The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมชุดเตรียมพร้อม (๒)
(เรากับจิต)
พระธรรมวิสุทธิมงคล
(หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน)
วัดป่าบ้านตาด(วัดเกษรศีลคุณ) จ.อุดรธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.luangta, 2021-10-01 09:29:39

ธรรมชุดเตรียมพร้อม (๒)

ธรรมชุดเตรียมพร้อม (๒)
(เรากับจิต)
พระธรรมวิสุทธิมงคล
(หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน)
วัดป่าบ้านตาด(วัดเกษรศีลคุณ) จ.อุดรธานี

Keywords: หลวงตามหาบัว,ธรรมะ

คำ�อนโุ มทน�

หนังสอื ธรรมะแต่ละเลม่ จะส�ำ เร็จข้ึนม�เพอื่ แจกท�นให้ท่�นผใู้ คร่ธรรมไดอ้ �่ น ย่อม
ส�ำ เร็จดว้ ยอ�ำ น�จแห่งศรัทธ�ของท่�นผูใ้ จบุญท้งั หล�ยชว่ ยกนั บริจ�คและจดั ทำ� แม้เล่มน้ีก็
ส�ำ เร็จขึน้ ม�เพร�ะแรงศรทั ธ�ของท�่ นผู้ใจบุญหนุนโลกเชน่ เดยี วกนั ล�ำ พงั ผู้แสดงก็มีเพยี ง
ลมป�กอย�่ งเดียวเท่�นน้ั พอแสดงจบลงลมป�กก็ห�ยสูญไปในขณะน้นั ไม่อ�จเหนีย่ วรัง้
ธรรมท่แี สดงออกน้ันๆ ใหจ้ รี ังยง่ั ยืนสบื ไปไดเ้ ลย เพร�ะไม่มปี ญั ญ�สร�้ งธรรมให้จีรังยง่ั ยืน
ไดด้ ้วยวิธกี �รใดๆ ท่เี หน็ ว�่ เหม�ะสม จ�ำ ต้องอ�ศยั บุญบ�รมขี องท�่ นคณะศรทั ธ�ผ้ใู จบุญ
ท้ังหล�ย ชว่ ยเสรมิ สร้�งคว�มจีรังถ�วรแห่งธรรม ดว้ ยก�รรว่ มกนั บรจิ �คและจดั พิมพเ์ ปน็
เลม่ ขึ้นม� เพ่ือท่�นผูอ้ ่�นไดอ้ �ศยั พ่ึงร่มเง�แห่งใบบญุ หนนุ โลกอนั ไมม่ ปี ระม�ณน้นั ผู้แสดง
จึงขออนโุ มทน�กับท่�นทัง้ หล�ยเปน็ อย่�งยงิ่ ม�พรอ้ มนี้ บญุ กศุ ลทั้งมวลที่เกิดขึน้ เพร�ะก�ร
บ�ำ เพ็ญน้ี จงส�ำ เรจ็ ผลอันพงึ หวงั ดงั ใจหม�ยโดยทวั่ กนั เทอญ

ค�ำ อนโุ มทน�ในก�รพมิ พ์เมอื่ ๙ มถิ นุ �ยน ๒๕๒๗

ค�ำ น�ำ

ก่อนอ่ืนต้องขออภยั ต่อท่�นผู้อ�่ นโดยทัว่ กนั ท่ไี ม่อ�จดัดแปลงแก้ไขเนอื้ ธรรมและสำ�นวน
ต�่ งๆ ให้เหม�ะสมกบั หนงั สอื เล่มนี้ ที่จะออกส่สู �ยต�ส�ธ�รณชนซึ่งมคี ว�มรสู้ ึกในแงแ่ หง่ ธรรม
หนกั เบ�ต�่ งกัน เนอ่ื งจ�กก�รแสดงธรรมแต่ละกัณฑ์แกท่ ่�นผฟู้ งั ซึง่ ลว้ นเปน็ นักปฏบิ ัติธรรมดว้ ยกนั
ประสงคอ์ ย�กฟงั ธรรมป�่ ที่เกีย่ วกบั ภ�คปฏบิ ัตจิ ิตภ�วน�ม�กกว่�ภ�คอืน่ ๆ ผู้แสดงซ่ึงเปน็ พระป่�ๆ
อยู่แลว้ จงึ เรม่ิ แสดงธรรมป่�โดยล�ำ ดบั ต�มนิสยั ป�่ แตก่ ณั ฑ์เริม่ แรกจนถึงกัณฑ์สดุ ท้�ย ซงึ่ รวมก�ร
เทศนต์ ิดตอ่ กันม�โดยล�ำ ดบั ในชว่ งนนั้ คงไม่ตำ่�กว�่ ๘๐ กณั ฑ์ ซง่ึ ส่วนม�กมักเปน็ ธรรมเผ็ดร้อน
ม�กกว�่ จะสมนำ�้ สมเนอื้ เท�่ ท่คี วร

หลงั จ�กก�รแสดงธรรมผ�่ นไปแล้วเปน็ ปๆี จึงมีท่�นผศู้ รทั ธ� คอื ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศรี
ม�แสดงคว�มประสงค์ขออนญุ �ตพมิ พก์ ณั ฑเ์ ทศนเ์ หล่�น้ีขึน้ เป็นเลม่ เพ่อื แจกท�น และประสงค์ให้
กณั ฑ์เทศนเ์ หล่�น้ที พ่ี ิมพ์เปน็ เลม่ แลว้ จรี งั ย่ังยืนไปน�น จึงได้อนุญ�ตต�มอัธย�ศยั โดยไม่มหี นท�ง
แกไ้ ขกัณฑเ์ ทศนเ์ หล�่ นใี้ หเ้ หม�ะสมแก่ท่�นผู้อ่�นท่วั ๆ ไปไดแ้ ต่อย�่ งใด ถ้�เรอ่ื งใดประโยคใดไม่
เหม�ะสมกับจรติ นสิ ัยก็กรณุ �ผ�่ นไป ยดึ ไว้เฉพ�ะทีเ่ หน็ ว�่ ควรแก่นิสัยของตนๆ เพ่ือประโยชน์ในก�ล
ต่อไป

หนงั สอื ทผี่ ู้เขียนเรยี บเรียงข้ึน หวังใหท้ ุกท�่ นท่มี ีจติ ศรัทธ�ได้เป็นเจ้�ของพมิ พแ์ จกเปน็ ธรรม
ท�นด้วยกันได้ทกุ โอก�ส โดยไมต่ อ้ งขออนุญ�ตแต่อย�่ งใด สว่ นก�รพมิ พ์เพ่ือจ�ำ หน่�ย จึงขอสงวนสิทธิ์
ทุกๆ เล่มไป ดงั ทเ่ี คยปฏบิ ตั มิ �

คำ�นำ�ในก�รพมิ พเ์ มือ่ ๙ มิถุน�ยน ๒๕๒๗



ปฐมเหตุ ธรรมชุดเตรยี มพรอ้ ม

ผู้จัดทำ�ขอนำ�บทคว�มที่หลวงต�พระมห�บัวได้กล่�วถึงคุณเพ�พง�

วรรธนะกลุ ซึง่ คัดลอกบทคว�มบ�งตอนจ�ก “ญ�ณสัมปนั นธมั ม�นุสรณ์”
หน้� ๔๕๗-๔๕๘ จ�กหนงั สืออนสุ รณเ์ นอ่ื งในง�นพระร�ชท�นเพลงิ ถว�ย
แด่พระสรรี ะสงั ข�รพระธรรมวิสุทธมิ งคล (หลวงต�พระมห�บัว ญ�ณสัมปัน
โน)

ผแู้ ต่ง : วัดป่าบ้านตาด
ISBN : 978-974-350-988-9; Year/Edition : สงิ หาคม ๒๕๕๔/๙๒๘

บทคว�มบ�งตอนจ�กหน้� ๔๕๗ “เร่มิ เทศนเ์ พอื่ คนป่วย”
ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ สตรซี ง่ึ เป็นศิษยอ์ งคห์ ลวงต�ท�่ นหนึง่ ชื่อคณุ เพ�พง� วรรธนะกลุ ได้ป่วยไขไ้ ม่
สบ�ยจงึ ไมค่ ดิ ท�ำ ง�นท�งโลกอกี ต่อไป คุณเพ�พง�ได้เขยี นจดหม�ยขอม�ปฏบิ ตั จิ ิตตภ�วน�เตรยี มรบั กับ
มรณภัยที่วดั ป�่ บ้�นต�ด ซึง่ องคห์ ลวงต�ท่�นกไ็ ด้ใหค้ ว�มอนเุ คร�ะหต์ �มท่ขี อและตง้ั ใจไปแสดงธรรมเปน็
กรณีพิเศษ ดังนี้

“...คุณเพ�เร�เสยี (ชีวิต)ไปกปี่ แี ลว้ ปี ๒๕๑๙-๒๕๒๐ ไม่รู้นะ เหตทุ ี่ว�่ อย่�งน้ันกค็ อื ว่� คุณเพ�นี้เป็น
โรคมะเรง็ กระดกู ข�้ งๆ น้ี หมอเข�บอกว่�อยูอ่ ย�่ งน�นได้ ๖ เดอื น แกก็หมดหวงั ละ เลยเขยี นจดหม�ย
‘อย�กม�ภ�วน�ก่อนต�ย’

เร�ก็พูดเป็นสองพักเอ�ไว้ (ตอบจดหม�ย) ‘ถ�้ ไปภ�วน�ธรรมด�ๆ น้ี อย�กอยู่ทไ่ี หน ไปทใี่ ดไปกไ็ ม่
ได้ ไม่ไปก็ไม่ว่�’ เร�ว่�ง้ันนะ ข้อสอง ‘ถ้�ตัง้ ใจจะภ�วน�จรงิ ๆ เพ่อื เห็นโทษแห่งคว�มต�ยของตวั เองแล้ว
ก็ เอ�! ไปได้’

เร�ว่�สองพัก พอแกได้รับจดหม�ยเย็นวันนี้แกก็ออกเดินท�งเลย ตอนเช้�ไปถึงแล้ว ไปรถยนต์
‘อ�้ ว จดหม�ยได้รบั หรือยงั ’

‘ไดร้ ับเมือ่ เยน็ ว�นน้ี พอไดร้ ับแล้วกม็ �เลย’
‘เอ�้ ถ้�อย�่ งน้ันให้เลือกเอ� กฏุ ิทีอ่ ุไร ห้วยธ�ร อยู่ กับกฏุ ิคุณหญงิ กอ้ ย สองหลงั นใ้ี หเ้ ลือกเอ�
เป็นทสี่ งดั จะพักหลงั ไหนกไ็ ด้’
กต็ อบว�่ ‘พกั หลังคณุ หญงิ ก้อย’ แต่กอ่ นมันเตยี้ ๆ พงึ่ ยกขน้ึ เมอื่ เรว็ ๆ น.้ี ..
ตงั้ แต่วันนน้ั ม�เร�เข�้ ไปเทศน์ใหฟ้ งั ทกุ วนั นะ ดเู หมือนเป็นปี ๒๕๑๘-๒๕๑๙ เทศนใ์ ห้ฟังทุกเย็น
พอตกเย็นม�จวนมดื แลว้ ไปกบั ท�่ นปญั ญ� ท่�นปญั ญ�เปน็ ผอู้ ัดเทป เร�ไปเทศนใ์ หฟ้ งั ทุกๆ เย็นเลย
เว้นแต่วันไหนประชุมพระ หรือเร�มีธุระจำ�เป็นเร�ก็บอกล่วงหน้�เอ�ไว้ว่�วันพรุ่งนี้จะไม่เข้�ม�
นอกจ�กนน้ั เทศน์ทกุ วนั ๆ ดเู หมอื น ๙๐ กว่�กณั ฑ์ ไปอยู่น้นั ตง้ั ๓ เดือนนน้ั ละจึงได้หนังสอื เล่มท่ีว่�
“ศ�สน�อยทู่ ไี่ หน” หน่ึง “ธรรมชุดเตรยี มพรอ้ ม” หนึง่ สองเล่มน่ีท่เี ทศน์ตดิ กันไปเร่อื ยๆ เปน็ หนังสือสอง
เลม่ นี้ กอ็ ยู่ย�่ นปี ๒๕๑๙ ม้ัง แกเสียปนี ัน้ เร�ลมื ๆ เสยี ...”

บทคว�มบ�งตอนจ�กหน้� ๔๕๘
“โยมแมไ่ ด้หลักใจฟังเทศนล์ ูก”

ในช่วงท่ีท่�นเมตต�สงเคร�ะห์คนป่วยในคร�วนี้เองทำ�ให้โยมแม่ขององค์หลวงต�ท่�นมีโอก�สฟัง
ธรรมอย่�งตอ่ เน่อื ง เกิดผลด�้ นจิตใจดงั นี้

“...โยมแม่ก็ไดม้ �ฟังเทศน์ ไม่ม�กละเทศน์กด็ เู หมือนประม�ณสกั ๓๐ น�ทีละมง้ั แตล่ ะกัณฑ์ๆ
ละ ๓๐ หรืออย่�งม�กก็ ๔๐ น�ที ห�กเทศน์ทกุ วนั เลย... นล่ี ะก็เทศน์สอนคุณเพ�พง� เทศน์ตดิ เทศน์
ต่อ เทศนไ์ ม่หยดุ ไมถ่ อย ตงั้ แตน่ ้นั ม�แล้วก็ไม่เคยเทศน์อย�่ งน้นั อกี นะ มหี นเดียวเท�่ น้นั ในชวี ติ ของเร�ที่
เทศนต์ ดิ กันไปเลยใน ๓ เดอื นเทศน์ทุกๆ คนื เวน้ วนั ประชุมพระ ถ�้ วนั ไหนประชุมอบรมพระไมเ่ ข้�หรือ
มีธรุ ะจ�ำ เป็นท่ีจะไปไหนก็ไป”

โยมแม่จงึ ได้กำ�ลงั ใจท่ีไปเทศน์สอนคุณเพ� โยมแมไ่ ด้ก�ำ ลงั ใจตอนน้นั ถึงขน�ดท่ีว่�พอคณุ เพ�
กลบั ไปแลว้ กพ็ ดู เปิดอกกับเร� นมิ นตเ์ ร�ใหไ้ ปเทศน์ “วนั ไหนไมม่ แี ขกคนม� ถ�้ อ�จ�รย์ว่�งกข็ อนมิ นต์ม�
เทศนส์ อนอบรมแม่บ้�งนะ เวล�ฟังเทศน์นีไ้ มไ่ ดบ้ ังคบั จิตใจ พอเริม่ เทศนจ์ ิตจอ่ ป๊ับเท�่ น้ี เทศนน์ ้จี ะกล่อม
ลง แล้วแน่วเลยไม่ตอ้ งบงั คบั จิตสงบทุกครัง้ เลยไม่มีพล�ด ฟงั กณั ฑ์ไหนไดเ้ หตผุ ลเลย ไม่ตอ้ งบงั คบั พอ
เสยี งธรรมเริม่ สติก็เริม่ จับจิตเกย่ี วโยงกันโดยลำ�ดับ คว�มรกู้ ล่อมลงๆ ธรรมเทศน�กล่อมใจแน่วลง สงบ
แน่วๆๆ ถ้�แม่ทำ�โดยลำ�พงั ตนเอง นั่งจนหลงั จะหกั มันก็ไม่ลง อย�กนิมนต์อ�จ�รย์ม�เทศน์เปน็ ก�รช่วย
ท�งด�้ นจติ ตภ�วน�ไดด้ ี”

องคห์ ลวงต�ไดป้ ร�รภถงึ โยมม�รด�ของท่�นว่�

“...พดู ถงึ โยมแม่เร�พอใจในก�รปฏิบตั ิธรรม โยมแม่ได้หลักไม่สงสยั เลย ดีไม่
ดจี ะไม่กลบั ม�เกดิ อกี กไ็ ด้... หยดุ พักน่แี ล้วออกจ�กน่ีก�้ วผึงเลย ถึงไมถ่ ึงท่ีสดุ ในขณะ

นน้ั กก็ �้ วเตรียมพร้อมแลว้ ท่จี ะพุ่ง...
โยมแมเ่ ร�ไม่กลับม�เกดิ แลว้ ล่ะ ไปนพิ พ�นข�้ งหน้�เลย...”

จดหม�ยล�ยมือหลวงต�

จดหม�ยของท�่ นพระอ�จ�รยม์ ห�บัว ญ�ณสมปฺ นฺโน มถี ึงน�งเพ�พง� วรรธนะกุล
เมื่อวันที่ ๒๖ กมุ ภ�พนั ธ์ ๒๕๑๙

ก�รปฏบิ ัตธิ รรมสมควรแก่ธรรม ท่ปี ระท�นไวด้ ว้ ยพระเมตต�สุดสว่ นไม่มใี คร
เสมอในโลก น้นั คือก�รบูช�พระองค์ท�่ นแท้ ก�รเห็นคว�มจริงทีม่ อี ยกู่ ับตวั ตลอด
เวล�ดว้ ยปัญญ�โดยล�ำ ดบั น้นั กค็ ือก�รเห็นพระตถ�คตโดยล�ำ ดับ

ก�รเหน็ คว�มจรงิ อย่�งเต็มใจดว้ ยปัญญ�นัน้ แล คือก�รเหน็ พระพุทธเจ้�เตม็
พระองค์ พระพุทธเจ�้ แท้ ธรรมแท้อยูท่ ่ใี จ ก�รอปุ ฏั ฐ�กใจตวั เอง คอื ก�รอุปัฏฐ�ก
พระพทุ ธเจ�้ ก�รเฝ้�ดูใจตัวเองดว้ ยสติปญั ญ� คือก�รเข้�เฝ�้ พระพุทธเจ้� พระ
ธรรม พระสงฆ์ อย่�งแท้จริง

พญ�มจั จรุ �ชเตอื น และบุกธ�ตขุ นั ธ์ของสัตวโ์ ลกต�มหลกั คว�มจริงของเข�
เร�ต้องต้อนรบั ก�รเตือน และก�รบุกของเข�ดว้ ยสติ ปญั ญ� ศรัทธ� คว�มเพียร
ไม่ถอยหลงั และขนสมบัติ คอื มรรค ผล นิพพ�น ออกม�อวดเข�ซ่งึ ๆ หน้� ดว้ ย
คว�มกล้�ต�ย โดยท�งคว�มเพยี ร เข�กบั เร�ทถ่ี อื ว�่ เป็นอรศิ ตั รกู นั ม�น�น จะเป็น
มติ รกนั โดยคว�มจรงิ ดว้ ยกัน ไมม่ ใี ครไดใ้ ครเสียเปรยี บกนั อีกตอ่ ไปตลอดอนันตก�ล

ธ�ตขุ นั ธ์เป็นส่ิงทโี่ ลกจะพึงสละทั้งทเ่ี สยี ด�ย เร�พงึ สละด้วยสติปัญญ�ก่อน
หน�้ ทจ่ี ะสละขันธ์แบบโลกสละกนั นัน่ คอื คว�มสละอย�่ งเอก ไม่มีสองกบั อันใด
กรุณ�ฟงั ใหถ้ งึ ใจ เพร�ะเขียนด้วยคว�มถงึ ใจ เอวำฯ

ที่มา รปู แสกนจดหมายจาก ญาณสมั ปนั นธมั มานสุ รณ์ 458, ขอ้ ความอกั ษรจากเวบ็ ไซต์ www.luangta.com

สารบญั ๑๔๑
๑๔๘
อะไรคอื จติ จิตพระอรหนั ต์ ๑๖๐
จะฝกึ จิต ตอ้ งฝนื ๑๗๓
จติ วุ่นว�ย ๑๘๕
อบุ �ยฝกึ จติ ท�งลดั ๑๙๗
อบุ �ยชำ�ระจติ ให้เปน็ ธรรม ๒๐๙
จิตต�นุปัสสน� ๒๒๔
จิตผ่องใส คอื อวชิ ช� ๒๓๙
จติ ว�่ งเพร�ะว�งก�ย ๒๕๑
ก�ยวเิ วก จติ วเิ วก อุปธิวเิ วก ๒๗๓
สร�้ งธรรมให้จิตให้พอก่อนต�ย ๒๘๕
จงสร้�งว�สน�ท่ใี จ ๒๙๖
จงสร�้ งใจ ใหช้ ่วยตวั เอง ๓๑๐
จิตบรสิ ทุ ธิ์ ๓๒๐
พระนิพพ�นกงั ว�นอยใู่ นจิต
สร้�งเรือนส�มชนั้ ให้จิต



๒ภาค

“เรา กับ จิต’’

อะไรคือจิต จิตพระอร๑ห๒๖นั ต์

เทศนโ ปรดคุณเพาพงา วรรเธทนศะนก์โปุลรดณคุณวดัเพปาา พบงา นวตรารดธนะกลุ ณ วัดปา่ บ้านตาด
เม่อื วันท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน พทุ ธเศมกัือ่ วรนัาชที่ ๒๒๔๕๑พ๘ฤศจิกายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๘

อะไรคือจติ –จิตพระอรหนั ต

ทานอาจารยม น่ั ทา นวา “ใจ” มีภาษาเดียวเหมือนกนั หมด ไมว าจะเปนชาติใด
ภาษาใด มีเพยี งความรคู ือใจน้ี ฉะน้นั ทา นจงึ วาเปน ภาษาเดียว พอนกึ ออกมากเ็ ขา ใจ

แตเ วลาแยกออกมาพดู ตองเปน ภาษานั้นภาษานี้ ไมค อ ยเขา ใจกนั ความรูสกึ ภายในจติ
ใจนน้ั เหมอื นๆ กนั ธรรมกบั ใจจึงเขา กนั สนทิ เพราะธรรมกไ็ มไดเปนภาษาของอะไร
ธรรมก็คอื ภาษาของใจ ธรรมอยูก บั ใจ”

ความสขุ ความทกุ ขอ ยูกบั ใจ การทําใหส ขุ หรอื ใหท กุ ขเกิดข้ึนก็ใจเปน ผคู ดิ ขน้ึ มา
ผลทีป่ รากฏขน้ึ เปนสุขเปน ทุกข ใจเปน ผูรับรู เปน ผรู ับภาระในผลของตนท่ีคดิ ขน้ึ มา ใจ
กับธรรมจงึ เขา กันไดสนทิ ไมว า จะเปนชาตใิ ดภาษาใด เรอ่ื งธรรมนัน้ เขากันไดท ง้ั นนั้
เพราะใจกบั ธรรมเปน ของคูค วรกนั อยแู ลว

ใจนี้คอื แกน ในสกลกายของเรา เปนแกนอนั หน่งึ หรือเปน ของแข็ง หรอื เปน
สาระสําคญั ท่ีมอี ยูในรางกายน้ี ไดแกใจเปน หลักใหญ อาการทเี่ กิดขน้ึ จากใจ เชน ความ
คดิ ความปรงุ เกิดแลวดบั ๆ ก็หมายถงึ ความกระเพื่อมของใจกระเพอ่ื มข้ึนมา คอื ความ
คิดปรุง ความหมายเกย่ี วกบั การคาดการจดจาํ น้ันหมายถงึ สัญญา ยาวออกไปก็เปน
สญั ญา สน้ั กเ็ ปน สงั ขาร คือปรุงแพล็บกเ็ ปนสังขาร สญั ญา คือความหมายความจํา
วิญญาณหมายถงึ การรบั รูในขณะที่ส่ิงภายนอกเขามาสมั ผสั อายตนะภายใน เชน ตากบั
รปู สัมผัสกนั เกิดความรขู น้ึ มา เปนตน เหลา นี้มกี ารเกดิ การดบั อยปู ระจาํ ตวั ของเขาเอง
ทา นจงึ เรียกวา “ขนั ธ” แตละหมวดแตละกองรวมแลว เรียก วา “ขนั ธ”

ขันธหา กองนี้มกี ารเกิดการดับกนั อยเู ปน ประจาํ แมแตพ ระขณี าสพทา นกม็ ี
อาการเหลานีเ้ ชน เดยี วกับสามญั ชนทั่วๆ ไป เปนแตว าขันธของทานเปนขนั ธล ว นๆ ไม
มีกเิ ลสเปน เครอ่ื งบงั คบั บัญชาใชใหทาํ น้ี ปรุงนี้คดิ นั้น เปน ขนั ธท ี่คดิ โดยธรรมชาติของ
มันเอง เปน อสิ ระของขนั ธ ไมม ีอะไรมาบงั คบั ใหค ิดนน่ั ปรงุ นี่เหมือนจิตสามญั ชนท่วั ๆ
ไป ถาจะเทยี บขนั ธของสามัญชนทั่วไป ก็เหมือนนกั โทษท่ถี กู บงั คับบัญชาอยูตลอดเวลา
ความคิดความปรุง ความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ เหลานี้ ลวนแตมีผบู งั คบั บัญชาออกมา
ใหคดิ อยา งน้ันใหปรุงอยางนี้ ใหสาํ คัญมน่ั หมายอยางนัน้ อยางนี้ คอื มกี เิ ลสเปน นาย หวั
หนา บังคบั บัญชาขนั ธเ หลานใ้ี หแ สดงตัวข้ึนมา

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ภาค ๒ “๑เ๑ร๔า๒๑ ก๖บั จติ ’’

๑๒๗

สวนพระขีณาสพคือพระอรหนั ตทานไมม ี ปรุงก็ปรุงธรรมดา พอปรุงแลว ก็ดบั
ไปธรรมดาไมมเี ช้อื ตอ ไมม ีเชอื้ กดถว งจติ ใจ เพราะไมม อี ะไรบงั คับเหมอื นดงั ขันธทีม่ ี
กเิ ลสปกครองหรือมกี เิ ลสเปน หวั หนา ผิดกันตรงน้ี แตค วามจริงนน้ั เหมือนกัน

ท่ีกลาวมาทัง้ หมดนเี้ ปน อนจิ จัง คอื ความไมเ ทย่ี ง ความแปรสภาพของแตละ
ขนั ธๆ มปี ระจาํ ตัวดวยกนั นับแตรปู ขันธค อื กายของเรา เวทนาขนั ธ ไดแ กความสุข
ความทกุ ข ความเฉยๆ นกี่ ็เกิดดบั ๆ สัญญา สังขาร วญิ ญาณ มีเกิดมีดับประจําตนอยู
ตลอดไป

สว นความรจู ริงๆ ทเ่ี ปน รากฐานแหงความรูเกย่ี วกับสิง่ ตางๆ ทเ่ี กิดดบั ๆ นี้ไม
ดบั เราจะพูดวา “จิตนด้ี ับไมได” เราจะพูดวา “จติ นเี้ กิดไมได” เพราะฉะนนั้ จติ ท่ีบรสิ ุทธ์ิ
แลว จึงหมดปญ หาในเรือ่ งเกดิ เรือ่ งตาย ท่ีเกย่ี วกบั ธาตุขนั ธไ ปถอื กําเนดิ เกิดท่ีนน่ั ทีน่ ่ี
แสดงตวั อนั หยาบออกมา เชน เปน สัตวเ ปน บคุ คลเหลาน้นั เปนตน จงึ ไมมสี าํ หรับจติ
ทานทีบ่ รสิ ทุ ธิ์แลว

แตถา ไมบ รสิ ทุ ธิ์ กพ็ วกนแ้ี หละไปเกดิ ไปตาย หมายปา ชาอยูไ มห ยุด เพราะจติ
ท่ีไมตายน้ีแหละ

ฉะน้ันพระพุทธเจาจงึ ทรงสอนโลก เฉพาะอยา งย่ิงคือโลกมนุษยเ รา ผทู ี่รดู ีรูชั่ว รู
บาปบุญคณุ โทษ และรูวธิ ีการทีจ่ ะแกไ ขดัดแปลงหรอื สง เสริมได เขาใจในภาษาธรรมที่
ทานแสดง ทา นจึงไดป ระกาศสอนโลกมนษุ ยเ ปน สาํ คัญกวา โลกอ่นื ๆ เพ่อื จะไดพ ยายาม
ดัดแปลงหรอื แกไ ขส่งิ ทเ่ี ห็นวา ไมเ กิดประโยชนและเปน โทษ ออกจากจติ ใจกายวาจา
และสอนใหพ ยายามบํารุง สงเสริมความดที ี่พอมอี ยบู า งแลวหรือมอี ยูแ ลว และที่ยังไมมี
ใหม ใี หเ กดิ ขึ้น สิง่ ที่มีแลว บาํ รุงรักษาใหเ จริญ เพอื่ เคร่ืองหลอ เลยี้ งจิตใจใหมคี วามชมุ
เยน็ มคี วามสงบสขุ มีหลกั มีเกณฑด วยคุณธรรมคือความดี หากไดเ คลื่อนยายจากธาตุ
ขนั ธปจจุบันนไ้ี ปสสู ถานท่ใี ด ภพใดชาตใิ ด จิตท่ีมีความดเี ปน เครื่องหลอ เล้ียงอยเู สมอ
ยอ มเปน จิตทด่ี ี ไปก็ไปดี แมจะเกดิ กเ็ กดิ ดี อยกู อ็ ยดู ี มคี วามสขุ เรอ่ื ยๆไป

จนกวา จติ นี้จะมีกาํ ลังสามารถอํานาจวาสนา มบี ญุ ญาภิสมภารท่ีไดส รา งโดย
ลาํ ดบั ลาํ ดา นบั ตง้ั แตอดีตมาจนกระทั่งปจจุบนั นต้ี อเนื่องกันมา เชน วานน้เี ปน อดตี
สาํ หรบั วนั น้ี วนั น้ีเปน อดีตสาํ หรับวนั พรุง นี้ ซง่ึ เปนวันท่เี ราไดสรา งความดีมาดวยกันท้งั
นนั้ และหนุนกนั เปน ลําดับ จนกระทงั่ จติ มกี ําลงั กลาสามารถ เพราะอํานาจแหง ความดี
นี้เปน เคร่อื งสนบั สนนุ แลว ผานพน ไปได

คาํ วา “สมมุต”ิ คือการเกดิ การตายดังทีเ่ ปนอยนู ั้น จะไปเกิดในภพทีเ่ งยี บๆ
ละเอยี ดขนาดไหนก็ตาม ท่เี ปนเร่ืองของสมมตุ ิแฝงอยูนัน้ จึงไมม ี ทา นผานไปหมดโดย
ประการทั้งปวง น่ีไดแกจิตพระอรหันตแ ละจิตพระพุทธเจา พูดถึงเร่อื งน้กี ย็ ังมเี ร่อื งของ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ธรรมะชุด๑๑เ๔ต๒๒รยี ๗มพร้อม

๑๒๘

“พระวังคีสะ” พระวังคีสะ ทานเกง มากในการทด่ี ูจติ ผทู ่ตี ายแลว ไปเกดิ ในภพใดแดนใด
ต้งั แตท านเปน ฆราวาส ใครตายกต็ าม จะวาทา นเปน หมอดกู พ็ ูดไมถ นัด ทา นเกง ทาง
ไสยศาสตรน ่ันแหละ เวลาใครตายเขานาํ เอากะโหลกศีรษะมาใหเคาะ ปอ ก ๆๆ
กาํ หนดดทู ราบวาอันนั้นไปเกดิ ทนี่ น่ั ๆ เชนไปเกดิ เปนสัตวนรกกบ็ อก ไปเกิดในสวรรค
กบ็ อก ไปเกิดเปน สตั วเ ดรจั ฉาน ไปเกดิ เปน เปรตเปน ผอี ะไรทานบอกหมดไมม ีอดั มีอน้ั
บอกไดทง้ั น้นั ขอใหไดเ คาะกะโหลกศรี ษะของผตู ายน้นั ก็แลว กัน

พอทา นวังคีสะไดท ราบจากเพ่อื นฝงู เลาใหฟ ง วา พระพุทธเจายงั เกงกวา นอี้ กี
หลายเทา ทา นอยากไดค วามรเู พิม่ เตมิ จงึ ไปยังสํานกั พระพุทธเจาเพอ่ื ขอเรยี นวิชา
แขนงนีเ้ พ่ิมเติมอีก พอไปถึงพระพุทธเจาทานก็เอาศีรษะพระอรหันตมาใหเคาะ “เอา
ลองดูซไิ ปเกดิ ท่ีไหน?” เคาะแลวฟง เงียบ, เคาะแลวฟง เงียบ, คดิ แลว เงียบ กาํ หนด
แลว เงียบ ไมปรากฏวาเจาของกะโหลกศรี ษะนี้ไปเกดิ ทีไ่ หน!

ทา นจนตรอก ทา นพูดสารภาพอยางตรงไปตรงมาวา “ไมทราบทเี่ กิด”
ทแี รกพระวังคีสะนีว้ าตัวเกงเฉลียวฉลาด จะไปแขงกับพระพุทธเจาเสียกอนกอน
จะเรียนตอ พอไปถึงพระพุทธเจา พระองคเ อากะโหลกศรี ษะพระอรหันตมาใหเ คาะน่ี
ซิ ! ทานมาติดตรงน้ี! ทนี ้ีกอ็ ยากจะเรียนตอ ถา เรยี นไดแ ลว ก็จะวิเศษวิโสมาก เม่อื
การณเ ปนไปเชน นนั้ ก็ขอเรยี นท่สี าํ นกั พระพุทธเจา พระพุทธเจากท็ รงสอนวชิ าให สอน
วธิ ใี ห คือสอนวชิ าธรรมนใี่ ห ฝกปฏิบัตไิ ป ๆ พระวังคสี ะกเ็ ลยสําเร็จพระอรหันตข ึน้ มา
เลยไมสนใจจะไปเคาะศีรษะใครอีก นอกจากเคาะศีรษะเจาของ รูแจง ชัดเจนแลว หมด
ปญ หาไปเลย นี่เรียกวา “เคาะศีรษะท่ีถูกตอ ง”!
เมื่อยกเร่อื งจิตทไี่ มเ กิดขึ้นมา กะโหลกศีรษะของทา นผูบริสทุ ธิ์แลว เคาะเทา
ไรกไ็ มร วู า ไปเกดิ ทไ่ี หน! ทั้งๆ ท่พี ระวงั คีสะแตกอ นเกง มาก แตจติ ท่บี รสิ ุทธ์แิ ลว หาที่
เกดิ ไมไ ด ! เชน “พระโคธิกะ” ก็เหมือนกัน นี้กน็ า เปน คตอิ ยไู มนอ ย ทา นไปบาํ เพญ็
สมณธรรมเจริญขึ้นไปโดยลําดับๆ แลวเสอ่ื มลง เจริญข้ึนเสือ่ มลง ฟงวา ถงึ หกหน หนที่
เจด็ ทา นจะเอามดี โกนมาเชอื ดคอตนเอง “โอ เสียใจ” แตก ลับไดส ติขึ้นมา จงึ ได
พิจารณาธรรมจนไดเปนพระอรหันตในวาระสุดทาย อนั นเ้ี ราพดู ยอ เอาเลย ตอนทา น
นพิ พาน พวกพญามารก็มาคนหาวญิ ญาณของทา น พดู ตามภาษาเราก็วา “ตลบเมฆ
เลย” การขุดการคนหาวิญญาณของทา นน้นั ไมเ จอเลย ไมท ราบวาทานไปเกิดท่ีไหน
พระพุทธเจาจึงรบั สั่งวา “การท่ีจะคนหาวิญญาณของพระโคธิกะทเี่ ปน บตุ รของ
เรา ซง่ึ เปน ผสู าํ เร็จเสร็จสน้ิ ไปแลว โดยประการทงั้ ปวงนนั้ จะขุดจะคนจะพิจารณาเทาไร

ธรรมชุดเตรียมพรอม ภาค ๒ “๑เ๔ร๑า๓๒ก๘ับ จติ ’’

๑๒๙

หรอื พลกิ แผน ดินคน หาวญิ ญาณทา นกไ็ มเ จอ มนั สดุ วสิ ยั ของ “สมมตุ ิ” แลวจะเจอ
อยางไร! มันเลยวสิ ัยของคนทม่ี กี ิเลสจะไปทราบอาํ นาจจิตของพระอรหันตทา นได!

ในวงสมมตุ ิทง้ั หลาย ไมม ีผูใดจะสามารถตามวถิ จี ติ ของพระอรหนั ตท านได
เพราะทานนอกสมมุตไิ ปแลว จะเปน จิตเหมือนกนั ก็ตาม ลองพิจารณาดูซิ จิตของเราที่
กาํ ลงั ลม ลุกคลกุ คลานอยเู วลาน้กี ็ตาม เม่ือไดถ ูกชําระเขาไปโดยสมํา่ เสมอไมห ยุดไม
ถอย ไมล ะความเพียรแลว จะคอยละเอียดไปได จนละเอยี ดถึงท่สี ุด ความละเอยี ดก็
หมดไป เพราะความละเอยี ดนั้นเปนสมมตุ ิ เหลือแตธรรมชาตทิ องท้งั แทง หรอื ธรรมทงั้
ดวง ที่เรียกวา “จิตบรสิ ทุ ธ”์ิ แลวก็หมดปญ หาอีกเชน เดยี วกนั เพราะกลายเปนจิต
ประเสริฐ เชนเดยี วกบั จิตของทานที่พนไปแลวน้ันนั่นแล

จติ ประเภทนเี้ ปน เหมอื นกันหมด ไมน ิยมเปนผหู ญงิ ผชู าย นี่เปนเพศหรือสมมุติ
อันหนงึ่ ตางหาก สวนจิตนัน้ ไมไดนิยมวา เปน หญิงเปน ชาย ความสามารถในอรรถใน
ธรรมจึงมีไดท ง้ั หญงิ ทง้ั ชาย และความสามารถท่ีบรรลธุ รรมข้ันตางๆ จนกระทง่ั ถงึ
วิมุตติหลดุ พนไปได กเ็ ปนไปไดท ั้งผหู ญิงผชู าย ไมมีกฎเกณฑท ่ีจะบังคบั กนั ได ขอแต
ความสามารถอาํ นาจวาสนาของตนพอแลว เปน อันผานไปไดด วยกนั ท้งั นั้น

เพราะฉะนนั้ เราจึงควรพยายามอบรมจติ ใจของเรา อยางนอ ยก็ใหไดค วามสงบ
เย็น จะดวยธรรมบทใดกต็ าม ที่เปนธรรมซงึ่ จะกลอ มใหจ ิตมคี วามสงบ แลว ปรากฏ
เปน ความรมเย็นเปนสุขขึ้นมาภายในจติ ใจ พงึ นําธรรมบทน้นั มาเปน เครื่องกํากบั มา
เปนเคร่ืองพึ่งพึง เปน เคร่ืองยึดของจิต เชน อานาปานสติ ซึง่ เปนกรรมฐานสาํ คญั บท
หนง่ึ ในวงปฏิบัตทิ ัง้ หลาย รูสึกวา อานาปานสตจิ ะเปน ธรรมที่ถูกกบั จรติ นสิ ยั ของคน
จํานวนมากกวา ธรรมบทอน่ื ๆ และนําเขามาประพฤติปฏิบัตภิ ายในจติ ใจของเราใหไ ด
รับความสงบเย็น

เมื่อใจเริ่มสงบ เราก็จะเร่ิมเห็นสาระของใจ หรือจะเรม่ิ เหน็ ใจวา เปน อะไร เปน
อยางไร ก็คอื ความท่ีจิตรวมกระแสของตัวเขา มาสูจ ุดเดยี ว เปนความรลู วนๆ อยู
ภายในตัว นน้ั แหละทานเรยี กวา “จิต” ความรวมตวั เขามาของจิตนี้ รวมเขา มาตามข้นั
ตามความสามารถ ตามความละเอยี ดของจติ ตามขน้ั ของจติ ทีม่ ีความละเอียดเปน
ลําดบั ถา จิตยังหยาบ รวมตัวเขา มาก็พอทราบไดเ หมอื นกัน เม่ือจิตละเอียดเขา ไปก็
ทราบความละเอยี ดลงไปอีกวา จิตน้ีละเอียด จิตน้ีผองใส จติ น้สี งบย่งิ จติ นเ้ี ปนของ
อัศจรรยย่ิง ย่งิ ขน้ึ ไปโดยลําดบั ๆ จิตดวงเดียวน้แี หละ!

การชําระการอบรมเพ่ือความสงบ การพิจารณาคน ควาแกไขสง่ิ ทข่ี ัดขอ งภายใน
จิตดวยปญญา ซ่ึงเปน วิธีท่ีจะทาํ ใหจ ติ กา วหนา หรือทําใหถ ึงความจริงของจติ ไดโดย
ลําดบั ดวยการกระทาํ ดังทก่ี ลาวน้ี ใจจะหยาบขนาดไหนก็หยาบเถอะ ถา ลงความเพยี ร

ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ๑๒๙

ธรรมะชดุ๑เ๔ต๔รียมพรอ้ ม

๑๓๐

ไดพ ยายามติดตอ กนั อยูเสมอดว ยความอตุ สา หพ ยายามของเราอยูแ ลว ความหยาบนน้ั
ก็จะคอยหมดไป ๆ ความละเอยี ดจะคอยปรากฏขึน้ มาเพราะการกระทําหรอื การ
บําเพ็ญของเรา จนกระทง่ั สามารถผา นพนดวยการฟาดฟน กิเลสใหแหลกไปไดเชน เดียว
กนั หมดไมว าผูหญิงผูช าย

ในขณะท่ีเรายังไมสามารถจะทําอยา งนนั้ ไดก ไ็ มต อ งเดือดรอ นใจ ขอใหทําใจให
มีหลกั มีเกณฑ เปน ที่ยึดเปน ที่พึง่ ของตนเองได สว นสกลกายนเี้ ราก็พึง่ เขามาแลว ตั้งแต
วันเกิด ทราบไดด วยกัน พาอยพู านอน พาขบั พาถา ย พาทาํ งานทาํ การ ทาํ มาหาเลยี้ ง
ชีพ ทั้งเราใชเขา ทั้งเขาใชเรา ทั้งเขาบังคับเรา ทั้งเราบังคับเขา เชน บังคับใหทํางาน
แลวเขาก็บังคับเราใหเปนทุกข ปวดนน่ั เจบ็ น่ี ตอ งไปหาหยูกหายามารักษา ก็เขานั่น
แหละเปนคนเจ็บ และก็เขานั่นแหละเปนคนหาหยูกหายา เงินทองขาวของก็เขาแหละ
หามา มนั หนนุ กนั ไปหนนุ กนั มาอยอู ยา งน้ี

ไมทราบวา ใครเปน ใหญกวา ใคร ธาตุขันธกับเรา? เราบังคับเขาไดชว่ั กาล และ
เขากบ็ งั คบั เราไดต ลอด! การเจบ็ ไขไดป วย การหวิ กระหาย การอยากหลบั อยากนอน

ลว นแตเ ปนเร่ืองกองทุกขซง่ึ เขาบงั คับเราท้งั น้นั และบงั คบั ทุกดาน แตเ ราบังคบั เขาได
เพยี งเล็กๆ นอ ยๆ ฉะน้ันในกาลอนั ควรท่ีเราจะบังคับเขา ใหพ าเขาภาวนา เอา ทําลงไป
เม่ือธาตุขนั ธม นั ปกติอยู จะหนกั เบามากนอยเพยี งไรก็ทาํ ลงไป แตถาธาตขุ นั ธไมป กติ

มีการเจ็บไขไ ดปว ย เราก็ตองรูค วามหนักเบาของธาตุขันธ เรื่องใจใหเปนความเพียร
อยภู ายในตัวอยา ลดละปลอ ยวาง เพราะเปน กจิ จาํ เปน

เราอาศยั เขามานานแลว เวลานี้มนั ชํารดุ ทรุดโทรมกใ็ หท ราบวา มันชาํ รุด อนั ไหน
ที่ควรจะใชได อันไหนทใ่ี ชไมไ ด เราเปนเจาของทราบอยแู กใ จ ทีค่ วรลดหยอ นผอ นผนั
กผ็ อนผนั ไป

สว นใจท่ีไมเจ็บปว ยไปตามขนั ธ ก็ควรเรง ความเพียรอยูภ ายใน ไมขาดประโยชน
ทคี่ วรไดร บั ใหใ จมหี ลักมีเกณฑ อยูกม็ ีหลกั ตายก็มีหลัก เกดิ ทไ่ี หนกใ็ หม หี ลกั เกณฑ
อนั ดีเปน ทพ่ี ึงพอใจ คาํ วา “บญุ ” กไ็ มใ หผ ดิ คาดผดิ หมาย ไมใหผ ิดหวัง ใหม สี งิ่ ทพ่ี งึ พอ
ใจอยูตลอดเวลา สมกับเรา “สรางบุญ” คอื ความสขุ ท่ีโลกตอ งการดวยกัน ไมม ีใครอม่ิ
พอกค็ อื ความสุขนแี่ หละ จะเปนสุขทางไหนกต็ ามเปนสงิ่ ท่ีโลกตองการ เฉพาะอยางย่งิ
สขุ ทางใจ ซงึ่ จะเกดิ ข้ึนเพราะการทําคุณงามความดีเปน ลาํ ดบั ๆ มภี าวนา เปนตน

นี่เปน ความสุขอนั เปน แกน หรอื เปนสาระสาํ คัญภายในใจ ฉะนน้ั ใหพ ากนั
บาํ เพ็ญในเวลารางกายหรอื ธาตุขนั ธยงั เปนไปอยู เม่ือถงึ อวสานแหงชีวติ แลว มันสดุ วิสยั
ดว ยกนั ทําไดมากนอ ยก็ตองหยุดในเวลานน้ั เรยี กวา หยดุ งานพักงาน และเสวยผลใน

อันดบั ตอไป

ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๐

ภาค ๒ “๑เ๔รา๕ กบั จิต’’

๑๓๑

โนน! ภพตอไปโนน ! ควรจะทําไดเรากท็ าํ ถาผา นไปเสียหรือหลดุ พน ไปได ก็
หมดปญ หาดว ยประการทงั้ ปวง ไมมอี ะไรมาเกี่ยวขอ งยงุ เหยงิ ตอไป นพี่ ดู ถึงเร่ืองจติ
เพราะจิตเปน หลกั ใหญ ที่จะพาเราไปดีไปชั่ว ไปสุขไปทุกข กค็ ือจติ ไมใชสงิ่ อื่นใดทีจ่ ะ
พาใหเปนไป

คาํ วา “กรรม” วา “เวร” กอ็ ยูท่ีจิตเปนผูสรางไว ตนจะจําไดหรือไมไดกต็ าม แต
เชื้อของมนั ซ่งึ มอี ยูภายในใจน้ันก็ปดไมอยใู นการใหผ ล เพราะเปน รากเหงาอยูในจติ
เรากย็ อมรบั ไปตามกรรมนน้ั แตเ ราอยาไปตําหนมิ ัน เมือ่ เราทาํ ลงไปแลว กเ็ ปนอันทาํ
จะไปตําหนิไดอ ยา งไร มอื เขียนตอ งมือลบ ยอมรบั กันไปเหมอื นนักกฬี า เรื่องของกรรม
เปนอยางนน้ั จนกวาจะพนไปได มันก็หมดปญหาน่ันแหละ

ตอไปใหท านปญ ญา (ภกิ ษุปญ ญาวฑั โฒ Peter John MORGAN ชาวองั กฤษ)
อธบิ ายใหท า นเหลา นฟ้ี ง เพราะมีชาวตา งประเทศอยูดวย

ธรรมชดุ เตรียมพรอม ๑๓๑

ธรรมะชุด๑เ๔ต๖รยี มพรอ้ ม



๑๓๒

จะฝกึ จติ ต้องฝนืเทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกุล ณ วดั ปา บา นตาด

เทศนโ์ ปรดคุณเพาพงา วรรธนเะมก่ือลุ วนัณทวี่ ๒ัดป๕่าบธนั้านวตาาคดม พุทธศกั ราช ๒๕๑๘

เมอ่ื วันท่ี ๒๕ ธันวาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑จ๘ะฝกจติ ตอ งฝน

เราเปน ชาวพุทธ พระพทุ ธเจาของเราเปน นกั เหตผุ ล เปน นักอรรถนักธรรม นักรู
นกั ฉลาดแหลมคม และเปน คลงั แหง ธรรม ผลธรรมท่อี ยูในคลัง คือพระทัยอนั บริสุทธิ์
ของพระองคนน้ั มีแตพระธรรมดวงประเสริฐเลิศโลก ทา นไดมาดวยเหตผุ ลอันใดทาน
จงึ ไดร่ําลือ เราก็เปน คนๆ หนง่ึ ไมเ หน็ เปนท่ีร่าํ ลือ พระพุทธเจากเ็ ปนคนๆ หนึ่ง แต
ทาํ ไมทา นจึงรํา่ ลอื ทั่วโลกธาตุ “สตถฺ า เทวมนสุ สฺ าน”ํ เปน ครูของเทวดาและมนุษยทงั้
หลาย ทา นร่ําลอื ทุกอยา งบรรดาความดีทง้ั หลายไมวาฝายเหตไุ มว า ฝายผล ทานเปน

“คลังแหง พระธรรมดวงประเสรฐิ ”
พระธรรมท่ีปรากฏใหโ ลกผูสนใจกราบไหวบ ชู าอยูน้ี พระพุทธเจาทรงขุดคนได

มากอ นใครทั้งโลก แลว ทรงนําออกแจกจายโลก แมก ระนั้นโลกยงั ไมเ หน็ สาํ คัญในธรรม
ดวงประเสริฐนั้น เห็นสําคัญแตเรื่องไมประเสรฐิ เร่อื งเหลวไหล ทีก่ ุมอํานาจอยูภายใน
จติ ใจ ความเคลอ่ื นไหวไปมาของใจกายวาจา จงึ เปนไปตามอาํ นาจเหลา น้เี สียโดยมาก

เมอื่ เชนนั้น แมค วามตองการสิง่ ประเสริฐเลศิ โลกก็ “สักแตความตอ งการเทา

นนั้ ” เพราะไมไ ดสนใจดาํ เนนิ ตามเทา ท่ีควร ไมไ ดฝ นส่ิงท่ีกมุ อํานาจไวภายในใจเพอื่ การ
ปฏบิ ตั บิ าํ เพญ็ ธรรม สมกบั เปน ลกู ศษิ ยพระตถาคตผทู รงฝน อยางยิง่

การฝนเพอื่ เหตุเพือ่ ผลเพือ่ อรรถเพือ่ ธรรมนั้นแล เปน ความดียิ่งสําหรับเรา
เพราะครเู ราคือพระศาสดาและสาวก ทานพาฝนและไดดีสิริมหามงคลสงู เดน แกโ ลก
เพราะความฝน ความดีมคี ณุ คาของคนเรามอี ยูทตี่ รงนี้ ไมใชมอี ยทู เ่ี นอื้ ที่หนังเหมอื น
สัตว ตายแลว นําเขา สตู ลาด ผลปรากฏออกมาเปนเงินเปน ทอง เปน อาหารการบรโิ ภคที่
สาํ เร็จประโยชนไ ดท ว่ั โลกดนิ แดน

สวนมนษุ ยเราน้ี ไมไ ดม คี ุณคา อยูท ่เี นือ้ ท่หี นังอยางสตั วเหลาน้นั แตมคี ุณคา ทาง
จติ ใจ มีคุณคา ทางความประพฤตอิ ธั ยาศัยหนาที่การงาน อนั เปนประโยชนแกตนและ
สว นรวม

ความประพฤติ ถาไมดําเนินมาจากจิตใจก็ไมม ีทางดาํ เนิน จิตใจถา ไมม เี หตผุ ล
เปนเคร่ืองดําเนินก็ไมปลอดภยั เพราะฉะนน้ั มนษุ ยเ ราจึงควรมีเหตุผลแนบสนทิ กบั ใจ
ใจตอ งใครค รวญเหตุวาดหี รอื ไมด อี ยเู สมอ ทุกอาการทเี่ คลอ่ื นไหวไปมา ผลทีส่ ําเร็จ
ออกไปจากเหตนุ ้ีจะเปน อยางไร? เมอื่ เหตไุ มด ีแลว ผลกต็ อ งไมด ี เพราะไมข ้นึ อยกู ับ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๑๑เ๔ต๓๘ร๒ียมพรอ้ ม

๑๓๓

ความเสกสรรปน ยอหรอื เสกเปา แลว กว็ า ดี ดังที่โลกๆ มักนยิ มใชก ันเสมอมา แตดแี ละ
ชัว่ อยูที่การทาํ เหตุเปน สําคญั กวา การ “เสก” ใดๆ นเ่ี ปน หลักธรรมชาตทิ ใ่ี ครๆ ไมค วร

ฝน เพราะเปนความจริง เม่อื เหตดุ ผี ลตอ งดี ใครจะติเตยี นวันยังคา่ํ หรอื ยกโลกธาตมุ า
ตาํ หนิตเิ ตียนวา “ทาํ ชัว่ ไดด ี ทําดีกลับไดช ัว่ ” อยา งน้ี ก็สกั แตค ําพูดหรือความเสกสรร
ปนยอของคนตา งหาก แตน าํ มาใชเ ปนการยนื ยันรับรองไมได เพราะเปนความคดิ การ
กระทําของคนผูจะทาํ ลายตนและสงั คมตา งหาก ธรรมแทไมเ กยี่ วกับเรอื่ งจอมปลอม
อยา งน้ี เพราะความจริงเปนเรื่องใหญโตมาก ในโลกทง้ั สามไมมอี ะไรจะจรงิ ย่ิงกวา
ความจริงดังท่กี ลาวมาน้ี

พระพุทธเจาทานก็ทรงส่งั สอนโลกตามหลักความจรงิ นี้ท้ังนน้ั ไมว า ธรรมในแง
ใด ไมว า พระสูตร พระวนิ ัย พระปรมัตถ ลว นแสดงตามหลกั ความจรงิ จะเคลอ่ื นคลาด
จากน้ไี ปไมมี ฉะนัน้ พวกเราทเี่ ปน ชาวพุทธ จึงตอ งพยายามประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น และพึง
คํานึงถึงพระพุทธเจาเสมอ แมจ ะไมไดมงุ ความเปน พระพทุ ธเจาเหมอื นพระองคกต็ าม
แตก็ควรคาํ นึงถึงความเปน “ลกู ศิษยข องตถาคต” คอื พุทธบริษัท ไดแ กอ บุ าสก
อบุ าสกิ า เปน ตน แลวพยายามปฏบิ ตั ิบําเพญ็ ตามธรรมของพระองค พระพุทธเจาทรง
ฝนทกุ ส่งิ ทกุ อยา งบรรดาทีเ่ ปนขา ศึกตอความดี เราก็ตองฝนเชนเดียวกบั พระพุทธเจา
เพราะตองการความดหี รอื ของดที ี่ปราชญท า นวา ดี ไมใ ชดีแบบเสกสรรปน ยอเสกเปา
แลว กต็ น่ื ลมกนั โดยไมย อมเหลอื บมองดูปราชญทานวาเปนอยางไรบาง

อนั ความไมดนี นั้ มีอยูแลวภายในจิตใจ ส่ิงทฝ่ี นไมใหท ําความดีนี้ลวนแตส งิ่ ทชี่ ่ัว
ทงั้ นนั้ ถา เราไมยอมฝน กแ็ สดงวา เรายอมจํานนตอ ความชว่ั ความตา่ํ ทรามท่มี อี ยภู ายใน
จิตใจมากนอ ยนัน้ ถา เราฝนก็แสดงวา เราเหน็ โทษแหง ความไมด ีนัน้ และฝน ใหหลดุ พน
จากความไมดี หรือทําลายความไมด ีโดยลําดบั ดว ยความฝน ความบากบน่ั กลน่ั กรอง
ตวั เอง ความเห็นโทษเปนเหตปุ จ จยั ใหฝ นสิ่งต่ําทรามเหลาน้ี เพ่ือความดีทัง้ หลาย

เร่ืองของศาสนาเปน เร่ืองฝนสิ่งทไี่ มดที งั้ หลาย ไมใชเ ปน สิง่ ท่ีคลอยตามของไมดี
แตเ ปน สงิ่ ทีฝ่ น ฝน ต้งั แตเ บือ้ งตนจนถงึ ท่ีสดุ จนหาส่ิงท่ีใหฝ นไมไ ด จิตก็สะดวกสบาย
ไมม อี ะไรมาฝนกนั อกี ตอไป ส่ิงท่ฝี น มีมากมนี อยเพียงไรนัน้ แลคอื ตัวภัย สิ่งน้นั เม่อื เรา
ดําเนินไปตามหรือคลอยไปตาม จะมีกําลังมากข้ึนโดยลําดับจนกลายเปน นิสัย คาํ วา
“กลายเปน นสิ ยั ” คอื ทโ่ี ลกเขาวา “ตามใจตวั เองจนเปน นสิ ัย” แตความจริงก็ตามธรรม

ชาตฝิ ายต่ํานน้ั แหละ เพราะใจไมมอี ํานาจเหนอื สิ่งน้ัน และสงิ่ นั้นอยเู หนือใจ โลกเลย
พดู เสยี วา “เอาแตใจตวั เอง ไมคาํ นึงถึงเหตุผลบางเลย”

ทีนกี้ ารท่ีเรามาประพฤตปิ ฏบิ ัติ เราจาํ ตอ งฝน ดังท่ที านทงั้ หลายมาสสู ถานทีน่ ้ี
หรือไปสสู ถานทีใ่ ดเพ่ือคณุ งามความดที ัง้ หลาย กต็ องฝน เชนเดียวกนั ถา ไมฝนก็ไมไ ด

ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๒ “๑เ๑๔ร๓๙า ๓กบั จิต’’

๑๓๔

ของดี ปกตขิ องคนสว นมาก เวลํ่าเวลาจะมมี ากนอยเทาไร สิ่งทมี่ นั กดข่ีบงั คับอยภู ายใน
ใจ ซง่ึ เปนผูก ุมอาํ นาจหรือผูค มุ อาํ นาจน้นั จะแยง ชงิ เอาไปกินจนหมดไมมีเหลอื เลย จน
กระทั่งโนนละ ขณะทจ่ี ะสิน้ ลมหายใจมันจึงจะปลอ ย กอ นนน้ั มนั ไมคอยปลอยใหม เี วลา
วา งกนั ! ดวยเหตุนี้โลกจึงไมค อ ยมเี วลาทําความดีกนั จําตองมืดทั้งมา มดื ทง้ั อยแู ละมืด
ทง้ั เวลาจะไปและไปกนั ไมม เี วลาสวา งสรางซา

วนั คืนปเ ดือนมีอยเู ทา เดมิ ปห นึ่งมี ๓๖๕ วนั วันหน่ึงคืนหน่ึงมี ๒๔ ชั่วโมง ก็ไม
มวี า ง! สําหรับธรรมชาตเิ จาอาํ นาจนี้จะไมย อมวางใหใครเลย กุมอํานาจอยูตลอดเวลา
จนขณะจะสิน้ ลมหายใจถงึ จะเปด โอกาสใหวา “เวลานว้ี า ง จึงไดตาย!” น่ัน จงพจิ ารณา
ใหถ งึ ใจ เคยี ดเเคน ใหถงึ ธรรม ดาํ เนนิ ใหถึงแดนปลดปลอ ยอยา ถอยมันเปน อันขาด
ชาตมิ นษุ ยพทุ ธบรษิ ทั ท่ีฉลาดและแข็งแกรง ในโลก มีศาสดาเปนจอมทัพ ไมเคยพาพวก
เราใหกลับแพนี่

เมอื่ คิดเรอ่ื งเหลา น้ีมันนา สลดสงั เวชมากทส่ี ดุ เพราะส่งิ เหลานี้เคยกดถวง เคย
ทรมาน เคยทาํ ใหเราไดรบั ความทุกขมามากตอมากจนไมอาจคณนาได แมเ ชน นัน้ กย็ งั
ไมทราบวา สิ่งเหลา น้ีเปน ภัยแกตัวเอง ถึงจติ ใจจะวุน วายเดอื ดรอ นขนาดหนักแทบไมม ี
สติ กว็ า “วันนใ้ี จไมดเี ลย!” แลวกไ็ มทราบวา ไมดีเพราะอะไรเปนเหตุทําใหใจไมดี

ความจริงก็คือธรรมชาตอิ ันนนั้ แลทาํ คน จะเปน อะไรมาจากโลกไหนเลา ? แตเรา
ไมอาจทราบได จึงตอ งอาศยั การอบรมใหทราบวา ส่งิ ไหนผดิ สงิ่ ไหนถกู สงิ่ ไหนดีสง่ิ
ไหนช่วั ความดีเปนคุณแกจติ ใจ ความช่วั เปน ภยั ตอ จิตใจ มันติดอยกู ับใจดวงเดียวทัง้
สองอยา ง มเี พียงมากกบั นอ ยทต่ี างกัน

เพราะฉะน้ันเราจะหาอุบายวิธใี ด แกส ่งิ ไมด ีซ่งึ มอี ยูในจิตอนั เดยี วกนั ใหอ อกไป
ไดโ ดยลาํ ดับ? นอกจากอรรถธรรมและตัวเราเองที่จะฝน โดยอาศัยหลักธรรมเปน
เครอ่ื งมือเทาน้นั ไมม ีวันท่ีจะไดร ับการปลดปลอยตัวออกสูค วามวางไดตลอดไป

“พระพทุ ธเจาทา นทาํ ไมจึงวาง?” เราตอ งคิดไปเชน นัน้ เพื่อแกต วั เอง “ทานก็เปน
ถึงพระมหากษัตริย ทาํ ไมทานถึงวา งและออกบาํ เพ็ญพระองคไ ด” เราไมมุงบาํ เพ็ญตาม
แบบพระพุทธเจา กต็ าม แตเ รายกทา นเปน ครใู นสว นท่ีเราจะยดึ ได มาปฏบิ ตั เิ พ่อื ตวั เอง

ทาํ ไมพระพทุ ธเจาทา นวา ง ทานไมม กี เิ ลสหรือ? ทา นไมห งึ ไมห วงอะไรบา งหรอื ?
ลกู ก็มี เมียกม็ ี สมบัตพิ สั ถานมากนอย ไพรฟา ประชาชีท้งั หลายเต็มแผน ดนิ ซ่งึ เปน
สมบตั ิอนั มีคา มหาศาลของพระองคทั้งนน้ั ทําไมพระองคว า งได พระองคป ลอยไดและ
วางได จนไดตรสั รูแ ละสะเทือนโลกธาตุ

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๑เ๕๑ต๐๓รีย๔มพร้อม

๑๓๕

เราไมถ งึ กบั จะตอ งปลอ ยอยางพระพทุ ธเจา แตปลอยแบบลกู ศิษยมคี รู จึงควร
หาเวลาวางสําหรับตนใหไ ดบ า ง อะไรที่มสี าระสาํ คัญทสี่ ดุ ในโลกน?้ี จติ ของเรามุงตอ
อะไรทกุ วนั น้?ี วา อะไรเปน ศกั ดิ์สทิ ธิ์และวิเศษที่สดุ ทีจ่ ะเปนสารคณุ อนั สาํ คัญพ่งึ เปนพึ่ง
ตายไดจริง ๆ มีอะไรบา งอยูในโลกน?้ี เราเปนมนษุ ยพ ทุ ธบรษิ ทั ท้งั คน ควรคดิ ใหเตม็
ใจกอนจะหมดโอกาสคดิ และทํา เพ่อื สงิ่ ที่พึงหวงั ดังใจหมาย คดิ รอบ ๆ ตัวกพ็ อสะดุด
สะเทือนใจไมเสียผล ดูเอาซไี ปที่ไหนเห็นมแี ตป า ชา เกล่ือนไปหมด ไมวาสัตววา บุคคล
“ปาชา” เต็มตวั ดวยกัน เราหวังอะไรเปน “สรณะ” เราหวังอะไรเปน หลกั เปนฐานเปน ที่
ม่นั ใจเรา? เมื่อมองไปไหนมแี ตภยั รอบดา น จนจะหาทางคบื คลานออกไมมี

ทัง้ น้ถี าไมมีอรรถมธี รรมภายในใจบางแลว คนเราจะหาหลกั เกณฑไ มไ ดเลย จะ
รวนเรเล่ือนลอย จนกระทง่ั วนั ส้ินชพี วายชนมกเ็ ล่ือนลอยไปอยางนั้น ไมม อี ะไรเปน หลัก
ในอนาคต ถา ไมรบี สรา งหลักยึดไวเสียแตใ นบัดน้ี เมอื่ จติ ใจในปจจบุ ันมนั เล่ือนลอย
อยา งไร ไมม ีหลักเกณฑอ ยางไร อนาคตไมตอ งพดู กค็ อื ผนู แ้ี หละ ผเู ลอ่ื นลอยนแ้ี หละ
จะไปเปนผเู ดือดรอ นระทมขมข่ืนในอนาคต ไมใ ชอะไรจะพาใหเปน ตองใจดวงรวนเร
เลือ่ นลอยน้แี ลจะพาใหเ ปน

พระสาวกทานมีจํานวนมาก ทานทําไมวางได? ทา นทาํ ไมฝน ได คาํ วา “ฝน” เปน
สิ่งสาํ คัญมาก ทาํ ไมทา นฝนได กิเลสของทานเปนกเิ ลสประเภทใดทานจึงฝนได? กเิ ลส
ของเราเปนกิเลสประเภทใดเราจึงฝนไมได กเ็ ปน กิเลสประเภทเดยี วกนั ธรรมเครื่องแก
ไขกเ็ ปน ประเภทเดียวกัน ทาํ ไมจะนํามาแกส ิง่ ที่ฝน ธรรมไมไ ด!

บคุ คลผูจะตอสแู กไ ข หาเวลาํ่ เวลาหรอื หาโอกาสเพือ่ ตัวเอง กเ็ ปน บคุ คลเชน
เดียวกบั เราไมผดิ กนั เลย ถา ผิดก็ผิดแตวาทานมีความเขม แข็ง เรามคี วามออ นแอ ทาน
เปน “นกั ตอ สู” เราเปน “นกั ถอยหลงั ” ทา นกลา หาญ เราขขี้ ลาดหวาดกลัวเทา น้ันท่ผี ดิ
กนั ! แลวจะทําอยางไรกบั ตัวเราจึงจะเขากนั ไดก บั ทานและหลักธรรมของทาน จะไมเปน
ขา ศกึ กนั

ความออ นแอ เปนตน น้ีแลเปน สงิ่ ท่จี ะทาํ ใหเ ราไดรับความทุกขความลําบากบน
เพอ อยูตลอดเวลา ทั้งๆ ทค่ี วามบน ไมเกดิ ประโยชนอะไรเลย แตเมอ่ื ไดบนบา งก็อาจ
เปนทางระบายออกแหง ความทุกขทางหนง่ึ ความจริงไมใ ชทางระบายออกแหง ทุกข
ความบนมันเปน แงทีน่ าคดิ อนั หนง่ึ เหมอื นกัน เพราะความคดิ ท่ีจะบนกเ็ ปน งานของจิต
การบนออกมาก็เปนงาน นอกจากนน้ั ยงั ทาํ ใหบ างคนราํ คาญ อกี อยา งหนึ่งเขาก็มอี ะไร
อยใู นใจของเขา พอมาพบเร่ืองของเรากม็ าบวกกันเขา เลยไปกันใหญ สุดทายมแี ตก อง
ทุกขทง้ั สองฝาย จึงตา งคนตา งหาบหามอยางเต็มกาํ ลงั ไมม ีคําวา “ปลง”!

ธรรมชดุ เตรียมพรอ ม ภาค ๒ “๑เ๕๑รา๑๓ก๕บั จติ ’’

๑๓๖

เพราะฉะน้ันเพื่อปลดเปลือ้ งส่งิ ที่เราไมพ งึ ปรารถนาท้งั หลาย จึงขึ้นอยูก บั
“ความฝน ” ฝน มากฝน นอ ย ฝน เถอะ การฝนเรา ฝน ส่งิ ไมด ีของเราเปนความชอบธรรม
ไมผิด ฝนไดมากไดน อ ยเปน สริ ิมงคล เปนความดีประจาํ ตัวของเรา จนกลายเปนนสิ ัย
แหง การฝน สง่ิ ไมด ีทัง้ หลาย ใจจะมีความองอาจกลาหาญข้นึ มา ผลสดุ ทา ยเรื่องท่เี ราฝน
นั้นกเ็ ลยยอมจาํ นน

จะไปไหนมาไหน จะพูดอะไร มีเหตุผลอยา งไร ทเ่ี หน็ วา ถกู วา ควรแลว กด็ าํ เนนิ
ตามนั้น ไมม อี ะไรมาขัดแยงกีดขวาง ยอ มเปน ไปตามเหตุผลนน้ั อยางเดยี ว สิ่งที่จะมา
ฝน ส่ิงทีม่ าคอยกีดกนั ขวางทางเดินของเรานัน้ มนั คอ ยสลายคอ ยละลายไป ในทส่ี ุดก็
ลมละลายไป เมอ่ื เราเคยฝนเสมอๆ เคยตอ สูตา นทานมันเสมอ และเคยไดร บั ชัยชนะมา
แลว ส่งิ น้ันจะมาชนะเราอกี ไมไ ด เราไดชยั ชนะโดยลาํ ดบั ชนะไปเรือ่ ยๆ และชนะจนไม
มอี ะไรจะตอ สูกบั เราอกี น่นั ! ความฝนเปน ผลอยางนีแ้ ล

ใจชอบอยา งนี้ แตเหตุผลเปนอยางนัน้ เราตอ งฝน ความชอบใจเพ่อื เหตุผลนน้ั ๆ
ซง่ึ เปน ความถูกตอง ถาจะดําเนินหรือทําไปตามความชอบใจ กค็ วามชอบใจนีม้ เี หตุผล
อะไรบาง? สวนมากไมมี นอกจากเหตุผลของกเิ ลสเพื่อหาทางเล็ดลอดธรรมเทา น้ัน ซึ่ง
มอี ะไรก็อา งมาตามเร่ืองของมนั สว นมากเราชอบเหตุผลของกิเลสมากกวา เหตผุ ลของ
ธรรม ฉะนั้นผลท่ไี ดรบั จึงมีแตความทุกขความรอ นภายในใจ ทเ่ี กิดข้นึ จากการทําตาม
เหตุผลของกิเลส

แมน่ังอยนู งิ่ ๆ แตจติ ไมไดนงิ่ จติ มคี วามคดิ ปรงุ ยงุ เหยงิ อยตู ลอดเวลา ไมมี
อริ ยิ าบถใดมาหา มมนั ไดนอกจาก “สติปญญา” ปกติแลว จิตลวนสรางความทกุ ขขน้ึ แก
ตน ดวยความคิดปรุงในแงตา งๆ ซง่ึ เปน ทางไมด ี เราก็ไมยอมเห็นโทษ นี่แหละเหตุผล
ของกเิ ลสเปนอยางน้ี หาความถกู ตอ งไมไดเ ลยแตไ หนแตไรมา

สว นเหตุผลของธรรมนัน้ มีความถูกตอ ง ผลทไ่ี ดร ับคอื ความสขุ ความเยน็ ใจ
ตลอดไป ตั้งแตข ัน้ เร่ิมฝก หัดจนถงึ ขั้นสงู สุด

การปฏิบัติตัวหรอื การปฏบิ ตั ศิ าสนา เปน ความลําบากผิดธรรมดาอยูบาง ถึงจะ
ผิดธรรมดา เราก็ทราบวา เราหักหามใจ ไมใหเ ปน ไปตามสิ่งตาํ่ ทรามทีก่ ิเลสต้งั ช่อื ตง้ั
นามในส่ิงที่ตนชอบวา “ธรรมดา” ฉะนน้ั จําตอ งฝน กนั เม่อื ฝนคร้งั น้ไี ดผล ครง้ั ตอ ไปส่งิ
ทจ่ี ะใหเราฝน กอ็ อ นลง ๆ ความเขมแขง็ ทางดา นเหตผุ ลและความเพยี รกเ็ พ่มิ ขึ้น เลยไม
คาํ นึงถงึ ส่งิ ทจี่ ะมาขัดขวางเรายงิ่ กวา เหตผุ ลทีจ่ ะดาํ เนินไปตามทเ่ี ห็นวาถูกตอ ง นแ่ี หละ
นกั ธรรมะมพี ระพทุ ธเจาเปนตน ทา นทรงดําเนินอยา งน้ี!

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ธรรมะชดุ ๑เ๑๕ต๓๒รยี ๖มพรอ้ ม

๑๓๗

ทําไมทา นจึงไมห ึงไมหวงไมห ว งไมใยครอบครัวเหยาเรอื น ทานเปนมนษุ ย
ปถุ ุชนเชน เดยี วกัน ทา นตองหว ง ทา นตองฝน อยา งยง่ิ เพ่อื ธรรมดวงเลิศ นั่นแลครูของ
พวกเรา! สาวกท้ังหลายทา นกฝ็ นเต็มกาํ ลงั ของทาน จนไดเปน “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ
คจฉฺ าม”ิ เขา มาสูใจของพวกเรา
เราท่เี ปนผูรบั เอา “พุทธฺ ํ ธมฺมํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เขา มาสใู จ ก็อยา เอาเขา มา

เหยียบย่าํ ทําลายทา นเลน โดยไมคาํ นงึ ถึงคุณสมบัติแหง ธรรมนนั้ ๆ หรือแหง พุทธ แหง
ธรรม แหงสงฆ วา มคี ุณคามากเพียงไร จึงเอามาเหยยี บยํ่าทาํ ลายกับความขเ้ี กียจออน
แอ ความเห็นแกตัว ความไมม เี หตุผล นําพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ มาสกปรก

ดว ยทําไม ตอ งคิดอยางนเี้ สมอ ซ่งึ เปนเคร่อื งเตอื นใจเราใหต ื่นตวั จะไดพ ยายามแกไ ข

ตนตามทา นไปโดยลําดบั
อะไรโลงก็สจู ิตใจโลงไมได อะไรคบั แคบตบี ตันกส็ จู ติ ใจคบั แคบตีบตันไมได
อะไรจะทกุ ขกส็ ูจิตทุกขไ มได อะไรจะสุขก็สจู ิตสุขไมไ ด แนะ ! รวมลงท่จี ติ แหงเดียว!

ดนิ ฟา อากาศกโ็ ลง อยา งนน้ั เอง เม่ือมคี วามทกุ ขภ ายในจติ ใจ แมจะอยใู นกลาง
ทุงโลงๆ นั้น อากาศโลงๆ ก็ชว ยอะไรไมไ ด จงึ วา มันอยูท ่ีจติ ถาจิตมีความปลอดโปรง
โลง สบายแลวอยูท่ไี หนกส็ บาย อยใู นถาํ้ ในเหว ในกระตอ บ อยใู นรม ไมชายภเู ขา ก็

สบายท้งั นนั้ ไมจ าํ เปนตอ งคิดหาวา อากาศโปรงทน่ี ัน่ อากาศโปรงท่ีนี่ เพราะผขู ัดขอ ง

จรงิ ๆ ก็คอื จติ ซง่ึ เปน ตวั กอ เร่ืองเทานนั้ ฉะนั้นความสุขความทุกข ตลอดท้งั สาเหตใุ ห
เกิดสขุ เกิดทกุ ข จงึ รวมอยูท ่จี ติ เปน สาํ คญั กวา สงิ่ อืน่ ๆ ปราชญทา นจงึ สอนลงท่ใี จอันเปน
ตวั การสําคัญ ใครจะสอนไดถูกตอ งยง่ิ กวาปราชญค ือพระพุทธเจา ไมม ี! อยา พากนั ลบู

คลําทนี่ ่ันทน่ี ี่ เดีย๋ วเวลามือไปโดนเอาแมงปองเขา จะรองไมเ ปน เสยี งคน จะวา “ไมบ อก”

สมบตั อิ นั มคี า มากกค็ อื ใจ เปนหลกั เปนประธานของส่งิ ทงั้ หลายกค็ ือใจ จงึ ไม
ควรปลอ ยใจใหส ่ิงเลวทรามทั้งหลายเขา มาเหยยี บย่ําทาํ ลาย จนแหลกเหลวไปอยา งนา

เสียดาย สวนผลอนั ไมพ ึงปรารถนามนั โยนใหเราเปน คนรบั เคราะห แมทุกขแ ทบเปน
แทบตายกค็ อื เราเองเปน ผรู บั ! สวนกิเลสความต่าํ ทรามเหลานน้ั ไมไดมารับทุกขก ับเรา

เลย ผูเสยี เปรยี บจงึ คือเรา ผูโงเ ขลาตอเลห เหล่ยี มของมนั อยูเ รื่อยไป

ฉะน้นั จงพยายามแกไขถอดถอนมนั ดว ยเหตุดว ยผล ความสขุ อันพงึ หวงั นน้ั เรา
จะไปหาทไ่ี หนในโลกน้ี มนั ก็เพยี งผา นๆ ไปดงั ทีเ่ คยไดป ระสบพบเหน็ กนั มาแลว ผาน

มาชว่ั ขณะๆ เทา นน้ั แลวก็ผานไป มันไมเ ปนความสุขทจ่ี ีรงั ถาวรอะไรเลย
แตค วามสุขท่เี ปนขึ้นในจิตใจ เกดิ ข้นึ ตามหลักธรรมชาติของจติ ดวยการ

ประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม นเี้ ปนความสุขที่จรี งั ถาวร จนกลายเปน ความสขุ อนั ตายตวั เปน

ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ภาค ๒ “๑เร๑๕า๓๓ก๗ับ จติ ’’

๑๓๘

“อกุปปธรรม” คือเปน ความสขุ ท่ีไมก ําเรบิ เพราะจติ ใจไมก ําเริบไมเปลย่ี นแปลง
ตลอดอนนั ตกาล

สมบตั ิในโลกนก้ี ็คอื ใจซ่งึ เปนสมบตั อิ ันลนคา จงพยายามรกั ษาใจใหด โี ดย
สมาํ่ เสมอ เฉพาะอยา งยง่ิ จิตตภาวนาอยา ถือเปน เรื่องเลก็ นอ ย เชน ทําพอเปนพธิ ีรตี อง
กเ็ ราไมใชเปนคนพิธี แตเ ราเกดิ มาเปน คนท้ังคนไมใ ชตุกตา พอจะภาวนาเปนพิธี นัง่
ภาวนาทลี ะ ๕ นาที ๑๐ นาที ๑๕ นาที กแ็ ทบลม แทบตาย แทบจะหามกายเขา โรง
พยาบาล ซง่ึ เปน เรอื่ งอับอายขายหนา ชาวพทุ ธและนักปฏิบัตจิ รงิ ๆ เกินกวาจะอภยั กนั
ได

เวลากิเลสพาเอาไปถลุงท้ังวันทงั้ คนื ยงั สนุกกบั มนั ไดชนิดลมื ตัวลืมตายลมื ปา ชา
ทม่ี อี ยูกบั ตวั นน่ั เรารูไหม? กเิ ลสมันกลอ มคนดีขนาดไหนดเู อากร็ เู อง เพราะเคยถูก
กลอ มถกู ถลงุ มาดว ยกนั แมผ เู ทศนก ไ็ มม ีการยกเวน ในการถกู ตม ตุน ฟงเอามนั กลอมดี
ขนาดนน้ั แหละ กลอ มจนเคล้ิมหลบั ไมร ูสึกตัวเลย แมจ ะเขาโลงผอี ยแู ลว ยังอยากฟง
เสียงเพลงลูกทุงมันอยเู ลยไมม วี นั เวลาอิ่มพอ จนหมดลมหายใจไปเปลาๆ

ส่งิ เหลานี้นกั ปราชญทานตาํ หนินกั แตพวกเราทําไมจงึ ชอบนกั ชอบอะไรมันก็
ไมรู ตามความจริงแลว คนเราชอบอะไรยอมจะเจอสง่ิ น้ัน ชอบกเิ ลสกเ็ จอกิเลสและทุกข
ที่แฝงมากบั กเิ ลส ชอบธรรมก็เจอธรรมและสขุ ที่แฝงมากบั ธรรม เพราะสิ่งเหลา นี้มีอยู
ในโลกไมบ กพรอ งจึงหาไดด ว ยกัน สขุ ก็หาไดจากเราคนเดยี ว ทกุ ขก ห็ าไดจ ากเราคน
เดียวตามสาเหตุทีเ่ ราดาํ เนนิ ไป ผลกต็ องเปนอยา งนน้ั ไมเ ปน อยางอืน่

นเ่ี ราแนใ จแลว วาเราเกดิ เปนมนษุ ย เปน ภมู ทิ สี่ งู สง ในโลกนถ้ี อื วา มนษุ ยส งู กวา
สตั ว และไดพ บพระพทุ ธศาสนาซึง่ เปนคาํ สง่ั สอนท่ถี กู ตองแมนยาํ มาจากหลกั แหง
“สวากขาตธรรม” พระพทุ ธเจา ตรสั ไวช อบแลว พยายามดําเนนิ ใหเ ปน ไปตามหลกั แหง
“สวากขาตธรรม” ผลทพ่ี ึงไดร ับจะเปนทพ่ี งึ พอใจ เราอยาถือใครเปน หลักเปน เกณฑย่งิ
ไปกวา พระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ ในการยดึ และการดาํ เนนิ

วิถที างแหงการครองชพี ก็ตาม วถิ ที างแหง การปฏิบตั ธิ รรมเพอื่ ความอบอนุ แก
จิตใจก็ตาม ไมมีใครจะเกินพระพทุ ธเจา ไปไดใ นความฉลาดแหลมคม ดว ยอบุ ายวธิ ี
ปอ งกันหรือรักษาตวั ทัง้ เกีย่ วกับสงิ่ ภายนอกและสิ่งภายใน พระพุทธเจาเปน “นกั รนู กั
ฉลาดแหลมคมทกุ อยา ง” “นักปกครองบา นเมือง” ก็เปนพระองคห นึง่ “นกั ปกครองดาน
จติ ใจ” กเ็ ปนพระองคหนึ่ง นักปกครองโลกทว่ั ๆ ไปดว ยอบุ ายวธิ ีการอบรมส่งั สอนโดย
ถกู ตอ งเหมาะสม ไมม ศี าสดาองคใดจะแซงพระองคไ ปได โดยความฉลาดแหลมคมยิ่ง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ธรรมะช๑ดุ ๕เ๑ต๔๓รยี ๘มพร้อม

๑๓๙

กวาพระพุทธเจา พระองคท รงสอนจนถึงข้นั “นพิ พาน” เราจะหาขนาดไหนอีก มีใครที่
จะสอนใหเ ลย ‘นิพพาน” ไปเคยไดยนิ บา งไหม? ไมเ คยไดยนิ !

เพราะถงึ ที่น่นั แลว เปนสถานท่สี ุดจุดหมายปลายทางโดยสมบรู ณแ ลว เชนเดียว
กบั เราขนึ้ มาถึงบนบานแลว เปน ทเี่ หมาะสมและถงึ จุดที่หมายแลว เพราะไมใชขรัวตา
ดงั ทีท่ านอาจารยมน่ั ทา นเคยนาํ มาพดู เปน อบุ ายเพื่อเปนคตแิ กพระเสมอวา “ทําอะไร

ทาํ แบบเถรตรงนี่ มันไมไ ดเรอ่ื งอะไร? ทา นวา แลว ทานกย็ กนิทานขรัวตาขึ้นมาวา “ขรัว
ตาคนนั้นเดนิ เขา ไปในบาน ถกู เขานมิ นตขน้ึ ไปบนบาน การนมิ นตขน้ึ ไปบนบา นกค็ ือ
นิมนตขนึ้ นง่ั บนบานนน่ั เอง แตข รวั ตาไมเขา ใจอยา งนัน้ พอถูกเขานมิ นตใหข น้ึ ไปบน
บา นกป็ นข้ึนไปบนขื่อโนน “อา ว! ทานปน ขนึ้ ไปบนขอื่ โนน ทําไมละ แลวกันพสิ ดารเกิน
เหตแุ ลวน่ี นมิ นตท า นลงมา” พอขรัวตาองคน้ันลงมาแลว กเ็ ผนออกจากบานเขาไปเลย
ไมม องหนามองหลงั นั่น! เปนอยางนั้นไปเสยี

ความจรงิ เขานิมนตข น้ึ ไปน่งั บนบา นเขาตางหาก แตทานกลับปนขึ้นไปบนขอื่
บา นเขาโนน เวลาถกู นมิ นตใหลงมากล็ งและเตลดิ เลยบานเขาไปเสีย นคี่ อื ความไมพ อดี
ไมมีประมาณ ไมม ีเหตุมีผลเอาเลย เพราะความซอื่ เสียจนเซอ ไปแบบไมร ูสึกตัว

การสั่งสอนนั้น เมอ่ื สอนถงึ นพิ พานแลว จะสอนไปไหนกนั อกี เมอ่ื จติ บรรลถุ งึ
นพิ พานแลว จะเตลดิ ไปไหนกันอกี ถา ไมควาเอาแบบขรัวตามาใชก ็ตอ งยตุ กิ ารกาวไป
เพยี งเทานี้ เพราะสดุ ยอดแหงธรรมแลว หรือสดุ ยอดแหงสมมตุ ิ จิตเปนวิมุตติเต็มภูมิ
อรรถภมู ธิ รรมแลว ปญญาท้ังมวลก็ยตุ ิกนั ลงแคน ้ี

การกลา วนทิ านเร่อื งขรวั ตามาแทรกกเ็ พ่อื ใหทราบวา เร่อื งความไมใครค รวญ
คนไมใ ครครวญพนิ ิจพิจารณา คนแบบ “เถรตรง” ตรงเสียจนเซอ นัน้ ไมยังประโยชน
ใดๆ ใหเ กิดขนึ้ จึงควรถือเปนคตติ วั อยา งไดด ี

ในวงปฏบิ ตั ิของเรานมี้ บี า งไหมท่ีปนขน้ึ บนข่ือ มีซ!ิ มีแตจาํ พวกทีค่ อยจะปน ขึ้น
บนขือ่ นนั่ แหละเปน สว นมาก ไมไปกนั ละตามหลัก “มชั ฌมิ า” ตามหลกั ที่พระพุทธเจา
ทรงสอน ชอบปน ขึน้ บนขอื่ กนั แทบทัง้ นั้น ทา นยกนิทานขรวั ตาปน ขน้ึ บนขือ่ มาประกอบ
การแสดงธรรม นา ฟง! เพราะขบขันดี “พวกบนขอื่ ” ทา นวา อยา งนน้ั เปนคติสาํ คัญนา
ฟงมาก ฟงแลวซ้งึ ใจ ท้งั อดหัวเราะอยูภายในไมไ ด นี่ทา นพดู ถงึ เรื่องคนไมใ ชความคิด
ไมใชค วามพนิ จิ พิจารณาเหตุผลวา ควรไมควร เรียกวา “เถรตรง” คาํ วา “เถรตรง” นบ้ี าง

ทานกจ็ ะไมเ ขาใจ น่ีทา นพดู ถึงครบู าอาจารย
ทา นลางบาตรและเชด็ บาตรแหงแลว ทา นเอาปากบาตรคว่ําลง แลว ทานสองดู

กน บาตรทาน สอ งใหตรงกับตะวนั การสองดกู น บาตรตรงตะวนั นัน้ ทา นมคี วามหมาย

ธรรมชดุ เตรียมพรอม ภาค ๒ ๑“เ๑๕ร๕๓า ๙กบั จิต’’

๑๔๐

วาบาตรนอ้ี าจมีกนทะลุ เปน ชอ งเปนรูตรงไหนบา ง สอ งออกไปที่แจง หรือสอ งกับแสง
พระอาทิตย มองออกไป ถามีชองทะลกุ ็จะมองเหน็ ชดั เจนตรงทท่ี ะลนุ นั้ แลว กจ็ ะไดอ ดุ
ยาเสีย

ทนี ีล้ ูกศิษย “เถรตรง” เหน็ อาจารยส องดูกนบาตร ตนกท็ าํ ตามบา งโดยไมท ราบ
เหตผุ ลความมุงหมายวา ทานทําเพ่ืออะไร เวลาถูกถามวา “ทําเพื่ออะไร?” กบ็ อกแบบ
เถรตรงวา “เหน็ ครูอาจารยท านสองเรากเ็ ลยสอ งบา ง เพราะทา นขลงั ดี บางทเี ราอาจ
ขลัง” นี่ฟงซิ เรือ่ งบนขื่อขาํ ดีไหม? ฟงไดไหม ในวงผปู ฏบิ ัติเพ่ืออรรถเพื่อธรรม ในคาํ ที่
วา “บางทเี ราอาจขลงั อยางทา นบา ง” ถาอยา งนกี้ ป็ ฏิบตั ิเพ่ือ “ความขลงั ” ไมไดปฏิบัติ
เพ่ือ “ความหลดุ พน ” อยางนอยกเ็ พอื่ ความเปน คนดีมีความสงบสุข

ครอู าจารยผ ฉู ลาดมเี หตุผล ทา นทาํ อะไรยอมเปน ไปตามเหตผุ ลทุกอยาง ไมได
ทาํ แบบลอยๆ เราผูมาศึกษากับทานควรพจิ ารณาดวยดใี นสง่ิ ที่ตนทํา ไมส กั แตวาพูดวา
ทาํ ไปแบบสุมเดา เพราะความไมส นใจดูตวั อยา งทา น จงึ เปนราวกับทัพพีอยกู ับแกง ไม
รรู สชาติของแกงวา เปร้ยี วหวานเคม็ ประการใดบางเลย จึงหาความฉลาดรอบรูอะไรไม
ได นอกจากแสวงหาความขลงั ไปแบบโลกๆ ที่ทาํ กนั

การศกึ ษาขึน้ อยูกบั สติ ปญญา ศรัทธา ความเพียร เปนสาํ คญั มไิ ดข้นึ อยกู ับการ
กนิ อยหู ลบั นอนในสาํ นกั ของทา นเฉยๆ โดยไมส นใจกับอะไร การปฏิบัติธรรมของพวก
เราทกุ วันนี้ก็เหมอื นกนั เห็นทานเดนิ จงกรมกเ็ ดิน แตไมมีสติสตัง มแี ตค วามคิดผดิ คิด
เพลนิ เลินเลอ เผลอตวั ยุงไปหมด พอออกจากทางจงกรม “แหม วนั น้จี ติ ไมเ ห็นมีความ
สงบบา งเลย เราเดนิ จงกรมต้งั นานไมเหน็ ไดเ ร่อื งอะไร?” จะไดเรื่องอะไร เพราะไมเอา
เรือ่ งอรรถเรือ่ งธรรมเรอ่ื งความสงบเปนอารมณบ า งเลย เอาแตเรื่องวนุ วายมาพวั พันหน่ั
แหลกอยกู บั จิตตลอดเวลาในทางจงกรม

จากนน้ั กม็ านง่ั ภาวนา พอนง่ั ก็ “เอาละ เทานี้พอ!” เวลานง่ั ก็นงั่ คดิ น่งั ปรงุ ยงุ
เหยงิ วนุ วายแบบ “ตามรอยโคในคอก” น่ันแล แลว กม็ าตาํ หนแิ บบลมๆ แลง ๆ ไปวา
“นั่งไดเ ทานัน้ นาทีเทาน้นี าที ไมเห็นไดเ รื่องอะไร นอนเสยี ดกี วา ” นน่ั ! ไปลงเอยท่ีหมอน
นน่ั แล เลยกลายเปนท่ีตัดสินกเิ ลสอยบู นหมอนไปเสีย คาํ วา “นอนเสียดกี วา ” นน้ั แม
นอนก็ไมไดเร่อื งอยนู น่ั แล เพราะคนไมไ ดเ รือ่ งอยแู ลว ก็ไดแตเรอื่ ง “หมอน” เทา น้ัน
นะซี ไมไ ดมรรคผลนพิ พานอะไร จิตลง “ภวงั คห ลวง” หลบั ครอกๆ จนตะวนั สองกนก็
ไมถอนขนึ้ มา (ไมตนื่ นอนนนั่ เอง)

ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๑เ๕ต๑๖ร๔ียม๐พรอ้ ม

๑๔๑

อยทู ่ีใดไปท่ใี ดกม็ แี ตก เิ ลสตามเหยียบย่ําทําลายอยตู ลอดเวลา ท่จี ะไดเ หยียบยาํ่
ทาํ ลายกเิ ลสบา งไมป รากฏ เพราะสติสตังไมมี ความจงใจไมม ี มีแตกเิ ลสตามลาอยู
ตลอดทุกอริ ยิ าบถ เรามันพวก “กเิ ลสตามลา ’ จะวา ยังไง? ถา ไมว า อยา งนน้ั

เอา! พยายามตามลากิเลสนะ ทนี ้เี ปนนายกเิ ลสเสียบา ง ตอ งฝน กนั บาง! ทน
และฝนตรงนี!้ จิตไมอ ยากคดิ ไปในอรรถในธรรม เราตองบังคับใหค ดิ ทําไมจะบังคับ
ไมไดจิตเปนของเรา เราเปนเจาของจิต เราบังคับไมได ใครจะบังคับไดล ะ ถา จติ แหวก
แนวแลวจติ จะมหี ลกั แหลง ที่ตรงไหน ผลทเี่ กิดขนึ้ จากการแหวกแนวจะเปนอยางไร เรา
ตอ งรบั เคราะหก รรมอยดู ี ฉะนน้ั เราตอ งคดิ ตองรูไวล วงหนา จงึ เรยี กวา “ปญญา” มนั
อยากไปไมยอมใหไป เอา ! มันอยากทําส่งิ นน้ั ไมย อมใหท ํา มนั จะฝน เราไปไดอ ยา งไร!
เม่ือเหตุผลพรอมแลว ทจ่ี ะไมทาํ เราตองไมทํา เมอื่ เหตุผลพรอมแลวทีจ่ ะทาํ ตองทําลง
ไป เปนก็เปน ตายกต็ าย! น่ีคอื นักธรรมะแท อยางไรกเิ ลสก็ไปไมพน มือ ตองตายใน
เงือ้ มมือไมวันใดเวลาหนง่ึ แนน อน

ทําไมโลกเขาทําได ทําไมเราทําไมได โลกเขาทาํ ไมตาย ทาํ ไมเราทาํ จะตาย ตายก็
ใหตาย ปาชา มที ุกหนทุกแหง ไมต อ งเปน กังวลกบั ความเปน ความตาย ขอใหท ําสง่ิ ท่ถี กู
ตองดงี ามอยางสมใจเถอะ ถาทาํ อยางน้นั บางกเิ ลสมนั กห็ มอบและตอ งไดผ ล ไมมีอะไร
มีอํานาจเหนือธรรมของพระพุทธเจาซึ่งเปนเครื่องแกและปราบปรามกิเลส เพราะกิเลส
ทุกประเภทกลวั ธรรมเทา นั้น อยา งอ่ืนกิเลสไมย อมและไมก ลัว ยิ่งความคลอยตามดวย
แลว กเิ ลสย่งิ รอ งเพลงรน่ื เรงิ สนุกสนานอยูบนหัวใจ ไมม วี ันจบเพลงเลยน่ันแล

ขณะท่ฟี ง เทศนน ี้จติ มีความสงบจติ อยกู ับตวั ถา จิตอยูกบั ตัว เวลาฟงทา นอธบิ าย
กเ็ ขา อกเขาใจไปโดยลําดับๆ ใหจิตอยูกับตวั นนั่ แหละถูกตอง ในการฟงเทศนไมจําตอ ง
สง ใจออกมาขา งนอก ใหอ ยกู บั ตวั กระแสธรรมจะเขาไปสมั ผัสกับความรูคือใจ เมือ่
สมั ผัสกันเรอื่ ยๆ จิตจะไดรบั ความสงบในขณะทฟี่ ง เม่ือจติ สงบแลวความสขุ นั้นเกิดข้ึน
เอง ทค่ี วามสุขไมเ กดิ ความสขุ ไมมีเพราะจิตไมส งบ จิตยงุ อยตู ลอดเวลา กอ กวนตนเอง
อยไู มหยดุ ความทุกขก็มีเรอ่ื ยๆ นะซี เพราะปอนเหตใุ หเ รื่อยๆ ทานจงึ วา

“การฟงธรรมมีผล ๕ ประการ ประการสดุ ทา ยคอื จติ ผูฟงยอ มผองใส” จติ จะ
ผองใสไดจ ติ จะตอ งอยูกับตวั รับสมั ผัสกระแสแหง ธรรมที่ทานแสดงไปโดยลาํ ดบั ไมใ ห
ขาดวรรคขาดตอน ตงั้ ความรูไวเทานนั้ แหละ ไมตอ งไปเสยี ดายอะไรกบั สง่ิ ภายนอก ไม
ตอ งไปวุน วายกับส่ิงใด ทเ่ี ราเคยรูเ คยคิดเคยปรงุ เคยเห็นมาแลว ไมเหน็ เกิดประโยชน!

คราวนเ้ี ราตองการใหร ใู หเ ห็นใหเ ขาใจในอรรถในธรรม จึงใหธรรมเหลานน้ั
สมั ผสั จิตใจ เพราะใจถูกสิ่งอน่ื มาสมั ผสั เสียมากมายจนใจไมเ ปนใจของตน มนั เปน ใจ

ธรรมชดุ เตรียมพรอ ม ภาค ๒ ๑“เ๕ร๑๗า๔ก๑ับ จติ ’’

๑๔๒

กเิ ลสตณั หาอาสวะ หรือเปนใจเปรตใจผอี ะไรไปก็ไมร ลู ะ ใจเปนนรกอเวจีไปหมดเพราะ
ส่งิ ไมเปนทา เขา มากอ กวนวนุ วาย เวลานใี้ หจ ิตเปน ภาชนะสาํ หรบั รบั ธรรม ตัง้ หนา ตงั้ ตา
ฟงโดยเฉพาะ จิตก็สงบ เม่ือสงบแลว ก็เย็น พอจิตเยน็ เทาน้ันแหละกส็ บายไปเองคน
เรา! เราหาความสบายไมใ ชเหรอ? เราไมห าความทกุ ข!

น่แี หละจดุ แหง ความสบายอยทู ่ีตรงนี้ ใหพยายามระงับจิต อยาปลอยใหคดิ มาก
เกินไป ความคิดมากไมใชของดี คดิ มากๆ ไปจนจะเปน บา ก็มี เพราะเหตุไร? เพราะสงิ่
ที่ไมด นี นั่ แหละจติ ชอบคดิ จิตชอบไปเกี่ยวขอ งพัวพัน ยิง่ ความโกรธแคน จิตยง่ิ ติดยิ่ง
ชอบคดิ ก็ยง่ิ เพม่ิ ความรอ นใหจิตใจมากขน้ึ โดยลําดับไมมปี ระมาณ ตั้งตัวไวไมได
ฉะน้ันตองหักหามดวยการฝน ใจ ใจจะขาดกใ็ หข าดไป จิตเปน สมบตั ิของเราทาํ ไมเราจะ
บังคับไมได และจะมอบใหใครเปนคนบงั คบั ใหเรา? ใครเปน คนรบั ผดิ ชอบในจิตของ
เรา? เราเองเทา น้นั เปนผรู ับผิดชอบ

จงทุม กาํ ลังลงไปไมท อ ถอยจิตจะยอมจํานนเอง แลว สงบตวั ลง เห็นผลละทีน!ี้
วา “ออ ! ผลแหงการบังคับจิตเปนอยา งน้หี รือ!” ตอไปก็มีแกใ จ หรอื เกดิ ความกลา หาญ
ทจี่ ะบงั คับทรมานตน สุดทา ยจิตกเ็ ปน สมบัตอิ นั มีคา ข้ึนมาเปน ลาํ ดบั ๆ อยไู หนกส็ บาย
และมีความยับยั้งตัง้ ตวั ไดดวยเหตุดวยผล ดวยสติปญ ญาซึง่ เคยไดบําเพญ็ มาและเคย
ไดห ลักไดเ กณฑมาแลว

นี่คือการปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ความอดความทนตอ หลกั ศาสนา การพรํา่
สอนตามหลกั ศาสนาดกี วาการพรํา่ สอนใครทั้งนั้น ยิ่งผทู สี่ อนตนดแี ลว พูดใหคนอนื่ ฟง
หรอื สั่งสอนกจ็ บั ใจไพเราะและเชอื่ ถือไมจดื จาง

ถาตนยงั เหลวไหลพูดออกไปก็ไมม รี สชาติแกผูฟง ถงึ แมจ ะนําคําสอนของพระ
พุทธเจาไปพดู เปน ตๆู หบี ๆ มนั ก็ไมน า ฟง มนั มีลกั ษณะ จืดๆ ชดื ๆ ราวกับอาหารไมมี
รสอรอยนน่ั แล ถา จิตใจเขม แขง็ ความรสู กึ อยูภ ายในกม็ ั่นคง ใจมพี ลงั ธรรมการแสดง
ออกก็มีรสชาติดี จบั ใจซาบซง้ึ เพราะธรรมออกไปจากใจทเ่ี ปนตวั การสาํ คญั ซึ่งบรรจุไว
แลว หรอื บรรจุเต็มแลว

จงึ ขอใหพ ยายามรักษาจติ ใจใหมีสารคณุ ปรากฏเดนข้ึนโดยลําดับ ๆ จากการ
ปฏิบัติ มจี ติ ตภาวนาเปนตน อยาเหน็ วาเปนกจิ นอกประเดน็ หรอื เปนกจิ พิเศษนอกจาก
ความสาํ คัญไปเสยี การภาวนาน้นั แหละคือเรือ่ งสําคัญท่ีสุดในชวี ติ จิตใจของเรา มีธรรม
น้แี หละเปน สาํ คัญมากกวา ส่งิ อ่ืนใด นอกน้ันก็เปน เพียงปรยิ าย อาศยั กันไปชวั่ คราวชั่ว
กาลชว่ั เวลา แลวก็พลดั พรากจากกนั ไปท้งั เขาท้ังเรา จะหาความจรี งั ถาวรไมไ ด ทัว่ ทง้ั
แดนโลกธาตุอนั เปนสมมุตมิ นั เปนอยางเดยี วกัน จึงขอยุตเิ พียงเทานี้

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ๑๔๒

ธรรมะชดุ ๑เ๕ต๘รยี มพรอ้ ม



๑๔๓

จติ วนุ่ วาย เทศนโปรดคณุ เพาพงา วรรธนะกุล ณ วดั ปา บา นตาด

เเมทื่อศวนนั์โปทรี่ ด๙คณุธันเวพาาคพมงาพวทุ รธรศธักนระาเกชมุลื่อ๒ณว๕นั ๑วท๘ดั ่ี ป๙่าบธ้านัจนวติตาาควดมุนพวทุาธยศักราช ๒๕๑๘

คนท่ีมีนสิ ัยวาสนาพรอ มแลว คือจาํ พวก “อุคฆฏติ ญั ”ู เชนพระยสกุลบตุ ร
และพระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลาน เปนตน นค่ี อื ทานผทู เี่ ปน “อุคฆฏิตญั ู” ซึ่งคอยจะรู
จะเขาใจในธรรม และบรรลุมรรคผลนิพพานไดอ ยางรวดเร็วกวาทกุ ๆ จาํ พวกที่เปน
เวไนยชน ที่ควรจะรูหรือบรรลุธรรมตามศาสนธรรม

พระยสกุลบุตร อยใู นบา นอยูไมได เมอ่ื ถงึ กาลแลว บน วา “วนุ วายๆ,ขัดขอ งๆ”
จนถงึ กบั ออกจากบา นหนไี ปในเวลาเชา ตรู โดยไมม ีจดุ หมายปลายทางวา จะกลับมาอยู
บานอีกหรือไมก ลับ เพราะความขดั ขอ งวุนวายภายในใจ พอดีไปพบพระพทุ ธเจา ซึ่ง

กําลงั ทรงจงกรมอยขู างทางทพ่ี ระยสกลุ บตุ รเดนิ ผานไป พระองคจ ึงรับสั่งวา “มาทีน่ ่ี ทน่ี ่ี
ไมยงุ ไมว ุนวาย ทนี่ ่ไี มข ดั ของ ทน่ี แ่ี สนสบาย เธอจงเขามาหาเราทีน่ ี่”

พระยสกลุ บุตรเขาไป กป็ ระทานพระโอวาท จนสําเรจ็ มรรคผลขนึ้ ในขณะนน้ั
อยางรวดเรว็

ถาอยา งน้กี ็เหมือนงายๆ งายนิดเดียว และงายจนอาจลมื ความทุกขความลาํ บาก
ของผเู ปนศาสดา ซ่ึงไดส ลบไสลไปถงึ สามครงั้ กอ นไดตรัสรูธรรมนาํ มาสอนโลกทมี่ ี
นสิ ยั มกั งา ยเปนเจา เรือน พระยสกลุ บุตรน้นั เหมือนกับคนเปน โรคซ่งึ คอยรับยาอยแู ลว
ยากพ็ รอ มที่จะยังโรคใหหายอยูดวย พอรบั ประทานยาเขา ไป โรคกห็ ายวนั หายคนื และ
ระงับดับไปโดยลําดับจนหายขาด ไมย ากอะไรเลย! ถาเปน อยา งนห้ี มอกไ็ มตอ งเรยี น
มากมายนกั คนไขกไ็ มตองเปนทกุ ขเดือดรอ นและทรมานไปนาน พอเปน ขึน้ หมอใหรบั
ประทานยาก็หายไปเลย

น่ถี า เราพดู ขั้นงายก็เปนอยางนี้ แตพ ึงทราบในหลายแงข องโรคท่ีเกิดและฝง กาย
ฝงใจในมวลสตั ว วามีประเภทตา งๆ กนั ท้ังรักษายากท้ังรักษางาย เพราะมใิ ชโ รคหวัด
แตอ ยางเดยี ว พอจะนดั ยาแลวก็หายไปเลยอยา งน้นั

อกี ขน้ั หนง่ึ กห็ นกั ลงไปกวา น้ี หนกั ลงไปเปน ขน้ั ๆ จนถงึ ขนาดท่กี ิเลสไมฟ ง

เสยี งธรรม โรคไมฟ งยา ธรรมจะดี ยาจะดีวิเศษวิโส พระพุทธเจา พระอรหันต และ
หมอ จะมคี วามรดู เี ชยี่ วชาญฉลาดขนาดไหน มันก็เขา กนั ไมไ ดก ับกิเลสและโรคชนิดไม
รับยารับธรรม สุดทายกต็ องปลอ ยไปตามบญุ ตามกรรมไมม ีใครชว ยไวได นอกจาก “กุ
สลา ธมมฺ า” ท่ีเช่ือถอื กนั วา รับไดท ้ังคนตายคนเปน ไมเลือกหนา จนพระที่มุงตอ

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๑เ๖๑ต๐ร๔ียม๓พรอ้ ม

๑๔๔

“ธรรมาภิสมัย” ยุงแทบเปนแทบตายเพราะหาเวลาบาํ เพ็ญ ไมยงุ กบั กสุ ลา ธมฺมา
มาติกาบงั สกุ ลุ แทบเปนลมตาย

จิตของสัตวโ ลกทมี่ กี ิเลสเคร่อื งวนุ วายสับสน กม็ กั เปน กนั อยา งน้ีแตไ หนแต
ไรมาตาํ หนกิ ันไมล ง เพราะตางคนตางมี

โรคที่คอยรับยาคือธรรมอยแู ลว เชนประเภท “อุคฆฏติ ัญู” ถดั ลงมาคือ “วปิ จิ
ตัญู” และถัดลงมาประเภท “เนยยะ” ที่พอแนะนําส่งั สอนหรือพอฉดุ ลากกันไปได ดัง
เราทงั้ หลายท่ไี ดพ ากันอตุ สา หพยายามตะเกยี กตะกายดวยวิธีตางๆ หลายครง้ั หลายหน
บาํ เพญ็ และฟง การอบรมซํา้ ๆ ซากๆ ไมล ดละทอถอย ธรรมก็คอ ยๆ หยง่ั เขา ถึงใจ ๆ
เมื่อรับธรรมดวยการปฏิบตั ิบําเพ็ญไมห ยดุ ไมถ อย ธรรมกเ็ ขา ถงึ ใจและหลอเล้ียงใจให
ชมุ ชืน่ เบิกบานดว ยคุณธรรมในอริ ิยาบถตางๆ กเิ ลสท้งั หลายภายในใจที่เคยหนาแนน ก็
คอ ยๆ จางออกไป เบาบางลงไป ใจคอ ยดีดตวั ข้นึ สูธรรม นาํ ความสุขเขาไปหลอ เล้ียง
นํ้าใจไมขาดสาย ราวกบั นํา้ ซับนํา้ ซมึ ไหลรนิ เยน็ ฉํา่ อยตู ลอดเวลา ความหวังทั้งหลายก็
คอ ยเต็มต้ืนขึ้นมาเรอ่ื ยๆ

ความจริงธรรมมมี ากเพยี งไร อาํ นาจใจกม็ มี าก กเิ ลสกม็ อี าํ นาจนอ ยลง ถา
ธรรมไมม เี ลย กิเลสก็มอี าํ นาจเตม็ ท่ี อยากแสดงอาํ นาจอยา งไรกแ็ สดงออกมาอยางเตม็
เม็ดเต็มหนวย ความเดอื ดรอนจงึ มมี าก เพราะกิเลสมีมากและมีอาํ นาจมาก กอ ความ
เดือดรอนใหแ กโลกไดม าก เม่อื ธรรมแทรกซึมเขาถงึ ใจมากนอ ย กเิ ลสกค็ อ ยออ นกาํ ลงั
ลงไป ธรรมก็มีอาํ นาจมากขน้ึ ไปโดยลาํ ดับๆ

ฉะนัน้ การปฏิบัติธรรมจงึ มีความจําเปนอยา งย่ิง ทจ่ี ะพยายามใหธรรมเขา สูใจ
อยางสมํ่าเสมอ ไมวา จะอยูในสถานทใ่ี ดๆ ควรมธี รรมเปน สรณะ เปน ท่ยี ดึ เหน่ียวใจอยู
เสมอ เพราะกเิ ลสไมไ ดม กี าล ไมมสี ถานที่ เวลาํ่ เวลา อดตี อนาคต ไมข ้นึ อยูกบั ส่งิ ใดทัง้
ส้นิ แตข ึน้ อยูกับการผลิตการกระทาํ ของมันเทา น้ัน อยไู หนกิเลสกส็ รางตัวใหเปนปก
แผนมนั่ คงบนหวั ใจของสัตวโ ลกไมเ วนวนั เวลาเลย กิเลสจงึ ไมม ีขาดแคลนบนหัวใจสตั ว
แตไหนแตไรมา

ถาเราไมระมดั ระวงั ตวั มนั ตองผลิตผลออกมาเรือ่ ยๆ ใหไดร ับความทุกขค วาม
ลําบากไมมีสนิ้ สุดจุดหมายปลายทางเลย ความหวังในสิง่ ท่พี งึ ใจของสตั วโลก ก็มีแตน บั
วันเลือนรางหายไป เพราะกิเลสทีต่ นผลติ ข้นึ ลบลา งไปเสียหมด

การสงั่ สมธรรม การประพฤติปฏิบตั ิธรรม ซึ่งเปนคแู ขงหรอื เครอ่ื งปราบปราม
กิเลส จงึ เปน สงิ่ จาํ เปน สําหรับเราผมู คี วามหวงั ประจาํ ใจ และตอ งการความสงบรม เยน็
เปน มิง่ ขวญั ของใจ ตลอดหนาท่ีการงานทเ่ี ปน ไปเพอ่ื ความราบร่นื ดงี ามสม่าํ เสมอและ
ผลทพี่ ึงพอใจ ตอ งอาศัยการอบรมการประพฤติปฏบิ ัตทิ างดา นศลี ธรรม เมื่อธรรมเขาสู

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ภาค ๒ “๑เ๖ร๑๑า๔ก๔บั จติ ’’

๑๔๕

จิตใจมากนอ ย ใจกค็ อ ยๆ เกดิ ความยม้ิ แยม แจม ใส มีรัศมีแพรวพราว เพราะมี
ความสงบรมเย็นภายในตวั เปน พืน้ ฐานแหง ธรรม พรอ มกับเหน็ คณุ คา แหงใจและคณุ
คา แหงความพากเพียรไปโดยลาํ ดับ ธรรมเปน สมบัติที่จาํ เปน สาํ หรบั ผตู องการความ
สุขความเจรญิ ท้ังภายในและภายนอกโดยทว่ั กนั จึงควรอบรมศีลธรรมใหมขี ้นึ ภาย
ในจิตใจอยา ไดลดละปลอ ยวาง แมจ ะยากแสนยาก ลําบากกายใจเพยี งไร ก็ควรทาํ
ความดีเปนคเู คียงกันไป จะเปนผสู มหวงั ท้งั เบ้ืองหลงั เบอ้ื งหนา ไมข าดทนุ สูญดอกไป
เปลาจากความเปนมนุษย

ความยากลาํ บากเราไมต องยดึ มาเปน อปุ สรรค ท่เี คยไดอ ธบิ ายมาหลายครง้ั
หลายหนแลว การแกก ิเลสจะไมยากไดอยางไร เพราะกเิ ลสมันกอ ตวั และแสนเหนียว
แนนมาแตเ มือ่ ไรไมมีใครทราบไดเ ลย และไมท ราบจนกระทง่ั ปูยา ตายายของมนั คือ
อะไร โคตรแซของกเิ ลสคืออะไร ไมทราบไดเ ลย ทราบไดแตเพียงวา มันเปน โคตรแซท่ี
เหนยี วแนนแสนเอาเปรียบสตั วโ ลกมาเปนประจาํ ไมยอมเสยี เปรยี บใครอยา งงายๆ
เลยแตไ หนแตไรมาเทา นน้ั ฉะน้ันจงพากนั ผกู อาฆาตมนั ใหถ งึ ใจทีเดยี ว

เราจะทาํ ลายกิเลสซง่ึ ฝงรากฐานลงอยางลึกทะลขุ ้วั หัวใจ จะทาํ ลายเอาอยางใจ
คดิ ใจหวัง ใหง า ยอยา งปอกกลว ยมนั เปน ไปไมไ ด เพราะกิเลสไมใ ชกลวยพอที่จะปอก
แลวเอามารับประทานเลยอยางนน้ั ได ผูปฏบิ ัตธิ รรมจงึ ตอ งเปน ผูมีหลักใจแนนหนาม่ัน
คง มคี วามมงุ มน่ั เปน ตน นค่ี อื คนมหี ลกั ใจหรือใจมหี ลกั ใจหนกั แนน พูดงายๆ มี
เหตุมีผลประจําใจเสมอ เปน เครอ่ื งบงั คับใหใจดําเนินตาม หรือเดนิ ตามเหตุผลท่ี
พจิ ารณาเหน็ วา ถกู ตอ งแลว นน้ั ๆ เมอ่ื ใจดาํ เนินตามหลักของเหตผุ ลอยูโ ดยสม่าํ เสมอ
ความเคยชินของใจก็มดี ว ย สง่ิ ทจี่ ะมากอกวนจติ ใจใหไดร บั ความทกุ ขความลาํ บาก กจ็ ะ
มนี อ ยลงเปนลาํ ดับดว ย ไมก ําเริบเสิบสานดังทมี่ นั มีอํานาจสังหารโลกใหยอ ยยับทางจติ
ใจ และศลี ธรรมอยใู นทา มกลางท่ใี ครๆ กว็ า “โลกเจริญๆ” อยูเวลานแี้ บบไมลมื หลู ืมตา
ดังผเู ทศนอ ยเู วลาน้ีเองซึง่ กาํ ลังมืดบอดเต็มท่ี

น่ีแหละท่ีทานสอนใหไ ปอยปู า หาที่สงบสงดั ดังท่ีพระทานอยูกันเรื่อยมา เชน
พระในคร้ังพทุ ธกาลมจี ํานวนมากมายท่มี งุ ตอแดนพนทกุ ข ไดประพฤติปฏบิ ตั ิตนดวย
วธิ ีทไ่ี ดกลา วมาน้ี องคน น้ั สําเรจ็ มรรคผลอยทู ปี่ า นั้น องคนบี้ รรลุธรรมอยทู ี่ภูเขาลูกนัน้
เรอ่ื ยมาโดยลําดับ ขาวของทานมีแตข า วดีวิเศษวิโส บทขาวของเรามีแตความโลภโกรธ
หลงเต็มตัว แทบเคลื่อนยายตัวไปไมได เพราะมนั หนกั สงิ่ เหลานีเ้ หลือประมาณเกนิ กวา
จะหาบหามไปได

ถา ดเู ผนิ ๆ แบบคนขีเ้ กียจท้ังหลายสมัยจรวดดาวเทยี ม กเ็ หมือนทา นลา งมือ
เปบ เอา ๆ งายเหลอื เชอ่ื ของคนสมัยทีไ่ มอยากเชอ่ื ใคร นอกจากเช่ือตัวผูเดยี วที่กําลัง

ธรรมชุดเตรียมพรอม ธรรมะชุด๑เ๑๖ต๒ร๔ยี ๕มพรอ้ ม

๑๔๖

จะพาจมลงเหวลึกท้งั เปน ๆ อยทู กุ ขณะไมมีขอบเขตอยูแ ลว แตเ หตุคอื การบาํ เพญ็ ของ
ทา น ทา นสละเปนสละตายมาแทบทกุ องค ไมว าจะออกมาจากสกุลใดๆ เมือ่ ไดมงุ หนา

มาประพฤตปิ ฏิบตั ธิ รรม ดว ยความเชอื่ ความเลือ่ มใสตอพระโอวาทคาํ สง่ั สอนของพระ

พุทธเจา แลว ตองเปนผูเปลี่ยนเคร่อื งแบบใหมเ สียทง้ั หมด จรติ นสิ ัยใจคอท่เี คยเปน
อะไรบาง ซง่ึ ไมด ีไมงามมาแตกอ น ทานพยายามสลัดปดทิ้งหมด เหลือแตนสิ ัยดี

ประจาํ เพศความเปน นกั บวช ท่ีกลาหาญตอ ความเพยี รเพื่อแดนพนทุกขโดยถา ยเดยี ว
ทา นพยายามดําเนนิ ตามหลกั ธรรมท่พี ระพทุ ธเจา ทรงส่ังสอนเทา นน้ั
เอา! หนกั กห็ นกั ,เปน กเ็ ปน, ตายก็ตาย, อดกย็ อมอด อม่ิ กย็ อมรบั วา อม่ิ ขอให

ไดบ ําเพ็ญธรรมเพอื่ ความพน ทุกขส มความมงุ หมายก็เปน ทพ่ี อใจแลว สาวกทา นดําเนนิ
อยา งน้ี แลว ก็ถา ยทอดขอปฏิบตั ปิ ฏปิ ทาเคร่อื งดาํ เนนิ อันดงี ามนน้ั มาจนถึงพวกเรา ซงึ่
เปนปฏิปทาท่รี าบรืน่ ดงี ามสมา่ํ เสมอควรแกมรรคผลนพิ พาน และเปนปฏิปทาที่

สามารถแกก เิ ลส ถอดถอนกิเลสทุกประเภทออกจากใจไดโดยสิน้ เชิงไมสงสัย ไมวา กาล
ใดสมัยใด เมื่อผปู ฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมทพ่ี ระองคทรงสอนไวแ ลว ตองไดผ ลเปน ท่พี อใจ
โดยลําดับทกุ ยคุ ทุกสมยั เพราะ “สวากขาตธรรม” ไมข น้ึ กับโลกกับสมัย แตข น้ึ กบั ความ

จรงิ อยางเดียว
คาํ วา “ท่ีน่นั วนุ วาย ทน่ี ว่ี นุ วาย” จะหมายถึงอะไร? ถาไมหมายถึงใจตัวกอเหตนุ ้ี

เทาน้ันพาใหเ ปนไปตางหาก สถานทเ่ี ขาไมไ ดว นุ วาย นอกจากใจเปน ผวู ุน วายแตผ ู
เดียว ดินฟาอากาศเขาไมไ ดวาเขาเปน ทุกขเ ปนรอ นและวุนวายอะไร ถา ดแู บบนกั
ปฏิบัตธิ รรมเพือ่ ธรรมอยางจริงใจ จะเหน็ แตใจดวงเดยี วนเ้ี ทา น้นั ดน้ิ รนวนุ วายอยูตลอด

เวลา ยง่ิ กวา หางจงิ้ เหลนขาด (หางจ้ิงเหลนขาดมนั ดิน้ ริดๆ) สถานท่ีใดกเ็ ปนสถานท่นี ั้น

อยูตามสภาพของเขา ผูทีว่ ุนวายกค็ ือหัวใจทีเ่ ตม็ ไปดว ยกิเลสเคร่อื งกอกวนใหวนุ วาย
นน้ั เอง ขึ้นชอ่ื วา “กิเลส” แลว ทุกประเภทตองทําคนและสตั วใหอ ยูเปน ปกตสิ ขุ ไดยาก

ตอ งลกุ ลล้ี ุกลนกระวนกระวายสายแสไ ปตามความผลกั ดันของมันมากนอยอยนู น่ั เอง
ที่พระพทุ ธเจา ทานวา “จงมาสูสถานท่ีน้ี ที่นไ่ี มวุนวาย!” คือพระองคไ มวุนวาย

พระองคไ ดชาํ ระความวุน วายหมดแลว บรรดาส่ิงท่ที าํ ใหว ุน วายภายในพระทยั ไมมี

เหลอื แลว สถานที่นีจ้ งึ ไมว นุ วายไมข ดั ของ
“ยสกลุ บตุ ร” ถา พดู ถึงชอ่ื กว็ า “ยส” เขามาน่ี ทีน่ ี่ไมว นุ วาย ที่นีไ่ มขดั ของ ที่นี่ไม

เศรา หมองขุนมวั ไปดวยตมดวยโคลนคอื กิเลสโสมมตา งๆ แตคร้ังนัน้ พระพทุ ธเจา จะ

ทรงทราบช่อื ทราบนามของเขาหรือไมก ต็ าม กห็ มายเอาผูน นั้ นน่ั แหละ เมือ่ เราทราบชอื่
ของทา นแลว กถ็ อื เอาความวา สถานท่ีน้ันก็คอื สถานท่บี ําเพญ็ เพือ่ ความไมวนุ วายน่ันเอง

ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๒ “๑เร๑๖า๓๔ก๖บั จิต’’

๑๔๗

สถานท่ีที่พระพทุ ธเจาประทบั อยเู วลานน้ั กเ็ ปน สถานที่ทฆ่ี ากเิ ลส ทําลายกิเลสทัง้ มวล
ไมใชเ ปน ท่ีสง่ั สมกิเลส เปน สถานท่ีไมว นุ วายกบั อะไรบรรดาขา ศึกเครือ่ งกอกวน จึงทรง
เรยี กพระยสเขามาวา

“มาท่นี ่ี ที่นไี้ มย งุ เหยิง ท่ีนีไ่ มวุนวาย ท่นี ่ไี มเ ดือดรอ น” ทีน่ เ่ี ปน ที่อบรมส่งั สอน
ธรรมเพอ่ื แกความเดอื ดรอนวนุ วายภายในใจโดยตรง จนยสกลุ บุตรไดบรรลุธรรมเปน
ท่ีพอใจในที่นน้ั

ที่นนั้ ควรเปนเคร่ืองระลกึ ใหเ ราท้งั หลายไดคิดถึงเร่อื งความวนุ วายวา มนั อยู
ในสถานทใ่ี ดกนั แน? ถาไมอ ยใู นหัวใจนไี้ มมีในทีอ่ นื่ ใด เม่ือความวนุ วายทก่ี อกวนอยู
ภายในใจระงับดบั ลงไปแลว ดว ยความประพฤติปฏบิ ัติธรรมในสถานท่ีอนั เหมาะสม
ความสงบเยน็ ใจก็เกิดขึ้น ไปทีใ่ ดอยทู ่ใี ดก็ไมว นุ วาย เมอื่ หวั ใจไมว ุนวายเสยี อยา ง
เดยี ว อยูท่ไี หนก็อยเู ถอะไมวุน วายทงั้ ส้ิน สบายไปหมด! จะอดบา งอม่ิ บา งกส็ บาย
เพราะใจอมิ่ ธรรม ไมห วิ โหยในอารมณเ ครอ่ื งกอ กวนใหว นุ วาย เราสังเกตดูเผินๆ ก็
พอทราบได ดว ยอาการที่แสดงออกของสตั วแ ละบคุ คล ในเวลามีความทุกขเ ขา ทบั ถม
มากนอ ย เฉพาะอยางย่ิงขณะจะตายสัตวจ ะด้นิ รน คนจะอยเู ปน ปกติสขุ ไมไ ด ตอ ง
กระวนกระวายท้ิงเนือ้ ท้ิงตวั จนไมม สี ตปิ ระคองใจ กระท่ังตายไป

ฉะนน้ั จึงมใี จดวงเดียวเปนตวั กอ เหตใุ หเ กดิ ความวุนวาย แตใจน้ันมีสิ่งท่ีพาให
กอ เหตุ ไมใ ชเ ฉพาะใจเฉยๆ จะกอ เหตุข้นึ มาอยา งดือ้ ๆ ส่งิ ทแ่ี ทรกสิงอยนู ้ันคือสิ่งวนุ
วายหรอื ตวั วนุ วาย เมื่อเขาไปสงิ ในจติ ใจของผูใด ผนู น้ั ก็ตอ งวุนวายไปดว ยมัน การแก
กเิ ลสคอื ธรรมชาติท่ที ําใหวนุ วายนี้ จึงแกลงท่ีใจดว ยขอ ปฏิบัติ เชน ทา นสอนให
กาํ หนด “พุทโธ,ธัมโม,สังโฆ” เปน เครื่องบรกิ รรม หรือกําหนด “อานาปานสต”ิ เปน
อารมณ เพ่ือใจไดรบั ความสงบระงับในขัน้ เรม่ิ แรก ซง่ึ เปน ธรรมเครอื่ งระงบั ความวุน
วาย ตอ ไปกต็ ามดใู จวา มนั วนุ วายกบั เรอ่ื งอะไร? น่คี อื ขั้นเริม่ แรกท่ีปญ ญาจะเร่มิ
ออกกาวเดนิ เพอ่ื คน หาสาเหตุ คือตัวกเิ ลสทท่ี าํ ใหใจวนุ วายไมหยุดหยอ น จนกวา จะรู
เร่อื งของมันไปโดยลาํ ดับ ไมย อมถอยทพั กลบั แพข า ศกึ ตวั แทรกซมึ กอ กวนทแ่ี อบซอน
อยภู ายในจิต

เชน ใจวนุ วายกบั เร่อื งรปู รส กลิ่น เสียง เครอ่ื งสัมผสั ซงึ่ เขา ใจวาอันน้ันดี อันนี้
ช่ัว อนั นั้นเปนอยา งน้นั อนั นเี้ ปน อยา งนี้ ดว ยความสําคัญตา งๆ ปญ ญา พิจารณาคล่ี
คลายดใู หเหน็ ตามความเปน จริงในสง่ิ นน้ั ๆ แลวยอ นเขามาดจู ติ ใจผมู คี วามสําคัญ
มนั่ หมายในส่ิงนั้นๆ วาเปน นน่ั เปนนี่ จนเกดิ ความวุน วายข้ึนภายในตัว ใหเห็นชดั เจน

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ธรรมะชดุ ๑๑เ๖ต๔๔รยี ๗มพรอ้ ม

๑๔๘

ท้ังภายในภายนอก ใจกส็ งบระงบั ลงไปได เปนอรรถเปนธรรม พอมที ผ่ี อ นคลายหาย
ทกุ ขไ ปไดไ มร นุ แรง

การแกความวนุ วายแกตรงทีค่ วามวนุ วายมอี ยู คอื ใจน่ีเอง แกไ มหยุดไมถ อย ใจ
จะฝนเราไปทไี่ หน จะตอ งสงบระงับความกําเริบลงจนไดไ มเหนอื ธรรมเคร่ืองฝกทรมาน
ไปได ปราชญท า นเคยฝกทรมานจนเห็นผลมาแลว จงึ ไดน าํ อบุ ายวิธนี ั้นๆ มาสอนสตั ว
โลกเชน พวกเรา ชาวปฏบิ ัตธิ รรมทางใจ

อยา ลมื ! อยาหนจี ากจดุ น้ี! “วฏั จกั ร” ก็คือจิต เร่ืองเกิดเรื่องตาย เรอ่ื งทกุ ข
ลาํ บากทง้ั หมด คอื จติ เปน สาํ คัญ เอา! เอาลงทน่ี ่ีเลย! ตัวนี้เปน ตวั กอเหตุ คําวา “คือ
จิตนี้” ก็คอื กิเลสมอี ยูใ นจิตนน่ั เอง จติ ยงั สาํ รอกปอกกเิ ลสออกไมไ ดห มด จึงตองมี
เรือ่ งไมพ ึงปรารถนาเกิดขึ้นภายในจิตอยเู สมอ ทั้งๆ ทไี่ มต องการใหม ันเกดิ แตมันกเ็ กดิ
เพราะธรรมชาตขิ องมันเปน อยา งนน้ั ทางเดินของมนั อยูท ่นี ่นั จงึ ลบลางไมไ ดด วย
ความสําคญั ดว ยความตองการเฉยๆ

แตตอ งลบลา งดว ยการปฏบิ ัติ กําจดั สิ่งน้นั ๆ ดว ยเหตุผลที่ควร ไดแกอ รรถ
ธรรมนแ่ี หละเปน หลกั ใหญ เอา! บาํ เพญ็ ลงไป คาํ วา “อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ” “ตน
เปนที่พง่ึ ของตน” ดังทเ่ี คยแสดงแลว ใหเ ดนภายในใจและความสามารถของเราเอง
อยา หวงั พ่ึงใครอนื่ อันเปน การออนความสามารถไมฟ ตตัวใหเขมแข็ง ดังธรรมทาน
สอน

มนษุ ยเ ราเกดิ มาชอบอาศยั ผูอืน่ อยเู ปน นิสยั อะไรๆ ตองพ่งึ ผูอนื่ อาศยั ผูอ่นื ตง้ั
แตเ ลก็ จนโต ราวกบั ไมม แี ขงมขี าไมมมี ือมเี ทา ไมม สี ติปญญาใดๆ เลย มแี ตป ากกบั
ทอง เวลาเขา จนตรอกจนมุมไมม ีผอู าศัยจะไมจ มไปละหรือ? ฉะนัน้ เราเปนนกั ปฏิบตั ิ
ธรรม ตอ งหัดพึง่ ตัวเองตามหลักธรรมท่ีสอนไว จะเปนผไู มจนมุมในเวลาจําเปน
พยายามสราง “อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ” ขึ้นในตวั สตไิ มมีพยายามสรา งใหม ี ปญญาไม
มพี ยายามสรางใหมี ความขเี้ กยี จพยายามปราบปรามมนั ลงไปใหส น้ิ ซาก อยา ใหม ากดี
ขวางลวงใจอีกตอไป ความขยันผลติ ขึน้ มาดว ยความมีเหตุมีผล เมือ่ มีเหตมุ ผี ลความ
ขยนั มันเกดิ ขึน้ ไดเอง

ความขเ้ี กยี จข้คี รา นน้ี เราเคยไดเงินหมื่นเงินแสนเงนิ ลานจากมันบา งไหม? ถา
เราสรา งโลกดวยความข้ีเกยี จ จะเปน คนมง่ั มีไดไ หม? ความโงมนั จะทําใหค นฉลาด
แหลมคมไดไ หม? คนโงจ ะทําอะไรใหส ําเรจ็ ลุลวงไปดวยความนา ชมมีไหม? ความโง
ความข้เี กียจออ นแอนําหนา ทําอะไรทันเขาไหม? ความโง ความขี้เกยี จ เม่อื ไดเขาเปน
อนั เดยี วกันแลวทําอะไรไมส าํ เรจ็ ทสี่ าํ เร็จของมันคือบนหมอน “กอนแลว นนิ กนิ แลว

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ภาค ๒ “๑เ๑๖รา๕๔ก๘ับ จติ ’’

๑๔๙

นอน!” อยูน ั่นแล นแ่ี หละโทษของมันเปนอยา งนี้ แตคณุ ของมันยังมองไมเ ห็น อาจเปน
เพราะขรัวตาเรียนนอยจึงไมอาจรูเทา ทันมัน จงึ ขอมอบใหผเู รียนมากนาํ ไปวินจิ ฉัยเอง
จะเหมาะสมกวา

ทต่ี อ งการเหน็ อรรถเหน็ ธรรม เห็นความจริงของศาสนธรรมซ่ึงมีอยูภ ายในใจ
เรา ดงั ทพี่ ระพทุ ธเจาไดท รงสอนไว เราจะทาํ วิธีไหน? จะนําความขี้เกียจข้คี รา นน้เี ขามา
เปน ผนู าํ ทางเหรอ? หรือจะเอาความโงเขา มาเปน เครื่องบกุ เบิกทาง นอกจากมนั จะเพมิ่
ความขเ้ี กียจและความโงข นึ้ อกี หาอะไรเปนชน้ิ เปน อนั บางไมไ ดเ ทานัน้ ไมม อี ยางอนื่ จะ
เปน สารคุณของทงั้ สองสงิ่ นี้

เพราะฉะน้ันสิ่งใดทีจ่ ะแกสง่ิ ท้ังสองน้ีได จะตอ งพยายามผลติ ส่ิงนั้นข้ึนมา ความ
ฉลาดผลิตได ความพยายามคิดอานไตรต รองอยเู สมอ เปน สิง่ ที่ผลิตไดทาํ ไดไมส ุด
วิสยั มนษุ ยเรา ทีแรกตอ งพยายามพาคดิ พาคนไปกอ นเพราะยังไมเ หน็ ผล ก็ยังไมมี
กําลังใจดดู ด่มื ในงานคดิ คนไตรต รองเปน ธรรมดา จนกวาผลปรากฏขนึ้ มาแลว เรอ่ื ง
ความอตุ สา หพ ยายาม ความบกึ บนึ ความเชื่อความเล่ือมใส ความดูดด่มื ภายในจิต จะ
เปนไปเอง เพราะผลเปนเครือ่ งดงึ ดดู ใหเปนไป

จงนาํ สตปิ ญญาแกลงที่น่ี กเิ ลสมนั อยูท ่ีใจ อยา ไปคาดไปหมายทีโ่ นนท่ีนี่ เปน
ความผดิ ทั้งน้นั กิเลสตัวพาเปน พาคาดพาหมายเราไมด มู นั คาดวาท่ีน่นั จะดี ที่นี่จะดี
ท่นี ่ันจะเปน สขุ ทน่ี ี่จะสบาย ลวนแตม นั หลอกเรา เมอ่ื ไปแลว กอ็ ยางวานน่ั เอง เพราะ
“ตวั น้ี” มนั รอน ไปไหนๆ กต็ อ งรอน ตัวนม้ี ันทุกข ไปไหนๆ ก็ทุกข ถา ไมดตู ัวมันกอ
ทุกขก อ เหตุกอ ความวนุ วายอยูเสมอภายในใจนี้ จะไมเหน็ ทจ่ี อดแวะ จะไมเ หน็ ที่แกไข
จะไมเหน็ ท่รี ะงบั ดบั มันลงไปไดเ ลย ความสงบสุขความเยน็ ใจจะไมป รากฏ ถา ไมร ะงับ
ดับลงทน่ี ่ี ดว ยการพจิ ารณาท่ีนี่ แกม ันทตี่ รงนี้

มนั รอนทจ่ี ดุ ไหนกาํ หนดดทู ่มี ันรอ นนน้ั มันวนุ วายที่ตรงไหนกําหนดดูท่มี นั วนุ
วายนน้ั ต้งั สตจิ อเขา ไป! ที่ตรงนัน้ ใหเห็นความจริงและความวุนวายนี้วา มันเกิดข้นึ มา
จากอะไร? ความทุกขเกิดขนึ้ มาจากอะไร? อะไรเปนสาเหตใุ หเกิดทุกข คนมันลงไปที่จติ
นนั้ ทุกขนนั้ มนั เปน สนามรบดวยดีแลว น่ี ความทุกขเ กิดขน้ึ กเ็ อาความทุกขเปนเปา
หมาย กําหนดลงไป หาเหตุมนั เกดิ ขน้ึ มาจากอะไร คนความันอยูที่ตรงนน้ั คน มันที่ตรง
นั้น ความวนุ วายกับความทกุ ขม ันเกย่ี วพันกันอยู มนั เกดิ ข้นึ มาจากอะไร เกดิ มาจาก
ความสําคญั มั่นหมายนั้นแลไมใชเกดิ จากอนื่ วา อนั นัน้ เปนนั้น อนั นเ้ี ปน อยางน้ี ทั้งๆ
ที่มันไมเปน จิตไปสาํ คญั เอาเองแลวหลงความสาํ คัญของตวั กโ็ กยทกุ ขข นึ้ มาเผาลนตน

ธรรมชดุ เตรียมพรอม ธรรมะชดุ ๑เ๑ต๖ร๖๔ยี ๙มพรอ้ ม

๑๕๐

เองใหไ ดร บั ความทกุ ขค วามเดือดรอน มเี ทา นี้ เรือ่ งสาํ คญั อยทู ่ตี รงนี้ เพราะฉะนน้ั จึง
ใหยอ นจิตเขามาดทู ีจ่ ุดนี้

เอา ! เปน ก็ใหร ู ตายกใ็ หรู ใหเหน็ ความจริงกบั สิง่ ที่ปรากฏอยูใ นเวลาน้ี มนั ทกุ ข
แคไหนใหดูตัวทุกข แตก อ นมนั ยงั ไมเกิด ทําไมมาเกดิ ในขณะน้ี แลวมนั เกิดข้นึ มาจาก
อะไร ตวั ทกุ ขม ันเปน “ทุกฺขํ” อยแู ลว น่ี และเปนตวั “อนิจฺจํ อนตตฺ า” อยแู ลว น่ี ดใู หชดั
ดวยปญญาจริงๆ นแี่ หละเปนหินลบั ปญ ญา กาํ หนดพจิ ารณาลงทจ่ี ดุ น้นั แลว ความ
เปลี่ยนแปลงของมันจะแสดงใหเราเห็น เม่อื สติจดจอ อยทู ีต่ รงนน้ั ไมย อมใหจ ติ คดิ ไป
ทางอ่ืน ซงึ่ เปนการเพ่มิ กเิ ลสขึน้ มาอีก ไมมสี ิน้ สุดยุตลิ งไดส กั ที

จงดูเฉพาะจิตท่ีวา มนั เปน ทุกขน้นั ดวยปญญา ดว ยสติ ใครครวญดว ยความ
ละเอยี ดถ่ถี ว น นแ่ี หละช่อื วาพจิ ารณาถกู ตอง และเปนทางระงับดับทุกขลงไดโดยไม
ตองสงสัย ปราชญท า นดับทกุ ขทานดับทนี่ ่ี ผูมสี ตปิ ญ ญาทา นดับกันทีน่ ี่ ตรงนแี้ หละ
คือสถานทีท่ าํ ความเพยี รใหเ กดิ ปญญา ไมต อ งไปปรารถนาวา ใหท กุ ขน ด้ี บั ไปเสยี ไม
ตอ งไปต้งั ความอยากใหท กุ ขม ันดบั ความอยากนเ้ี ปน สง่ิ กอ กวนและเปน สมทุ ยั จะ
เพ่มิ ทุกขขน้ึ มาเมอ่ื มนั ไมดับอยา งใจหมาย เพราะฉะนนั้ สงิ่ ทีถ่ กู ตองเหมาะสมกับสง่ิ ท่ี
ปรากฏอยูค อื ความทกุ ขเวลาน้ี กค็ อื การกาํ หนดใหรูเรอื่ งราวรรู าวของความทุกขว าเกดิ
ขึน้ มาจากอะไร จะเห็นความจริงทั้งทกุ ขด วย จะเหน็ ความจรงิ ทง้ั สิ่งที่ทําใหเกิดทกุ ข
ดว ยปญ ญา น่แี หละเปนอบุ ายที่จะยตุ คิ วามทุกขได และเปน อุบายทีจ่ ะระงบั ดับทกุ ขลง
ไดโดยไมต อ งสงสัย มจี ดุ นีเ้ ปน จดุ สําคญั

ไมตอ งไปปรารถนา ไมตอ งไปหมาย มันจะเพิ่มทกุ ข ตองการแตความจรงิ ใหรู
ความจรงิ ดคู วามจรงิ ใหเ ห็น เมอ่ื ทุกขไมดับมันจะตายไปดว ยกันก็ใหรู “มันจะไปไหน
วะ?” เอายงั งเี้ ลย เอาลงใหเดด็ ถงึ คราวเด็ด จิตไมต ายไมตองกลวั ! เอา! พจิ ารณาใน
สนามรบน้ี ระหวางขนั ธก บั จติ นเ่ี ปน สนามรบของสตปิ ญญากับกเิ ลสทต่ี อ สกู นั สติ
ปญ ญา กเิ ลส นน้ั เปนอนั หนงึ่ ขนั ธเ ปน อนั หน่งึ มนั เปนคนละอยางกนั ตามความจริง

ถาขันธไมป กติจะเปนขันธใ ดกต็ าม จิตตอ งกระเทอื น ถาสตปิ ญญาไมท ันจติ ตอ ง
กระเทอื นและทกุ ขรอนไปดวย เพราะตามปกตจิ ิตแลว ตอ งยึดถอื ขันธเหลา น้วี า เปน ตน
อยางฝงใจ เพราะอะไร? เพราะกเิ ลสพาใหฝ ง การพจิ ารณาสิง่ เหลานีโ้ ดยแยกสวนแบง
สว นออกไป ยอมเปนการถอดถอนกเิ ลส คือความสําคัญน้ันๆ ใหเบาบางลง จนกระท่ัง
ความสาํ คัญเหลานีห้ มดไป คาํ วา “นนั่ เปนเรา,นี่เปนเรา” กห็ มดไปไมต อ งบงั คบั แตม ัน
หมดไปดวยการพิจารณา นี่แหละทว่ี า “ปญญาตดั ขาด ตัดขาดอยางนเี้ อง”

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ภาค ๒ “๑เร๖๑า๗๕ก๐ับ จิต’’

๑๕๑

กรณุ าฟงใหถ งึ ใจ เพราะเทศนอ ยา งเต็มภมู แิ บบถงึ ใจ ทไี่ ดปฏิบตั หิ รอื สรู บกับสง่ิ
เหลา นี้ ชนิดเอาชวี ติ เขา ประกันความเปนความตาย ไมอ าลยั เสียดายชีวิตมาแลว จงตัด
ความสําคัญวา “นั้นเปนเรา นี้เปนของเรา” ออกใหไ ด เพราะทกุ ขจ ะพาใหจ ม ยงั วาเปน
เราเปนของเราอยูอีกหรือ? ยึดเอามาทาํ ไม ทุกขน ้นั เปนเหมือนไฟ ยงั วา เปน เราและนาํ
มาเผาเราทาํ ไมกนั ความรอ นกร็ วู า รอ น ความทุกขกร็ ูว าทุกข ยงั จะกวาดเขามาเผาเจา
ของเขา ไปอีกหรอื ทกุ ขก ็ใหรวู ามันเปน ทกุ ข กําหนดดูตรงท่วี า มันทุกขดว ยปญญา น่ัน
เปนความถกู ตองท่ีสุดแลว อยา ไปลูบคลํา หาขวากหาหนามมาทิม่ แทงหัวใจเพิ่มเขาอีก
ถาไมอยากจมไปกับกองทุกขไ มมีวันโผลขน้ึ มาไดน ะ

เอา ทกุ ขตั้งอยูกใ็ หร วู าทกุ ขต้งั อยู ทกุ ขเ กิดขน้ึ ขณะนี้ ต้งั อยูขณะน้ี แลวมนั จะดบั
ไปขณะตอไปน้ัน ก็ควรจะรูเห็นตามความเคลือ่ นไหวของมัน แตจ ิตทําไมไมเ ห็นมนั
เกดิ มนั ดบั จิตกบั ทุกขมนั เปนผูเดียวกันหรอื ? ทกุ ขเกิดทุกขดับ ทาํ ไมไมเ หน็ จติ ดบั ไป
ดว ยกนั ? นอกจากรอู ยตู ลอดเวลาเทา นัน้ ถามสี ติคอยดูจอ งดมู นั ฉะนั้นจงพิจารณา
ใหชัดเจน เมอ่ื ทุกขไมดบั และมันจะตายไปดวยกันก็ใหม นั ตายไป จิตยงั ไงมนั ก็ไมตาย
แนน อน ขอใหร ูตามความจริงอันนีเ้ ถดิ อยากลัวทกุ ขก ลัวตายซ่งึ เปนสัจธรรม

นีค่ ือวิธเี ผาผลาญกิเลสในหลกั ปจ จุบันธรรมตามทางของพระพุทธเจา ทานสอน
อยา งน้ี ทานประพฤติปฏบิ ตั อิ ยา งน้ี ทา นรเู ห็นมาอยางนี้ ไดผลมาอยา งนี้ ไมเปนอยา ง
อ่ืน เพราะกิเลสไมเปน อยางอน่ื คือเปน กิเลสอยโู ดยดี และธรรมคอื สติปญญาก็สามารถ
แกไ ดจ รงิ ๆ ไมส งสยั

การแกก ิเลสชนิดตา งๆ ดว ยศลี สมาธิ ปญ ญา ท่เี ราบําเพ็ญปฏิบัตอิ ยเู วลานี้
เปนการกระทาํ ที่ถกู ตอง และเหมาะสมแกการแกกิเลสทุกประเภทดังพระพทุ ธเจา พา
ดําเนินมา อยูท่ไี หนกต็ ามอยาละกิจทค่ี วรแกไข ควรถอดถอน กิจที่ควรจดจอ กจิ ทคี่ วร
สอดรู กจิ ทีค่ วรพยายามใหเขา ใจ อยา เผลอตัวนอนใจวากิเลสจะตายไปเองโดยไมถ กู ฆา
ดว ยความเพยี รทาตางๆ เพราะกเิ ลสไมใชหนพู อจะใหแมวชวยกัดชวยฆาได โดยเจาตัว
ไมตองทํางาน

สว นอาการของจติ จะมีการเปลีย่ นแปลงไปเรื่อยๆ ถามกี ารชําระสะสางดวย
ขอปฏิบัตอิ ยูเสมอ แมแตสมาธกิ ็ยังตองเปล่ียนสภาพไป จากความหยาบในเบ้อื งตน
จนเขาสคู วามละเอยี ดขึน้ ไปเรือ่ ยๆ ฐานของจิตคอื ความแนนหนาม่นั คง ก็จะแนน
หนามนั่ คงข้นึ ไปเรอื่ ยๆ ตามความละเอยี ดของสมาธิ

สตปิ ญญาเม่อื เรานาํ มาใชอยเู สมอ ก็จะคอยมีกําลังข้นึ เร่อื ยๆ และรวดเรว็ ข้ึน
โดยลาํ ดับเพราะฝกซอ มอยูเสมอ นีแ่ หละส่ิงทจี่ ะทาํ หนาท่ปี ราบปรามกเิ ลสคอื สตกิ บั
ปญญา มีมากเพยี งไรกเิ ลสยงิ่ กลัวมากขนึ้ ถา มนี อยกเิ ลสกเ็ หยียบยา่ํ ทําลายจนแทบไม

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชุด๑๑เ๖ต๕๘รยี ๑มพรอ้ ม

๑๕๒

ปรากฏสติปญญาเลย มีแตน ั่งเฝา ทุกขอ ยูเทา นนั้ ปลอยใหทกุ ขมนั เหยยี บยํ่าทาํ ลายเอา
และบน อยเู ทา นั้น บนเทา ไรก็ไมเปนประโยชน จะบนไปทาํ ไม

หนาท่ขี องเรามยี ังไง ฟาดฟนมนั ลงไปใหเหน็ เหตเุ ห็นผล เหน็ ความสตั ยความ
จริงซ่งึ มอี ยภู ายในจิตใจดวงน้ี เมอื่ เหน็ ชดั เจนแลวกเิ ลสไมต อ งบอก มันแตกกระจายไป
หมด น่ัน! และจะสูเหนอื ปญญาไปไมไ ด

นัน่ แหละจึงเห็นไดชัดวา อะไรเปน กิเลส อะไรเปนกงจกั ร อะไรเปนตวั พาใหเกิด
ใหตาย อะไรเปน ตวั ทุกขตัวลําบากทงั้ หลาย อะไรเปน ตัวยงุ เหยงิ วุนวาย ทไ่ี หนเปน ที่
เดือดรอน ทีไ่ หนเปนที่วนุ วาย ปญ ญารชู ัดประจักษใ จส้ินสงสยั เพราะความเดือดรอน
วุนวายหมดไป เพราะกิเลสตวั กอ ใหเกดิ ความเดือดรอนวนุ วาย สน้ิ ไปดว ยอาํ นาจของ
ปญญา น่นั !

ความหมดทุกขหมดทใ่ี จ รา งกายมกี เ็ ปนเร่ืองของมนั จะเปน ไรไป มนั มีของ
มันอยจู นกระทั่งวนั สลายนน่ั แหละ ยงั เปนอยูเด๋ียวแสดงนูน เด๋ียวแสดงนี้ เดี๋ยวเจ็บ
ทอ ง เด๋ยี วปวดหัวไหล ปวดหลัง ปวดเอว ปวดน้ีปวดนั้นอยูย งั ง้ัน เรอื่ งของขนั ธไ มม ี
เวลาเปน ปกติสขุ ไดจะวายงั ไง เราอยา ไปสาํ คัญมัน่ หมายมัน ใหเ หน็ ความจริงของมันจะ
ไมเ ดือดรอ น ถึงคราวจริงๆ มันก็เปน อยา งนั้น นเี่ ราเห็นชัดตามเปน จรงิ อยแู ลว มันจะ
แตกกแ็ ตก ยม้ิ กับมนั ไดจ ะวา ยังไง เพราะไมม อี ะไรจะมาทาํ ลายใจไดน ่ี

การตายของธาตขุ องขนั ธ การสลายของธาตุของขนั ธ ไมใ ชส่ิงท่จี ะมาลบลา งหรือ
ทาํ ลายจติ ใจใหฉิบหายไป มนั เปนเรื่องของเขาทําหนาทตี่ ามธรรมชาติของเขา คือเขาทํา
หนา ทต่ี าม “ไตรลกั ษณ” ไดแ ก “อนิจจฺ ํ ทกุ ฺขํ อนตฺตา” เขากท็ ําของเขาไป สติปญญาเรา
มีเพยี งไรก็พิจารณาไปไมห ยดุ ย้งั จนรรู อบตวั โดยสมบรู ณ

ผทู ี่รูกฎไตรลักษณก ็พิจารณาเหน็ ตามความเปนจริงไปชื่อวา “ผฉู ลาด” นแ่ี หละ
ทา นวา “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหฉ ลาดท่ีตรงนี้ สวดใหดนี ะ “กสุ ลา ธมมฺ า” อยา คอยแตจ ะให
เขาเอาพระไปสวดใหเ วลาตาย เคาะโลง ปก ๆ แปกๆ เฮอ! ราํ คาญจะตายไป เรานะไม
อยากพบอยากเหน็ “กสุ ลา” แบบนน้ั นน่ั มนั แบบคนตายสน้ิ ทา แลว ตอ ง”กสุ ลา” แบบ
มีทา นา กเิ ลสกลวั ซิ! คอื คิดคน ลงท่ี “เบญจขันธ” ใหเ กดิ ความฉลาดข้นึ มา และฆา กเิ ลส
ไปดว ยซิ ตอนยงั เปน คนอยูไมอ ยากฉลาด เวลาตายแลว ไปกวา นเอาพระมาสวด “กสุ ลา
ธมฺมา” ยุงไปหมด กสุ ลา ธมมฺ า กเ็ ทา เดมิ น่ันแหละจะวายังไง ตองสวดใหถกู จดุ

ประสงคและความหมายซิ
สวด “กสุ ลา ธมฺมา” แปลวา ความฉลาด เรยี นเรื่องของตัวใหร อบคอบใหร รู อบ

ความโงกอ็ ยูในตัวนี่ ความฉลาดกอ็ ยูในตัว ผลิตขึน้ มาได “อกสุ ลา ธมมฺ า” ก็อยูท ่ีจติ

ธรรมชุดเตรยี มพรอม ภาค ๒ “๑เ๖๑ร๙า๕ก๒บั จิต’’

๑๕๓

แกจ ติ จนบริสทุ ธ์ิแลว ไมต องพูดไมต องสวด! “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหเ สยี เวลา “อกสุ ลา ธมฺ
มา” ก็เสยี เวลา “อพยฺ ากตา ธมฺมา” กเ็ สยี เวลา ถาตัวเราเปน “โมฆะ” ไมสนใจกับ “กสุ ลา
ธมฺมา” เพอื่ ความฉลาดดวยสติปญ ญา ดงั พระพุทธเจา ไดส ัง่ สอนไว ขณะท่ยี งั มชี ีวิตอยู
และสามารถทาํ ไดอ ยูขณะนยี้ อมฉลาด รอบรูตามความจรงิ แลวสบายดี ตายแลว ไมต อง
หาพระมา กสุ ลา ธมมฺ า นะ ! จงทาํ ใหถ งึ เหตถุ งึ ผลเถอะ เวลารมู นั รูจริงๆ นะภายในจิต
ใจนี่ เพราะความจริงมีอยูก บั ทกุ คน ถาต้งั ใจคนหาตอ งเจอ

พระพุทธเจาไมห ลอกลวงโลกนี่ พระองคเหน็ กอนแลวรกู อนแลว จึงนําความรู
จรงิ เห็นจรงิ มาสอนโลก แลวธรรมนน้ั ๆ จะปลอมไปไหน! นอกจากจิตใจเรามนั ถูกกิเลส
พาใหปลอมเทานัน้ เอง มันถงึ ปลอมไดวนั ยงั ค่ําคนื ยงั รุง ไดย ินไดเ ห็นอะไรปลอมไป
หมด เพราะกเิ ลสมันพาใหป ลอม ถา สตปิ ญญาไดหยั่งเขาไปตรงไหน ความจริงกช็ ดั ขนึ้
มาตรงนั้น ปญ ญาเตม็ ที่ความจริงแสดงเต็มภมู ไิ มสงสัย นแี่ หละทานเรยี กวา “เรียน
ธรรมปฏิบัติธรรมจบ” จบทด่ี วงใจนี้

เรยี นเร่ืองของ “วฏั จกั ร” “แก วฏั จกั ร” จบท่จี ิตแลวแสนสบาย! ทา นวา
โลกตุ รธรรม ธรรมเหนอื โลก” ทั้งๆ ทอ่ี ยใู นโลกอยใู นขนั ธ กเ็ หนอื โลกเหนอื ขนั ธ ไม
ยอมใหข นั ธก ดขี่บงั คับไดเ หมอื นแตกอ น รูตามความจรงิ ของมันเสียทุกอยางแลว ไมมี
อะไรมากระเทือนจิตใจ ไมมากดขบ่ี ังคับจติ ใจไดเลย จึงเรียกวา “เหนอื โลก” “โลก” คือ
“ขันธ” เหนือทตี่ รงนเ้ี อง

“โลกุตรธรรม” แปลวา “ธรรมเหนอื โลก” “นิพฺพานํ ปรมํ สขุ ”ํ ถามหาอะไร? ขอ
ใหจิตบริสุทธเ์ิ ทาน้ัน กบั คาํ “นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ” กเ็ ขา กนั ไดเ อง เพราะเปนธรรมอัน
เดยี วกนั

สวดไมส วด วา ไมว าก็อนั เดียวกนั จงพยายามสวด “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหตัวเองนะ
อยาไปคอยเอาพระมาสวด “กสุ ลา ธมมฺ า” ใหยุง ไป โดยท่ีตนไมส นใจกบั “กสุ ลา ธมฺมา”
ทม่ี ีอยูในตนน้เี ลย

ถา เปน พระผูมุงอรรถมงุ ธรรมจริงๆ ทา นไมอ ยากยุง ทา นรําคาญทา นไมอ ยาก
ไป เพราะเสียเวลาบําเพ็ญเพียร นอกจากเปน “พระหากิน” นน่ั แลทอ่ี ยากไป เชน หลวง
ตาบวั อยา งน้ีนะ ไมแนนะอาจเปน ขรัวตา “กสุ ลา” กไ็ ดใครอยาดว นเช่อื นัก ใหใ ชสติ
ปญ ญาดว ยดี

“เฮอ! วนั นค้ี นตายนะ กสุ ลาอาหารวา งเถดิ วนั น!้ี ” มนั อาจเปน ไปได

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ ๑เ๑๗ต๕ร๐ยี ๓มพร้อม

๑๕๔

แตพระทา นมุงอรรถมงุ ธรรมทา นไมสนใจอะไร ทานขี้เกียจยงุ เวลาสอนให “กุ
สลา ธมฺมา” ไมส นใจ เวลาตายแลว มากวานพระไป “กสุ ลา ธมฺมา” ใหยุงทําไม? นน่ั !
ทา นวา อยา งน้ี เพราะทานแสวงธรรม ไมไ ดแ สวงอะไรอนื่ น่ี

เอาละ เอวัง จบเสยี ที ขนื พูดไปมากคนเขาจะแชงเอา

ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ภาค ๒ “๑เ๑ร๗า๕๑ก๔บั จติ ’’



๑๕๕

อบุ ายฝึกจติ ทางลดัเทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด
เม่ือวันที่ ๔ มกราคม พเททุศธนศ์โปักรรดาคชุณ๒เพ๕า๑พง๙า วรรธนะกุล ณ วดั ป่าบา้ นตาด
อบุ ายฝก จิตทางลดั เมื่อวันที่ ๔ มกราคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๙

มีผถู ามปญหาพอระลึกไดบางก็ปญหา “ปากคอก” นแ่ี หละ มอี ยกู บั ทกุ คน วา

“โลกหนามไี หม? โลกหนา กบั ผไู ปโลกหนา โลกหลงั อะไรเหลา นี้ มันก็ไมใชเ ร่อื งของใคร
แตเปน เร่ืองของเราทุกคนท่กี าํ ลังแบกภาระอยูน ้ี มีผถู ามอยา งน้ัน เรากถ็ ามเขาวา “เมอ่ื
วานนม้ี ไี หม แลวเม่อื เชา นีม้ ีไหม? ปจจบุ นั ณ บดั น้ีมไี หม?” เขากย็ อมรับวามี “แลว วนั

พรุงนี้จะมีไหม วนั มะรนื เดือนน้เี ดอื นหนา ปนีป้ ห นา ปตอๆ ไปจะมีไหม?
ส่ิงท่ีมีมาแลว พอจําไดกพ็ อเดาไปได ถงึ เรอื่ งยังไมม าถงึ กต็ าม ก็เอาส่ิงทจี่ ําไดซง่ึ

ผา นมาแลว มาเทียบเคยี งกับสิ่งท่เี คยมเี คยเปนมาแลว ขางหนา จะตอ งเปนไปตามทเี่ คย
เปนมาน้ี เชนเมือ่ วานนม้ี มี าแลว วนั นกี้ ม็ ี มันเคยผา นมาอยางน้เี ปนลําดบั เรารแู ละจาํ
ไดไมลืม แลว ตอนบา ย ตอนคาํ่ ตอนกลางคนื จนถึงวนั พรุง นเ้ี ชา เราก็เคยรูเคยเห็นมา
แลว เรื่องมันเปน มาผา นมาอยา งนนั้ ซึ่งไมม ีอะไรผิดกัน และยอมรบั วามีดว ยกัน

ความสงสัยโลกน้โี ลกหนา หรอื เกี่ยวขอ งกบั ตวั กค็ ือความหลงเรื่องของตัวน่ัน
แหละ มันจึงกลายเปน เร่อื งใหญโต และกวนใจใหยุง อยูไ มหยุดทั่วโลกสงสาร วา “โลก

หนามีไหม? คนตายแลว ไปเกดิ อีกไหม?” นน่ั มันคูก ัน กท็ ่เี กดิ ทต่ี ายนค้ี อื ใครละ? กค็ อื
เรานน่ั เองทีเ่ กดิ ทีต่ ายอยูตลอดมา มาโลกนไ้ี ปโลกหนา กค็ อื เราจะเปน ใคร ถา ไมใช
“สตั วโ ลก” ผูเปนนักทองเทย่ี วน้ี ไมมีใครเปน ผูแบกหามปญ หาและภาระเหลาน้ี!

นโี่ ทษแหงความหลง ความจาํ ไมไ ด มนั มาแสดงอยูกบั ตัวเรา แตเ ราจับสาเหตุ

ของมนั ไมไ ดว า เปน มาเพราะเหตใุ ด สิ่งที่เปน มาที่ผานมาแลวมนั ก็จําไมได เรอ่ื งของ
ตวั เลยหมนุ ตวั เอง พนั ตวั เอง ไมทราบจะไปทางไหน ความหลงตัวเองจึงเปนเร่ืองยงุ
ยากอยูไ มห ยุด หลงสง่ิ อื่นกย็ ังคอยยงั ชั่ว หลงตวั เองน้มี ันปด ตันหาทางออกไมไ ด ผลก็
สะทอ นกลับมาหาตวั เราเองไมไ ปท่อี ื่น คอื นาํ ความทุกขมาสตู ัวเรานัน่ แล เพราะความ
สงสัยเชนนเ้ี ปน ปญ หาผูกมดั ตวั เอง มใิ ชป ญหาเพอ่ื แกตัวเองใหหลุดไปไดเพราะความ
สงสยั นน้ั ถา ไมพสิ จู นด ว ยธรรมทางจติ ตภาวนาไมม ีหวงั เขา ใจได

พระพทุ ธเจา จงึ ทรงสอนใหคลีค่ ลายดูเรอื่ งของตัว แตก ารจะคลีค่ ลายเร่อื ง
ของตัวนัน้ สาํ คญั มาก จะทาํ แบบดนเดาเอาดว ยวิธคี าดคดิ หรอื ดวยวธิ อี น่ื ใดไมสําเรจ็
ได! นอกจากจะทําคุณงามความดีขนึ้ มาโดยลาํ ดบั เปน เครอื่ งสนบั สนุน และยนเขา มาสู

ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ภาค ๒ “๑เ๑๗รา๕๓ ก๕บั จติ ’’

๑๕๖

“จติ ตภาวนา” เพ่อื คล่คี ลายดเู รือ่ งของตวั อนั รวมอยูในวงของจติ ตภาวนา ซ่งึ จะพาใหร ู
แจง แทงความสงสัยนน้ั ใหท ะลุไปได พรอ มทั้งผลอันเปนทพ่ี ึงใจ หายสงสยั ทง้ั การตาย
เกิดตายสูญ

เรื่องของตวั คืออะไร? กค็ อื เรอื่ งของใจ ใจเปน ผูแสดง เปนผกู อ เหตุกอผลใสต วั
อยตู ลอดเวลา ทงั้ ความสขุ ความทกุ ข ความยุง เหยงิ วนุ วายตางๆ สว นมากมกั แสดง
ความผกู มดั ตวั เองมากกวา การบาํ รงุ สง เสรมิ ถาไมใชค วามบงั คับบญั ชาในทางที่ดี ใจ
จึงมีแตค วามรมุ รอนเปน ผล คอื ความทกุ ขท ี่เกิดขน้ึ จากความฟุงซา นวนุ วาย ใจคิดสา ย
แสไปในแงตางๆโดยหาเหตุหาสาระไมได แตผ ลทจ่ี ะพงึ ไดรับนนั้ มนั เปนสิง่ สําคัญอนั
หนึ่งทจ่ี ะทาํ ใหเราเกดิ ความทกุ ขค วามกระทบกระเทอื นได จึงเปนเรื่องยากเรื่องหนกั
สาํ หรบั บรรดาผยู งั หลงโลกหลงตัวเอง และตน่ื โลกตน่ื ตวั เองอยู โดยไมส นใจพิสจู นต วั
เองดวยหลกั ธรรมอนั เปนหลักรบั รองความจรงิ ทงั้ หลาย เชน ตายแลว ตองเกิดอกี
เปนตน เมื่อยงั มีเช้ือใหง อกทพ่ี าใหเ กิดอยูภ ายในใจ ตอ งเกิดอกี อยูร ่ําไปไมเปน อยา งอื่น
เชน ตายแลว สญู เปนตน

พระพทุ ธเจา ทา นทรงสอนใหด ูตวั เรอื่ ง คอื ดูใจตวั เองผพู าใหเ กดิ ตาย ถา ยงั ไม
เขา ใจก็ตองบอกวิธีการในแงต างๆ จนเปน ทเ่ี ขาใจและปฏิบัตไิ ดถ กู ตอ ง เฉพาะอยา ง
ย่ิงการสอนใหภ าวนา โดยนําธรรมบทใดก็ตามมาบรกิ รรมภาวนา เพอื่ ใหจิตดวงท่ีหา
หลักยดึ ยงั ไมได กําลังวุนวายหาทพ่ี ึง่ ยงั ไมเ จอ จนกลายเปน ความหลงใหลใฝฝน ไมมี
ประมาณ ไดย ดึ เปน หลักพอต้งั ตัวได และมีความสงบเยน็ ใจไมวอกแวกคลอนแคลน
อนั เปนการทําลายความสงบสุขทางใจท่ีเราตองการ เชน ทานสอนใหภาวนา “พุทโธ ธมั
โม สังโฆ” หรอื “อฏั ฐิ เกสา โลมา” บทใดบทหนึง่ ตามแตจ ริตชอบ โดยความมสี ติควบ
คุมในคาํ บริกรรมภาวนาของตน อยา ใหเ ผลอสง ใจไปท่ีอืน่ จากคาํ บริกรรมภาวนา เพื่อ
ใหจิตที่เคยสงไปในทีต่ างๆ นั้น ไดเกาะหรืออาศัยอยูก บั อารมณแหงธรรม คือคํา
บรกิ รรมภาวนาน้นั ๆ ความรทู ่เี คยฟุงซานไปในอารมณตา งๆ กจ็ ะรวมตวั เขา มาอยใู น
จุดนัน้ คอื จิตซ่ึงเปนท่ีรวมแหง ความรู กระแสแหง ความรูทงั้ หมดจะรวมตวั เขา มาสู
อารมณแหงธรรม ทบ่ี รกิ รรมหรือภาวนาอยูดว ยความสนใจ ก็เพราะบทธรรมบริกรรม
อนั เปน เครอ่ื งเกาะของจิต เปนเครื่องยดึ ของจิต ใหต ง้ั หลกั ขน้ึ มา เปนความรูอ ยาง
เดนชดั เปน ลาํ ดบั นั้นแล ฉะนัน้ ขน้ั เรมิ่ แรกของการภาวนา คําบรกิ รรมจึงสาํ คัญมาก

เมือ่ ไดเห็นคณุ คาสารธรรม ทป่ี รากฏขน้ึ เปน ความสงบสขุ เชน นแ้ี ลว ในขณะ
เดียวกันก็เห็นโทษแหงความฟุงซานวนุ วายของจิตทีห่ าหลักยดึ ไมไ ด และกอ ความ
เดือดรอนใหแ กต วั อยา งประจักษใจในขณะน้ัน โดยไมต อ งไปถามใคร คุณและโทษของ

ธรรมชุดเตรียมพรอ ม ธรรมะชดุ๑เ๗๑ต๔ร๕ยี ๖มพร้อม

๑๕๗

จติ ที่สงบและฟงุ ซา น เราทราบภายในจติ ของเราเองดว ยการปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนา นี่
เปน ข้นั หน่งึ อันเปน ขนั้ เรม่ิ แรกที่ทา นสอนใหร ูเ รอ่ื งของจิต

แลวพยายามทาํ จติ ใหม ีความสงบแนวแนล งไปเปนลําดบั ดว ยการภาวนากบั บท
ธรรมดงั ท่กี ลาวมาน้ี เจรญิ แลว เจรญิ เลาจนมีความชาํ นชิ าํ นาญ กระทั่งจติ สงบไดต าม
ความตอ งการ ความสขุ เกิดข้ึนเพราะใจสงบก็ยงิ่ เดน ชัดขึ้นทุกวนั เวลา พอจติ สงบตวั ขนึ้
มาปรากฏเปน ความรเู ดน ชดั แลว ในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน การรวมกเิ ลสเขา มาสจู ดุ
เดยี วกนั เพอ่ื เหน็ ไดชัด และสงั เกตความเคลือ่ นไหวของมันไดง า ยขน้ึ และสะดวกแก
การแกก ารถอดถอนดวยปญญา ตามข้ันของปญญาทค่ี วรแกกิเลสประเภทหยาบ กลาง
ละเอยี ด ตามลาํ ดบั ไป

คาํ วา “กเิ ลส” ซึ่งเปน เครื่องบังคับจติ ใจใหฟ ุงซานไปในแงตางๆ จนคํานงึ
คาํ นวณไมไ ดน นั้ เราไมส ามารถท่ีจะจับตัวของมนั ไดวาอะไรเปนกิเลส อะไรเปนจติ
เปนธรรม ตอ งอาศัยความสงบของใจเปนพ้ืนฐานกอน เม่อื จิตสงบตวั เขามา กเิ ลสก็
สงบตวั เขามาดวย เม่ือจิตหดตัวเขา มาเปนตัวของตวั หรือเปนจดุ หมายพอเขา ใจได
เร่อื งของกเิ ลสกร็ วมตวั เขา สวู งแคบในจุดเดียวกนั คอื รวมตวั เขามาท่ีจิต ไมคอยออก
เพน พา นกอ กวนจติ ใจเหมือนแตก อ นท่ีจิตยงั ไมส งบ พอจติ สงบเยน็ พอต้งั ตวั ไดบา ง
แลว หรอื ตั้งตวั ไดแลว จากนนั้ ทานสอนใหพจิ ารณาคลค่ี ลายดอู าการตางๆ ของราง
กายอนั เปนทซ่ี มุ ซอ นของกเิ ลสทางดานปญญาวา “จิตไปสนใจกบั อะไร? ในขณะที่ไม
สงบใจไปยงุ กบั เรอื่ งอะไรบา ง?” แตใ นขณะทีใ่ จสงบเปนอยางน้ี ไมก อ กวนตวั เอง

แตป กตนิ สิ ยั ของคนเรา พอมีความสงบสบายบา งมักขี้เกียจ คอยแตล ม ลง
หมอน ไมอ ยากคลค่ี ลายรา งกายธาตขุ ันธด ว ยสตปิ ญ ญาเพอื่ รคู วามจรงิ และถอดถอน
กิเลสตา งๆ ออกจากใจ โดยไมค าํ นึงวาการละการตัดกเิ ลสประเภทตางๆ ที่แทรกสิงอยู
ในกายในขนั ธน น้ั ทานละทานถอนดวยสตปิ ญ ญา สว นความสงบของจิตหรือ “สมาธ”ิ
นั้น เปนเพียงการรวมตวั ของกเิ ลสเขา มาสวู งแคบเทา น้นั มใิ ชเ ปน การละการถอน
กเิ ลส จึงกรณุ าทราบไวอยา งถงึ ใจ

ใจขณะท่ยี ังไมสงบ มกั ไมย งุ กับรูป เสียง กล่นิ รส เครอื่ งสมั ผัส แลว นํามาเปน
อารมณก วนใจ บรรดารูป เสยี ง ฯลฯ น้นั จิตไปหนักในอารมณอะไร ซึ่งพอทราบได
ดวยสตปิ ญญา ขณะพิจารณาจติ แสดงออกไปเกย่ี วของกบั อารมณอนั ใด กพ็ อทราบกนั
ไดโดยทางสตปิ ญญา เร่อื งราวของจิตกพ็ อมองเหน็ ได เพราะจิตเคยสงบ พอเริม่ ออกไป
สอู ารมณตา งๆ ก็ทราบ ทานจึงสอนใหพิจารณาคล่ีคลายดวยปญ ญาเพ่ือใหทราบวา สิ่ง
ทจี่ ิตไปเกี่ยวของน้นั คืออะไรบา ง พยายามดใู หรูใหเห็นอยางชดั เจนดวยสติปญ ญาขณะ

ธรรมชดุ เตรยี มพรอม ภาค ๒ ๑“เ๗ร๑า๕๕ก๗บั จติ ’’

๑๕๘

ออกพิจารณา เวนแตขณะทาํ ใจใหส งบโดยทางสมาธิก็ไมพิจารณา เพราะ “สมาธ”ิ
กบั “ปญ ญา” น้นั ผลัดเปล่ยี นทาํ งานคนละวาระ ดงั ทไ่ี ดเคยอธบิ ายแลว

ขณะทพี่ จิ ารณา “รูป” คือรูปอะไรทีใ่ จไปเกี่ยวของมากกวาเพ่ือน เพราะเหตุใด?
ดูรูปขยายรปู แยกสวนแบงสวนรปู น้ัน ใหเ หน็ ชดั เจนตามความจริงของมัน เมอ่ื แยก
แยะสว นรูป จะเปนรูปอะไรก็ตาม ใหเ หน็ ตามเปนจรงิ ของมันดว ยปญญา ในขณะเดียว
กันกจ็ ะไดเ หน็ ความเหลวไหลหลอกลวงของจติ ทไี่ ปยึดม่นั ถือมัน่ สําคญั ผิดตา งๆ โดย
หาสาเหตอุ ะไรไมได หามลู ความจริงไมได เพราะเมอ่ื พจิ ารณาละเอียดแลว ไมม อี ะไร
เปน สาระตามทใ่ี จไปสาํ คญั มน่ั หมาย มแี ตค วามสาํ คัญของจติ ไปลุม หลงเขาเทานนั้
เมอ่ื พิจารณาแยกแยะสว นตา งๆ ของรางกาย “เขา” หรอื รางกาย “เรา” ออกดโู ดย
ละเอียดถีถ่ วนแลว ไมเ หน็ สาระอะไร ใจกเ็ หน็ โทษของความสําคญั มั่นหมาย ความยดึ
ม่นั ถือมนั่ ของใจไปเอง เมือ่ พจิ ารณาหลายคร้ังหลายหนเทาไรกย็ ิง่ ชดั เจนย่ิงข้นึ ทั้งรูป
และเสียง กลิน่ รส เครอื่ งสมั ผัสตา งๆ ทั้งอาการของจิตท่ไี ปเก่ียวขอ งกบั อาการนั้นๆ
จนรูแจง เหน็ ชดั ดวยปญญา เพราะคลี่คลายอยูอยางสมาํ่ เสมอทง้ั ภายนอกและภายใน รู
แจงเหน็ ชดั อาการของจติ ทางภายในที่ไปเก่ยี วขอ งวา เปนเพราะเหตุนั้นๆ อันเปน เร่ือง
เหลวไหลทง้ั เพ

แตก อ นไมท ราบวามนั เกยี่ วขอ งกันเพราะเหตุไร ตอมาก็ทราบชัดวามนั ไปเกยี่ ว
ของเพราะเหตุนั้นๆ คือเพราะความหลงความสาํ คญั ผดิ เมอ่ื พจิ ารณาตามความจรงิ
เห็นความจรงิ ในสง่ิ ภายนอกแลว ก็ทราบชดั ทางภายในวา “จิต ไปสาํ คัญวา สภาวธรรม
ตางๆ เปนอยางนั้นๆ จึงเกดิ อุปาทานความยึดม่ันถือม่ัน หรือเกดิ ความรกั ความชังขึน้
มา เปน กเิ ลสเพิ่มพนู ไปเรื่อยๆ ใจกท็ ราบถึงความเหลวไหลของตน

จติ เมอื่ ทราบวา ตัวเปนผูล ุมหลงเหลวไหลแลว ก็ถอนตัวเขา มา เพราะแมจะฝน
คิดไปยึดมั่นถือมนั่ สง่ิ เหลานนั้ กถ็ ูกปญญาแทงทะลไุ ปหมดแลว ไปยดึ ม่นั ถือมนั่ หา
อะไร! การพิจารณาทราบชัดแลว วา ส่งิ น้นั เปน นั้น สิ่งน้เี ปน น้ี ตามความจริงของแตล ะสิ่ง
ละอยา ง นแ่ี หละคอื วิธีคลค่ี ลาย “กองปญ หาใหญ” ที่รวมแลว เปน ผลคอื กองทุกขภ าย
ในใจ ทา นสอนใหค ลค่ี ลายอยางน้ี

เมอ่ื ปญ ญาคล่ีคลายอยูโดยสม่ําเสมอไมล ดละ จนเขาใจแจม แจง ชัดเจนแลว ไม
ตอ งบอกใหป ลอ ย จิตรแู ลว ปลอยเอง ยอ มปลอ ยเอง จติ ทีย่ ดึ คอื จติ ทีย่ งั ไมรูไ มเขา ใจ
ดวยปญญา เมอื่ รอู ยา งเตม็ ใจแลว ก็ตองปลอ ยเตม็ ที่ ไมมีอาลยั เสยี ดาย ความกงั วลท้งั
หลายทจ่ี ติ เคยกังวลเสยี ดายน้นั กห็ ายไปเอง เพราะปญ ญาสอดสอ งมองทะลุเห็นแจง

ธรรมชุดเตรยี มพรอ ม ธรรมะชดุ๑๑เ๗ต๕๖รยี๘มพรอ้ ม


Click to View FlipBook Version