รแู ละพรอม
ลงมอื ปอ งกนั ทจุ รติ

แสวงหาความรูอ ยา งตอ เนื่อง มุงพัฒนาใหเ กิดความเจรญิ
เพอื่ ใหเ ทาทันตอ สถานการณการทุจริต โดยการตอสูกับการทุจริตไดอ ยา งไมยอ ทอ

พฒั นาโดย การประยุกตห ลกั ความพอเพยี งดว ยโมเดล
รศ.ดร. มาณี ไชยธีรานุวฒั ศิริ. 2560.2561
STRONG : จติ พอเพยี งตานทุจริต

ท่ีมา : http://www.stopcorruption.moph.go.th=สะกดจติ เขา สภู วงั ค

23
จากแผนภาพ “การประยุกตหลกั ความพอเพียง ดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงตานการทุจริต”
ใหเ กดิ ข้นึ ในจิตใจของแตละบคุ คล มรี ายละเอียด ดงั นี้

1) ความพอเพียง (Sufficient : S) หมายถึง แตละบุคคลนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาเปน หลักในการดําเนนิ ชีวิต กลาวคือ ตองมี ความพอประมาณ ในการกระทําสิ่งตาง ๆ ใหไมมาก
ไมน อ ยเกินไป ไมเบียดเบยี นตนเองหรอื ผูอ ่ืน มีเหตุผล กลาวคือ สิ่งที่ตัดสินใจทําอยางพอประมาณนั้น ตองมี
เหตุมผี ลรองรับ รวมท้ังคํานึงถึงผลท่ีจะเกิดจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ และเตรียมตัวใหพรอมรับ
ผลกระทบที่เปนความเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเปน ภูมิคุมกัน กลาวคือ ใหสามารถรับมือและปรับตัวเพื่อรองรับ
ความเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดข้ึนได โดยมเี งื่อนไขทฐี่ านของการตดั สนิ ใจวาตอ งมคี วามรู คือ รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
และคุณธรรม คอื ซื่อสัตยส ุจริต ขยนั อดทน สติปญญา แบง ปน ตามแผนภาพปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ทมี่ า : https://www.google.com/search?q=ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

2) ความโปรงใส (Transparent : T) หมายถึง การที่ตัวเราตองทําทุกเรื่องบนพื้นฐานของ
ความโปรง ใส เปน ธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับและขอกําหนดตาง ๆ
ที่มใี นสังคม

ในฐานะที่ผูเรียนเปนสมาชิกของชุมชน สังคม และประเทศชาติ จึงควรประพฤติปฏิบัติ
ในเรอ่ื งตา ง ๆ ตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคับ และขอกําหนดตาง ๆ ที่มีในสังคม ซึ่งการประพฤติปฏิบัติดังกลาว
ถือวา มคี วามถูกตอ ง โปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา สง ผลใหเปนผูไมกระทาํ การทจุ ริต หรือเปน
สว นหน่งึ ของการทจุ ริต และสามารถผลักดันใหเกิดความรวมมอื ตา นทจุ รติ ในสังคมได

24

การทาํ อะไรไมต รงไปตรงมา พดู จาเชื่อถอื ไมไ ด ไมพ ูดความจรงิ โกหกเนอื ง ๆ จะทําใหคนอื่น
ไมเชอื่ ถอื สงผลใหคนอน่ื ไมไ วใจในการกระทําตา ง ๆ พฤติกรรมดงั กลาวมักจะเปนเหตขุ องการกระทําทจุ ริต

3) ความตื่นรู (Realize : R) / ความรู (Knowledge : N) หมายถึง ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ
และตระหนักรถู ึงรากเหงา ของปญ หาจากภัยรา ยแรงของผลกระทบที่เกิดจากการกระทําทุจริต ประพฤติมิชอบ
ตอสังคมในภาพรวม หากเกิดการทุจริตประพฤติมิชอบขึ้นมาแลว ก็ควรมีสวนรวมในการตานทุจริตดังกลาวดวย
เพ่ือเปนพลงั ใหค นอน่ื ๆ ในสังคมเขา มามสี วนรวมในการไมกระทาํ การทจุ รติ รว มเฝา ระวงั และตา นการทุจริต

4) มงุ ไปขางหนา (Onward : O) เราทุกคนตองมีความหวัง รวมสราง ปรับเปลี่ยนตัวเอง และ
สวนรวมใหมีความเจริญกาวหนาบนฐานความโปรงใส ความพอเพียง และรวมกันสรางวัฒนธรรมสุจริตให
เกิดขึ้นในสงั คมอยา งไมท อ

5) ความเอื้ออาทร (Generosity : G) สงั คมไทยเปนสังคมท่ีผูคนมีความเอ้ืออาทรตอกัน ความเอื้ออาทรน้ี
จึงเปนพลังท่ีเราสามารถนํามาใชในการกระตุนเพื่อสรางการมีสวนรวมในการทุจริตใหเกิดขึ้นในสังคม
ดังพระราชดํารัสพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9) เพื่ออัญเชิญลงพิมพ
ในนิตยสารทรี่ ะลึกครบ 36 ป ของสโมสรไลออนสกรุงเทพฯ เม่ือวันที่ 31 มีนาคม 2538 วา “สังคมใดก็ตาม
ถามคี วามเอ้ือเฟอ เกื้อกูลกันดว ยความมุง ดี มงุ เจริญตอ กัน สังคมนัน้ ยอมเต็มไปดว ยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความ
รม เยน็ เปน สุขนา อย.ู ..”

6) ตา นการทจุ รติ ผเู รียนเองตอ งไมเปนสวนหนึง่ ของการทจุ รติ เชน เมื่อเราทาํ ผิดกฎจราจรและ
ตอ งเสยี คาปรบั เราควรไปเสยี คาปรบั ทส่ี ถานตี ํารวจตามจํานวนทีภ่ าครัฐเรียกเก็บ แทนการจายเงินใหตํารวจ
โดยตรงดวยจํานวนเงินท่ีนอยกวา หรือเม่ือพบเห็นการกระทําทุจริตก็ควรมีสวนรวมในการตานทุจริตผาน
Social Media ซึง่ เราพบวาปจ จุบันไดผลในหลายเรอ่ื ง

25

กจิ กรรม

กิจกรรมที่ 1

คาํ ชแี้ จง : ใหผ ูเรยี นอธิบายความหมายของคําวา “STRONG” ยอมาจากอะไร อกั ษรแตละตวั คอื S , T , R , O ,
N , G หมายถงึ อะไร จงอธบิ ายมาใหเ ขาใจ

กจิ กรรมที่ 2

คาํ ช้แี จง : ใหผเู รยี นดู Clip เรอื่ ง อัญชลีเธอตายแน เวลา 13.38 นาที แลว ใหผเู รยี นชว ยกันสรุปวา ผูห ญิง
(อญั ชล)ี คนน้ีทาํ อะไรไมถ ูกตองบา ง และถาผเู รยี นเปนผูห ญงิ (อัญชลี) คนน้ีจะปฏิบตั ิตัวอยา งไร
ใหเหมาะสม

สรุปเนือ้ หา Clip เรือ่ ง อญั ชลเี ธอตายแน (ความพอเพียง) เวลา 13.38 นาที
เปน เรื่องเกีย่ วกบั ผูห ญิงหน่ึงคนทไ่ี ปกนิ อาหารบุฟเฟต  แลว แอบเอาอาหารใสกระเปาหนังทม่ี ีราคาแพง

หกลมถุงอาหารแตก หกใสกระเปา ทําใหกระเปาเสียหาย โทรไปเลาใหเพ่ือนฟง เพื่อนเลยบอกวา
ไมค ุมคา ที่ขโมยอาหารเพียงเล็กนอยกับกระเปาราคาแพงตองเสีย เพราะเลอะอาหาร ตอมาเธอพยายาม
จะมชี ีวิตอยา งพอเพยี งที่ไมถ ูกวธิ ี เชน เดนิ ไปทํางาน และกนิ อาหารทเี่ อามาจากอาหารบฟุ เฟต เพราะคิดวา
ส่ิงนั้นคอื สิ่งทถ่ี ูกตอ ง

คลปิ วดิ โี อเรอ่ื ง อัญชลีเธอตายแน
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=JxJmQMQxfk0&t=103s

26

กจิ กรรมที่ 3

คาํ ชี้แจง : ใหผ เู รยี นเขยี นคําสัญญาของตนเองจากเร่ืองความพอเพียง ความโปรงใส ความต่ืนรู มุงไปขางหนา
ความรู และความเอือ้ อาทร มาจํานวน 1 เรื่อง พรอมวาดภาพประกอบจากการปฏิบัติตนของผูที่มี
จติ STRONG : จติ พอเพียงตานทุจริต

ใบงาน เร่อื ง คําสญั ญา

ขา พเจาขอสัญญาวา ...

27

บทท่ี 4
พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอสงั คม

สาระสาํ คญั

พลเมืองเปนกําลังสําคัญของประเทศ มีสิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย ผูที่เปนพลเมืองดี คือ ผูท่ี
ปฏิบัติหนาท่ีพลเมืองไดครบถวนดวยความรับผิดชอบอยางเต็มที่สอดคลองกับหลักธรรม วัฒนธรรม
ประเพณี และรัฐธรรมนูญกําหนดได รวมทั้งตองเปนผูที่เคารพสิทธิ หนาที่ตอตนเองและผูอื่นที่มีตอ
สังคม เปนผูที่เคารพกฎหมายและกติกาตาง ๆ และมีความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม

ตัวชี้วัด

1. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั พลเมอื ง และมีความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม
2. ปฏิบัติตนตามหนา ทีพ่ ลเมอื งและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม โดยใชกระบวนการคิด

ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน
3. ตระหนักและเหน็ ความสําคัญของการปอ งกันการทจุ ริต

ขอบขายเนือ้ หา

เรือ่ งท่ี 1 ความเปน พลเมอื ง
เร่อื งท่ี 2 การเคารพสทิ ธหิ นาที่ตอ ตนเองและผูอ่ืนทมี่ ีตอ สงั คม
เรอื่ งท่ี 3 ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย
เรอื่ งท่ี 4 ความรบั ผดิ ชอบตอชมุ ชน

28

เรือ่ งที่ 1 ความเปน พลเมอื ง

1. ความหมายของความเปนพลเมอื ง (Citizenship)
ประชาชน คอื คนธรรมดาท่ัวไปท่ีอาศัยอยูในประเทศใดประเทศหน่ึง ถาอาศัยในประเทศไทย

เรยี กวา ประชาชนชาวไทย หรอื พลเมอื งไทย
พลเมือง หมายถึง คนท่ีมีสิทธิและหนาท่ีในฐานะประชาชนของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือ

ประเทศทอ่ี ยูภ ายใตผูปกครองเดียวกนั มักมวี ฒั นธรรมเดียวกัน
ความเปนพลเมอื ง คอื สถานภาพของบุคคลทจ่ี ารีตประเพณหี รอื กฎหมายของรัฐรับรองใหสิทธิ

และหนา ทีแ่ หงความเปน พลเมอื งแกบุคคล (เรยี ก พลเมอื ง) ซ่งึ อาจรวมสทิ ธอิ อกเสียงเลอื กต้ัง การทํางานและ
อาศยั อยใู นประเทศ สทิ ธกิ ลบั ประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย และสิทธกิ ารคุมครองผานกองทัพหรือ
การทตู พลเมืองยังมีหนา ทอ่ี ่นื เชน หนา ทีป่ ฏิบตั ติ ามกฎหมายของรฐั ชําระภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคล
ท่ีไมมคี วามเปน พลเมือง เรยี กวา ผูไรสญั ชาติ (Stateless)

คนไทยท้ังประเทศ คือ พลเมืองไทยท้ังหมดที่เปนกําลังสําคัญของประเทศที่เขามามีสวน
ในการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ภายใตกฎหมายอันเปนรัฐธรรมนูญเดียวกัน มีสิทธิ เสรีภาพ และ
หนาที่ความรบั ผิดชอบในการพฒั นาประเทศไทยใหเ จริญรุงเรอื ง

ประเทศที่จะเจริญกาวหนาและสงบสุขไดจะตองเปนประเทศท่ีมีพลเมืองท่ีดี ความหมายของ
พลเมืองทดี่ ี หมายถงึ ผูท ี่ปฏิบตั ิหนา ทีพ่ ลเมอื งไดค รบถวน ทั้งกิจท่ีตอ งทาํ และกจิ ท่ีควรทาํ สาํ หรบั ความหมาย
ของหนา ท่ี หมายถึง กิจทตี่ อ งทํา หรอื ควรทาํ เปนส่ิงท่ีกําหนดใหทํา หรือหามมิใหกระทํา ถาทําจะกอใหเกิด
ผลดี เกดิ ประโยชนต อ ตนเอง ครอบครวั หรือสังคมสว นรวมแลว แตก รณี ถาไมทําหรอื ละเวนการกระทําตามที่
กําหนดจะไดรับผลเสียโดยตรง คือ ไดรับโทษ หรือถูกบังคับ เชน ปรับ จําคุก หรือประหารชีวิต เปนตน
โดยทว่ั ไปส่งิ ท่รี ะบกุ จิ ทต่ี องทาํ ไดแก กฎหมาย เปน ตน

2. ความสาํ คญั ของพลเมอื งดี
2.1 ดา นสังคม
1) พลเมืองทีด่ ีชว ยใหส ังคมมีความสงบเรียบรอย
2) สงั คมมกี ารพฒั นาไดอยา งรวดเร็ว
3) มีการแกไขปญ หาตาง ๆ โดยใชหลกั เหตผุ ล
4) ชว ยลดความขดั แยง และการใชความรนุ แรงในสงั คม

29

2.2 ดา นเศรษฐกิจ
1) พลเมอื งทดี่ จี ะประกอบสมั มาอาชีพสจุ ริต
2) ดําเนนิ ชวี ิตประจาํ วันอยบู นพืน้ ฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3) มีความประหยัดอดออม ไมใ ชจา ยเกนิ ตัวและไมก อ หน้ี
4) มคี วามรวมมือจากทกุ ฝา ย เพอื่ สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจทง้ั ระดบั ครอบครวั
ชมุ ชน และประเทศ

2.3 ดานการเมอื งการปกครอง
1) พลเมืองดยี อมเคารพกฎหมาย
2) ปฏิบตั ติ นตามวิถีประชาธิปไตย
3) รจู ักสิทธิและหนาท่ขี องตนเอง

3. คุณลกั ษณะของพลเมอื งดี
3.1 เคารพกฎหมาย
3.2 เคารพสทิ ธิและเสรีภาพของตนเองและผอู ่นื
3.3 มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ หนา ทท่ี งั้ ในครอบครัว ชมุ ชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก
3.4 มเี หตผุ ล ใจกวา ง และรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผูอื่น
3.5 มีคณุ ธรรมและจริยธรรมในการดาํ เนนิ ชวี ิตประจําวัน
3.6 มจี ติ สาธารณะ คํานงึ ถึงประโยชนข องสว นรวม
3.7 มสี ว นรว มในกระบวนการทางการเมอื งการปกครอง

ภาพผูเรียนมีจติ สาธารณะ ภาพผูเ รียนมีจิตสาธารณะ

ทมี่ า : https://jariya678.wordpress.com/2014/02/10/

30

4. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของพลเมืองดี
4.1 การเห็นแกประโยชนส วนรวม
1) มจี ิตสาธารณะ
2) รูจกั เสียสละประโยชนส วนตนเพ่อื ประโยชนส ว นรวม
3) ใหความชว ยเหลอื คนรอบขางและคนในสงั คมอยเู สมอ
4.2 การรบั ฟง ความคิดเห็นของกนั และกัน
1) เคารพในความคดิ เห็นทแี่ ตกตา ง
2) เปดโอกาสใหผ อู ืน่ ไดแ สดงความคดิ เหน็ อยา งเสรี
3) ยดึ หลักเสียงสวนมากเพอื่ หาขอยตุ แิ ละเคารพเสียงสวนนอย
4.3 การมีระเบยี บวินัย รบั ผดิ ชอบตอหนาท่ี
1) เคารพกฎระเบียบ และกติกาของสงั คม
2) ไมละเมดิ สทิ ธผิ อู ่นื และรูจกั ปกปอ งคมุ ครองสทิ ธเิ สรีภาพของตนเอง
3) ปฏบิ ัตหิ นา ท่ขี องตนเองอยางเตม็ ความสามารถ
4.4 ความซ่ือสัตยส จุ รติ
1) ไมเบียดบงั เอาทรพั ยสินของผอู ื่นมาเปน ของตน
2) มีความซ่ือตรงตอ หนา ท่ที ไี่ ดรบั มอบหมาย
4.5 ความกลาหาญและเช่ือม่ันในตนเอง
1) มีความกลา ทจี่ ะแสดงความคิดเหน็ ในเชิงสรา งสรรค
2) ไมยอมรบั หรือสนับสนนุ การกระทําที่ไมถ กู ตอง
4.6 ความสามัคคี
1) มคี วามรกั ใครกลมเกลียวตอ คนรอบขา ง
2) ไมส รางความแตกแยกในสังคม
3) รว มแรงรวมใจกันทํางานเพอื่ พฒั นาชาติ
4.7 ความละอายและเกรงกลัวตอ การทําช่วั
1) มคี วามซ่อื สัตย
2) ปฏิบตั ติ นโดยยึดหลักธรรมในการดําเนนิ ชวี ิต
3) ละเวนการทําในสงิ่ ไมด ีทงั้ หลาย

31

4.8 สง เสริมใหคนดีปกครองบานเมือง
1) ประชาชนควรเลือกคนดี มคี วามสามารถใหเ ขาไปบรหิ ารบานเมอื ง
2) ควบคุมคนไมดีไมใหมีอาํ นาจทางดา นการปกครอง

5. บทบาทหนา ทข่ี องพลเมอื งดี
5.1 ดานการเมอื งการปกครอง
5.1.1 เคารพกฎหมาย
1) ปฏิบตั ติ ามกรอบของกฎหมายอยางเครง ครัด
2) ไมกระทําการใด ๆ ท่ลี ะเมิดตอ กฎหมายบา นเมอื ง
5.1.2 รูจ ักใชสทิ ธแิ ละหนาท่ขี องตน
1) ปฏิบัตติ นตามบทบาทหนา ท่ใี หดที ่ีสุด
2) รจู กั ปกปองคุมครองสทิ ธิของตนเองและผอู ่นื อยา งเหมาะสม
5.1.3 ออกไปใชส ทิ ธิเลือกตัง้
1) ไปใชส ทิ ธเิ ลอื กตัง้ ทุกครงั้ เพื่อเลอื กคนดีเขา ไปบรหิ ารประเทศ
2) ไมนอนหลบั ทบั สทิ ธิ
3) ไมข ายสทิ ธขิ ายเสียง
5.2 ดา นเศรษฐกจิ
5.2.1 ประกอบอาชพี สุจริต
1) ดํารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2) รูจักเกบ็ ออมเงนิ เพ่ือไวใ ชจา ยในยามจําเปน
5.2.2 ใชจายอยางประหยัด
1) มีวินัยทางการเงนิ
2) ไมนาํ เงินไปซือ้ สงิ่ ของที่ไมจําเปน
3) ไมอ ยากไดในวตั ถสุ ่ิงของทเี่ กินฐานะของตน
5.2.3 ชําระภาษี
1) ชําระภาษคี รบตามจํานวน และตรงเวลา
2) ไมก ระทาํ การใดๆ เพ่ือเปน การหลบเลย่ี งภาษี

32

5.3 ดานสังคมและวฒั นธรรม
5.3.1 รักษาความสงบเรยี บรอ ย
1) ไมกอ ความวนุ วายในสังคม
2) ปฏบิ ัติตนเปน แบบอยา งทีด่ แี กคนรอบขา ง
3) หลีกเลยี่ งการใชค วามรุนแรงตดั สินปญ หา
5.3.2 ชว ยเหลือคนพกิ ารและผูดอยโอกาส
1) มเี มตตากบั ผดู อยโอกาสท้งั หลาย
2) ไมล ะเมิดสทิ ธเิ สรภี าพของผพู ิการหรือผดู อยโอกาส
3) ใหการสนบั สนนุ และสง เสริมคนพกิ ารและผดู อ ยโอกาสตามความเหมาะสม
5.3.3 อนรุ กั ษวฒั นธรรมไทย
1) อนุรักษแ ละสบื สานวัฒนธรรมอนั ดีงามของชาติ
2) ถา ยทอดมรดกทางวฒั นธรรมสืบตอ ไปยังคนรนุ หลัง

เร่อื งท่ี 2 การเคารพสิทธิหนาทตี่ อตนเองและผอู นื่ ทม่ี ีตอสังคม

การเคารพสทิ ธิหนาท่ีตอ ตนเองและผอู ่นื ทม่ี ีตอสงั คม เปนกรอบที่สําคัญในการดาํ รงตนของประชาชน
และพลเมือง กลา วไดวา “พลเมือง” มีความแตกตางจากคําวา “ประชาชน” และ “ราษฎร” ตรงที่วา พลเมือง
จะแสดงออกถงึ ความกระตอื รอื รน ในการรกั ษาสทิ ธิตาง ๆ ของตน รวมถงึ การมีสวนรวมทางการเมืองโดยการ
แสดงออกซึ่งสิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ความเปนพลเมือง (Citizen) มีความหมายท่ีสะทอน
ใหเห็นถึงบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของสมาชิกทางสังคมท่ีมีตอรัฐ ตางจากคําวา ประชาชน
ท่กี ลายเปนผูรับคาํ สั่ง ทําตามผอู นื่ ท้ังนท้ี กุ คนตางก็ยดึ มั่นในสิทธิ หนา ที่ เสรภี าพ และปฏบิ ัติตนตามท่รี ฐั ธรรมนญู
กําหนดยอ มนํามา ซึง่ การอยรู ว มกันของคนในสังคมอยางมีความสุขสงผลทําใหประเทศชาติไดรับการพัฒนา
สคู วามเจรญิ กาวหนาอยา งรวดเรว็

สทิ ธิ หมายถงึ อํานาจหรือผลประโยชนท่ไี ดรบั การคุม ครองและรองรบั ตามกฎหมาย
ตัวอยา ง เรือ่ งของ “สทิ ธิ”

1. สิทธิที่เปนสิทธิเฉพาะบุคคล ไดแก สิทธิในชีวิตและรางกาย สิทธิในเคหะสถาน
สิทธใิ นครอบครวั สทิ ธใิ นการประกอบอาชพี และสิทธิในชอื่ เสียงและเกยี รตยิ ศ

33

2. สิทธิเก่ยี วกับทรัพยส ิน คือ สิทธิที่เจาของมีอยูในทรัพยสินน้ันโดยการถือกรรมสิทธ์ิ และ
สามารถใชประโยชนใ ด ๆ ได ตามท่ีเจาของทรัพยสินตองการ เชน มีสิทธิในการใหผูอื่นเชาบาน สิทธิในการ
ขายทด่ี ินของตน

3. สิทธิขัน้ พ้ืนฐานของเดก็ ไดแ ก
3.1 สิทธิที่จะมีชีวิตรอด เด็กจะตองไดรับการดูแลสุขภาพข้ันพื้นฐาน มีสันติภาพและ

มคี วามปลอดภัย
3.2 สทิ ธิท่จี ะไดรบั การพัฒนา เด็กตองมีครอบครวั ท่อี บอนุ ไดร บั การศกึ ษาทดี่ ีและภาวะ

โภชนาการท่ีเหมาะสม
3.3 สทิ ธทิ ีจ่ ะไดร ับความคมุ ครอง เด็กตองไดรบั ความคุมครองใหรอดพนจากการทําราย

การลวงละเมิด การละเลย การนําไปขายแรงงาน การใชแรงงานเด็ก และการแสวงประโยชนโดยมิชอบ
ในรปู แบบอื่น ๆ

3.4 สทิ ธิในการมสี วนรวม เด็กสามารถแสดงความคิดเห็น แสดงออก การมีผูรับฟงและ
มีสวนรวมในการตดั สินใจในเรือ่ งทีม่ ผี ลกระทบกบั ตนเอง

หนาที่ หมายถงึ ภาวะท่บี ุคคลตองกระทําหรือการละเวน การกระทําเพื่อประโยชนโดยตรงของการ
มีสิทธิ หนาท่ีเปนส่ิงท่ีบังคับใหมนุษยในสังคมตองปฏิบัติตามกฎเกณฑทางสังคมหรือกฎหมายบัญญัติไว
จะไมปฏิบัตติ ามไมไ ด

ตวั อยาง ของ “หนา ท”่ี
1. หนา ที่ของพลเมอื งตามกฎหมายรัฐธรรมนญู
1.1 หนา ที่ในการธาํ รงรกั ษาไวซ ่งึ ความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และ

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเปนประมุข
1.2 หนา ทใ่ี นการปอ งกันชาตบิ า นเมือง
1.3 หนา ที่ในการเคารพและปฏบิ ัติตามกฎหมายบานเมือง
1.4 หนาทใี่ นการรับราชการทหาร
1.5 หนาท่ใี นการเสียภาษีอากรตามกฎหมาย
1.6 หนา ที่ในการเขา รับการศึกษาภาคบงั คับ
1.7 หนา ทใ่ี นการใชส ิทธิเลือกตงั้ โดยสุจริต

34

2. หนาทีข่ องพลเมอื งตามทบ่ี ัญญัตไิ วในกฎหมายอน่ื ๆ
2.1 หนา ท่ีของบิดามารดาในการอปุ การะเลยี้ งดบู ุตร
2.2 หนาทใ่ี นการปฏบิ ัตติ ามอาชพี ท่ีตนรบั ผิดชอบ
2.3 หนาที่ทต่ี องปฏิบตั ิตามสญั ญาท่กี ระทาํ ไว

3. หนาทขี่ องพลเมืองในระดบั ทอ งถนิ่
3.1 หนา ทที่ างการเมอื ง เชน การลงสมัครรับเลอื กตง้ั การใชสิทธิเลือกต้ังผูแทนในทองถิ่น

ของตน เปนตน
3.2 หนา ทที่ างเศรษฐกจิ เชน การประกอบอาชพี สุจรติ การใชเ วลาวางใหเกิดประโยชน

การรว มอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติในทอ งถ่นิ เปนตน
3.3 หนา ท่ที างสงั คม เชน การประพฤตดิ ี การพัฒนาสงั คมใหเ จรญิ กาวหนา เปน ตน

เสรีภาพ หมายถึง ความเปนอิสระของบุคคลท่ีจะกระทําการตาง ๆ ไดตามความตองการของตน
โดยไมล ะเมดิ ตอ ผูอืน่ และไมผิดกฎหมาย

ตวั อยา ง ของ “เสรภี าพ”
1. เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา
2. เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
3. เสรีภาพในรา งกาย
4. เสรีภาพในเคหะสถาน
5. เสรีภาพในการศึกษาอบรม
6. เสรีภาพในการเดนิ ทาง
7. เสรีภาพในการพูด การเขยี น การพิมพ การโฆษณา
8. เสรภี าพในการรวมกันเปน สมาคม สหภาพ สหกรณ และพรรคการเมือง

การปฏิบัติตนตามสทิ ธภิ ายใตกรอบของรัฐธรรมนูญโดยไมกระทบสิทธิของบุคคลอื่น ยอมไดช่ือวา
เปน บุคคลผูม สี ว นนาํ พาบา นเมืองใหไ ดรับการพัฒนา อีกท้ังการปฏิบัติตนดวยการเคารพสิทธิของตนเองและ
ผูอ่ืนในสังคม ยอ มเปน สง่ิ ที่จะชวยจดั ระเบียบใหส งั คมมคี วามสงบสขุ ซึง่ สมาชกิ ทกุ คนในสังคมจะตอ งไมละเมิด
สิทธิของสมาชิกคนอื่นในสังคม การไมละเมิดสิทธิของสมาชิกคนอ่ืน ๆ ในสังคม มีแนวทางการปฏิบัติตน
ในการเคารพสทิ ธหิ นา ที่ของตนเองและผอู น่ื ดังน้ี

35

1. ตองเคารพในสิทธิของกันและกัน โดยไมละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูอื่น สมาชิกทุกคนใน
สงั คมสามารถแสดงออกไดหลายประการ เชน การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน
เปน ตน

2. ตองรูจักใชส ทิ ธขิ องตนเองและการแนะนาํ ใหผูอ ่นื รจู กั การใชสทิ ธิของตนเองไดอยา งถูกตอง
3. ตองรูจกั การเรยี นรแู ละการทาํ ความเขา ใจเกยี่ วกับหลักสิทธิ และเสรีภาพตามที่บัญญัติไว
ในรฐั ธรรมนูญ เชน เรอ่ื ง สิทธเิ สรภี าพของความเปน มนษุ ย เปนตน
4. ตองปฏิบัติตนตามหนาท่ีของชาวไทยตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เชน การเสียภาษี
การไปเลือกต้ัง เปน ตน
การใหความสาํ คญั กับการปฏบิ ัตติ นในการเคารพสทิ ธหิ นา ทต่ี อตนเองและผูอื่นที่มีตอสังคม จะเปน
สวนสําคัญสง ผลใหชุมชน สังคมเกดิ การพัฒนาและเมื่อสังคมเกดิ ความม่นั คง เขมแข็งจะสงผลใหประเทศชาติ
เกดิ ความม่ันคงเขม แข็งดวยเชน กัน

เรอื่ งท่ี 3 ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย

สังคมประชาธิปไตย เปนสังคมที่ยึดหลักความเทาเทียมกันของบุคคลในสังคม ทั้งนี้ ผูท่ีอาศัยอยู
ในสงั คมประชาธิปไตยหรือพลเมืองในสงั คมประชาธปิ ไตย จงึ จาํ เปนตอ งมีระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย เปนเคร่ืองมือ
ในการกาํ กับ ดแู ล ใหม ีการปฏิบัตติ นทสี่ อดคลอ งและสัมพันธก บั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย

คณุ ลกั ษณะพลเมืองดขี องประเทศชาตแิ ละสังคมโลกท่สี ําคัญ คือ การเคารพกฎหมายและกติกาสังคม
การเคารพสทิ ธเิ สรีภาพของตนเองและบุคคลอ่นื มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น มีความรับผิดชอบตอ
ตนเอง และสิ่งแวดลอม รวมถึงการมีคุณธรรมจริยธรรมเปนหลักในการดําเนินชีวิต หากประเทศชาติ และ
สงั คมโลกของเรา มพี ลเมืองทด่ี มี ีคณุ ลักษณะเชนน้ี ก็จะกอ ใหเกดิ ความสงบสุข

ระเบียบวินัย คือ คุณสมบัติท่ีสําคัญในการดําเนินชีวิต ความสามารถของบุคคลในการควบคุม
อารมณและพฤติกรรมของตนเองใหเปนไปตามท่ีมุงหวัง โดยเกิดจากการสํานึก ซ่ึงตองไมกระทําการใด ๆ
อันเปนผลทําใหเกิดความยุงยากแกตนเองในอนาคต หากแตตองเปนสิ่งที่กอใหเกิดความเจริญรุงเรือง
แกต นเองและผูอืน่

กฎ คอื ขอ บงั คับท่อี ยูในความเปน จรงิ เพื่อไมใหเกิดความเสียหายตอทรัพยสินและชีวิต ระเบียบวินัย
นนั้ เปนสิ่งซง่ึ มีความสําคญั ย่งิ โดยเฉพาะกบั ผูเรียนหรือเยาวชน อันจะเปนกาํ ลังอยางมากในการพฒั นาประเทศ

กติกา คือ กฎเกณฑ ขอ ตกลง หรือขอ กาํ หนดท่ีบุคคลต้ังแต 2 ฝายขึ้นไปใชเปนหลักปฏิบัติ เพื่อให
เกดิ ความเปน ธรรมแกทกุ ฝาย


Click to View FlipBook Version