The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ แว่นดวงใจ (พระ)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.luangta, 2021-09-08 03:23:25

หนังสือแว่นดวงใจ

หนังสือ แว่นดวงใจ (พระ)
โดย
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน
วัดเกษรศีลคุณ(วัดป่าบ้านตาด)

ธรรมทาน

หากมที า่ นผู้ศรัทธาพมิ พแ์ จกเปน็ ธรรมทาน
ผเู้ ขียนมคี วามอนุโมทนายนิ ดดี ้วยทุกโอกาส

กรณุ าทราบตามนยั ท่ีเรียนมาแลว้ น้ี
จะไมเ่ ป็นกงั วลในการตอ้ งขออนุญาตอกี ในวาระต่อไป

แตก่ ารพมิ พ์จำ�หนา่ ยนน้ั ขอสงวนลขิ สทิ ธิ์
ดงั ทเ่ี คยปฏิบตั ิมากบั หนังสอื ทุกเลม่ ทผ่ี ู้เขยี นเป็นผเู้ รียบเรยี ง

เพราะมงุ่ ประโยชนแ์ ก่โลกดว้ ยความบริสทุ ธใิ์ จ
ไมป่ ระสงคใ์ หม้ ีอะไรเปน็ เคร่ืองผกู พนั
จึงขอความเห็นใจมาพรอ้ มน้ดี ว้ ย
ขอความเปน็ สริ มิ งคลที่โลกปรารถนา
จงเกิดมแี ต่ทา่ นผูอ้ ่านผฟู้ งั
และทา่ นผปู้ ฏิบัตติ ามท้ังหลายโดยทวั่ กนั

คำ�นำ�

หนังสอื แวน่ ดวงใจ เปน็ หนงั สอื ที่หนาเล่มหนึ่ง ซง่ึ ยากแก่การขวนขวายเพ่ือจัดพมิ พอ์ ยู่
ไมน่ ้อย แตก่ ็ยังมีทา่ นผ้ศู รทั ธาพิมพแ์ จกทานเรอื่ ยมา หากขาดไปบา้ งก็เปน็ ครั้งคราว บดั นีก้ ็ได้
มที ่านผ้ศู รทั ธาประสงค์จะพิมพ์แจกทานแกท่ า่ นผู้สนใจธรรมปฏิบัติ ซงึ่ นับวา่ เปน็ การทมุ่ เทกำ�ลงั
ทรัพย์ ก�ำ ลังศรทั ธา เมตตามหาคุณค�้ำ จนุ โลกผหู้ วงั พึง่ ใบบุญอยไู่ มน่ ้อยเลย ผู้เขยี นจึงขอขอบคณุ
และอนโุ มทนาในเจตนาศรทั ธาอนั แรงกล้าของทา่ นท้ังหลายมาพรอ้ มน้ี ดว้ ยความซาบซึ้งเปน็
อยา่ งยิง่
ขอความสวสั ดีมชี ัยจงเกิดมแี ก่ทา่ นผ้ศู รทั ธา และท่านผอู้ ่านโดยท่วั กนั เทอญ ฯ


(คำ�นำ�ของทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสัมปนั โน
จากการพมิ พค์ ร้ังก่อน ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๕)

เทศน์อบรมฆราวาส ณ วัดป่าบา้ นตาด จังหวดั อุดรธานี
เม่ือวันที่ ๑๗ มิถุนายน พุทธศกั ราช ๒๕๓๗

“...หนังสอื น้ีอยา่ เอาไปโยนข้นึ หง้ิ แลว้ เก็บส่งั สมหนงั สอื เอาไว้ว่า เรามีหนงั สอื เท่าน้ันเลม่
เท่านเ้ี ล่ม ไมน่ อ้ ยหนา้ ใคร แต่ไม่ได้อา่ นดูตวั เองนนั่ ซี อ่านหนงั สือไม่อา่ น เอาไปโยนขึน้ หิ้งใชไ้ ม่ได้นะ
ไมเ่ ห็นคณุ ค่าของหนงั สือ พระพทุ ธเจา้ สลบ ๓ หนกว่าจะไดเ้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ครูบาอาจารย์
แตล่ ะองคท์ จี่ ะได้นำ�หนังสอื มาแจกพวกเรานีแ้ ทบเป็นแทบตายท้ังนน้ั ละ ไมม่ ีองค์ไหนสบายๆ
มาแหละ มแี ต่องคเ์ ดนตายมา เราเอาไปโยนขึ้นห้ิงมนั เข้ากันได้ไหมละ่ เขา้ ไม่ไดน้ ะ
ถ้าอยากเปน็ คนดใี หเ้ อาไปอา่ น อา่ นหนังสอื แลว้ ก็อา่ นตวั เองเทียบกันไป หนังสือทา่ นว่า
ยังไงๆ เราปฏบิ ัตติ วั เรายังไงๆ ดูตรงไหนควรแกไ้ ขยงั ไงๆ ใหร้ ีบแก้ไข อ่านไปสงั เกตตวั เองไป
ตรวจตราดูตัวเองไป แก้ไขตัวเองไปเร่อื ยๆ เป็นคนดไี ด้ ไม่ไดด้ เี ฉยๆ ไม่ได้ชัว่ เฉยๆ นะ มเี หตุมี
ผลทค่ี วรจะดจี ะช่ัว ถา้ ทำ�ตัวให้ดกี ็เปน็ คนดี ท�ำ ตวั ใหช้ ั่วก็เปน็ คนเลวไปเลย ไมใ่ ช่อย่ๆู ก็ดี อยๆู่
กช็ ่ัว มเี หตุมผี ลควรดี ควรช่ัว....”

โดย ท่านอาจารย์พระมหาบัว ญาณสมั ปันโน

คุณค่าของหนงั สอื ธรรมะ

นำ้�ใจเป็นของสำ�คญั มากกว่าสิง่ ใดๆ เป็นของทีม่ ีคุณคา่ มาก เราหมายนำ�้ ใจคนมาเกี่ยวขอ้ งกบั เรา

เราไม่หมายถงึ สิ่งอะไรเร่อื งโลกามิส คดิ ดซู หิ นงั สือเราเขยี นทกุ เลม่ เราเคยจำ�หนา่ ยทไ่ี หน กเ็ พอ่ื
น้�ำ ใจ เขามาซื้อลิขสทิ ธ์ิเราไปพิมพจ์ ำ�หน่ายขายเป็นแสนๆ เปน็ ล้านๆ เราไม่เหน็ คุณคา่ ของเงิน
ล้านย่งิ กวา่ หวั ใจคน
ขอเดนิ แบบปา่ ๆ ยังงเ้ี ถอะเราวา่ ง้ี เรากเ็ ดินของเราเรื่อยมาอยา่ งน้ี ไม่สนใจกับสิ่งนนั้
หากวา่ เขาซือ้ ลขิ สิทธิ์ของเราไปแลว้ โดยท่ีเราเหน็ แก่เงนิ แก่ทองแล้ว เขาไปขายเล่มหน่ึงสกั เทา่ ไหร่
ขายจนกระทั่งถึงลกู ถึงเตา้ หลานเหลนถงึ ไหน เขาก็เป็นกรรมสทิ ธติ์ ลอดไป เงนิ สักก่ีลา้ นแตล่ ะ
เลม่ ๆน่ันแหละ เขาหวังเงนิ ล้านในหนังสือแตล่ ะเล่มๆ หวั ใจเรามันไมม่ ี ของเราท�ำ ไมไม่ขาย
มันก็ออกจากหัวใจ ความรู้สกึ ต่างกัน การแสดงออกก็ตอ้ งต่างกนั เราท�ำ ไม่ไดอ้ ยา่ งน้ัน เราถอื
หวั ใจสำ�คัญ

(หลกั ใจ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๒๑)

ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ กันตสโี ล

โอวาทธรรม
ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล

ความเกี่ยวเนอ่ื งแหง่ มรรคและผล
เมื่อไม่มีสมาธิ ไมม่ ีฌาน ไมม่ ฌี าน ไมม่ ีวิปัสสนา

การกำ�หนดหมายสิ่งปฏิกูลนา่ เกลียด หรอื ก�ำ หนดหมายรู้โครงกระดกู
แลว้ ก็ก�ำ หนดหมายรู้ ธาตุ ๔ ดนิ น้�ำ ลม ไฟ เป็นสมถกรรมฐาน
สว่ นความรู้ทว่ี า่ สตั ว์ บคุ คล ตัวตน เรา เขามีทีไ่ หน เป็นวปิ ัสสนากรรมฐาน
เพราะฉะนนั้ ท่านนักปฏบิ ตั ทิ งั้ หลาย สมถกรรมฐาน วปิ ัสสนากรรมฐาน

เป็นคณุ ธรรมอาศยั ซงึ่ กันและกัน
เมอ่ื ไม่มสี มาธิ ไมม่ ีฌาน
ไมม่ ีฌาน ไม่มีวิปสั สนา

เมื่อไม่มวี ิปัสสนา ก็ไม่มวี ิชชา ความร้แู จ้งเหน็ จรงิ
เมือ่ ไม่รแู้ จง้ เห็นจรงิ จติ ไมป่ ล่อยวาง กไ็ ม่เกิดวิมตุ ติความหลดุ พ้น

สายสัมพนั ธ์มนั กไ็ ปกันอย่างน้ัน

บันทกึ ตามคำ�บอกเล่าของทา่ นเจ้าคณุ พระราชสังวรญาณ (หลวงพอ่ พุธ ฐานโิ ย)

ทา่ นพระอาจารยม์ ั่น ภรู ทิ ัตตเถระ

โอวาทธรรม
ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภูรทิ ัตตเถระ

บาปอยู่ที่ไหน บุญอย่ทู ไ่ี หน
ธรรมอยทู่ ีไ่ หน กิเลสอย่ทู ไี่ หน
ดินเปน็ ดิน นำ้�เปน็ น้ำ� ลมเป็นลม

ไฟเป็นไฟ ท้องฟา้ อากาศ
โลกธาตเุ ป็นโลกธาตุ

ไมใ่ ชบ่ าปใชบ่ ุญ ไม่ใช่นรกสวรรค์
ไมใ่ ช่กิเลสตัณหา ไมใ่ ช่อรรถใช่ธรรม
ตวั บาปตัวบุญจรงิ ๆ รวมอยู่ท่ใี จเป็นผกู้ ่อเหตุ
กิเลสอยทู่ ่ใี จ มรรคผลนพิ พานอยูท่ ใี่ จ

ใหท้ า่ นขดุ ค้นลงทนี่ ่ี สงิ่ เหลา่ น้ัน
เปน็ สภาพตา่ งๆ ของเขา

เขาไมไ่ ดม้ คี วามสุข ความทกุ ข์ เหมือนใจดวงนี้
ใจดวงนี้มคี วามสขุ เพราะมีธรรมครองใจ

ใจดวงนี้มีความทกุ ข์ เพราะมกี เิ ลสบบี บอ้ี ยู่ท่ีภายในใจ
จงชำ�ระจิตใจดวงนี้ด้วยจิตภาวนา

เอาใหเ้ นน้ หนักเตม็ ท่ีเตม็ ฐานอย่าออ่ นขอ้
ทา่ นจะเหน็ มรรคผลนิพพานขน้ึ ทใ่ี จของทา่ นเอง

โดยไมต่ อ้ งไปถามใครเลย

บนั ทกึ โดยทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสัมปนั โน

ทา่ นพระอาจารยม์ หาบวั ญาณสมั ปนั โน

โอวาทธรรม
ทา่ นพระอาจารยม์ หาบวั ญาณสมั ปนั โน

ตามธรรมดาแล้วกิเลสทุกประการตอ้ งฝนื ธรรมดาดง้ั เดิม
คนทค่ี ล้อยตามมันจงึ เปน็ ผู้ลืมธรรมไมอ่ ยากเชื่อฟงั และท�ำ ตาม

โดยเหน็ ว่าลำ�บากและเสียเวลาทำ�ในสงิ่ ท่ตี นชอบ
ทัง้ ทีส่ ่ิงนั้นใหโ้ ทษ

ประเพณขี องนักปราชญ์ผฉู้ ลาดมองเหน็ การณ์ไกล
ย่อมไมห่ ดตัวม่ัวสุมอยเู่ ปลา่ ๆ

เหมือนเตา่ ถกู น�ำ้ รอ้ นไม่มที างออก
ต้องยอมตายในหม้อท่กี ำ�ลงั เดือดพล่าน
โลกเดอื ดพลา่ นอยู่ดว้ ยกเิ ลสตัณหาความแผดเผา
ไมม่ ีกาลสถานท่ที พี่ อจะปลงวางลงได้
จ�ำ ตอ้ งยอมทนทุกขท์ รมานไปตามๆ กัน
โดยไมน่ ิยมสัตว์น้ำ� สตั วบ์ ก สตั ว์อยบู่ นอากาศและใตด้ ิน

เพราะส่งิ แผดเผาเรา่ ร้อนอย่กู ับใจ
ความทกุ ข์จึงอยูท่ ่ีน้ัน

ดินแดนอรยิ ธรรม

ณ วัดป่าบ้านตาด ต�ำ บลบา้ นตาด อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
ภายในขอบเขตแห่งขัณฑสมี าอาราม ทีม่ ชี ่อื อย่างเป็นทางการวา่ “เกษรศีลคุณ”
ถกู สร้างข้นึ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ด้วยเหตเุ พ่ือโปรดและสนองคุณมารดาผูใ้ ห้กำ�เนิด

ในยามดวงอาทิตยอ์ ุทยั ...ภาพแห่งพระมหาเถระผ้เู ฒ่า ผสู้ งู อายุกา้ วผา่ นปนู ปลายปัจฉิมวยั รปู หนง่ึ
ซึ่งทุกคนเรียกติดปากวา่ ”หลวงตามหาบวั ” เดินดุ่มเพอ่ื จารกิ บณิ ฑบาตโปรดเวไนยนิกรเพยี งล�ำ พงั

มีผู้รอถวายอาหารเป็นแหง่ ๆ เป็นภาพท่คี ้นุ ตาของประชาชนท่ีเลื่อมใสอย่เู สมอ
เพราะนีค่ ือ ทสั สนานุตตรยิ ะ....

การเหน็ อย่างยอดเย่ียม หมู่พระภิกษุครองผ้ากาสายะ ๒ ช้ัน สหี มองคล้�ำ
เดนิ สำ�รวมเพอ่ื จาริกบิณฑบาตอย่างรวดเร็วเปน็ ทิวแถว มีความมงุ่ มน่ั เดนิ ตามรอยแหง่ พ่อแมค่ รู

อาจารย์ เสียงเทศนาธรรมในตอนเชา้ ...กล่อมเกลาจิตประชาชน...วนั แลว้ วนั เลา่ ...มิไดข้ าด
เสยี งเจ้ือยแจว้ ของไก่ นก และสตั วอ์ ่ืน ๆ มีใหไ้ ด้ยินอยตู่ ลอดเวลา ท่ามกลางธรรมชาตทิ ีร่ ่มเย็น

ทุกชีวติ ตา่ งมาพ่งึ ใบบญุ ของหลวงตา องค์ทา่ นไมไ่ ดใ้ ห้เฉพาะภายในวัดนเี้ ท่านัน้
หากยงั เผ่ือแผเ่ มตตาไปทุกหย่อมหญ้าท่ีเดือดร้อน ไมว่ า่ จะเป็นโรงพยาบาล โรงเรียน

สถานทเ่ี ล้ียงเดก็ ก�ำ พร้า ฯลฯ หลวงตาใหค้ วามอนเุ คราะหท์ ้ังน้ันฯ

สารบญั

บรรพชติ

พระธรรมเทศนา บรรพชติ

กัณฑท์ ่ี ๑ สมบัตขิ องมีคา่ ในพระศาสนา วัดปา่ บ้านตาด อุดรธาน ี (๒๒ กรกฎาคม ๒๕๐๕) ๒๓๑
๒๔๔
กณั ฑ์ท่ี ๒ ศีล สมาธิ ปัญญา-อิทธบิ าทส่ ี วดั ปา่ บา้ นตาด อุดรธานี (๓๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕) ๒๕๘
๒๖๙
กณั ฑท์ ่ี ๓ ความสงดั -ความเพยี ร วดั ปา่ บ้านตาด อุดรธานี (๑๐ สิงหาคม ๒๕๐๕) ๒๘๑
๒๙๖
กัณฑท์ ี่ ๔ หลกั ใจกบั สติและปญั ญา วัดป่าบา้ นตาด อุดรธานี (๒๐ สิงหาคม ๒๕๐๕) ๓๐๙
๓๒๓
กัณฑ์ท่ี ๕ สติปัฏฐานสี่ วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี (๒๕ สิงหาคม ๒๕๐๕) ๓๓๘
๓๕๓
กัณฑ์ที่ ๖ ครอู าจารย์ของนกั ปฏบิ ตั ิ วัดปา่ บา้ นตาด อดุ รธานี (๒ กันยายน ๒๕๐๕) ๓๖๗
๓๘๐
กัณฑ์ท่ี ๗ ข่าวของพระพุทธเจา้ และสาวก วดั ปา่ บ้านตาด อุดรธานี (๔ กนั ยายน ๒๕๐๕) ๓๙๑
๔๐๐
กณั ฑท์ ่ี ๘ ทรพั ยภ์ ายใน-ทรพั ยภ์ ายนอก วดั ปา่ บา้ นตาด อุดรธานี (๑๐ กนั ยายน ๒๕๐๕) ๔๑๒
๔๒๓
กณั ฑ์ที่ ๙ มัชฌิมาปฏปิ ทา วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี (๑๘ กนั ยายน ๒๕๐๕) ๔๓๓
๔๔๒
กัณฑ์ท่ี ๑๐ หลักแหง่ การปฏบิ ตั ิธรรม วดั ปา่ บา้ นตาด อตุ รธานี (๒๑ กนั ยายน ๒๕๐๕) ๔๕๓
๔๖๔
กณั ฑ์ท่ี ๑๑ มิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ วดั ปา่ บา้ นตาด อดุ รธานี (๓o กนั ยายน ๒๕๐๕) ๔๗๓

กณั ฑท์ ่ี ๑๒ สติปฏั ฐานส่ี วดั ป่าบ้านตาด อดุ รธานี (๑๒ ตลุ าคม ๒๕๐๕)

กัณฑท์ ่ี ๑๓ อรยิ สจั สี่ วัดปา่ บา้ นตาด อุดรธานี (๒๘ ตลุ าคม ๒๕๐๕)

กณั ฑท์ ่ี ๑๔ บว่ งแห่งวฏั ฏทุกข์ วัดป่าบ้านตาด อดุ รธาน ี (๘ กันยายน ๒๕๐๖)

กัณฑท์ ี่ ๑๕ กรรมดี กรรมชัว่ วดั ป่าบ้านตาด อดุ รธานี (๒๕ ธนั วาคม ๒๕๐๖)

กัณฑท์ ่ี ๑๖ ความเพยี รของนกั ปฏิบตั ิ วัดปา่ บ้านตาด อุดรธานี (๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๖)

กัณฑท์ ่ี ๑๗ ตนเป็นทีพ่ งึ่ แหง่ ตน วัดปา่ บา้ นตาด อุดรธานี (๒๑ มกราคม ๒๕๐๘)

กัณฑ์ที่ ๑๘ ครูอาจารยเ์ ป็นหลกั ยดึ วัดปา่ บา้ นตาด อุดรธานี (๒๒ มกราคม ๒๕๐๘)

กณั ฑ์ท่ี ๑๙ อัฐขิ องพระอรหันต์ วัดป่าบา้ นตาด อุดรธานี (๑๘ มนี าคม ๒๕๐๘)

กัณฑ์ท่ี ๒๐ พระธรรมวนิ ัย-อวิชชา วัดป่าบา้ นตาด อุดรธานี (๓ กรกฎาคม ๒๕๐๘)

กัณฑ์ท่ี ๒๑ ศิษย์พระตถาคต วดั ป่าบา้ นตาด อดุ รธานี (๒๙ กรกฎาคม ๒๕๐๘)

อธภบรารรมคมเบทศร๒นราพชติ

กัณฑ์ที่ ๑ ๑๙๗

สเทมเศทบนศัตนออ์ขิบบรอรมงมพพมรีคะา่ ณณในววดัพดั ปรา่ ะบา้ศา นนาตตสาาดดนา

เมอ่ืเมวอื่ นั วทันี่ท๒ี่ ๒๒กรกกรกฎฏาาคคมม พพุททุ ธศกักรราาชช ๒๒๕๕๐๐๕๕

สมบตั มิ ีคา ในพระศาสนา

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ
วสิ งฺขารคตํ จิตตฺ ํ ตณหฺ าณํ ขยมชฺฌคาติฯ
เราบวชมาในพระศาสนา จะออกมาจากตระกูลใดกต็ าม พงึ ทราบวาเขา มาสูตระกูล
ท่เี รียกวา ศากยตระกลู คือตระกูลแหงกษัตรยิ  เพราะองคสมเดจ็ พระผมู พี ระภาคเจา ทาน
เสดจ็ ออกจากศากยตระกลู ทรงสละราชสมบตั ทิ กุ ๆ ช้นิ แมทสี่ ุดคูพระบารมี คอื พระชายา
และพระโอรสซึง่ เปน เสมอื นดวงหทยั ของพระองคก ท็ รงสละไดทัง้ สิน้ เพอ่ื พระอนตุ รสัมมา
สมั โพธญิ าณ การท่ีองคสมเด็จพระผมู พี ระภาคเจา ไดเ สด็จออกตงั้ แตเ บอื้ งตน จนถงึ ความ
เปนพระพุทธเจานนั้ ในระยะทางที่พระองคผานไป ลว นแลวแตอปุ สรรคทจี่ ะทรงฝาฝน ทกุ
ๆ กรณี ทางเดินแหงองคสมเด็จพระผมู ีพระภาคเจา ทกุ ๆ พระองค เดินไปดว ยความยาก
ลาํ บาก ผไู มมคี วามพากเพยี รจริง ๆ แลวไมสามารถจะรอดพน บว งแหง มารไปได
บรรดาเราทัง้ หลายซึ่งเปนศิษยข องพระพทุ ธเจา จงพจิ ารณาวา พระองคไ ดดําเนนิ ไป
อยา งใด จงเปนผมู จี ติ ใจมงุ หวังอยางมนั่ คง เพื่อกา วไปตามรอยพระบาทแหงพระองค คํา
วา สปุ ฏปิ นฺโน อุชุปฏิปนฺโน ญายปฏิปนฺโน สามีจิปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ลว นแลว
แตพระองคทรงวางรอ งรอยไวเ พือ่ ใหบ รรดาสาวกทงั้ หลายเดนิ ตาม จงึ จะสมชอ่ื สมนามวา
สาวกสงโฺ ฆ คือเปนสาวกขององคส มเด็จพระผมู ีพระภาคเจา จริงๆ คาํ วา สาวกแปลวา ผู
สดบั สดับท้ังทางตา สดับท้งั ทางหู คดิ ท้งั ทางใจ วนั หนง่ึ ๆ ไมน ง่ิ นอนในความคิดท่จี ะคน
หาเหตผุ ลเพ่อื ระวงั สาํ รวมตน ใหเ ปน ไปเพื่อความเปน ผูมีศลี บรสิ ุทธิ์ มีสมาธเิ พอื่ ความสงบ
แนว แนเปน ลาํ ดบั ไป เพอ่ื ปญ ญาหาความรคู วามฉลาดใสต น ไมเ ปนเชนนนั้ จะเรียกวา สาวก
ของพระผมู พี ระภาคเจา ไมไ ด
บดั นีก้ จิ การงานของเราท้งั หลายไดละแลว ตงั้ แตวนั อปุ สมบทเขามาในพระศาสนา
กิจการบานเรือนซ่ึงฆราวาสเขาจัดทําอยปู ระจําวนั เราไดล ะมาเสยี ทกุ ประการ ไมไดม ีความ
เกี่ยวขอ งกงั วลกับกิจการทัง้ หลายเหลา นัน้ มีหนา ที่จะตอ งปฏิบัติตนใหเปน สปุ ฏปิ นฺโน
เปนผปู ฏิบตั ดิ ดี วยกาย ปฏบิ ัตดิ ดี ว ยวาจา ปฏบิ ัตดิ ีดว ยใจ อุชุปฏิปนฺโน เปนผตู รงตอทาง
ตรสั รู ท้งั ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ญาย เปน ผมู ุงประสงคเ พ่อื ความตรสั รซู งึ่ เญยธรรม

แวน ดวงใจ กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๑ : -ส๑ม๒๙บ๓๗ัต๑ขิ อ-งมคี ่าในพระศาสนา

แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๓๒๒ -อบรมบรรพชติ

๑๙๙

เวลานี้เราเปนนกั บวชและเปน ลูกศษิ ยพ ระตถาคต พระตถาคตเปน ผูม คี วามองอาจ
กลา หาญตอ เหตุการณทุกอยาง ท้ังท่เี ปน ฝา ยชัว่ และฝา ยดี เปน ผมู คี วามขยนั หม่ันเพยี ร
เปนผูอดทนตอความลําบากตรากตรําทกุ ๆ อยาง ซึ่งจะมาเผชิญหนา พระองค ไมเ ปน ผู
เกยี จครา น ไมเปน ผนู อนต่นื สาย ไมเ ปน ผเู หน็ แกตวั เหน็ แกความพนทกุ ขอยูตลอดเวลา น่ี
เปนหลักที่จะเปนพระพทุ ธเจา ทานเปนผูทรงไวซ ่ึงหลักธรรม เราจะเปน ผูรูผูฉลาดและตาม
รองรอยแหงพระองคไ ด กต็ อ งเปนผูทรงไวซงึ่ ธรรมเหลา นีเ้ หมอื นกัน ไมใ ชจ ะทรงไวซงึ่
ความเกยี จคราน ความเห็นแกป ากแกทอ ง ความมักงา ย ความนอนต่ืนสาย ความเห็นแก
ตวั โดยถา ยเดยี ว น้ไี มใ ชหลักธรรมทีจ่ ะเปนไปเพอื่ ความพน ทุกข ใหเ ราท้ังหลายพึงทราบไว
อยา งนี้

การพจิ ารณาใครกาํ หนดเรอ่ื งอะไร เคยพจิ ารณาเร่ืองอะไร ตงั้ ใจพจิ ารณาใหเห็นชัด
ในสวนแหง ธรรมท่ตี นพจิ ารณาหรือกาํ หนดเอาไวน ั้น อยา เปนคนไมมีหลกั หรือเปนคน
ลอยลม หาหลักฐานยดึ เหน่ยี วไมได สติตั้งลงท่ตี รงไหนยอ มเปน ธรรมขนึ้ มาที่ตรงนั้น ถา
ไมมีสติ ยอมไมเปน ธรรมทงั้ วนั ท้ังคืน สติเปน ของสําคัญสาํ หรับความเพียร ใหพ งึ ทราบเอา
ไว ใจจะปลอ ยใหมีความสงบโดยลาํ พงั ตนเอง ตลอดวันตายจะไมป รากฏผลใหเราท้งั หลาย
ไดร บั ตามธรรมดาของใจยอ มมีเครอื่ งหุมหอ อยูเ สมอ เครอื่ งหุมหอของใจนั้นทานใหชือ่ วา
กเิ ลส ไมใชเกดิ มาจากทไี่ หน นอกจากจะเกดิ ข้ึนจากใจของตนเองเทา น้ัน และการฝก ฝน
ทรมานทจี่ ะทําตัวเราใหเ ปนไปเพอ่ื ความสงบ หรอื หมดพยศจากส่ิงท้ังหลายเหลานี้ ก็ตอง
อาศยั เปนผูมคี วามพากเพียร

พยายามดูจติ ใจของตนเสมอ ถา สว นใดเปน ทางชวั่ ตอ งฝน ใจละ จนกระทง่ั ละได
เปนลําดบั ถงึ กับละขาดไมม อี ันใดเหลอื สง่ิ รบกวนเหลานน้ั จะไมมารังควานจติ ใจไดอ ีกตอ
ไป เมื่อเราละไดเด็ดขาดแลว การทาํ ตวั ของเราจะใหพ นจากอปุ สรรค ตองมีการฝนบา งเปน
ธรรมดา ไมวาพระพุทธเจา ไมว า สาวก หรอื ไมวาครบู าอาจารยองคใด ๆ ทท่ี า นปรากฏชื่อ
ลือนามมา ลว นเปนผูฝาฝนอปุ สรรคมาดวยกันทงั้ น้นั ทุกขเรากท็ ราบแลว วา เปน อรยิ สจั ถา
เราไมพจิ ารณาใหเ หน็ ทุกขแ ลว เราจะหลกี เวน จากทุกขไ ปไดท่ไี หน สมทุ ัย เปนแดนเกดิ
แหงทกุ ข เกดิ ขนึ้ ท่ไี หนกเ็ กดิ ข้นึ ท่ีความปรุงของใจ ความปรุงของใจนโ้ี ดยมากถา ไมไ ดร ับ
การอบรมแลวตองปรงุ ไปในทางท่ชี ว่ั เสมอ ในทางท่ีจะสั่งสมกิเลสใหมีหรอื ใหม ากข้ึนภาย
ในใจ เพราะฉะน้นั อุบายวธิ กี ําหนดจิตใจ ซง่ึ เรยี กวา ภาวนาน้ี จึงเปนแนวทางท่จี ะแกส ่ิงทง้ั
หลายที่เปน เครอ่ื งกดถวงจติ ใจของตนใหค อยหมดไปเปนลาํ ดับ

แวน ดวงใจ ๑๙๙

กัณฑ์เทศน์ท่ี ๑ : -สม๒บ๓ตั ๓ิขอ-งมีค่าในพระศาสนา

๒๐๐

ใจเม่ือไมส งบยงั จะไมเหน็ คณุ แหง พระศาสนา แมต ัวเราเองก็ไมเ ห็นวามีคุณคาแต
อยา งใด ตอ เมือ่ เราไดฝกฝนทรมานจติ ใจใหเ ปนไปเพือ่ ความสงบแลว น่ันแหละจึงจะเหน็
วาธรรมเปน ของมคี ุณคา พระศาสนาเปน ของประเสรฐิ แมต ัวเราเองก็รสู กึ วา จะเริ่มเปน ผมู ี
คุณคา ขึ้นมา ฉะน้นั การพจิ ารณาจติ ใจเปนของสําคญั หนาท่ที ่ีเราจะละถอนสงิ่ ทเี่ ราไดส่ังสม
ไวน ้ี เปนกจิ สําคญั ย่งิ กวากิจการใด ๆ ความเพยี รก็เชน เดยี วกัน เพียรพยายามจนเหน็ เหตุ
ผลในสิง่ ทีพ่ ัวพันจิตใจของตน กําหนดดูใหชดั ตาเหน็ รูปจะตองเกิดความรสู กึ ข้ึนภายในใจ
หูฟงเสยี งก็เชน เดยี วกนั แลวคลีค่ ลายดูส่งิ ทัง้ หลายเหลานน้ั ใหเห็นชดั ประจกั ษดว ยปญญา
ของเรา จติ ใจเม่อื ไดเ หน็ สิ่งใดดวยปญ ญาแลว จะยึดถอื หรือมั่นหมายส่ิงนน้ั ๆ ตอไปอีกไม
ได จะปลอยวางสิง่ เหลา นน้ั ทนั ที นี่การปลอ ยวางตอ งปลอยวางดวยสตกิ ับปญ ญา ถาไมมี
สตกิ บั ปญ ญาเปน เครื่องรกั ษาเปน เครอ่ื งแกไขแลว ไซร ใจจะไมมวี นั พนทุกขไ ปได

เกดิ มาชาติน้ีเราก็มีทุกขข นาดท่เี รารูอยูดวยใจของเรา เฉพาะวนั น้กี ร็ ูอยเู ทา น้ี วนั
หนา ก็ตอ งเปนเชน นี้ ชาตนิ ้กี ็ตอ งเปนอยอู ยา งนี้ ชาติหนาไมตองสงสยั วาใครจะเปน ผทู กุ ข
พึงทราบวา ใครเปน ผูสงั่ สมกองทุกข หรอื เหตใุ หเ กิดทกุ ขเ อาไว ผนู ั้นแลเปน ผูจ ะไดเ สวย
ทุกขใ นวนั น้ี วนั หนา ในชาตินชี้ าตหิ นา เปนผูจะเวียนวา ยตายเกดิ ในวัฏสงสาร รบั ความ
ทุกขความทรมานอยไู มรกู ก่ี ปั กี่กลั ป เปน หนทางท่ียดื ยาวมาก จนไมม ีใครสามารถจะนบั
อานไดว า ทางจากตนทาง คอื ความเกิดเบอ้ื งตนนี้ ถึงปลายทางคอื วิมตุ ตพิ ระนพิ พานนั้น
เปนระยะทางสกั ก่ีเสน สกั ก่ีไมล ไมม ใี ครสามารถท่ีจะวดั ได เพราะธรรมชาติอนั นเี้ ปนธรรม
ชาติของวัฏฏะ คือหมนุ รอบตัวอยูตลอดเวลา เราจะวดั ใหเ ปน เสน เปนไมล เปน กิโลเมตร
ไมได

แตก ารพจิ ารณากต็ องพจิ ารณาตามลกั ษณะของวัฏฏะทีห่ มุนอยูร อบตวั น้ี ถาใคร
พจิ ารณาวฏั ฏะซ่งึ หมุนรอบตวั อันเกดิ กับใจนอ้ี ยเู สมอแลว ผูนน้ั แลจะเปน ผแู กไ ขวฏั ฏะคือ
ตวั หมุนอนั นอี้ อกจากใจได จะถงึ แดนแหง ความพนทุกขท ที่ านเรียกวาพระนพิ พานขึ้นทใ่ี จ
ดวงนีเ้ อง หลักสําคญั มอี ยทู น่ี ี่ ขอใหพ ากันตง้ั อกตั้งใจพินจิ พจิ ารณา อยา เหน็ แกค วามทอ
แทอ อนแอ สตเิ มือ่ ตงั้ ไวก ับอาการอันใด อาการอันนนั้ จะเปน ธรรมอบรมจติ ใจ หรือเปน
เคร่อื งเยยี วยาจติ ใจของเราใหเปน ไปเพือ่ ความสงบเสมอ ปญญากเ็ ชน เดียวกนั เมื่อกาํ หนด
ลงในสภาวธรรมอนั ใดเราจะตอ งรูอบุ ายตา ง ๆ จากสภาวธรรมน้นั ๆ เปน ลาํ ดบั ไป เพราะ
ฉะนนั้ สติกบั ปญญาจึงเปนธรรมจาํ เปนในพระศาสนา

การทาํ ความพากเพยี รไมเหน็ ปรากฏในจติ ใจวา เปนไปเพือ่ ความสงบน้ี ข้นึ อยูก บั
ความเปนผมู ีจติ ลอย เดนิ กเ็ ดนิ ไปอยา งนั้น น่ัง ยนื นอน ก็ไมม คี วามจําเพาะเจาะจงกับสติ

แวนดวงใจ ๒๐๐

แวน่ ดวงใจ : -ภา๒ค๓๔๒ -อบรมบรรพชิต

๒๐๑

และปญญา ความสงบของใจจงึ เปน ไปไมไ ด เพราะการปลอยจิตใหเ ปนไปตามอารมณน น้ั
ๆ เราระบายหรอื ปลอยไปอยูต ลอดเวลา ไมเคยยบั ย้ัง หรือหวงหา มบงั คับจติ ใจของตนให
เขาสกู รอบแหง สติและปญ ญา ถาเราบงั คับจิตใจใหอยใู นธรรมบทใดบทหนึ่ง หรอื ใน
อาการแหง กายทงั้ หมดจะเปน อาการใดก็ตามดว ยสติ และลา มดวยปญญาใหเ ทยี่ วอยใู น
สรรพางครา งกายอันนี้ ชวงสน้ั ยาวก็ขึ้นอยูกับปญญาของเราท่จี ะพิจารณาไดล กึ ต้นื หยาบ
ละเอยี ดแคไหน ถาเราพจิ ารณาอยเู ชนนไ้ี มนานจะเปนไปเพื่อความสงบ จะเปน ไปเพอ่ื
ความผอ งใส เปน ไปเพื่ออบุ ายแยบคายเปน ลาํ ดบั

นเ้ี ปนเพราะเหตุใด ปฏิบัติมาเปน เวลานานจงึ ไมเหน็ ความรคู วามวเิ ศษขึ้นภายในใจ
ใหเราทัง้ หลายทราบในวันนี้วา สตกิ ับปญ ญาของเราไมต้งั ใจ โดยเจตจาํ นงจริง ๆ ตัง้ ไวชว่ั
วนิ าทหี นึง่ แลว ใหส ูญหายไปเสยี เปน เวลาต้ังชวั่ โมง เม่อื เปน เชนนัน้ รายจา ยกับรายรบั ไม
เพียงพอกัน รายจา ยมากกวา รายรบั พงึ ทราบวา คนนั้นจะตองลมจม การปลอ ยจิตใจให
เปนไปตามอาํ นาจของวฏั ฏะมีมาก การรักษาจิตใจของเราไวดวยสติกับปญญาใหเ ปน ไป
ตามทางววิ ัฏฏะนัน้ มจี ํานวนนอยกวา การปลอยจิตใจใหเปนไปตามกระแสของวฏั ฏะ
เพราะฉะนน้ั ใจของเราจงึ ไมเปน ไปเพือ่ ความสงบ ไมเปนไปเพอื่ ความฉลาด ใหท ราบกันไว
เดี๋ยวน้ี ไมเชนน้นั จะเกิดความเหลวไหลตอ ไปอกี

วนั หนึ่งคนื หนง่ึ เราไมต องยงุ กบั เรอื่ งอะไรทั้งนัน้ ใหด ูหนา ท่ีของตน ดูความเคลอื่ น
ไหวของตนเอง เรือ่ งของครูบาอาจารยหรือหมูเพอ่ื น ไมตองถอื วาเปน ภาระทเ่ี ราจะตอง
เกรงกลัว หรอื จะตองกลาหาญหรือจะรบั อารมณอ ันใดจากทาน ผดิ อยา งใดทา นตอ งสอน
อยางน้นั แนะนําในทางถกู และบอกในทางผดิ เสมอไป จงต้งั หนา ดูตามเร่ืองทที่ า นสอนไว
เทา นนั้ อยามาถอื เปน อารมณ อารมณสําคัญทีส่ ุดใหด คู วามเคลอ่ื นไหวของใจ ซ่งึ เปน ตัว
อารมณอ ยตู ลอดเวลา ไมเ ชนน้ันจะเปนไปเพอ่ื ความสงบไมได แลวเสยี ไปวนั หนึ่ง ๆ หลาย
วนั ตอ หลายวันกก็ ลายเปน หลายเดือนขึ้นมา หลายเดือนตอหลายเดือนกก็ ลายเปน หลายป
ขึ้นมา ชีวติ จิตใจนับวนั จะสั้นเขา ทกุ วัน ผลประโยชนจะพงึ ไดจากคณุ งามความดีกม็ เี พียง
นิดหน่ึงเทา นั้น ไมสมกับเราเปน ลกู ของพระตถาคตปรากฏตัวในวงของพระศาสนา

หลักความจรงิ มอี ยูในกายในจติ เราก็กาํ หนดสติกบั ปญญาลงในหลกั แหง กายและ
จติ น้ี ทาํ ไมจะรูไมไ ด กายกับจิตเปน ธรรมท่รี ับรอง หรอื เปน ธรรมท่ีควรแกส ตปิ ญญาอยู
แลว แตกาลไหนๆ พระพุทธเจาพิจารณาดกู ายทกุ ช้ิน ท้งั ทเ่ี ปนสว นทุกข ทง้ั ทีเ่ ปนสวน
อนจิ จัง ทั้งทเี่ ปนสวนอนัตตา เหตใุ ดจงึ มคี วามเฉลยี วฉลาดรแู จงดว ยปญ ญาในสิง่ ทงั้ หลาย

แวนดวงใจ ๒๐๑

กณั ฑ์เทศน์ท่ี ๑ : -สม๒บ๓ตั ๕ขิ อ-งมีคา่ ในพระศาสนา

๒๐๒

ไดเลา กายพระพทุ ธเจากับกายของเราไมม ีความแตกตางกนั แตอ ยา งใด สตกิ บั ปญ ญาของ
พระพทุ ธเจา ก็คือความฉลาดอนั เดยี วกัน มีแตว ากวางแคบหรือลกึ ตน้ื ตางกนั เทา น้นั

เหตุใดพระพทุ ธเจานําสตปิ ญ ญามาคน ควา ในกายน้ี และรแู จง เห็นจรงิ ในสภาว
ธรรมทงั้ หลายเหลา น้ีได สวนพวกเราทง้ั หลาย สภาวธรรมคอื กายและจติ นม้ี อี ยแู ลว โดย
สมบูรณด วยกัน เหตใุ ดจึงไมปรากฏผลขนึ้ จาํ เพาะตน เรอ่ื งของทุกขจะเปน ทกุ ขทางกายก็
ตาม ทุกขทางใจก็ตาม ประกาศอยแู ลว ทุกขณะ ซ่ึงผูมสี ติกับปญญาจะตอ งสะเทอื นอยเู สมอ
ในความทกุ ขท่มี าสมั ผสั ระหวา งจิตกบั ความทกุ ข และกบั สตแิ ละปญญาซึ่งเปนของมอี ยูใน
สภาพอนั เดยี วกนั เหตใุ ดจงึ ไมสามารถรไู ดในส่งิ ท่มี ี และไมล ล้ี ับแตอ ยา งใดดว ย ทุกขจะ
เกดิ จากอวัยวะแหงใดก็ตาม จะลลี้ บั ไปจากจิตผรู บั รูไมได จะเกดิ ข้ึนภายในจิตกจ็ ะลล้ี บั ไป
จากจติ ผรู บั ผนู ั้นไปอกี ไมไ ดเหมือนกนั

ถา เรามสี ตคิ อยกาํ หนดดูเรอ่ื งของทกุ ขใ หช ัดเจน ไตรตรองดดู ว ยปญญาใหเห็นชดั
วา ทุกขน้เี กดิ ขน้ึ เพราะเหตใุ ด และเกดิ ขนึ้ มาไดอ ยา งไร ทุกขน ีเ้ ปน เราหรอื เราเปน ทกุ ข
หรอื อวยั วะสวนใดสว นหนงึ่ ในกายนเี้ ปนทุกข หรือวา ทัง้ หมดเปนทุกข หรอื ใครเปน ผูห ลง
ตามทกุ ขน ี้เลา ถาเราใชปญ ญาอยเู ชน นี้ เรอ่ื งความแยบคายอนั จะเกิดข้นึ จากใจหรอื จาก
ปญ ญาของเรา จะเปนไปไมไ ดอยางไรเลา นก่ี เ็ พราะความลอยลมของใจนน้ั เอง ไมต ั้งเปน
หลักเปน ฐาน มีความกลวั ตอเร่อื งของทุกข จงึ ไมสามารถจะรแู จง เหน็ ทุกข แลว ควา เอาสขุ
ข้ึนมาเปน สมบัติของใจได ทุกขจะเกิดมากเกดิ นอย จะต้ังอยหู รอื ดับไป ใหพ งึ ทราบวา ทกุ ข
ก็คือทุกขน่นั เอง ผูท ร่ี วู าส่ิงเหลานเี้ ปน ทุกข และผทู พ่ี ิจารณาสงิ่ เหลา นี้ใหเ หน็ จริงตามความ
เปนจริงของทกุ ข ก็คอื เรื่องของใจกับปญ ญานน่ั เอง

ทําความเพียรมากว่ี ัน กี่ป กี่เดือน ยงั ไมเ ห็นปรากฏผล เหมอื นทกุ ขซ ึ่งเปนของจริง
ไปเทย่ี วลล้ี บั อยูตามถ้ําตามเหว ไมไ ดอ ยภู ายในกายในจติ ของเราเลย ปลาน้ันมีจรงิ ในน้ํา
สมบัติมีจรงิ ในแผน ดนิ แตท ่เี ราไมไดปลาหรือสมบัติมาเปน ของเรา ขอนีข้ นึ้ อยกู บั เรา
สมบัติในพระศาสนาเรม่ิ ตนแต ศลี สมบัติ สมาธสิ มบัติ ปญญาสมบัติ วิมุตติสมบัติ และ
วมิ ุตติญาณทสั สนสมบัติ สมบัติเหลา นข้ี ้นึ อยูกบั ผูป ฏบิ ัติแตละราย ซง่ึ เปนผูมคี วามสามารถ
ในการปฏบิ ัตหิ นกั เบากวา กนั อยูบาง ผลจะพึงไดร บั จงึ มคี วามเหล่อื มล้ําตา่ํ สูงตามความ
หนกั เบาแหง เหตทุ ีท่ ําไว เราผมู าบวชในพระศาสนา ปรากฏเปนลูกพระตถาคตเต็มภมู ิใน
คําวา ศากยบุตร และเปน ผสู มควรอยางย่ิงท่จี ะเปน เจา ของในโลกตุ รสมบัติเปน ช้นั ๆ ข้นึ ไป

ในบทธรรมทานกลา วไววา โสดาปตตมิ รรค โสดาปตติผล สกทาคามิมรรค
สกทาคามิผล อนาคามมิ รรค อนาคามิผล และอรหตั มรรค อรหตั ผล สมบัติท้งั หมดน้ี รวม

แวน ดวงใจ ๒๐๒

แว่นดวงใจ : ภ- า๒ค๓๒๖ -อบรมบรรพชิต

๒๐๓

ลงในวิมตุ ตญิ าณทัสสนสมบัติ อนั ไดแกน พิ พานสมบตั ิ สมบตั ิในพระศาสนาซึ่งอยูในวง
แหง สวากขาตธรรม ที่พระพทุ ธเจา ตรัสไวชอบแลว และเปนนยิ ยานกิ ธรรม สามารถนํา
สตั วทม่ี ุงดาํ เนินตามพระองคใหพ น จากทุกขไ ปไดโ ดยลาํ ดบั ถานกั บวชผมู ีนามวานักปฏิบัติ
ยงั ไมสามารถทําตนใหสมควรแกธ รรมน้ไี ดแลว กไ็ มท ราบวาใครจะเปนผูสมควรในธรรม
ของพระองคได เพราะสมณะผูเปน นกั บวชเปน ผใู กลชิดตอ พระองค ทั้งความเปนผมู กี จิ
ธุระเคร่ืองกงั วลนอย ทง้ั ปฏิปทาเคร่อื งดําเนินก็สามารถจะทาํ ไดตามแบบทพ่ี ระองคทรง
ดาํ เนิน

เฉพาะอยางยง่ิ ผอู ยใู นปาซ่งึ เปนที่สงดั วเิ วกตลอดเวลาดว ยแลว จัดเปนผูมีโอกาส
เต็มที่ในทางความเพยี รเพ่ือศลี สมาธิ ปญญา วมิ ตุ ติ และวิมุตติญาณทัสสนสมบตั ใิ หเ กดิ
ข้ึนเปนข้ัน ๆ ตงั้ แตข้นั หยาบจนถึงข้ันละเอยี ด เพราะศีลและธรรมทุกข้นั จะเปน ไปเพื่อ
ความหมดจดสดใสไดต ามขน้ั โดยมากยอมอาศยั การอยูในทสี่ งัด ปราศจากฝงู ชนทัง้
คฤหัสถและบรรพชติ เราจะเหน็ ไดจ ากพระพทุ ธเจา และสาวกพาดาํ เนนิ มา ปรากฏวาทาน
เห็นภัยในทางคลุกคลี และกจิ การทจ่ี ะใหเกิดกังวล และเปนขา ศึกตอ สมณธรรมเพื่อความ
อยสู บายในทฏิ ฐธรรมของพระองคแ ละสาวกทาน ในขณะเดยี วกนั ทรงเห็นคุณและทรง
สรรเสรญิ ในความสงดั มาก เพราะฉะนัน้ ในพระอริ ยิ าบถ ๔ ของพระองคเจา และอริยสาวก
จึงเตม็ ไปดว ยความเพยี รในทีส่ งดั ทง้ั น้นั

ธรรมชอบเกดิ ในทีส่ งดั ถา ยังไมส งัดท้งั ภายนอกและภายในใจ ธรรมกย็ ังไมเกิด
เม่ือความสงัดทง้ั สองไดปรากฏข้ึนในทา นผูใด พงึ ทราบวา ธรรมเร่มิ ปรากฏข้นึ ในทานผนู ั้น
คือศีลก็เรม่ิ บริสุทธ์ิ สมาธิก็เร่มิ ปรากฏข้นึ มาในใจเปน ข้นั ๆ ของสมาธิ ปญ ญาก็เรมิ่ ไหวตวั
ขึ้นมาในขณะท่สี มาธเิ รมิ่ ปรากฏเปน ชัน้ ๆ ของปญญา ตามแตผูบําเพญ็ จะเรง ตามความ
ปรารถนาของตน โดยไมม อี ปุ สรรคใด ๆ มากีดขวาง เพราะปราศจากสง่ิ ซึง่ มากอกวนให
จติ เอนไปสคู วามกงั วลในอารมณทีม่ ากระทบนั้น ๆ เม่ือสรปุ ความแลว ธรรมชอบเกดิ ข้นึ ใน
ท่ีสงัดและในเวลาอนั สงัด แมผทู รงธรรมมพี ระพุทธเจา เปน ตน กช็ อบประทบั อยูในทีส่ งดั
ตลอดเวลา หากจะมอี ยูบางก็สมัยที่พระองคท รงทาํ หนา ท่ีพระพทุ ธเจา เสด็จเพือ่ โปรด
เวไนยสัตวเปนบางกาลเทานั้น ทท่ี รงเห็นสมควรจะทรงอนุโลมผอ นผัน เพ่ือเวไนยผคู วรจะ
ไดรับประโยชนจากพระองค เมือ่ เสร็จพทุ ธกจิ แลวกท็ รงงดทนั ที ไมทรงพรา่ํ เพร่อื เหมือน
อยา งสามญั ชนทัว่ ไป

บรรดาเราทั้งหลายท่ีโลกใหน ามวากรรมฐานหรอื นกั ปฏิบตั ิ ควรสาํ นึกตนอยางไร
บา ง ถาตอ งการพทุ ธะทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิและฉลาดไวครองหัวใจ กค็ วรดดั แปลงจิตใจ กาย วาจา ไป

แวนดวงใจ ๒๐๓

กณั ฑ์เทศน์ที่ ๑ : -สม๒บ๓ัต๗ิขอ-งมคี า่ ในพระศาสนา

๒๐๔

ตามแนวทางท่พี ระพุทธเจาพาดาํ เนนิ จะกลายเปนสาวกทบี่ รสิ ุทธข์ิ ้นึ มาทด่ี วงใจของเราโดย
ไมตองสงสัย ถาชอบประดิษฐเ ร่อื งของธรรมลามกขึน้ ครองหวั ใจ กจ็ ะเห็นนอกลนู อกทาง
ไปวา ธรรมชอบเกดิ ในกลางตลาด เกิดในถนนส่ีแพรง เกิดในชุมนุมชนคนมาก เชน ในโรง
ลเิ ก ละคร โรงภาพยนตร วิทยุ และโทรทัศน เหลานใี้ หโลกเขาไดราํ่ ลือวาเปน กรรมฐานเอก
เพราะมนี ยั นตาขางเดยี ว หมดความหวั่นไหว แมเขาจะเอากระดูกมาแขวนคอเปนพวง ๆ
กเ็ หน็ วา เปน การประดับเกียรติ นธ่ี รรมลามก ชอบเกดิ กับความคิดเห็นอนั ลามกเชน เดยี ว
กัน แมจ ะไมแสดงออกมาภายนอกจนเปน ของนาเกลยี ดก็ตาม แตแสดงความพอใจอยภู าย
ในใจของผูนัน้ กเ็ ปนของนา เกลยี ดเชนเดยี วกัน

ขอใหเราท้งั หลายจงทราบไวอยางนี้ แลวดดั แปลงกาย วาจา ใจ ของตนใหเ ขา กับ
หลกั ธรรมของพระองค ปลงธรรมสังเวชในความเกดิ แก เจบ็ ตาย พยายามละกเิ ลสตัณหา
อวชิ ชาทเี่ ปนตวั ขา ศึกแกเ ราตลอดเวลา อยานอนใจในอิริยาบถของตน จงสงเสริมอบรมสติ
และปญ ญาอนั เปน เชน กบั ดาบไวใ หเ พียงพอ จะไดต อ สกู บั กเิ ลสตณั หาอาสวะซ่ึงเปน ตวั
ขาศึก และกดข่บี งั คบั จติ ใจของเราทกุ ขณะใหส ิ้นสญู ไปในวันหนึ่งจนได ผใู ดอยใู นอริ ยิ าบถ
ดวยความมีสติและปญ ญาประจําตนตลอดเวลา ผูนนั้ แลจะเปน เจาของสมบัตอิ ันเลศิ คือ
มรรค ผล นพิ พาน ในชาตินี้

ขอยาํ้ อกี คร้ังใหทานท้งั หลายไดท ราบเสยี ในวันนี้วา การบําเพญ็ ธรรมของทกุ ๆ ทา น
สติกบั ปญญาเปนธรรมจาํ เปนอยางย่ิง ซง่ึ จะขาดไปเสยี ไมไดแมแตขณะเดียว เพราะสติ
ปญ ญาเปนธรรมเคร่อื งต่ืนและรอบรูอยูกบั ความเพยี ร ขณะท่ีอารมณเ กิดข้ึนภายในใจ หรอื
ผา นมาจากภายนอก สตกิ บั ปญ ญาจะตอ งทําหนา ทต่ี ออารมณท ่มี าเกย่ี วขอ ง อารมณท ม่ี า
สมั ผัสกบั ใจ แทนทจี่ ะเปน ขา ศกึ จะกลายเปนคุณไปได เพราะอาํ นาจของสตแิ ละปญ ญารูเ ทา
ทัน การตงั้ สติเร่มิ เปน ของจาํ เปน แตว นั เร่ิมฝก หดั ภาวนา เราจะบริกรรมธรรมบทใดมพี ุทโธ
เปนตน จงต้ังสติเขา ใกลชดิ ตอ ธรรมบทน้ันในลกั ษณะเอาเปนเอาตายจริง ๆ ผลจะปรากฏ
เปนความสงบขนึ้ มาประจักษใ จโดยไมถวงเวลาใหเนน่ิ นาน

ผูป ฏิบัตโิ ดยมากที่ทาํ เวลาใหเสยี ไป โดยไมไดรบั ผลประโยชนภ ายในใจเทาท่คี วรก็
เพราะความนอนใจ ไมรบี เรง ตักตวงความเพยี รดวยสติและปญญาในเวลาอายุพรรษายงั
นอย ปลอยใจใหไปตามกระแสโลก จนไรค วามสํานึกในหนาท่ขี องตน และทาํ ตวั ใน
ลักษณะขายกอ นซือ้ ซึ่งเปน สงิ่ ท่ผี ิดประเพณที างโลกและทางธรรม กอนจะรูสึกตัวเวลาจงึ
สายไป ความจรงิ ผจู ะเปนพอ คาเขาลงมือซ้ือในราคาถูก แลวจึงจะขายในราคาแพง พอจะ

แวน ดวงใจ ๒๐๔

แวน่ ดวงใจ : ภาค ๒ อบรมบรรพชติ
- ๒๓๘ -

๒๐๕

เปนผลกาํ ไรคา ครองชีพและกลายเปน ตนทนุ หนนุ กันไป ผูเจรญิ ในทรัพยส มบตั ิเขาทํากนั
อยางนนั้

ทางธรรมเลา กอนพระองคจ ะเปน ครสู อนโลกปรากฏวา ไดทรงพยายามฝกฝน
ทรมานพระองคมา บางคร้ังถึงกับสลบไสลหมดความรูส กึ ในพระองคกม็ ี ซ่งึ ไมเ คยมี
ประวตั ิของสาวกหรอื ใคร ๆ จะสามารถทําไดเหมอื นอยา งพระองค และทรงทาํ อยา งน้นั มา
โดยไมลดละความพยายามถงึ ๖ ป ไมม ีใครทราบวา พระองคจ ะเปนหรอื จะตายในเวลาได
รบั ความทุกขทรมานเชนน้ันจนถงึ วนั ตรสั รู ความเพยี รไมเ คยขาดวรรคขาดตอนในพระ
องคเ ลย นี่เรียกวา ทรงทาํ ประโยชนส วนพระองคใ หส มบูรณก อน แลวจึงทรงทาํ หนาที่ของ
พระพุทธเจาในเวลาตอ มา

แมส าวกเม่ือไดสดับธรรมจากพระองคเ จาแลวก็มงุ หนา ตอ ความเพยี ร แสวงหาท่ี
สงัดเพือ่ กําจดั กเิ ลสอาสวะออกจากใจ โดยไมม งุ โลกามิสใด ๆ เปน ผูเหน็ ภยั ในความเกดิ
ตายซ้าํ ๆ ซาก ๆ อยทู กุ ขณะลมหายใจเขา ออก เพราะความเพียรกลา ซง่ึ เกดิ จากใจท่ีเหน็
ภยั ในทุกขม าจนเพยี งพอแลว ประคองสติปญ ญาใหเ ปนไปในกายในจิตตลอดเวลาใน
อริ ยิ าบถไมลดละ กส็ ามารถถอดถอนกเิ ลสอาสวะออกจากใจไดด วยสมจุ เฉทปหาน ถึงพระ
นพิ พานท้ังเปนในขณะนนั้ นเ้ี รยี กวาสาวกทําประโยชนข องตนโดยสมบูรณ แลว จงึ เร่มิ ทาํ
ประโยชนเ พ่อื โลกเทาทีค่ วร และเพื่อเปน การชวยพทุ ธภาระใหเ บาลงไป

นี่คือแนวทางของพระพุทธเจา และสาวกทรงดําเนนิ มา มิไดทรงทําในลกั ษณะขาย
กอ นซอื้ ถาหากจะทรงทําในลักษณะเชนนนั้ แลว อยา งไรก็ไมเ ปน ศาสดาของโลกแน ๆ แม
สาวกถาไมดาํ เนนิ ตามทพี่ ระพทุ ธองคด าํ เนนิ มา จะเปน สาวกอรหันตข ึน้ มาใหโลกกราบไหว
และถอื เปน สรณะที่สามกไ็ มไ ดเ หมือนกนั แตการสงเคราะหกนั และกนั พอประมาณระหวาง
โลกกบั ธรรม จัดเปนสามจี ิกรรมในทางโลก ไมเปนความเสยี หายแตอ ยา งใด นอกจากจะทํา
จนเลยเถิด ลมื หนาที่หรือการงานของตนไปเทาน้นั กบ็ รรดาเราทง้ั หลายจะดาํ เนนิ แบบไหน
เพอื่ สามีจิกรรมในธรรมชั้นสูงขึ้นไป เพือ่ ประโยชนต นและโลกเทา ท่คี วร เรมิ่ ตดั สินใจของ
ตนเสยี ในบดั นี้ เดี๋ยวจะสายเกนิ ไป

ถา เราจะถือ พทุ ฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ ใหถ ึงใจจริง ๆ กค็ วรรบี ตามพระพุทธ
องคดว ยขอปฏิบตั ิ แลว ฝก หดั จิตใจของตนใหอยใู นกรอบแหงสติและปญ ญา อยา ปลอยให
กิเลสอาสวะฉดุ ลากจิตใจของเรา ขา มศีรษะเราไปตอหนาตอตานกั เลย รีบเอาสตปิ ญญา
ความเพยี รตามยือ้ แยงจติ มาจากกเิ ลสเสียบา ง ไมเ ชน น้ันจะหมดเน้อื หมดตัว ไมมีอะไร
เหลืออยูในความเปนสรณะ ส่งิ ท่เี หลือจะมีแตศีรษะโลน ๆ ซง่ึ ไมเปนของแปลก ใครทําข้นึ

แวน ดวงใจ ๒๐๕

กณั ฑเ์ ทศน์ที่ ๑ : สมบัติของมคี า่ ในพระศาสนา
- ๒๓๙ -

๒๐๖

เมอ่ื ไรกไ็ ด อยาพากนั ประมาทเหน็ วากเิ ลสเปนของดี และมีประมาณนอ ย ความทุกข
ทรมานทกุ หยอ มหญา ทีเ่ ปนอยูในสัตวและสงั ขารท่วั ไป จนทนไมไ หวกแ็ ตกและตายกองกัน
อยูเ ต็มโลกใหเ ราเห็นอยูต อ หนาตอ ตา กเ็ พราะสาเหตมุ าจากกเิ ลสทง้ั น้ัน เปนสิ่งผลกั ดนั ให
เปนไป อยา เหน็ วา เปนมาจากอะไร จงรีบปลุกสติปญญาที่หลบั อยูใหตนื่ ข้นึ ตามแยงจิตมา
จากกเิ ลสใหจงได เราจะเปนอยหู ลับนอนเปน สขุ สมกบั ความเปนสมณะ ซง่ึ เปนเพศท่เี ย็น
ของโลก เขาไดก ราบไหวบ ชู าทกุ วนั

ไดกลา วแลว วา เมอื่ สตกิ บั ปญญากํากับความเพยี ร จิตจะไดรับความสงบสุขไมเ น่นิ
นาน เม่ือใจสงบลงไดแลว จงเรงความเพียรในบทธรรมของตนตามแตถนัดดวยสติ จนเปน
ความสงบไดท ุกโอกาสที่ตองการ เมอ่ื จิตถอนขน้ึ มาจงเร่มิ พจิ ารณาโดยทางปญ ญา โดยถือ
อาการของกายเปน ทที่ อ งเทีย่ วของปญญา ในอาการของกายเราจะพิจารณาไปหมดหรือ
เฉพาะ แลว แตจ รติ ของเราไตรต รองดู สว นแหง กายลงในไตรลักษณใดมากนอ ยแลว แต
ความถนัด แตใหเหน็ ชัดดวยปญญาเปน ใชไ ด

สตเิ ปน ของสําคัญมาก อยา ใหพ ลงั้ เผลอไดท ุกเวลายงิ่ ดี จะเปนเคร่ืองหนนุ ท้งั สมาธิ
และปญญาใหมีกาํ ลังขึน้ อยา งรวดเรว็ นักปฏบิ ัติผูใดพยายามรักษาสตไิ วไ ด ผนู ้นั จะเปน ไป
ไดเร็วในธรรมทกุ ชัน้ แมค วามเคลอ่ื นไหวทุก ๆ อาการ จงทําสตใิ หเ ปนพเ่ี ลีย้ งอยเู สมอ จิต
จะเหนอื อํานาจไปไมได เพราะบอแหงอํานาจวาสนาท่ีจะทําใจใหพ น จากทุกขใ นชาติน้ี ขึ้น
อยกู บั สติกบั ปญ ญาเปน ของสําคญั จงพยายามทําสตธิ รรมดานีใ้ หกลายเปน มหาสตขิ น้ึ มา
และจงทําปญ ญาธรรมดาใหก ลายเปนมหาปญ ญาข้นึ มาท่ีดวงใจของเรา เมื่อสติมีกําลงั จน
เพียงพอแลว เราจะเดินปญ ญาพจิ ารณา แมก ิเลสจะหนาแนนเหมือนภเู ขาทง้ั ลกู ก็ตองทะลุ
ไปไดโดยไมตองสงสัย

อาการของกายทุกสว นในกองรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ พึงทราบวา
เปนหินลบั สตแิ ละปญ ญาใหคมกลาไดเ ปน ลาํ ดบั เมือ่ สตกิ บั ปญ ญามีการสัมพนั ธอยูกับ
อาการเหลา น้ไี มขาดวรรคขาดตอน เราไมตองสงสัยวา จะไมม สี ติและปญญาอนั คมกลา ขอ
ใหต้งั สติและคดิ คน ปญญาลงไปในสภาวธรรมทีก่ ลา วมาน้ี ความสงบของใจแตข้นั หยาบจน
ถงึ ขั้นละเอียด และความแยบคายของปญ ญาจากขั้นตาํ่ จนถึงขัน้ สงู สุด จักปรากฏขึ้นกบั ใจ
ดวงเดียวน้ี อาสวะซง่ึ หมกั หมมอยกู ับใจมาเปนเวลานาน จะตองแตกทลายลงไปโดยไมมี
อะไรเหลอื เชนเดียวกบั ความมดื แมจะเปนของเคยมมี าเปน เวลานาน พอถูกแสงสวา งเขา
กาํ จัดก็หายไปในทันทีฉะนั้น

แวน ดวงใจ ๒๐๖

แว่นดวงใจ : ภ- า๒ค๔๐๒ -อบรมบรรพชติ

๒๐๗

เพราะฉะนนั้ ถาเราเบอ่ื ตอ ความเกิดตายซํา้ ๆ ซาก ๆ ไมม จี บสิน้ จงรีบจบั อาวุธคือ
สติปญญาใหแ นบสนิทกับความเพยี ร อยาลดละ เราจะเห็นตน เหตุทใ่ี หเ กิดภพชาตขิ ้นึ มา
จนกลายเปน ปาชาของสัตวแ ละของเราขึ้นทใ่ี จดวงน้ี ทีน่ าขยะแขยงนาสลดสังเวชอยา งเตม็
ที่ ไมมคี วามเห็นโทษใดที่เราผา นมาแลวเหมือนดวยความเห็นโทษแหง ดวงจิตท่ฝี ง ยาพษิ
คืออวิชชา อันเปนเชอ้ื แหงความเกดิ ไวใ นตน จนนานหลายกปั นับไมถวน เม่ือไดเหน็
ประจกั ษดว ยปญญาถงึ ขนาดนแ้ี ลว ใครเลาจะกลืนยาพิษลงไปสงั หารตัวเองท้ัง ๆ ทรี่ วู า ยา
พิษ นอกจากจะสลัดทิง้ ดว ยความเห็นภัยจนตัวสัน่ ไปเทา น้ัน ความเห็นโทษของวัฏจติ ซง่ึ
อาบยาพิษหมดทัง้ ดวงดวยปญ ญา ยอมจะปลอยวางในทันที โดยจะยอมทนถอื ไวว า เปน ตน
ตอ ไปอกี ไมไ ดเ ชนเดยี วกัน

เพราะโทษใดไมเทยี มเทา โทษของจิตท่ถี กู อวิชชาเอาเหลก็ แหลมปกหลังไว ปลอย
ใหร ะเหเรร อ นไปตามภพนอยภพใหญ เกดิ ๆ ตาย ๆ ไมม ใี ครจะมาตดั สินปลอยตวั ออก
จากทุกข คือวัฏจักรนไ้ี ด เหมือนเขาปลอ ยตวั นักโทษออกจากเรือนจําฉะนนั้ เพราะฉะน้นั
พระพุทธเจา และสาวกทั้งหลายเม่ือทา นไดพนไปแลว จงึ เปลง อทุ านคลายกบั เปนการทา
ทายวฏั จักรวา นายชา งเรอื นคือตณั หา ไมส ามารถสรา งเรอื นคอื รูปกายใหเราไดอกี แลว
เพราะชอ ฟา คืออวิชชาเราไดทาํ ลายแลว บัดนจ้ี ิตของเราไดถึงแลวซง่ึ วสิ งั ขาร คอื พระ
นพิ พาน อุทานนพี้ ระองคทรงเปลง ขึ้นเม่อื ตรสั รใู หม ๆ

สว นพวกเราเม่อื ไรจึงจะไดเ ปลง อุทานเหมือนอยา งพระองคทานบาง หรือจะให
กเิ ลสตณั หาเปลงอทุ านเยยหยนั ทาทายเราทกุ วนั อวัยวะและสติปญญาก็มอี ยูก ับตัวของเรา
เราไมเจบ็ ปวดแสบรอ นในคําเยยหยันทา ทายของกเิ ลสตณั หาบา งหรอื จะมวั นง่ั ฟงนอนฟง
คําเยยหยนั ของเขาดวยความเคลิบเคลิ้มจนลมื ตวั เปนการสมควรแกพวกเราซึ่งประกาศตัว
วาเปน ศิษยของพระตถาคตเจา แลวหรอื จะควรแกไ ขปญ หากับกิเลสอาสวะอยางไรบา ง
เปนเรือ่ งควรคํานงึ และตน่ื ตัวดว ยความเพียร พระพทุ ธเจา และสาวกแกป ญ หากบั กิเลสซ่ึง
เกิดกบั พระองคอยางไรบา ง จงึ ทรงไดช ัยชนะและสนิ้ สุดกนั ลงได เราควรรบี นาํ วธิ นี น้ั มาแก
ไขกบั กิเลสซ่ึงเกดิ ขึ้นกับหัวใจของเรา จนไดช ัยชนะอยางพระองค จะสมนามวาเปนศิษย
พระตถาคตแท

อนงึ่ สติกับปญ ญาเปนธรรมซง่ึ ควรประดษิ ฐข ้นึ ไดในใจของพวกเรา จึงไมควรนัง่
คอยนอนคอยสติกับปญญา และมรรค ผล นิพพาน อันสําเรจ็ รปู มาจากพระพทุ ธเจา พระ
สาวก และครูอาจารยโ ดยถา ยเดียว สงิ่ ใดซึง่ สําเร็จรูปมาจากคนอืน่ นาํ มาใชโ ดยเราไมฉลาด
หาอุบายคดิ ทาํ ขึ้นเองบา ง ถึงคราวจําเปนขึ้นมาหาทางอาศัยคนอ่ืนไมไ ด เราจะมแิ ยไปหรอื

แวน ดวงใจ ๒๐๗

กัณฑเ์ ทศน์ที่ ๑ : -สม๒บ๔ัต๑ิขอ-งมีคา่ ในพระศาสนา

๒๐๘

เร่ืองสตปิ ญ ญา ตลอดจนมรรค ผล นิพพาน ถาเราคอยเอาความสําเรจ็ รูปจากพระพทุ ธเจา
หรอื ครอู าจารยม าเปนสมบตั ิของเราโดยถา ยเดียว ไมไ ดห าอุบายคดิ คนพลกิ แพลงขึ้นดว ย
สติปญญาของตนเอง หากมคี วามจาํ เปนซงึ่ อาจเกิดขึ้นไดท กุ ระยะกาล หรือเกิดปญหา
เฉพาะหนา ขึ้น เราจะควา หาทางไหนมาไดท นั ทวงที เพราะเราไมเคยตระเตรยี มไวแตต น มอื
เราตองยอมเสยี เปรยี บกเิ ลสหรือเหตกุ ารณนัน้ ๆ โดยไมต อ งสงสัย

อนง่ึ พระพุทธเจา หรอื ครูอาจารย ไมเคยชมเชยผทู ีฉ่ ลาดเพราะการทอ งจาํ มาไดจ าก
ธรรม หรือสิง่ สาํ เรจ็ รปู มาจากคนอืน่ โดยถายเดียว แตทรงชมเชยบุคคลผูมีสติปญ ญาอันคิด
คนขึน้ มาโดยลาํ พังตนเอง และรักษาตนเองใหป ลอดภยั ดวยความฉลาดนัน้ เทา น้นั แม
อุบายวิธที ีจ่ ะทําศลี ใหบ ริสุทธ์ิก็ดี ทาํ สมาธิใหเ กดิ ข้นึ กด็ ี และอุบายทําปญ ญาใหเ กดิ ขึ้นเพ่ือ
มรรค ผล นพิ พานก็ดี พระองคตรัสไวพ อประมาณเทาน้นั สว นอุบายหรือวธิ ีการความแยบ
คายตา งออกไปเปน พิเศษน้นั เปนความแยบคายของโยคาวจรแตละราย จะสนใจหาความ
ฉลาดแกไ ขตนเอง จะพงึ คิดคนขนึ้ มาเอง แมม รรค ผล นิพพานอนั ผูปฏบิ ัติจะพึงไดรบั ก็
ควรจะทราบไววา ไมไ ดเกิดขน้ึ อยา งลอยลม คือปราศจากเหตผุ ล โดยไมม สี ตปิ ญ ญาศรทั ธา
ความเพียรเปน กญุ แจ คือเคร่อื งมอื สาํ หรบั แกไ ข

ธรรมทั้งหลายทก่ี ลา วมาน้ี ขอใหทา นท้ังหลายจงตระหนกั ใจตนเองวา พระพุทธเจา
เปนผูม ธี รรมคือหลักเหตผุ ลประจาํ องคของศาสดา ไมทรงเอนเอียงไปตามกระแสแหง
ความกดดันใด ๆ ที่มากระทบ ดํารงพระองคอยดู วยหลกั ธรรมตลอดมาแตต น ถึงวันตรสั รู
จนถึงวนั นพิ พาน ฉะนัน้ ควรทราบหวั ใจแหง นักบวชของเรา คอื การพลชี พี ทกุ ขณะลม
หายใจเขา ออกเพอ่ื พระพทุ ธเจา พรอ มทง้ั พระธรรมและพระสงฆอ งคป ระเสริฐสุดของโลก
ดว ยความกลา หาญตอความเพยี ร ในขณะเดียวกันองคแ หง พุทธะ ธรรมะ และสงั ฆะท่ี
บรสิ ทุ ธิ์อันเปน เครือ่ งตอบแทนจากพระศาสนา จะเปน สมบัติอันลน คาของเราแตผ เู ดียว

วนั น้ีไดแ สดงสมบัติของมคี า ในพระศาสนา ใหบ รรดาทานผฟู ง ท้งั หลายทราบจะได
ปลาบปลืม้ ใจในความเปน เจาของแหงสมบัตินั้น ๆ กน็ บั วาสมควรแกเวลา ขอยตุ ลิ งดวย
เวลาเพียงเทาน้ี

www.Luangta.com or www.Luangta.or.th

แวนดวงใจ ๒๐๘

แว่นดวงใจ : -ภา๒ค๔๒๒ -อบรมบรรพชติ

ศาลาวดั ป่าบา้ นตาด จงั หวดั อดุ รธานี

เมอื่ เศมวเื่อนัลีทวทเศันที่ ทสนศ๓ี่นอม๑๓อ์บ๑าบกรธรมรกมิกรพกพกฎปณัรรฏาะะญัาคฑคณมณญม์ทวพี่ พาวดั๒ัดทุ -ปปธอา่าศศทิบบกัักา้ารธรนนาาิบชตตชาาาด๒๒ดท๕๕ส๐๐๕ี่ ๕ ๒๐๙
รากฐานของพระศาสนา

ครง้ั องคส มเดจ็ พระผมู ีพระภาคเจา ก็ดี บรรดาพระสาวกท้ังหลายก็ดี ทรงนําพระ
ศาสนา นําไปเพือ่ ปลีกจากเคร่อื งกงั วลท้ังหลาย และนาํ ไปเพ่ือความพนทกุ ขโดยถา ยเดยี ว
เราจะเห็นไดเมื่อพระสาวกทงั้ หลายเขามาบวชในสาํ นกั ของพระองคทานแลว แมจะออก
จากตระกลู ใด ๆ ก็ตาม สาวกเหลานน้ั ไมเคยมีความเกาะเกีย่ วกังวลในตระกูลของตน ๆ
ตลอดยศศักดบิ์ ริวารความมัง่ มดี เี ดน อนั จะเปน บอ เกดิ แหงทิฐมิ านะ ส่ิงเหลานีไ้ มเ คย
ปรากฏในสงั คมแหงสาวก เมอื่ ไดออกปฏญิ าณตนเปนศิษยของพระพุทธเจาแลว มคี วาม
มงุ หนา ตอ การประกอบความเพยี ร โดยไมค าํ นงึ ถึงอาหาร ไมคาํ นงึ ถึงสถานทอี่ ยู และสงิ่
บาํ รงุ บาํ เรอทง้ั หลาย วา จะเปน ไปเพ่ือความสะดวกหรือไม ขออยางเดยี ว คือ ใหเ ปน ไปเพื่อ
ความสะดวกในการประกอบความพากเพียรเทานั้นก็เปนท่พี อใจ

กิจการในครัง้ น้ันรสู ึกจะมนี อย สว นมากเปนกิจทจ่ี ะเปน ไปเพ่ือความปลดเปลอื้ ง
กเิ ลสเครอื่ งกงั วลภายในใจ ไมคอยจะมีกิจทแ่ี ฝงเขามาใหเ ปนการกงั วลมากเหมือนทกุ วนั นี้
สมยั ทกุ วันนไ้ี มวาท่ีไหน ๆ รูสึกจะเต็มไปดว ยสงิ่ ท่ีจะใหเกิดความกงั วล แทรกเขามาในวง
พระศาสนา อนั เปนสถานท่แี ละเครื่องชาํ ระความกงั วลทง้ั หลาย กิจท่ีแทรกดังกลาวนพี้ วก
เราปรากฏวา ถือเปน กจิ สาํ คญั ยิง่ กวา กจิ ภายใน คือการชาํ ระกิเลสอาสวะ ถา ไดประกอบกิจ
การงานภายนอก มีการกอ รา งสรางวัด สรา งกุฎี วหิ าร ศาลาโรงธรรมสวนะ และตดิ ตอการ
งานกับประชาชน หรือจตุปจ จยั ไดมากเทาไร ถอื วาเปนเกียรติ ถอื วาเปน ความดีความชอบ
ถือวา เปน ประโยชนอันสําคัญของตน และพระศาสนา และถอื วา เปน มงคลของพระศาสนา
อีกดวย

เมื่อเปนเชนน้ี กจิ ท่ีจาํ เปน ซึง่ เปน กจิ ทีพ่ ระพทุ ธเจา ทรงประสงคก็ดี ท่ีพระสาวกท้งั
หลายพาดาํ เนนิ มาก็ดี จึงเปน เหตุใหดอยลงทางภายใน ไมเ ปน ไปเพือ่ ความเปนผูม ีศีล
บริสุทธิ์ ไมเ ปนไปเพ่อื ความเปนผมู ีสมาธิ คอื หลักของใจ และไมเปนไปเพือ่ ความเฉลียว
ฉลาดในทางปญ ญา เพ่ือถอดถอนตนใหพ นจากทุกขไ ปไดโ ดยลําดับ ใหสมกับตนไดบวช
มาในพระพุทธศาสนา เปนศิษยข องพระตถาคตผปู รากฏเดน ในทางความเพยี รและไดทรง
พาดาํ เนินมา

แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : ภ-๒า๒ค๐๔๙๔๒ -อบรมบรรพชิต

๒๑๐

เมือ่ ความรูส ึกและธุระหนาท่ขี องพวกเราผเู ปนนักบวชและเปน นกั ปฏบิ ตั ิ มคี วาม
แปลกตางจากหลกั ธรรมทพ่ี ระองคพ าดาํ เนนิ มา ผลที่จะพึงไดรับกต็ องแปลกตา งกนั และ
จะกลายเปน เร่อื งพระศาสนาสองเร่อื งไป คาํ วา คนั ถธุระ กับ วิปสสนาธรุ ะ ทป่ี ระทานไวน ้ัน
ครัง้ พระองคยังทรงพระชนมอยคู งไมเ ปน คนั ถธุระ และวปิ ส สนาธรุ ะจนเปนบอเกดิ แหง
ความกงั วล เปน บอเกิดแหง ความบอบชํา้ เปนบอ เกดิ แหง ความกระทบกระเทือน และเปน
บอ เกิดแหงความอดิ หนาระอาใจของศรทั ธาประชาชน ผใู หจ ตุปจ จยั เครือ่ งสนับสนนุ เพอื่
คันถธรุ ะและวปิ สสนาธุระนน้ั ๆ คงเปนไปพอประมาณ สมกบั พระศาสนาส่ังสอนพุทธ
บรษิ ทั ใหร ูจัก มตตฺ ฺุตา สทา สาธุ ความรูจักประมาณยงั ประโยชนใหสําเร็จทกุ โอกาส
คงไมเปนเชน พวกเราเปน ๆ กันอยทู กุ วันนี้

บางรายในสมณะและนักปฏิบตั เิ ราเคยไดรบั ความครหานินทาวา ไปทไี่ หนเทยี่ วเรยี่
ไร (แผ) จตุปจจัยมาเรอ่ื ย ๆ จนกลายเปน อาจิณหรอื เปน นสิ ัยของทานผูน้นั การเร่ียไร
จตปุ จ จัยไดมาจากศรทั ธาญาตโิ ยม ทีแรกกไ็ ดมาเพอื่ การกอสรางเปน ประโยชนสาธารณะ
จรงิ แตครั้นนาน ๆ มาก็เลยกลายไปวาไดมาเพือ่ ตัว สั่งสมขน้ึ โดยแอบอางการกอสรางเปน
โลบ งั หนา ท้ังนเ้ี คยไดยินเสมอความเปนเชนน้ี แทนทจี่ ะทําพระศาสนาใหเ จรญิ รงุ เรอื งยิง่
ๆ ขน้ึ ไป จึงกลายเปน การเหยยี บยํ่าพระศาสนาใหเส่ือมโทรมลงในขณะเดยี วกนั

การดาํ เนินพระศาสนาตง้ั แตค รงั้ พระพทุ ธเจา แลสาวกทั้งหลายทานยังอยู แมจะมี
คนั ถธรุ ะ และวิปส สนาธรุ ะเปน คเู คียงกันมาก็ตาม คงไมถ ึงกบั จะดาํ เนินใหเปน ไปเพ่อื
ความชอกชาํ้ แกผูทะนบุ ํารงุ และถือเปน กจิ จาํ เปน จนเหลือประมาณ เชนพวกเราพาใหเปน
อยเู วลานี้ ทุกวันนรี้ ูส ึกจะถือเร่ืองเหลานี้เปน เร่ืองสาํ คญั ของพระศาสนาเสยี มาก เม่อื ถือ
เร่ืองเหลาน้เี ปนเรือ่ งสาํ คัญของพระศาสนาก็แสดงวา ถือดานวตั ถเุ ปน ของสาํ คัญเปนเคร่อื ง
ประดับ และเปนความจริงของพระศาสนา เปน ของอัศจรรยของพระศาสนา เปน สงา ราศี
ของพระศาสนาไปเสยี เทานัน้

หลักความจรงิ อันเปน หวั ใจของพระศาสนาท่ีพระพุทธเจาประทานไว เพื่อจะยังพุทธ
บริษทั ทงั้ หลายใหไดร ูเหน็ อยา งจรงิ จัง ไดแกอริยสจั ส่ี คือ ทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค เลย
คอยเสือ่ มสูญ หรอื อับเฉาลงไปโดยไมร สู ึก บรรดาเราซงึ่ เปนนกั บวชและเปน นักปฏิบตั ดิ ว ย
แลว ควรจะตระหนกั เรือ่ งนใ้ี หมากในจิตใจของแตล ะทาน อยา เปนผูล ืมตนในปฏปิ ทา
เครือ่ งดาํ เนิน วาถูกตองตามแนวทางของพระพทุ ธเจา พาดําเนินหรือไม การงานเมอ่ื เราได
ทาํ ลงไปอยางใด ผลก็ตองปรากฏเปนเคร่อื งตอบแทนขึน้ มาอยางนั้น

แวน ดวงใจ ๒๑๐

กณั ฑเ์ ทศนท์ ี่ ๒ : ศ-ลี ๒ส๔ม๕าธ-ิ ปญั ญา-อิทธิบาทสี่

๒๑๑

กิจการภายในคอื ศีล สมาธิ ปญญา ถาเราถือเปน ขอหนกั แนน ถือเปน กจิ สําคญั เชน
พระพุทธเจาพาดําเนนิ มาแลว ศีลจะไมเปน ไปเพื่อความบรสิ ทุ ธิใ์ นพวกเราอยางไร สมาธิ
ตอ งเปนไปเพ่อื ความสงบ ปญญาตอ งเปน ไปเพอ่ื ความฉลาด เพราะสวากขาตธรรมที่พระ
องคต รสั ไวไ มม ตี นไมมีปลาย เปนมชั ฌมิ าปฏิปทาอยตู ลอดเวลา ไมเ คยเรียวแหลมหรือ
เสอื่ มสูญอันตรธานไปทีไ่ หน นอกจากจะเรยี วแหลมและเสือ่ มสูญอยูก ับผไู มส นใจ ใครทจี่ ะ
ปฏิบตั เิ พื่อศลี สมาธิ ปญญา ใหเกดิ ขนึ้ ภายในตนเปน ราย ๆ ไปเทานน้ั

ฉะนั้น การปฏิบัตพิ ระศาสนาเพอ่ื เห็นผลประจกั ษใจจรงิ ๆ สมกับธรรมเปน นยิ ยา
นิกธรรม ผูปฏิบตั ิจงึ ควรคาํ นึงธรรมและพระพุทธเจา ผูเปน เหมือนเขม็ ทิศ อยาไดลมื คาํ วา
พระพุทธเจาผเู ปน ครูสอนโลกน้นั เปนอยูตลอดพระอิริยาบถ ไมเ คยบกพรอ งจากความ
เปน ศาสดา เพราะเหตุนัน้ พระอาการเคลอื่ นไหวทางกายวาจาของพระองค จึงเปน ศาสดา
ของสตั วโลกอยตู ลอดเวลา สาํ หรับผูสนใจใครตอ การศึกษาจากพระองคทานมาไดเ หน็ ได
ยนิ ท่ที รงแสดงการเคลือ่ นไหวดวยพระอาการตา งๆ จะเปนคตเิ ครือ่ งเตอื นใจใหไดรับ
ประโยชนโดยทวั่ หนากัน สวนจะมากนอยข้ึนอยกู ับความสนใจ และสตปิ ญ ญาลึกตน้ื ท่จี ะ
ยดึ จากพระองคท านมาเปนครสู อนตน

คาํ วา ศาสดา ไมเ พยี งแตการเสดจ็ เทย่ี วประกาศพระศาสนาโดยการแนะนําพร่าํ สอน
ประชาชนดว ยพระโอวาทเทาน้ัน ยงั เปน ศาสดาของโลกทกุ พระอาการท่เี คลอื่ นไหว พระ
พุทธเจาไมเคยเคลื่อนไหวดวยพระอาการใด ๆ ใหผิดจากความเปนศาสดา มรรยาททุก ๆ
พระอาการ ลว นแตเ ปนประโยชนแกบรรดาสตั วผูสนใจท้งั นนั้ ทั้งเปน เคร่ืองประกาศพระ
องควาอาการท้งั หมดน้ีเปน อาการของศาสดา ไดแกค รูสอนโลกน่ันเอง

ฉะนัน้ โปรดไดคาํ นึงดคู วามเคลอื่ นไหวของเรา ผเู ปน ศิษยข องพระตถาคตเสมอ
อยา ใหเปน โมฆบุรุษในเพศแหงนักบวชและนกั ปฏิบตั ิ โดยปราศจาก สติ ปญญา ศรัทธา
ความเพยี ร อนั เปน รากเหงาแหงธรรม เครอ่ื งถอดถอนกเิ ลสทุกประเภท และโปรดทราบไว
เสมอวา เราอยูเ ปนหมูเปน คณะคือเก่ยี วกับสังคม เพราะมนุษยเ ปน มนษุ ยประเภทท่อี ยูคน
เดียวไมได ตองเกย่ี วกบั สงั คมคอื หมูเพอื่ นเสมอไป เราตอ งคิดถึงตวั เองเสมอวา คนเรา
แทบทกุ รายยอ มมีการเขา ตัวเสมอ แตธรรมของพระพุทธเจานนั้ เขา กับหลักเหตผุ ล เมอื่ เรา
เปน ศิษยข องพระตถาคตแลว ตอ งเปน ผหู นกั แนนในเหตุผล คือเปน ผูส นใจใครต อ หลกั
เหตุผล ตนทาํ ลงไป พูดออกไป คดิ ลงไป ถูกกบั หลักเหตผุ ล คือธรรมของพระพทุ ธเจาหรอื
ไม อยาเอาตนเขา ไปเปนผมู ีอาํ นาจเหนอื เหตุผลนัน้ ๆ จะเปนความผิด และจะเปนเหตุให
เกิดความกระทบกระเทอื นแกสงั คม คอื หมเู พอ่ื นดว ยกนั ผิดตองยอมรับวาผิด ถูกตอง

แวน ดวงใจ ๒๑๑

แวน่ ดวงใจ : ภาค ๒ อบรมบรรพชิต
- ๒๔๖ -

๒๑๒

ยอมรับวา ถูก และยอมจาํ นนปฏิบัตติ ามดว ยความเต็มใจตอ หลกั ธรรมคือ เหตุผล อันเปน
ศาสดาแทนพระพุทธเจา

หลักแหง การปฏบิ ตั เิ พ่ือถึงแดนแหง ความเจริญรุงเรืองในตนเองและสว นรวม ตอง
เปนผมู ีศาสดาประจาํ การเคลอ่ื นไหวของตนทกุ เวลา ศาสดาคอื หลกั เหตผุ ลน่ันเอง ถา เรา
เอาเราไปสวมเขาในกจิ การใด ๆ พงึ ทราบวา กจิ การนัน้ ๆ จะไมสาํ เรจ็ เรยี บรอยไปดว ย
ความมีเหตุผล แตจ ะเปน ไปเพ่อื ความกระเทอื น เพราะเหตแุ หงการเขาตัวเสมอไป ในนสิ ยั
ของบุคคลเปนเชนน้ี เราเปนนักปฏิบตั ติ อ งเปน ผมู ีเหตผุ ล เทากบั เรามศี าสดาประจําตน
คอื ตองใครครวญในกิจการทท่ี าํ ทพ่ี ดู ทีค่ ิด ซึง่ เคลือ่ นออกจากกาย วาจา ใจ ของตน ให
ถกู ตามหลักธรรมวินัยที่ศาสดาตรสั สอนไว จะเปนผูรมเยน็ ภายในใจของเราดว ย จะเปนไป
เพื่อความรม เย็นแกหมเู พ่ือนท่ีอยูรวมกันดว ย จะทําพระศาสนาใหเ จรญิ

อนง่ึ ศีลของเรามีเก่ียวของกับหมเู พอื่ นเหมอื นกนั สมาธิปญ ญาก็เก่ยี วกับหมเู พ่ือน
เชนเดียวกนั เพราะเราอยูกบั หมเู พ่ือนตอ งไดพ ูด พูดไมถ ูกทางกผ็ ดิ ศีลของเรา จติ ก็เก่ยี ว
กับหมูเพ่อื นท่ีอยูดวยกนั ถา คดิ ไมถ ูกทางกเ็ ปนเหตุใหเกิดความกังวล และทาํ ลายสมาธใิ ห
มีความสงบไมไ ด ตามองเหน็ หมเู พ่ือนทาํ ผดิ หรอื ถูกตามความรูสกึ ของตน ถา ปญญาไม
รอบคอบในการเหน็ การไดย นิ อาการแหง การกระทาํ และการพดู ของคนอืน่ แลว แทนทีเ่ ขา
จะเปน คนผดิ เราก็มากลายเปน ผผู ดิ เสยี เอง เพราะฉะนัน้ เร่อื งศลี ก็ดี สมาธกิ ด็ ี ปญญาก็ดี ที่
เก่ียวกบั สงั คมคือหมูเ พ่อื น อนั เปน เหตทุ ่จี ะทําตวั เราใหเสยี ไปดว ย จึงมที างเสียไดอยา งน้ี

ดังนน้ั โปรดไดน ําเหตผุ ลอนั เปน ธรรมของพระพุทธเจาเขาไปตัง้ ไวที่หัวใจของเรา

ขบั ไลคาํ วา “เรา”ออกเสยี จากท่ีน่นั ใหเหลอื แตหลักธรรมคอื เหตุผลไวทีใ่ จ ผนู ้นั ไปท่ไี หน
มาท่ใี ด อยทู ีใ่ ด จะเปน ที่รม เยน็ ของตนเองและหมูเพ่ือนเสมอไป โดยมากทเ่ี กิดการทะเลาะ

เบาะแวงกัน เนื่องจากเอา “เรา” เขาไปต้ังไวบ นหวั ใจ หรือเอา “เรา” เขาไปต้งั ไวบ นหลัก

เหตุผล คือธรรมของพระพทุ ธเจา เมอ่ื เอา “เรา” ซึง่ เปนตัว “โลก” ลว น ๆ เขาไปต้งั ไว
บนหลกั เหตุผล อนั เปนธรรมของพระพุทธเจาแลว หลกั เหตุผลคือธรรมก็ไมมีอาํ นาจ และ

แตกกระจัดกระจายออกจากหัวใจ เหลือแตค ําวา “เรา” ซงึ่ เปน โลกลวน ๆ ฝง อยูกับจติ ใจ
ของบคุ คลผูนนั้

เม่อื ระบายออกจากคาํ วาเราหรอื เพราะเราเปนเหตุ เปนผมู อี าํ นาจนนั้ ไดระบาย
ออกมาทางมรรยาทคําพดู จา จงึ เปนเหตใุ หผ ิดและกระทบกระเทอื น ใหเ กดิ การทะเลาะ
เบาะแวงกันขึน้ บางรายถึงกับฆากัน ตีกัน ลมตาย ฉบิ หายและลมจมปนปไ ป ใหเ ราเหน็ อยู
ตอหนา ตอ ตาทุกหนทกุ แหง ไมวา นอกวดั ในวัด เพราะเหตแุ หง ความเหน็ แกต ัวคอื เราเปน

แวน ดวงใจ ๒๑๒

กัณฑเ์ ทศนท์ ี่ ๒ : ศีล สมาธิ ปัญญา-อทิ ธบิ าทส่ี
- ๒๔๗ -

๒๑๓

ของสาํ คัญ ฉะนน้ั ผบู วชในพระศาสนาตองถอื หลักเหตผุ ลเปน เจา ครองหัวใจ และถอื ยง่ิ
กวาดวงหทัย และชวี ิตจิตใจของเราเสียอีก แมช วี ิตจะฉบิ หายตายไปกต็ าม ขอใหไดทรงไว
ซ่ึงหลักเหตุผล คอื ธรรมของพระพทุ ธเจา อยา งสมบูรณ ผูน้นั แลจะเปน ผทู รงและยังพระ
ศาสนาใหเ จรญิ รงุ เรอื ง

แมตายไปแลวรา งกายแตกสลาย กิตติศัพท กิตติคุณ ก็เฟอ งฟูขจรไปทกุ แหงทุกหน
ไมเ สื่อมสูญอนั ตรธานไปตามสรรพางครางกาย เชน องคส มเดจ็ พระผมู ีพระภาคเจา แล
สาวกทั้งหลาย ตลอดครอู าจารยท ี่ปรากฏชอ่ื ลอื นาม ลว นแตทานหนักในเหตุผลคอื หลัก
ธรรม เปน เจาครองหวั ใจ ไมไ ดถือเราเปนเจาครองอํานาจหวั ใจ จึงเปนท่กี ราบไหวเคารพ
บูชาของเทวดาแลมนุษยทกุ ช้นั อยางแนบสนิทได เราทกุ ทานซึง่ เปนผูจะตั้งหนา ดาํ เนินตาม
แนวทางแหง สวากขาตธรรมของพระพทุ ธเจา พงึ สํานกึ ตนเสมอ และพึงทําจิตใหมศี าสดา
คอื หลกั ธรรมเปน ครสู อนอยตู ลอดเวลา

ศีล อยาพงึ เขา ใจวาเปนหนา ทีข่ องใคร เราคือผจู ําเปนทจ่ี ะปลดเปล้ืองส่ิงมัวหมอง
คอื กิเลสอาสวะทกุ ประเภทออกจากกาย วาจา ใจ ของตน ๆ อะไรเลา เปน เครอ่ื งชําระส่ิงมัว
หมอง คือ ศีล สมาธิ ปญญานเ่ี อง ซงึ่ ติดแนบอยูก ับตัวของเรา และจะตองพยายามอบรม
รกั ษาใหเ กดิ มขี ึ้นในกาย วาจา ใจ ของตน ศีลจะมคี วามบรสิ ทุ ธ์ิได ตอ งเปนผมู ีอิทธบิ าทท้งั
ส่คี อื

ฉนั ทะ พอใจในการรกั ษาศีล จะเปนศลี ขอ ใดกต็ ามที่พระองคป ระทานไวเพอ่ื เปน
สมบัติของเรา เรานอ มรับดว ยความยินดีและเต็มใจ ใครตอการปฏิบัติรักษาใหเ ปน ไปเพอ่ื
ความบรสิ ทุ ธ์ิทุก ๆ ขอ ไมมีความระอาตอ ธรุ ะหนา ทีข่ องตน

วริ ยิ ะ พยายามรักษาอยูเสมอทง้ั ท่ีแจงและที่ลบั ตลอดอิรยิ าบถ ไมม คี วามลดละ
ในทางความเพยี รเพื่อความเปนผมู ศี ลี บริสทุ ธ์ิ

จิตตะ มีใจฝกใฝตอศีลของตน ไมทาํ ใจใหห า งไกลจากศีล พยายามระมัดระวงั
รักษาศีล เชน เดียวกับเขารกั ษาสมบตั อิ ันมคี าในบาน แมชวี ติ ก็ยอมสละไดเ พ่ือสมบตั ิ
ประเภทนน้ั

วิมงั สา คือเรื่องของปญญา ตองเปนผมู ีความเฉลยี วฉลาด คอยตรวจตราดศู ีลของ
ตนเสมอ ไมใหด างพรอยไปไดแมแตข อ เดยี ว

อทิ ธิบาททัง้ สน่ี ้ีเปน หลักธรรมคํ้าประกนั บคุ คลผมู ีความใครต อธรรมนี้ ใหไดก าวเขา
สคู วามเจริญท้ังทางโลกและทางธรรม แตขัน้ ต่ําจนถงึ ข้ันสงู สดุ คอื วมิ ตุ ตพิ ระนิพพาน จะ
เวน จากธรรมทัง้ สนี่ ้ีไปไมได เพราะเหตุนั้นจงึ ควรจะกลาวไดว า อิทธิบาทท้งั สนี่ ี้เปน ราก

แวนดวงใจ ๒๑๓

แว่นดวงใจ : ภ- า๒ค๔๘๒ -อบรมบรรพชิต

๒๑๔

เหงาของพระศาสนาดว ย เปน รากเหงา ของโลกดวย โลกและธรรมจะเจรญิ รงุ เรืองไดเ พราะ
อทิ ธบิ าททง้ั ส่นี ้เี ปนรากฐานสําคญั สมาธิก็ดี พงึ ทราบไดวาจะเกดิ ขึน้ ไดเ พราะอิทธิบาทน้ี
แมป ญ ญาถา ไมมอี ทิ ธบิ าทท้ังสามขางตนเปน เครื่องสนับสนนุ แลว จะเปน ปญ ญาทเ่ี ฉลยี ว
ฉลาดจนสามารถถอดถอนตนใหพน จากทุกขไ ปไมไ ดอ ีกเชนเดียวกนั

เพราะอทิ ธิบาทท้ังส่ีนเี้ ปนธรรมเกี่ยวเนือ่ งกนั จึงเปน ธรรมทมี่ ีกําลัง คือพอใจในการ
คนคิดหาเหตผุ ล พยายามสอดสองดเู หตุการณท ่จี ะมาเก่ียวขอ งกบั เรื่องของปญญา ผกู ําลัง
ทําหนาท่ีใหเ ปนไปเพื่อความรอบคอบตอ ตนเองและสิง่ เก่ียวขอ ง เอาใจฝก ใฝต อการ
พจิ ารณา จนสามารถรเู หตผุ ลตน ปลายของส่ิงเกย่ี วขอ ง ไมย อมใหป ญญานิ่งนอนใจ จน
กลายเปน ไมซ งุ ทงั้ ดุน ทง้ิ จมดนิ อยูเปลา โดยปราศจากประโยชน วิมังสาเม่ือมธี รรมทง้ั สาม
ขอน้ีเปน เครอื่ งสนบั สนุน ยอ มมกี าํ ลังและสามารถทําหนาทขี่ องตนใหส ําเรจ็ ไดโดยสมบูรณ

ฉะนน้ั เราบวชมาในพระศาสนา พึงคํานึงถงึ แนวทางทพี่ ระพุทธเจาแลพระสาวกได
ดาํ เนินไปแลว และไดส ง่ั สอนไวแ ลว ใหห นกั แนน ยง่ิ กวาเร่ืองใด ๆ ทง้ั น้ัน เราอยา เหน็ เรอ่ื ง
ของเราวาเปน เรอื่ งสาํ คญั กวา เร่ืองของธรรม ถาเห็นเรื่องของเราเปน เรือ่ งใหญโตและสาํ คญั
กวา เรอ่ื งธรรมของพระพทุ ธเจา แลว เรอื่ งล้ินเร่อื งปากมันกส็ าํ คญั เร่ืองทองมนั กส็ ําคัญ
เร่ืองการหลับนอน การเกียจครา นกส็ ําคญั เรอ่ื งการเห็นแกตัวมนั กส็ าํ คญั การทกุ อยา งที่
เปนไปเพื่อกเิ ลสตัณหาจะพอกพนู หัวใจมนั เปนเรอื่ งของเรา และจะกลายเปนเรื่องสาํ คัญ
ขนึ้ ตาม ๆ กันทงั้ นัน้

น้แี ลถาเราเห็นวาธรรมของพระพทุ ธเจาไมเปน ของสาํ คญั แตป ลอ ยใหเ รอ่ื งของเรา
สําคัญยิ่งกวา ธรรมของพระพทุ ธเจาแลว ผูน ัน้ จะเอาตวั รอดไปไมไ ด ตอ งเปนผูลม จม เปน ผู
เหลวแหลกทางความประพฤติและสมบตั อิ ันมีคา ตลอดคุณธรรมภายในใจ แมจะยังไม
ตายกเ็ ปน คนหมดคา หมดราคา ไมม ีคุณคา ในตวั แมแตนอ ย ฉะนนั้ เราเปนลูกศิษยข อง
พระตถาคตโปรดเห็นวา ธรรมท่พี ระองคท รงเมตตาส่ังสอนไวท กุ ๆ ขอ วาเปน สมบัติเพือ่
เราจะรับไวเ ทดิ ทูนพระองคท า น และเพื่อประโยชนสาํ หรับเราเองทุก ๆ ขอไป ผมู ีความ
ใครเชน น้ีจะเปนผเู จรญิ ในพระศาสนา จะเปนผูสามารถรือ้ ฟน พระศาสนาใหเ จริญรุง เรือง
ข้ึนภายในจติ ใจของตนดว ย ใหเ จริญรุง เรืองแกสว นรวมซงึ่ เปนประโยชนอ ันย่ิงใหญไ พศาล
ดว ย ชือ่ วาเปน ผูทําหนาที่แทนองคพ ระพทุ ธเจาแลสาวกทัง้ หลายอยา งเต็มภมู ดิ วย

คาํ วา นกั บวช เปน ผเู ต็มภมู ิแลว ในการจะประกอบหนา ทกี่ ารงานในดา นพระ
ศาสนา เพอ่ื รอ้ื ฟนตนใหพ นจากหลม ลกึ คอื บอแหง กิเลสตณั หาอาสวะ ความโงเ ขลาเบา
ปญญา โผลต ัวข้นึ มาสคู วามเฉลียวฉลาด ข้ึนมาสูข อ วัตรปฏบิ ตั อิ นั ดีงาม ศลี กด็ ี สมาธิก็ดี

แวน ดวงใจ ๒๑๔

กัณฑ์เทศน์ท่ี ๒ : ศ-ีล๒ส๔ม๙าธ-ิ ปญั ญา-อิทธบิ าทสี่

๒๑๕

ปญญาก็ดี อยาเห็นวาเปน หนาท่ีของใคร นอกจากจะเปนหนา ที่ของเราคนเดยี ว ซึ่งมุงตอ
แดนพนทกุ ขอยแู ลว ตอ งอาศยั ศลี สมาธิ ปญญา เปน ธรรมเคร่อื งแกเสมอไป ถา ขาดจาก
ธรรมะทัง้ สามประเภทนแี้ ลว จะเปนไปเพื่อความสมหวังไมได ฉะนัน้ ธรรมะทง้ั นีจ้ งึ เปน
หนา ที่ของเราทุก ๆ ทา น จะพยายามบาํ รงุ ใหสมบรู ณขึ้นในกาย วาจา ใจ ของตน

ศีล เคยไดท ราบแลว วา รักษาอยา งไรเปน ศีล เพราะเคยรกั ษาตัง้ แตวนั บวชมา สมาธิ
คือความสงบใจ ตา งไดพยายามกระทําใจของตนใหสงบอยแู ลว และคําวา สมาธิมีหลายขัน้
และแปลไดห ลายนยั แปลวาความสงบก็ได แปลวา ความมน่ั คงกไ็ ด แปลวาความมงุ มนั่ ก็
ได ตามแตขนั้ ของจิตทเ่ี ปน ไปในทางสมาธิ วิธีทําใจใหเ ปนสมาธินมี้ มี าก ตามจรติ นิสยั ของ
ผบู าํ เพญ็ มีตา ง ๆ กัน แตท่ีน้ีจะอธบิ ายพอประมาณเทา ทจี่ าํ เปน คอื

การบรกิ รรมดว ยบทธรรม คอื พทุ โธ ธมั โม สังโฆ หรอื กําหนดลมหายใจเขา ออก
เปนอารมณข องใจ มีสตคิ วบคุมอยกู บั บทธรรมทตี่ นบริกรรม ไมใหพ ลัง้ เผลอจากบทธรรม
น้ัน ๆ ใหจ ิตอาศยั อยกู บั บทธรรมตลอดเวลาท่ีทาํ อยู จติ เมื่อไมมีหนาท่อี ืน่ ทาํ รับรอู ยกู บั
บทธรรมโดยเฉพาะแลว จะเปนไปเพ่ือความสงบ ปราศจากสง่ิ รบกวนที่เคยเปน มา ปรากฏ
เปน ความสขุ ขน้ึ มาในขณะนั้น เพราะการภาวนาหนง่ึ ความสงบหนึ่ง และความสขุ หนงึ่ เปน
ผลตกทอดตอกันมาเปน ลาํ ดบั อยา งน้ี

ผูใครต อ สมาธคิ อื ความสงบแหง ใจ พงึ ถือการภาวนาเปน กจิ จาํ เปน และสําคญั ทุก
โอกาส แมท ี่สุดไปบิณฑบาตไมควรยอมปลอยวางใหจ ิตสงไปตามอารมณต าง ๆ ผานเขา
มา มีความมงุ มน่ั อยูกบั คาํ บริกรรมภาวนา หรอื พจิ ารณาสภาวธรรมตามข้ันแหง จติ ของผู
บาํ เพญ็ ดาํ เนินอยูเทานัน้ ไมย อมลดละ ไมยอมใหพลง้ั เผลอ นับแตข ณะที่กาวออกจากวดั
ไปถึงหมูบ า นแลว กา วกลับออกมาถึงวัด จิตของเรามคี วามพลัง้ เผลอไปกี่ครง้ั ผมู คี วามสน
ใจถึงขนาดน้ี ตอ งรูท เี ดียววา จติ ของตนไดเ ผลอไปก่ีครัง้ และพยายามทาํ เชน น้จี นมคี วาม
เคยชนิ ตอการรักษาจติ ดวยสติ พจิ ารณาดวยปญญา ผนู ี้แลจะเปนผูสามารถทาํ สมาธิและ
ปญญาใหเ กดิ ข้นึ ไดโดยรวดเรว็ อยางไมมีปญหา และจะไมม ีอุปสรรคใด ๆ มากีดขวางได
เพราะการทาํ ศีลใหบ ริสทุ ธก์ิ ็ดี การทาํ สมาธิใหเ ปนไปกด็ ี และการทาํ ปญ ญาใหเปน ไปก็ดี
พงึ ทราบวาออกจากหลกั อทิ ธิบาทท้งั สท่ี อ่ี ธบิ ายมาแลวทงั้ สนิ้ ถา ขาดธรรมเหลา น้ีแลวทาํ อัน
ใดก็ไมเปน ช้นิ เปนอนั แมจะสําเรจ็ ก็ไมส มบูรณ

ถาใจกา วเขา สูความสงบไมไดเปนเพราะเหตุใด ขอใหค นดูรากฐานของจติ ที่ไมยอม
สงบโดยทางสตแิ ละปญญา เปนของสาํ คัญกวาอน่ื คือใชป ญญาสอดสอ งดูวามีอะไรเปน ตัว
เหตุใหใ จฟุง ซา นวนุ วาย นกั ปฏบิ ตั ิแลวตอ งทําอยางน้ี ตองไมทอดธุระในหนาที่ของตน ชีวติ

แวน ดวงใจ ๒๑๕

แวน่ ดวงใจ : ภ- า๒ค๕๐๒ -อบรมบรรพชิต

๒๑๖

จิตใจคอื ความเปน อยูทกุ อยาง มอบไวก ับชาวบา นผรู ักษาศาสนาเชน เดียวกบั เรา ทุก ๆ ชน้ิ
ในปจจยั สี่ คือจีวรเครอ่ื งปกปดกาย บณิ ฑบาต เสนาสนะ และคลิ านเภสชั คอื ยาแกไ ข มอบ
ไวก บั ชาวบานทงั้ นัน้ ไมตองไปกังวล แตเ รอ่ื งของศลี กด็ ี สมาธิกด็ ี ปญญาก็ดี ซงึ่ เปน ทาง
หลดุ พนจากกองทกุ ขท ้ังมวลแลว ใหถ อื เปนเร่ืองสําคัญอยางยง่ิ ตลอดอริ ยิ าบถ และตลอด
วันตายดว ย อยาทอถอย และระอาตอความเพยี ร อยา งไรจะเปน ไปเพ่อื ความสงบ ขอได
ทุม เทกาํ ลงั สติ ปญญา ความเพียร ลงไปอยางสดุ กําลงั จติ จะเหนอื อาํ นาจธรรมเหลา น้ไี ป
ไมได

พระพุทธเจา ก็ดี พระสาวกกด็ ี ไมเ คยปรากฏเปน ผบู ริสทุ ธพ์ิ ุทโธออกมาพรอมขณะ
ประสูติจากพระครรภของพระมารดา พระองคแ ละพระสาวกเปน ผูม กี ิเลสอาสวะเชน เดยี ว
กับพวกเราท้ังนัน้ ไมทกุ ตน ท่ีนาํ มาทาํ เปนบา นเรอื น เปนกฎุ ศี าลาซงึ่ พวกเรานั่งอยู ณ บดั น้ี
ไมไ ดสาํ เร็จรูปเปน บา นเรอื นมาจากปาทเี ดียว แตส ําเรจ็ ขึน้ มาจากการกระทาํ ของนายชาง
เขาโคน ไมลม ลงแลว ตัดตน ตัดปลาย ควรถากกต็ อ งถาก ควรเลอ่ื ยก็เล่ือย ควรไสกบลบ
เหลี่ยมกต็ อ งทาํ ควรทาํ เปนตนเสา เปน ขอื่ เปน แป เปนคาน เปนกระดาน ดาดฟาหรือควร
ลงรกั ทาสี ท้งั นีแ้ ลว แตนายชาง จะทาํ เอาตามความตองการและความฉลาดของตน ไมทุก
ชิน้ ก็ตอ งแปรรูปไปตามการกระทําของนายชาง จะเหนือเขาไปไมไ ด ผลสุดทา ยก็สาํ เรจ็ เปน
บา นเรอื น ตึก หา ง เปน ศาลา โรงธรรมสวนะ

เชนเรานั่งอยูขณะนี้ พึงทราบวาไมไ ดสาํ เรจ็ รูปมาดวยไมท ง้ั เปลือก ทั้งกระพี้ ทั้งกิ่ง
กาน รากแกว รากฝอย แตส ําเร็จรปู ขนึ้ จากนายชางผูฉ ลาดและชาํ นาญ สามารถแปรไมทงั้
ตนจนสําเรจ็ รูปเปน บา นเรอื นขน้ึ มาได นีม้ ีอปุ มาฉันใด เรือ่ งของพวกเรากม็ อี ุปมัยฉันนัน้
พระพทุ ธเจา แลสาวก ทานกเ็ ทียบเหมอื นไมตนหนงึ่ แตพระองคและสาวกตา งกเ็ ปน นาย
ชา ง สามารถเจียระไนองคท านใหเ ปน ผูมศี ีล มีสมาธิและมปี ญญาข้นึ มาจนกลายเปน ศาสดา
ของพระองค และเปน ครูของโลก พระสาวกก็กลายขน้ึ มาเปนสรณะท่สี ามใหเราท้งั หลายได
กราบอยทู กุ วันน้ี เราพงึ ยดึ เอาพระพุทธเจา แลสาวกมาเปน แบบฉบับ คือ สรณํ คจฉฺ ามิ

คาํ วา พทุ ธฺ ํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ นไี้ มเพียงกราบไหวพอเปน พิธี แลว ใหส าํ เรจ็
ประโยชนเ พยี งเทานัน้ เพราะการถึงสรณะยงั มหี ลายขัน้ ข้นั ของพระสาวกอรหันต กราบ
ไหวพ ระพุทธเจา และพระธรรมนน้ั เปน ขน้ั หนงึ่ ขนั้ ของผูมุงทางพนทกุ ขอ ยางเตม็ ใจเปนขนั้
หนงึ่ กราบไหวดวยความสนิทตดิ ใจดวย กราบไหวดว ยถือเอาพระพทุ ธเจา พระธรรม พระ
สงฆม าเปน แบบฉบับและเปน คูชีวติ หรอื เหนือชวี ิต ครองชีวิตของตนจริง ๆ ดว ย ไดแก
เอาแบบของทานมาดําเนนิ ตาม

แวน ดวงใจ ๒๑๖

กณั ฑ์เทศนท์ ่ี ๒ : ศ-ลี ๒ส๕ม๑าธ-ิ ปัญญา-อทิ ธิบาทสี่

๒๑๗

เราขณะนี้ก็เทียบกับไมซุงทั้งทอ น ไดอาศัยเครอ่ื งมือจากพระพทุ ธเจา มาเจยี ระไน
คอื มาเปนเลือ่ ย เปน ส่ิว เปน ขวาน สาํ หรบั ฟาดฟน หรือไสกบในตวั ของเราใหต กออกมา
เปนศลี ท่บี รสิ ุทธิ์ ตกออกมาเปน สมาธิ คือความสงบเปนชัน้ ๆ ของสมาธิ และตกออกมา
เปน ปญญา เปน ช้ัน ๆ ของปญญา จนสําเร็จประโยชนอ ยา งเต็มที่ เชนเดียวกับนายชางแปร
รปู ไมต า ง ๆ ใหส าํ เรจ็ เปน บา นเรอื น เทียบกบั ธรรมะของผบู าํ เพญ็ ยอมสาํ เร็จผลข้ึนมาเปน
ชน้ั ๆ ตามแถวแหง ธรรม พระพทุ ธเจา ตรัสไววา สําเร็จพระโสดา สาํ เร็จพระสกทิ าคา
สําเรจ็ พระอนาคา และสําเรจ็ พระอรหันต เม่ือเทยี บกบั บา นเรอื นทร่ี วมท้งั สมั ภาระแลว
สําเรจ็ รปู ขน้ึ มา น้กี เ็ พราะรวมคุณธรรมทงั้ หลายทไ่ี ดอาศยั เครือ่ งมอื จากพระพุทธเจามา
เจยี ระไนตัวเราเองใหสาํ เร็จเปน ศลี เปน สมาธิ และเปน ปญ ญาขึ้นมา จนกลายเปนวมิ ุตติ
พุทโธข้ึนทด่ี วงใจของผูบาํ เพญ็ ตนดว ยความองอาจกลาหาญ ถาเปน บา นเรือนก็เปน เต็มที่
เปน ตกึ เปน หา งกเ็ ปน เต็มที่ นี้ถาเปนวิมุตติพระนิพพานก็เปน เตม็ ท่ี และปรากฏข้ึนทด่ี วง
ใจของนกั ปฏิบัตผิ มู ีความเพียร

ฉะนน้ั โปรดไดคาํ นึงถงึ เหตุคือขอปฏบิ ัตมิ ากกวา ส่งิ อนื่ ใด เพราะกิเลสไมไดส นิ้ ไป
จากใจเอาเฉย ๆ โดยปราศจากเหตุคอื การชาํ ระ แมแ ตบ า นเรือนกย็ ังตอ งอาศยั เหตุ คือ
การปลกู สรางจึงสําเร็จเปน ทอ่ี ยูอ าศยั ได ใจจะใหเปนไปเพอื่ ความบริสุทธิ์หลุดพน ก็ตอง
อาศัยเราเปนผดู ดั แปลงซักฟอกส่ิงมวั หมองใหห มดไปเปนลาํ ดบั เรม่ิ ตง้ั แตศ ลี ขนึ้ ไปเปน
สมาธิความมั่นคง การเดินจงกรมก็มั่นคง นัง่ ภาวนาก็มัน่ คง การทําความเพียรทุกประโยค
ก็มน่ั คง ความเคลอ่ื นทกุ อาการกม็ น่ั คงดว ยสตแิ ละปญญา ทั้งนี้เรียกวา สมาธิ คือความมั่น
คงตอหนาทกี่ ารงานของตน ทําอะไรไมงอ นแงน คลอนแคลน จนกลายเปนองคข องสมาธิที่
แทจ รงิ ขนึ้ มา คอื ความแนน หนาม่นั คงของใจ ไมเ อนเอยี ง ไมว อกแวกคลอนแคลน

เม่อื มตี น ทุนคือความสงบเยือกเย็นแลว พยายามฝก คน โดยทางปญ ญาพจิ ารณา
สว นแหงรา งกาย นับแตผ วิ หนังเขา ไปถงึ สว นภายใน ตามอาการของสวนแหง รา งกายตาง
ๆ ท่มี อี ยูในรางกาย แยกสวนแบงสวนแหง อาการน้นั ๆ ออกจากความเปน สตั ว เปนบุคคล
เปนหญิง เปนชาย เปน เรา เปนเขา แยกออกจากความเปน ของเราของเขา ใหเหน็ สักแตวา
อาการหน่ึง ๆ ประชุมกนั เขาแลวใหชือ่ ตา งออกไปเทานนั้ ไมม ีสัตว บุคคล เรา เขา หญิง
ชาย ที่แทจ รงิ อยใู นทอนแหง รา งกายนี้เลย

อันดบั ตอ ไปกําหนดใหแปรสภาพจากความเปน อาการน้ัน ๆ ลงสธู าตเุ ดิม คือ ดิน
น้ํา ไฟ ลม จนหมดความสําคัญม่ันหมายวา เปนอาการของรางกายทกุ สวนตามทเ่ี คยเปน
มา และหมดความสําคญั วา หญงิ ชาย สัตว บุคคล เรา เขา ไปปรากฏตวั อยใู นธาตุสน่ี ้ัน ให

แวนดวงใจ ๒๑๗

แว่นดวงใจ : -ภา๒ค๕๒๒ -อบรมบรรพชิต

๒๑๘

เห็นชัดวา แทจ ริงเปนธาตลุ ว น ๆ ไมม ีสง่ิ ใดจะปรากฏตัวออกมาจากธาตุส่นี ั้น พอจะใหเกดิ
ความนารักนา ยนิ ดีแมแตช้นิ เดียว หากเปน เพราะความสาํ คญั ผิดของใจ ซึ่งไมมีปญญา
ความสวางเปน เครื่องสองทางตามหลักความจรงิ ของสง่ิ เหลานเี้ ทา นั้น จิตจงึ ไดล มุ หลงกอง
ธาตสุ ว นหยาบ ๆ ซ่ึงมองเหน็ ไดด วยตาเนอ้ื นว้ี า เปน สัตว เปน บุคคล เปน เรา เปนเขา เปน
ของนา รกั ใครชอบใจ จนกลายเปนบอกังวลอนั ใหญห ลวงไปทั่วไตรโลกธาตุ ไมม ีขอบเขต

แตเมอ่ื แยกออกดูดวยปญ ญาแลว ถาจะวาอาการกส็ ักแตอ าการอนั หนึ่ง ๆ ที่
ประชมุ กนั เขา ถา จะวาธาตกุ ็สกั แตธ าตอุ นั หนงึ่ เทา นน้ั ไมมสี วนใดจะเปนไปเพอ่ื ความนา รกั
นากาํ หนดั ยินดี ถา จะพจิ ารณาเร่อื งทกุ ขกม็ ีอยใู นรางกายอันเปนทร่ี วมของธาตุ เม่อื กระจาย
จากกันไปแลว ทุกขก็ไมปรากฏ ทกุ ขย อมสลายตวั ไปเชน เดียวกับกองธาตุสลาย ถา จะ
พิจารณาเรื่อง อนจิ จฺ ํ ความไมเ ที่ยง ก็ไดแ กร า งกายอันเปน กองธาตุ เปนตวั อนจิ จฺ ํ อยทู กุ
ขณะ ทุกขปรากฏขนึ้ มากนอยกเ็ พราะกองธาตกุ อนนี้แปรปรวน ถา กองธาตกุ อนนี้คงอยู
ทุกขก ห็ าทางเกดิ ขึน้ ไมไ ด เรากไ็ มต อ งเสวยทกุ ข และไมต องบน วา กนั ทัว่ โลก

เพราะใครเกดิ มาในโลกนีไ้ มไ ดม งุ หนามาเกิดเพอ่ื จะบน หรือเปนถอยเปนความกัน
กับทุกข แตเ พราะกอ นธาตุอันเปนกอนแหงทุกข มนั เปน ตัวเปนตนของเรา เราจงึ เปนผู
ทุกข ทัง้ เปนผเู สวยทุกข เราจงึ บน กับทุกขซ ่งึ เปน เร่ืองของเราคนเดยี ว เพราะเรากบั ทุกขม ัน
แยกกันไมออก เรื่องบนกับทกุ ขวนั ยังคาํ่ คนื ยังรงุ ตลอดป ทุกคนจึงแยกไมออก คดิ ดูแลว ก็
นา ทเุ รศ สงสารตัวเราผเู ปนกองทกุ ขด ว ยกัน เพราะตางกแ็ ยกทกุ ขจ ากเรา แยกเราจากทกุ ข
ไมออก ทุกขก ับเราจงึ กอดคอกนั ตาย ไมยอมพลดั พรากจากกันได นพ่ี รรณนาเรอ่ื ง อนจิ จฺ ํ
กับเร่อื ง ทกุ ฺขํ

สว นเรอ่ื ง อนตตฺ า ก็คอื กอ นธาตุอันน้ี ปฏเิ สธคําสมมตุ ินยิ มของโลกอยูต ลอดเวลา
ในกายอันน้ีเอง ถารางกายยังครองตวั อยูตราบใด อนตตฺ า ก็ยงั ครองตวั อยบู นรา งกายน้ี
ตราบนน้ั เพราะไตรลักษณอยูในที่แหง เดียวกนั ไมเ คยแยกทางกนั เดนิ แตไหนแตไ รมา ผมู ี
ปญญาโปรดพจิ ารณารางกายน้ี ใหไ ดม องเหน็ หนาเห็นตาของไตรลักษณ ซง่ึ แสดงตนอยู
อยางเปดเผย ในรา งกายของเราทุกทา น และโปรดพิจารณาซา้ํ ๆ ซาก ๆ จนเกิดความ
ชํานาญในการพจิ ารณา เห็นรา งกายนเ้ี ปน กองแหงธาตุ เปนกองแหงทกุ ขอ ยา งเปดเผยข้ึน
กับใจ ไมม ีสิ่งใดจะสามารถมาปด บงั ลล้ี บั ปญญาไดเ ลย

เมื่อปญ ญากเ็ ห็นชัด จติ กเ็ ชอ่ื งตอ อารมณ ยอมเปนโอกาสของจติ จะรวมสงบลงได
โดยสะดวกสบาย เมื่อถอนขน้ึ มาจากสมาธแิ ลว ปญ ญาก็ทําหนาทีพ่ จิ ารณารา งกายตาม
ความเคยชินมาแลว รา งกายทั้งทอ นจะเปนที่ทองเที่ยวของปญญา จนมคี วามสามารถเตม็ ที่

แวนดวงใจ ๒๑๘

กัณฑ์เทศนท์ ่ี ๒ : ศ-ีล๒ส๕ม๓าธ-ิ ปัญญา-อทิ ธิบาทสี่

๒๑๙

แลว อุปาทานในสวนแหงกายจะขาดกระเด็นออกเพราะกําลังของปญญา จิตกบั กายและกบั
กองทุกขใ นรา งกายก็แยกทางกันเดิน ไมเปน บอ แหงความกังวล ดงั ทีเ่ คยเปน มา

สว นเวทนาในจติ ไดแกสขุ ทุกข เฉย ๆ สญั ญาความจําหมาย สังขาร ความปรุง
ความคิดภายในใจ วญิ ญาณ ความรบั รูในส่งิ ท่มี าสมั ผสั ทง้ั ส่ขี ันธน ีเ้ ปนกองแหง ไตรลักษณ
เชน เดียวกับรางกาย ถา คาํ วา จิต อนั เปนตัวสมมุตยิ งั มอี ยตู ราบใด ขันธท้งั สี่และไตรลกั ษณ
ท้งั สามยงั เขาครองตวั อยใู นจิตนน้ั ตราบนั้น ฉะนน้ั ตอ งตามคน หาขันธท ั้งสไี่ ลตะลอ มลงรวม
ในไตรลกั ษณใหไ ดดวยอํานาจของปญญา โดยคน หาตัวสัตว บุคคล หญิง ชาย เรา เขา ใน
ขันธท ั้งสน่ี ้โี ดยละเอียดถ่ีถว น เราจะไมเหน็ สตั วบุคคลเปน ตน แมร ายหนึง่ แฝงอยใู นเวทนา
สญั ญา สังขาร วญิ ญาณนน้ั เลย จะปรากฏ อนจิ จฺ ํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า ลว น ๆ เตม็ อยใู นขนั ธน ั้น


และการพิจารณานามขันธเ หลาน้ีก็มีลักษณะเชน เดยี วกบั การพิจารณากาย พจิ ารณา
กลบั ไปกลบั มาอยา งซ้ําๆ ซาก ๆ ถงึ กับปญญารูชัดวาไมม อี ะไรนอกจากไตรลกั ษณล ว น ๆ
เต็มอยใู นขนั ธส เ่ี หลานี้เทา นนั้ ปญ ญาจะหมดความสงสัยในขันธทงั้ ปวง เพราะความฉลาด
และคลองแคลว ของปญ ญาจะสามารถตามคนเขา ไปถึงรากฐาน ซง่ึ เปนบอ เกดิ แหงขนั ธท้ัง
หา คือรูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ กจ็ ะไปพบจติ ดวงสมมตุ อิ ันเปนจุดรวมแหง
อวิชชาเตม็ อยใู นทน่ี ้ัน สติปญ ญากบั อวชิ ชาก็จะกลายเปนสนามรบกนั ในท่นี ้ันเอง

อวชิ ชา คือยอดสมมุติ กับ สติ ปญญาอันเปนยอดของมรรค คอื ทางแหง วิมตุ ติ ได
ทาํ หนาที่ของตนตอ กันจนสดุ กาํ ลัง ผลปรากฏวา ไดพบบอเกดิ แหงขันธ คอื รปู เวทนา
สัญญา สงั ขาร วิญญาณ เกิดขนึ้ จากจุดเดยี วนี้ทัง้ นัน้ และบอ แหง ไตรลกั ษณ คอื อนจิ จฺ ํ ทกุ ฺ
ขํ อนตฺตา กร็ วมอยูในจติ ดวงสมมตุ นิ ี้ดวย จิตดวงสมมุตนิ แี่ ลทา นใหน ามวา อวชิ ชา คอื
ความรจู อมปลอม คาํ วา สัตว บคุ คล ตัวตน เรา เขา หญงิ ชาย เกิดไปจากจุดเดียวนี้ เรอื่ ง
เกดิ แก เจ็บ ตาย และเรอื่ งทกุ ขเปนเรา เราเปนทุกข จนแยกจากกันไมออกตลอดกัป
ตลอดกัลป เกดิ จากจุดเดยี วนี้ทงั้ น้นั

จึงควรจะกลา วไดวา แมพ ิมพข องโลกท้ังมวลคือธรรมชาตอิ นั นี้ บดั นปี้ ญญาที่ทัน
สมยั ไดค น หาตัวแมพิมพของวัฏฏะ ไดพ บกันอยา งเปดเผยในสถานท่อี วชิ ชาเคยซอ นตวั จงึ
ทาํ ลายธรรมชาตนิ ล้ี งดว ยอาํ นาจของปญ ญาคมกลาซึ่งฝก ซอ มมาจนชํานาญ แมพิมพของ
วัฏจักรไดถูกทาํ ลายแตกกระเด็นลงในขณะเดียวเทา น้นั ววิ ัฏฏะไดปรากฏข้ึนอยางเตม็ ท่ี
โดยไมมีส่ิงใดปด บัง ปญ ญาท้งั หมดไดสนิ้ สุดลงในขณะอวิชชาดับลงไป ศลี กด็ ี สมาธกิ ด็ ี
ปญญาก็ดี ไดต ามสง เราไปถึงจดุ นน้ั กเิ ลสทงั้ มวลกจ็ ะรบกวนเราไปถงึ แคนัน้ ความโลภ

แวน ดวงใจ ๒๑๙

แว่นดวงใจ : ภ- า๒ค๕๔๒ -อบรมบรรพชิต

๒๒๐

โกรธ หลงก็หมดฤทธิ์หมดอํานาจ จะไมสามารถทาํ เราใหห มนุ เวียนอกี เชน เคยเปน มา แม
ขนั ธซ ่งึ เคยเปน บริวารของอวชิ ชา กก็ ลับกลายมาเปน ขันธล วน ๆ ไมเ ปน กเิ ลสอาสวะแต
อยางใด ศีล สมาธิ ปญญา กท็ ราบชัดวา เปนเครื่องมือสาํ หรับแกกเิ ลสอาสวะ ที่เปนขาศึก
ตอ ตัวเรา เพราะรเู ทาเหตุรูเ ทาผลอยางแจม แจง แลวปลอ ยวางไวตามเปน จริง

รเู ทา เหตุ คอื เหตุแหงทกุ ข ไดแกสมุทัย มกี ามตณั หา ภวตัณหา วิภวตณั หาเปนตน
ดว ย รเู ทาเหตุแหง สขุ คือ ศีล สมาธิ ปญ ญาดวย รเู ทาผล คอื ทกุ ขท เ่ี กิดขนึ้ จากสมทุ ยั ดว ย
และรูเ ทา ผล คอื นโิ รธทเ่ี กิดข้นึ จากเหตุแหง สุข คอื มรรคดวย ผรู ูเทาสจั จะของจรงิ ท้ังส่นี ้ัน
นนั่ แลเปนธรรมพเิ ศษ จึงควรใหนามวา วิมตุ ติธรรม เพราะนอกจากสมมุติสัจจะไปแลว
เปนธรรมตายตวั เดนชัดอยดู วยความเปนอสิ ระในตัวเอง ไมข น้ึ อยูก บั สมมุติใด ๆ เปน ธมฺ
โม ปทีโป อยางสมบรู ณ (ความสวางแหง ธรรม) เชน เดยี วกบั พระอาทติ ยท่ปี ราศจากเมฆ
กาํ บังแลว ยอมสองแสงสวา งไดอ ยา งเตม็ ที่ฉะนน้ั ในขณะเดียวกนั พุทโธ ธัมโม สังโฆ อัน
เปนอัตสมบตั ิอยา งประเสรฐิ ไดปรากฏขึ้นในใจของผูม ชี ยั โดยสมบูรณ

สมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจา ทานตดั สินกนั กับวัฏจักร ในคนื ของวันเพญ็ เดือนหก
สว นพวกเราจะไปตดั สินกนั วันไหน เราจะปลอ ยใหความเกียจครานตดั สินเอาเสยี ทกุ วันนน่ั
หรอื หรอื จะมอบดวงใจอันมคี ณุ คามหาศาลน้ใี หก เิ ลสตัณหาเอาไปทําเปน ครวั ไฟ หองนํ้า
หองสว ม ทช่ี าํ ระขบั ถา ยทุกวนั น่ันหรือ ถา เราไมต องการใหส ่ิงเหลา นตี้ ัดสินชข้ี าดเอาตาม
ความตองการของเขา เทา ท่ีเคยเปนมาแลวหลายภพหลายชาติ เราก็ควรต่ืนตวั ตอความ
เพยี ร ศีล สมาธิ ปญญา กบั ความเพยี รอยาใหห างจากใจ คาํ วา วมิ ตุ ติ พทุ โธ จะไมเกดิ ขนึ้
ในทีใ่ ด ๆ แตจะเกิดขน้ึ ท่ีดวงใจของผูมีธรรม

เพราะพระพทุ ธเจา ทกุ ๆ พระองค และพระสาวกของพระพทุ ธเจาทกุ ๆ พระองค
ไมเ คยปรากฏข้ึนจากทอ่ี นื่ ใดทั้งนน้ั แมจ ะตรสั รใู นทตี่ า ง ๆ และเวลาอนั ตางกนั กต็ าม แต
ตองตรัสรูใ นกรอบแหงหลักธรรม คือมัชฌิมาปฏิปทา อันเปนธรรมสายกลางนเ้ี ทา นนั้ จะ
ไมต องตรสั รดู ว ยกาลสถานท่ี แตจ ะตรัสรูด ว ยธรรม คือมัชฌิมา ฉะนัน้ จงึ ควรจะกลา วไดว า
พระพทุ ธเจา ทง้ั หลายพรอมทั้งพระสาวก ทานทรงอุบัติข้นึ จากพระธรรมทั้งนัน้ บรรดาทา น
ผูปฏิบตั ิจงึ ไมควรไปสนใจกบั กาลและสถานท่ีใหม ากกวา ความสนใจในหลักธรรม อันจะนํา
ผูป ฏิบัติใหพ นผานอุปสรรคไปไดโดยลําดับ จนถึงความพน ทกุ ขไ ปโดยสิ้นเชงิ

เราลองคิดดูเรื่องของกเิ ลสทุกประเภท ทเ่ี คยพอกพูนหวั ใจของสตั วม านานแสน
นาน ไมเคยเหน็ เขาปลอยตวั ใครออกไปเปน อสิ ระ เพราะกาลเวลาและสถานทีเ่ ปน เหตุแม
แตร ายเดียว เขายงั เปน เจาครองอาํ นาจบนหัวใจของสตั วต ลอดกาล ไมเห็นมีวันปลอ ยตวั

แวน ดวงใจ ๒๒๐

กัณฑเ์ ทศนท์ ี่ ๒ : ศ-ลี ๒ส๕ม๕าธ-ิ ปญั ญา-อิทธบิ าทส่ี

๒๒๑

เพราะถึงเวลาเลย ถา เปนนกั โทษ แมจ ะมโี ทษหนักก็ยงั ขึน้ อยกู บั เวลา และมวี ันปลดปลอย
ตวั ออกมาเปนอสิ ระได เราเปนผูนับถอื พระพทุ ธศาสนาในวงแหงสวากขาตธรรม จึงควร
คาํ นงึ ถึงธรรมทท่ี รงประกาศสอนไว พระองคไมต รัสวา เราตถาคตมอบใหม ้อื วนั ป เดือน
ตัดสินกเิ ลสออกจากหวั ใจของสตั วเลย แตต รัสมอบไวก บั พระธรรมท่ผี เู ชื่อธรรมจะนาํ ไป
ปฏบิ ตั แิ กไขตนเองไปเปน ลําดับ จนถงึ ความพน ทุกขไ ปไดเ พราะพระธรรมเทา นั้น

ธรรมทงั้ หลายท่ีไดอ ธบิ ายในวนั น้ี โปรดทราบวา มีอยูก บั ตวั ของเราทุกทาน และพระ
พุทธเจา ทานนําเรือ่ งของเราออกแสดงใหเ ราฟง อยา พึงเขาใจวาเปน เรอ่ื งใคร เพราะดีกบั
ชัว่ เปน เร่อื งของเราเคยทาํ มาจนช่ําชองดว ยกัน จึงไมค วรสงสัยในเรอ่ื งของตน ถา เราเบอ่ื
หนา ยตอการเกดิ ตายอนั เปรยี บกบั หลมุ ถานเพลิงนีแ้ ลว จงพยายามบาํ เพญ็ ตนดวยความ
ไมป ระมาทนอนใจในส่งิ ท่เี ปนขา ศกึ ตอ ตนเองทกุ ประเภท สติปญ ญาโปรดใหแ นบสนิทอยู
กับใจ และอารมณทเี่ กดิ ข้ึนจากใจของตน อารมณนแี้ ลเปนตัวกอเหตุสําคญั จงนาํ สติ
ปญ ญาตามวนิ ิจฉยั และแกไ ขเหตกุ ารณเ หลานใ้ี หสิน้ สุดลงไปได

การประกอบความเพียรในวนั หน่งึ ๆ ไมเปน ของยากลาํ บากเหมือนเราทอ งเที่ยว
เกิด ตาย อยูในสงสารอันเปน ความทุกขท รมานแสนสาหัส การเพียรพยายามเพ่อื ร้ือถอน
ตนออกจากทุกข ไมเปนของยากลาํ บากถึงขนาดน้ัน จงึ ควรพยายามบําเพญ็ ตนใหเปน เนอ้ื
นาบญุ ของตน เมอ่ื สมบรู ณเ ต็มทีแ่ ลว ตอ ไปจะไดเ ปน ประโยชนแ กโ ลกสงสาร เนื่องจากเรา
ทําตัวใหร มเย็นพอโลกจะพ่ึงเราได เขาใหทานมาเล็กนอ ยกม็ ผี ลมาก เพราะเนือ้ นาดี และ
เตม็ ไปดวยปยุ คอื ศีล สมาธิ ปญญา วิมตุ ติ พุทโธ ฉะน้นั โปรดพากนั รบี เรง ความเพียร อยา
ลดละตลอดอิรยิ าบถ จะปรากฏส่งิ มหัศจรรยเกดิ ข้ึนจากใจของผมู คี วามเพียร โดยไมม ีสิ่ง
ใดมากีดขวางไวไ ด

วนั น้ีไดอธบิ ายธรรมเกีย่ วกับเรือ่ งศีล สมาธิ ปญญา และอทิ ธบิ าททัง้ ส่ี ซ่ึงเปนราก
ฐานของพระศาสนาใหทา นนักปฏบิ ัติทง้ั หลายฟง โปรดไดน ําไปพจิ ารณาและปฏิบัตใิ หส ดุ
ขีดความสามารถ ดวยความองอาจกลาหาญตอความเพยี ร เพอื่ ถึงแดนแหง ความพนทกุ ข
โดยถา ยเดียว คําวา นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ํ นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ ซึง่ เคยเปน ขอ ของใจมานาน
จะสิ้นปญหาลงในจิตของผมู ธี รรมคมุ ครองตนดว ยความเพียรโดยไมตองสงสยั

ในทส่ี ดุ แหงการแสดงธรรม ขอความสมหวังทั้งการดาํ เนินและผลอนั จะเกดิ ข้ึนตาม
ความจาํ นง จงเปนของทา นทัง้ หลายโดยทว่ั หนากนั เทอญ

www.Luangta.com or www.Luangta.or.th

แวน ดวงใจ ๒๒๑

แวน่ ดวงใจ : ภ- า๒ค๕๖๒ -อบรมบรรพชิต

กฏุ ทิ า่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสัมปนั โน
วัดป่าบา้ นตาด จังหวดั อดุ รธานี

๒๒๒

เมือ่ วเทันศเททคน่ีศ๑อวน๐บอ์าบรมสมริงสมพหกพงราัณรัดคะะฑม-ณณค์ทพววี่ วุทดั ๓าัดธปปมศา่าเกับบพรา้า นานียชตตราา๒ดด๕๐๕

เมือ่ วทนั ทาํ ่ี ต๑๐ัวเสหงิ หมาคือมนพแทุ ธมศักเ รนาช้ือ๒๕๐๕

พระพุทธเจา นับแตเร่มิ เสด็จออกทรงผนวช แสวงหาวิเวกสงัดเปน หลักฐาน
ประจําศาสดา บาํ เพ็ญพระองคใ นปา สําเรจ็ พระอริ ยิ าบถในปา และตรัสรูในปา เวลา
ปจ ฉมิ ยามอนั เปนยามสงัดอยา งยง่ิ บรรดาพระสาวกก็ตามเสด็จในทางสายเดยี วกนั มี
ความเปน อยูอยางสงดั ทั้งทางกายและทางใจ ไมม ีการคลุกคลกี บั ฝูงชนทุกชัน้ ทั้งคฤหัสถ
และบรรพชติ ตา งกม็ งุ ตอ ความสงัดวเิ วกประจําตน เมื่อไมม ีสิง่ เก่ยี วของ จติ ยอ มมีความ
สงบไดเ ร็ว เพราะฉะน้ัน กายวิเวกจงึ เปนบาทฐานสาํ คัญทจ่ี ะทาํ ใจใหไ ดร ับความสงบเปน
อยางดี

พุทธประเพณที รงดาํ เนนิ แตตนถงึ วันตรัสรู ไมท รงสนพระทยั กับส่งิ ใดอนั จะเปน
เหตุกอกวนความเพียรทางใจ ขณะทรงบําเพ็ญไมป รากฏวาสนพระทยั กับผใู ด และแสวง
หาใครมาเปน เพ่ือน ทรงแสวงหาที่สงัดจริง ๆ แมต รสั รูแลว จะทรงทาํ หนา ทขี่ องพระ
พุทธเจาเพอ่ื โปรดเวไนย ก็ไมทรงทอดธุระในสถานที่ดงั กลาวน้ี และทรงถือประจําพระ
อิริยาบถตลอดวนั นพิ พาน เพราะฉะนน้ั ความวเิ วกสงดั จงึ เปน สิ่งจําเปนอยา งย่งิ สาํ หรบั ผู
มุงตอแดนนพิ พาน

แตค วามสงัดมหี ลายประเภท ความสงัดธรรมดาท่ีอยู ๆ กันอยางหนงึ่ ความสงดั
ซึ่งอยูเปล่ยี ว ๆ ทเี่ ต็มไปดวยสตั วรายนานาชนดิ อันเปนเหตุใหระวงั ภยั ท้ังกลางวนั กลาง
คนื อยา งหน่งึ เราอยดู วยกันหลายคนแมจ ะไมม กี ารพดู สนทนา ตางคนตางอยูใ นที่ของ
ตน จดั เปน กายวิเวกขนั้ หยาบ การอยใู นสถานท่เี ปล่ยี วและระวังภยั รอบดา นนัน่ แล จดั
เปนกายวิเวกสว นละเอียด เพราะไมมองเหน็ ใครทัง้ ดานตาและดานความรูสึก

ฉะน้นั อนศุ าสนทีป่ ระทานไว จึงเปนหลักธรรมสาํ คัญประจาํ พระศาสนา เราจะ
เห็นไดจ ากสถานทีส่ งดั ธรรมดาและมหี มูคณะอยดู วยกนั ความรสู ึกจะมลี ักษณะทอื่ ๆ
และประมาทนอนใจชอบกล แตพ อจากหมคู ณะไปอยใู นสถานทีเ่ ปล่ยี วและนากลัว ทงั้
อยูคนเดยี วดวยแลว ความรสู กึ จะเปลี่ยนข้นึ ทันที ความสนใจในธรรมะจะมีมาก เพราะ
ความกลวั บงั คับ จาํ ตองแสวงหาทพี่ ง่ึ ไมว า ทางโลกทางธรรมยอมมลี ักษณะเชนเดยี วกัน
สตจิ ะไดเ คยอบรมหรอื ไมเ คยอบรมก็ตาม แตขณะท่ีส่ิงแวดลอ มบงั คับเชน นั้น จาํ ตองมี
สติขึน้ มาทนั ที พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ตามปกติไมท ราบวา อยูทีไ่ หน แตใน

แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : -ภ๒า๒ค๕๒๘๒๒-อบรมบรรพชิต

๒๒๓

เวลาเชน นน้ั จิตเรมิ่ ระลกึ ยึดเอามาเปนที่พึ่งทนั ทีโดยไมย อมใหพ ล้ังเผลอ เพราะถาเผลอ
ไปในขณะนนั้ เกิดมีอนั ตรายแกช วี ิตขน้ึ มาตอ งเสยี ที

ดังนัน้ ผอู ยใู นสถานท่ีเปล่ียวและนา กลวั ตอ ภยั จงึ เปนผจู ะต้ังสตบิ ังคบั ใจใหเ ขา สู
ความสงบไดเร็วกวา ปกตทิ จ่ี ะเปน ได สว นจติ ท่มี คี วามสงบไดบ างและจิตที่เปน สมาธิแลว
กย็ ิ่งมีกาํ ลังเพ่มิ ข้นึ และรวดเรว็ กวา ปกตธิ รรมดา สาํ หรบั ผกู า วเขา สปู ญ ญาและผมู ีปญ ญา
คลองแคลวพอประมาณ กย็ ง่ิ จะเพ่มิ กําลงั ความแยบคายข้ึนทั้งภายในภายนอก ฉะน้ัน
นกั บวชผูมุงปฏิบตั ธิ รรมข้ันสูงจึงควรเหน็ และสนใจในทส่ี งัดเปน ที่บําเพ็ญเพยี ร เพราะ
จะทําใหผ เู ขาอาศยั ไดรบั ผลประจกั ษใ จ ท้ังดานสมาธแิ ละดานปญญา อนั จะเกิดจากการ
ระวังสงั วรอยูตลอดเวลา ยิ่งเปน ผกู ลา หาญตอ ความเปน ความตายเพ่อื พระสทั ธรรมจริง
ๆ แลว สถานที่เชน นนั้ และผูเชน น้นั แล จะเปน ไปไดงายและรวดเรว็ ทง้ั สมาธแิ ละปญ ญา

พระพุทธเจา กด็ ี พระสาวกก็ดี ผูมีพระนามกระเดอ่ื งเลื่องลือในไตรภพ ทา น
บําเพญ็ ในสถานท่สี งัดทั้งนั้น จงึ ควรจะกลา วไดวา ธรรมชอบเกดิ ในสถานทีส่ งดั และเวลา
อนั สงัด

แตผูข้ีขลาดหวาดกลวั และมคี วามทอแทออ นแอ เพราะความเห็นแกต วั มากกวา
ธรรม ก็ย่งิ จะเพ่มิ กิเลสอาสวะใหม ากมูนขน้ึ ในใจ หรืออาจเปนบา เปนบอไป เพราะสถาน
ทเ่ี ชน น้นั กไ็ ด สว นผูจะถวายตวั เปนลกู ศษิ ยพระตถาคตโดยชอบ ตองเปน ผกู ลาหาญตอ
ความจริง คอื การเปน การตายเปนคติธรรมดา ไมม ีใครจะขา มพนไปไดในรางอนั น้ี ท้งั ผู
กลา ผกู ลัวจาํ ตอ งเดนิ ทางสายมรณะ คอื เกิดแลว ตองตายดวยกัน เวลาน้ที ุกทา นไดค าด
เคร่ืองรบไวอยา งเต็มตวั และเตรียมพรอ มแลว ทจี่ ะทาํ สงครามกบั กเิ ลสอันเปน ขา ศึกภาย
ใน

คําวา เครื่องรบ คอื บรขิ ารแปด อนั เปน เครื่องแบบของผจู ะกาวเขา สูสงคราม
และศลี สมาธิ ปญญา ตลอดขอ วัตรปฏบิ ตั ทิ กุ ประเภท น่ีคือเคร่ืองมอื ในการรบ เคร่อื ง
รบท้งั น้โี ปรดทราบวา เปนเครือ่ งรบของทานผกู ลา หาญ ของทา นผมู คี วามเพยี รกลา ไม
ถอยทัพกลบั ตวั เปนคนออนแอขขี้ ลาด มีความหวาดกลวั ตอขา ศกึ เปน เคร่อื งรบของทา น
ผูกลาตายในสงคราม เปนเครือ่ งรบของทา นผผู า นชยั ชนะ และนําธงชยั มาสูโลกดว ย
ความองอาจตอผลทีค่ รองอยวู าเปน ความจรงิ โดยสมบูรณ และสามารถจะประกาศความ
จริงเหลานแี้ กปวงชนทวั่ ทง้ั ไตรโลกธาตอุ ยา งไมมคี วามขยาดหวน่ั ไหว และรื้อขนหมูช น
ท้งั ทวยเทพใหหลดุ พนไปตามได ทานผนู ้นั คือ พทุ ฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ ของหมูชน ผลทีท่ รง
ไดร บั จากชัยชนะใหโ ลกไดเห็นเปน ขวญั ตาขวัญใจนน้ั คอื ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ ของ

แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศนท์ ่ี ๓ ๒: ค๒วาม๓สงดั -ความเพียร

- ๒๕๙ -

๒๒๔

เวไนย และผทู าํ การรบตามเสดจ็ จนไดร ับชยั ชนะอยางสมบูรณต ามท่ปี ระทานแนวทางไว
นั้น คือ สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ ของพวกเรา

เพราะฉะนนั้ เครือ่ งแบบและเคร่ืองรบท่คี รองอยกู ับตัวของทุกทา น จงึ เปนสิ่ง
ศกั ดิส์ ิทธว์ิ ิเศษ และมีคณุ คาอนั หาประมาณมไิ ด มิใชเครอื่ งบริขารของคนเกียจคราน
นอนต่ืนเอาตามอาํ นาจของกเิ ลสอาสวะบังคบั หนักไปในความเห็นแกต วั ไมม องดูธรรม
อันเปน ทางเส่ือมเสียโดยถายเดียว เร่อื งทง้ั นจี้ งึ ควรเกลียดกลัวในวงปฏิบัติ เพราะเพศนี้
เปนเพศท่กี า วหนาดวยความเพียรท่ีชอบ บําเพ็ญตนดวยความหา วหาญร่ืนเริงตอแดน
พนทุกข มีสติระมดั ระวงั เพราะสมณะยอ มเปน ผูงามดว ยมธี รรมเหลาน้เี ปนเคร่อื ง
ประดบั ถาความสาํ รวมระวังไดดอยลงหรอื ขาดไปในขณะใด ยอ มขาดความเปนสงาราศี
และสวยงามลงในขณะนัน้ ไมมีใครจะฝนชมวาดแี ละงามตาเลย

คนผูมคี วามสํารวมระวังประจําตน ยอ มเปนผงู ามในหมูชน ทงั้ นกั บวชและ
ฆราวาส ยอ มถอื สงั วรธรรมประจําตนและสงั คมทัว่ ๆ ไป ทง้ั เปน ธรรมประกนั สังคมใหม ี
คุณภาพเปนท่นี า ดู ผขู าดสังวรธรรมแลว จะไมม คี วามงามเหลืออยเู ลย ดงั นัน้ ผูเ ปน ศษิ ย
พระตถาคตผปู รากฏงามเดน ในหมูชนดว ยสังวรธรรม จงึ ควรนอมรบั มาเปน มรดกและ
ประดบั ตนใหง ามทัง้ ภายนอกภายใน จะเปนผูงามในเพศไมม ีวนั จืดจาง

อนั ดับตอไปคอื ความเพยี ร เปน ธรรมประจาํ องคข องพระผูเตม็ ไปดว ยความ
เพยี ร เพราะพระพทุ ธเจา และพระสาวกปรากฏเปนผมู ีความเพียรกลา ในกิจทช่ี อบทุก
กรณี ไมเ คยเหยียบรองรอยความทอ แทอ อ นแอเปน แบบพิมพแกโลกไวท่ีไหนเลย ถา
โลกเราพยายามหดั เขยี นหัดอานตามแบบพมิ พของพระพทุ ธเจาจนชินตอนิสัยแลว โลก
และธรรมจะมีความเจริญรงุ เรอื งขน้ึ เปนลาํ ดบั ทง้ั ดานจิตใจและโภคทรพั ย

แตใ นที่นีจ้ ะอธบิ ายเฉพาะความเพียรทางใจ อนั จะยังผลใหเกดิ ขนึ้ แกผ ปู ฏิบัติ
ตามเปน ลาํ ดบั จําตอ งมสี ติควบคุมในการทําทุก ๆ ประโยค อยาใหพรากจากใจ มีสติรับ
รอู ยกู บั กิจการน้ัน น่เี ปน สาเหตจุ ะใหความเพียรติดตอ เพราะสตเิ ปนเครื่องรับรูกับสง่ิ
สมั ผัสทกุ ประเภท อนั เปนตน เหตใุ หเกิดอารมณทางภายใน ถาขาดสติซ่ึงเปน ธรรม
สําคัญแลว อารมณย อมทาํ การตดิ ตอ กับใจไดอยางเตม็ ที่ เพราะขาดธรรมเครอ่ื งตาน
ทานขัดขวาง โดยมากทีไ่ ดรับความทุกขร อนภายในใจอยางหนกั ถงึ กับระบายออกมา
ทางกาย วาจา และบางคร้ังจนหาทางออกไมไ ด เลยตดั สนิ ใจไปในทางผิดเพิ่มเขา อกี ทัง้
นล้ี วนเปน สาเหตมุ าจากความขาดสตโิ ดยสน้ิ เชิง

แวนดวงใจ แว่นดวงใจ : ภ-๒า๒ค๖๒๐๒๔-อบรมบรรพชติ

กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๓-: ๒ค๖ว๑าม-สงดั -ความเพยี ร

๒๒๖

ไปเที่ยวหากินทีไ่ หนตามความจาํ เปน บังคับ แมเ น้ือไมเคยนอนใจตอสถานท่แี ละ
อันตราย แมทีส่ ดุ กําลงั กลนื ผลไมหรอื กดั กินหญาอยู ยังตองระวังอนั ตราย แมเนอ้ื ปฏบิ ัติ
ตอตนเองดงั ทกี่ ลาวมา

เราผเู ปนศิษยของพระพุทธเจา ผูฉ ลาดรอบคอบในสง่ิ ท้ังปวง ควรทาํ ตัวเหมอื น
แมเนอ้ื จะสมนามวา ศิษยม คี รู ไมค วรทาํ ความสนิทติดใจกับสิ่งใดจนเกนิ ไป จะเปนเหตุ
ใหล มื ตวั และเปน ทางเส่ือมเสียโดยไมร สู ึก การฝก หัดสตริ ะมัดระวังเพ่อื รูสาเหตุของ
ความผิดชอบช่วั ดี และฝกหัดปญ ญาตรวจตรา และไตรตรองดูสิง่ ท่ผี านเขา ผา นออกจาก
ทวาร คอื ตา หู กาย ใจ ฯลฯ จนสามารถรชู ดั ตามสิง่ ดีและชั่วแลว รีบแกไขดวยความไม
นอนใจนนั้ เปน ทางเดินของผูเห็นภัยในวฏั ฏะ เพราะพระพทุ ธเจา ผพู น ภยั และทรงบรรลุ
ถึงความรม เยน็ อยางสมบรู ณ ทานดําเนินอยางนที้ ้ังนัน้ ไมใชแ บบนอนจมอยูกบั อารมณ
ทํานองสตั วนอนจมกองมตู รกองคูถโดยไมคดิ หาทางออกเชนนั้น และวธิ ีฝกหัดสติ
ปญ ญาใหมีความเคยชินตอเหตกุ ารณท ุกระยะนั้น

พึงทาํ ความพยายามกับการเคล่อื นไหวไปมา และเวลานง่ั ภาวนาทาํ ความรสู กึ ให
ติดตอกัน และพยายามทําเสมอ เชนเดียวกบั เด็กฝก น่งั ยนื เดิน เบ้ืองตน กม็ กี ารลม ลุก
คลุกคลาน ตอไปเด็กยอมมคี วามชํานาญเพราะการฝก หดั เสมอ จนกลายเปน อิรยิ าบถ
ของผใู หญข้นึ มาในตัวของเดก็ ลกั ษณะของสติปญ ญายอ มมที างเจรญิ และชาํ นาญไดด วย
วธิ ีฝกหดั ในทาํ นองเดียวกนั คนมสี ตปิ ญญาประจาํ ใจยอมมที างรูเรอื่ งของตัว จะพิจารณา
อาการของกายหรือสภาวธรรมภายนอก กย็ อ มเปนธรรมและมีอุบายแยบคายเพิ่มข้ึนทุก
ระยะ และมที างเอาตวั รอดไปไดโ ดยลําดับ ฉะนัน้ สตกิ ับปญญาจึงเปน ธรรมจําเปน ทจ่ี ะ
แนบกับกิจการทกุ แขนงท้งั ทางโลกและทางธรรม ผบู กพรอ งหรอื ขาดสติอยา งเต็มที่
ยอมกลายเปนคนบาคนบอไปตามทเี่ ห็น ๆ กันอยู ท้งั น้ีลวนเปนผลมาจากความขาดสติ
ทง้ั นน้ั อยาพงึ เขาใจวาเปนมาจากเรือ่ งอะไรอนื่

เราไมเ ปน คนเชน น้นั แตกเ็ ปนคนในลกั ษณะขาดสติประจาํ ความเพียร ผลที่
ปรากฏขึน้ จึงเปน ความรมุ รอนภายในใจ ทําใหทก่ี ินอยูห ลับนอนคับแคบไปหมด วนั คนื
เดือน ป ดินฟาอากาศ อาหารหวานคาว เคร่ืองหลอเล้ียงชีวิต ตลอดญาตมิ ิตรเพ่ือนฝงู
อันเปนท่ฝี ากชีวิตจติ ใจ ฝากเปน ฝากตาย ก็กลายเปนขาศึกไปเสียส้นิ ไมมีส่งิ ใดจะเปน ที่
เจรญิ หู เจริญตา เจรญิ ใจ แตกลบั กลายเปน ศตั รูตอ ตนทางความรสู กึ มองดโู ลกทีเ่ คยอยู
อาศยั ก็กลายเปน กองเพลงิ ไปท่วั ดินแดน เพราะความทุกขร อนภายในมกี าํ ลังกลา ปกปด
กําบังทางเดินเพอ่ื ความปลอดภยั ไวเสยี ทุกดา น แลว เปด ทางโลกวินาศไวคอยตอนรับ

แวน ดวงใจ แว่นดวงใจ : -ภ๒า๒ค๖๒๒๒๖-อบรมบรรพชติ

๒๒๗

ผลจงึ กลายเปน ความพนิ าศไปตามสาเหตุ ฉะนนั้ โปรดทราบไวแ ตตน ทางวา เรือ่ งทีก่ ลาว
มาท้ังนีไ้ มใ ชเรือ่ งเล็กนอ ย และเรือ่ งสติปญญาซง่ึ เปน ทาํ นบกั้นกางโลกวนิ าศเหลา น้ี จึง
ไมใ ชเรอื่ งเลก็ นอ ยพอจะนิ่งนอนใจไมนาํ พา เพราะเร่อื งความเสอื่ มความเจริญอนั จะ
ปรากฏขน้ึ กบั เราแตล ะทา น จึงเปน เร่ืองเกยี่ วกบั สตปิ ญญาโดยตรง

การกลาวเพือ่ บาํ รุงสตปิ ญ ญาซา้ํ ๆ ซาก ๆ ก็เพราะเห็นภยั ซ่ึงเคยเกิดข้นึ ทั้งแก
ตนและแกทา น อยางซบั ซอนแหลกเหลวจนประมาณมิได เพราะความขาดธรรม คือ สติ
ปญ ญาเคร่อื งแกไขบัน่ ทอน การฝกฝนสติจนมคี วามเคยชนิ ยอ มเปน ผลดีทงั้ ทางดาน
สมาธแิ ละดา นปญญา ทงั้ จะเปนไปอยา งรวดเร็วและทันกบั เหตกุ ารณ เพราะจิตไมมที าง
เล็ดลอดออกทําการตดิ ตอ กับอารมณ ใหเ ปน ความมวั หมองและเส่ือมโทรม เชนเดียวกบั
โจรท่มี เี จาหนา ทคี่ วบคุมอยู เขาจะคอยกลายเปน คนดตี อ ไป ขณะท่เี ขาเปน โจรไปเที่ยว
ปลนหรอื ขโมยของใคร ๆ นัน้ ไมม ใี ครรูแ ละควบคมุ เขา เขาจงึ ทาํ ความช่ัวไดในขณะน้ัน

ใจซง่ึ เปนโจรภายในกเ็ ชนเดยี วกัน ขณะท่มี สี ตคิ วบคมุ อยู จิตจะทาํ ความเสยี หาย
ข้นึ มาไมไ ด ตอ เมื่อเผลอนน่ั แล จิตจะทาํ ความเสียหายจนปรากฏผล คอื ความทกุ ขรอน
ขึ้นมาในขณะนั้น แตถ ามีสตคิ วบคมุ บงั คับไมใ หเกยี่ วขอ งและสนใจกับสิง่ ที่เปนขาศกึ
พยายามดัดแปลงใหเ ขาสกู รอบแหง หลักธรรมทีต่ ้ังไว มอี าการ ๓๒ ของกาย อาการใดก็
ได ลมหายใจก็ได พุทฺโธ ธมฺโม สงฺโฆ ก็ได ตามจรติ ชอบ จิตจาํ ตอ งทาํ งานตามลาํ ดับ
ของสติท่ตี ดิ ตอกันในระยะส้ันหรือยาว ความสงบทง้ั นจี้ ะเปน เชือ้ และสื่อใหเ กิดศรทั ธา
ความเช่อื ความเลอ่ื มใสตอการดําเนินของตน และเชอื่ ในมรรคผลแจมชัดขึ้นกบั ใจ ความ
เพียรกน็ บั วนั มีกาํ ลังขน้ึ ทุกประโยค ความเพยี รจะมจี ุดท่หี มายเปน เครื่องดึงดดู ใจ ใหเ รง
รีบตอการดาํ เนินของตน ผลยง่ิ แสดงเปน ความแปลกประหลาดและอัศจรรยข้นึ ทุกวนั
ทง้ั ดา นความสงบและความสุขจะทรงตัวอยูไดนาน ผูปฏบิ ตั ิทําความพยายามยิง่ ข้ึน ผล
จําตอ งสนองตามวาระของความเพยี ร จนมีความชาํ นาญทางดานสมาธิ คือใหพักและ
ถอนไดตามความตอ งการ

อนั ดบั ตอไป ควรใชป ญ ญาใครค รวญในสภาวธรรม มีกายเปนตน ในเวลาจติ
ถอนจากสมาธิแลว เพอื่ สมาธกิ บั ปญญาจะไดเ ปนคเู คียงกนั ไปตามหนาทแ่ี ละโอกาส วิธี
ใชป ญ ญาข้ันตน ตอ งอาศยั การฝกหัดเชน เดียวกับทางสมาธิ โดยพาพจิ ารณาไตรต รอง
ตามธาตุขันธอ ายตนะ อันเตม็ ไปดวยความเปลย่ี นแปลงแปรปรวน ทง้ั ภายนอกภายใน
เตม็ ไปดว ยสิง่ ผสมนานาประการ ไมม ีแมส ิ่งเดียวจะเปนท่พี งึ ใจและคงอยูต ลอดไป แม

แวนดวงใจ กณั ฑ์เทศนท์ ี่ ๓-๒: ๒ค๖๒ว๓าม๗-สงดั -ความเพียร

๒๒๘

อารมณดี ช่ัว สขุ ทกุ ขท่ีเกีย่ วของกบั จิตอยูทุกขณะก็เตม็ ไปดวยวิปรณิ ามธรรม มคี วาม
แปรปรวนเสมอกนั คําวา อนจิ จฺ ํ ทุกฺขํ อนตฺตา คือสิง่ เหลา นี้ท้ังนนั้

มองลงไปที่กาย ทใ่ี จ จะพบแตเ รอื่ งไตรลักษณท าํ งานอยูทุกขณะ ท้งั ภายในภาย
นอกไมมีชอ งวางแมเ ทา จดุ เม็ดทราย พิจารณาทาํ นองนี้จนกวาปญญาจะเคยชินตอหนา ท่ี
และสาเหตุที่เก่ยี วของกบั ตน นบั วนั จะเปนความสะดวกในการพจิ ารณา เชน เดยี วกับจติ
ทีเ่ คยเปน สมาธแิ ลว ยอมมีทางจะเปนสมาธไิ ปเรอ่ื ย ๆ จติ ทเ่ี คล่อื นออกทางปญญาแลว
ยอมมีทางจะเปนปญ ญาไปเรือ่ ย ๆ จากความเพียรท่คี อยหนนุ หลังเสมอ เมื่อถึงปญญา
ขน้ั ละเอียดแลว อยูท่ีไหนก็เปนปญ ญา ในอริ ิยาบถทงั้ สจ่ี ะไหวตัวดวยปญญา เพราะส่ิง
สัมผสั ซงึ่ เกีย่ วของกับอายตนะอันเปนทํานองเตอื นสตปิ ญ ญา ใหส ะดงุ ตวั รับรแู ละตรอง
ตามนัน้ มีอยูท ุกระยะ ไมเ ลือกวัน คืน เดอื น ป จิตจะหาเวลาวา งจากสิ่งสมั ผสั ไมไดเลย

เพราะตามธรรมดา จติ เปน บอ อารมณอ ยแู ลว ยิง่ มสี ิง่ เกี่ยวขอ งก็ย่ิงถอื วามงี านทํา
ฉะนั้นงานของจติ จึงไมมีวนั เสาร วันอาทติ ย วนั พระ วันโกน แตเ ปน วนั งานไปเสียทัง้ วัน
ทั้งคืน ทง้ั หลับท้งั ตื่น หนาทีข่ องสตปิ ญญาที่เตรียมฝกซอ มมาแลวดว ยความเพียร จํา
ตองรสู กึ ตัว และพิจารณาทนั ทีที่สง่ิ นัน้ ๆ มากระทบ เรอ่ื งสภาวธรรมกับจิต และเร่ือง
ของสติปญ ญาทําหนาทีต่ อ กันไมมีเวลาวา ง เชนเดยี วกับเร่ืองสมทุ ัยทาํ การสัง่ สมทกุ ขใน
คราวเขามอี ํานาจฉะนัน้ ไมเ ชน นั้นจะไมท นั กบั การถอดถอนทุกขส มทุ ัย ซึ่งเคยต้งั ราก
ฐานบา นเรือนอยบู นหัวใจของเรามานาน การคุย เขย่ี ขดุ คน ของปญญาท่เี คยชินตอ หนาที่
ของตนในข้นั นี้ ผูปฏบิ ัติอาจจะเพลินจนลืมพกั จติ ในสมาธติ ามโอกาสอันควรกไ็ ด ดังนั้น
เพอ่ื ความราบรื่นและสม่าํ เสมอจงึ ควรสนใจในสมาธกิ ับปญ ญาเทา ๆ กัน ไมเชนนัน้ อาจ
จะหนักเบาไปในทางใดทางหนึ่ง ซึง่ เปนเหตใุ หเ น่นิ ชาตอ ทางดําเนนิ ที่ควรจะสะดวกและ
รวดเรว็ เพราะสมาธกิ ับปญญาทําหนา ทไี่ มก ลมเกลียวกัน

ปญ ญาข้นั นีแ้ มจะมีความเพลินตอ การพจิ ารณาสภาวธรรมเปน อยางมาก กค็ วร
หยุดพกั ในสมาธิเปนบางเวลา ถงึ จะไมนานกย็ งั มีกาํ ลังหนุนปญ ญาเพอ่ื การพจิ ารณาตอ
ไป การติดสมาธิไมยอมถอนตัวออกเพื่อปญญาก็ดี การเพลดิ เพลินในปญญาจนลืมตัวไม
ยอมพักจิตในสมาธกิ ด็ ี ทง้ั ทเี่ คยถูกพระอาจารยม่นั ซึง่ เปนทีเ่ คารพเลือ่ มใสยง่ิ เตือนมา
แลว แตเพราะทิฐิเรามนั สูงไมยอมรับทา น มหิ นาํ ยังกลบั อวดฉลาดเถยี งทา นวาตน
ดําเนินถูกไมยอมรบั ผิด ทา นกด็ เุ อาบาง แมเ ชนน้นั ยังไมยอมลงรอยกบั ทา น เพราะถอื วา
ตนถูกน่ันเอง เปน เพียงยึดคาํ พูดของทานไวพิจารณา ยงั ไมป ฏบิ ัตติ ามดวยความเช่ือและ
เต็มใจ

แวนดวงใจ แวน่ ดวงใจ : ภ-๒า๒ค๖๒๔๒๘-อบรมบรรพชิต


Click to View FlipBook Version