The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
1. ระดับคณุ ภาพ 4

โรงเรยี นบา้ นหนองจระเขห้ ินจดั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ
หลักสตู รสถานศึกษา สรา้ งโอกาสใหผ้ ้เู รยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง มกี าร
บรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก สรา้ งปฏสิ มั พันธท์ ี่ดี ครูรู้จกั ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ดาเนนิ การตรวจสอบและ
ประเมินผูเ้ รยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น รวมท้งั รว่ มกนั แลกเปลย่ี นเรียนรูและนาผลทไี่ ด้มา
ใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู โดยภาพรวมร้อยละ 88.80 มรี ายละเอยี ด
ดังนี้

โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หนิ จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและการปฏบิ ตั ิจริง และสามารถ
นาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวันได้ ครูจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั
ของหลักสูตรสถานศึกษาทเ่ี น้นใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรโู้ ดยผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ ครูจดั ทาแผนการ
จดั การเรียนร้ทู สี่ ามารถนาไปจดั กิจกรรมไดจ้ รงิ มีรปู แบบการจดั การเรียนรูเ้ ฉพาะสาหรบั ผู้ท่ีมคี วามจาเป็น
และตอ้ งการความช่วยเหลือพิเศษ ผูเ้ รยี นได้รับการฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้
นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ คดิ เปน็ ร้อยละ 92

ด้านการใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ ครูมีการใชส้ ่ือ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผูเ้ รียน
ไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือทหี่ ลากหลาย คดิ เปน็ ร้อยละ 88

ดา้ นการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก ครูผูส้ อนมีการบริหารจดั การชัน้ เรียน โดยเนน้ การการมี
ปฏิสัมพนั ธ์เชิงบวก ใหเ้ ด็กรกั ครู ครรู กั เด็กและเด็กรกั เดก็ เดก็ รักที่จะเรียนรสู้ ามารถเรยี นร้รู ่วมกันอยา่ งมี
ความสขุ คิดเปน็ ร้อยละ 92

ด้านการตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน ครผู ้สู อนมีการ
ตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจดั การเรยี นรอู้ ย่างเป็นระบบ มขี ั้นตอนโดยใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการวัด
และประเมินผลทเี่ หมาะสมกับเปา้ หมายในการจดั การเรยี นรู้ ครผู ู้สอนมกี ารให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี นเพอื่
นาไปใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 88

ครจู ดั ให้มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้
โดยครแู ละผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องร่วมกนั แลกเปลยี่ นความรู้และประสบการณร์ วมทงั้ ให้ขอ้ มูลป้อนกลับเพอื่
นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ คดิ เป็นร้อยละ 84

2. วิธกี ารพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
2.1 วธิ กี ารพฒั นา
ด้านการจดั กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั โรงเรียนบา้ นหนองจระเขห้ นิ

สง่ เสรมิ ให้มีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริงตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ของ
หลักสตู รสถานศกึ ษา มแี ผนการจดั การเรียนรู้ทส่ี ามารถนาไปจดั กจิ กรรมได้จรงิ และสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ มนี วตั กรรมในการจัดการเรยี นรู้ และมกี ารเผยแพร่ ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและ
แหลง่ เรยี นรู้ รวมทัง้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้แสวงหาความรู้ดว้ ย
ตนเอง ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ มีข้นั ตอนโดยใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการวดั และ
ประเมินผลทเ่ี หมาะสมกับเป้าหมายในการจดั การเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน และนาผลมาพฒั นา
ผเู้ รียนโดยจดั ทาโครงการพัฒนางานวิชาการสคู่ ณุ ภาพได้มาตรฐาน กจิ กรรมพัฒนาหลักสูตร กจิ กรรมพฒั นา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 43

งานทะเบียนและวดั ผล โครงการผลิตสอ่ื การเรยี นการสอน โครงการวจิ ัยการเรียนรู้ โครงการจัดหาวัสดุ
อปุ กรณ์งานวิชาการ ส่งเสรมิ และพฒั นาใหม้ กี ารบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก เดก็ รักที่จะเรียนรู้ และ
เรียนรู้รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุขโดยจัดทาโครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมคัด
กรองนักเรียน ครูมีข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล และนาผลมาสังเคราะหเ์ พื่อวางแผนในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ครูและผเู้ รยี นมรี ว่ มกันกาหนดแนวทางการเรียนรแู้ ละข้อตกลงใน
ห้องเรียน จดั สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศในชั้นเรยี นเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน ผู้เรียนเรยี นรอู้ ย่างมี
ความสุขและอยากมาโรงเรยี น ครูมีพฤตกิ รรมการสอนทีส่ ร้างบรรยากาศอยากรอู้ ยากเรียนให้กบั ผู้เรยี น
และผเู้ รยี นมีความสุขในการเรียนรู้ สร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพระหว่างครแู ละผเู้ กย่ี วข้องเพื่อ
พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ครู และผ้เู ก่ยี วข้องมีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลับ
เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้โดยจดั ทาโครงการพฒั นาบุคลากร กจิ กรรมศกึ ษาดูงาน กจิ กรรม
อบรม-สมั มนา กจิ กรรมแฟ้มพฒั นางาน

2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
ขอ้ มลู หลกั ฐาน และเอกสาร ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเองดา้ นการจัดกระบวนการจัดการ

เรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ของโรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หนิ คอื
- แผนปฏิบตั ิการประจาปี
- แผนกลยุทธ์
- รายงานการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
- ประกาศมาตรฐานการศึกษาโรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน
- บันทกึ การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
- สมุดบนั ทึกการประชมุ ผปู้ กครอง
- รายงานความพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษาของผปู้ กครองและชมุ ชน
- บันทึกการเข้าอบรมสัมมนาของครู
- บันทึกการนเิ ทศภายใน
- บนั ทึกการผลิตสอ่ื และการใชส้ อ่ื
- แผนการจดั การเรยี นการสอน
- บนั ทึกการวดั และประเมินผล
- หลกั สูตรสถานศึกษา
- เอกสารธุรการประจาชนั้
- แฟ้มสะสมงานนกั เรียน
- บักทึกการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ (PLC)
- บันทึกผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
- ภาพกจิ กรรมต่างๆ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 44

3. จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา และแผนการพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั ใหส้ ูงขน้ึ

จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพัฒนา

- จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง - มีการแลกเปลย่ี นเรยี นร้แู ละให้ขอ้ มูลสะท้อน
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ กลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้
- ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี อื้อ
ต่อการเรยี นรู้
- มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก
- ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และ
นาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น

แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สงู ข้ึน
การพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดบั กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญให้สงู ขนึ้

โรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ ินได้ดาเนนิ การจดั ทาโครงการเพ่ือรองรบั ดังนี้คือ
1. โครงการพัฒนางานวิชาการสู่คณุ ภาพได้มาตรฐาน
2. โครงการพฒั นาบุคลากร
3. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
4. โครงการผลติ ส่ือการเรยี นการสอน
5. โครงการวิจยั การเรียนรู้
6. โครงการจดั หาวสั ดอุ ุปกรณ์งานวชิ าการ

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานโดยรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานโดยภาพรวม รอ้ ยละ 89.84
ระดบั คุณภาพยอดเยยี่ ม

ตารางท่ี 29 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

มาตรฐาน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ
ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 1 84.06
ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 96.67 ดีเลิศ
ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 3 88.80

สรุป 89.84

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 45

สว่ นที่ 3

สรปุ ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนา และการต้องการความช่วยเหลือ

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคญั ท่สี ถานศึกษาจะต้องนาไป
วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนาไปส่กู ารเชอ่ื มโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษา ของสถานศกึ ษา (3-5 ป)ี และนาไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
ดงั นั้น จากผลการดาเนนิ งานของโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของ
จุดเด่น และจุดควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมท้ังแนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการการ
ชว่ ยเหลือ ได้ดงั นี้

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน

โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ มผี ลการดาเนนิ งานตามมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ด้านผลสมั ฤทธิ์
ทางวิชาการของผเู้ รยี น และด้านคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น โดยภาพรวม ร้อยละ 84.06

ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
โรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ นิ มีผลการพฒั นาดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน โดยภาพรวม
รอ้ ยละ 77.84
ด้านคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ มีผลการพฒั นาดา้ นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี นโดยภาพรวม
ร้อยละ 93.85

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หินมีผลการดาเนินงานตามมาตรฐานท่ี 2 มกี ระบวนการบริหารและการ

จัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการกาหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ อยา่ งชดั เจน สามารถ
ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นทุกกล่มุ เปา้ หมายอยา่ งรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาใน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย จดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ดาเนนิ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความ
เช่ียวชาญทางวชิ าชพี และจดั ทาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู
รวมทงั้ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรียนรู โดยภาพรวมร้อยละ 96.67

ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หินมผี ลการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ 3 จัดกระบวนการจัดการเรียน

การสอนตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษา สรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ มีการบริหารจัดการช้นั เรียนเชงิ บวก สรา้ งปฏสิ มั พนั ธท์ ีด่ ีทีด่ ี ครรู จู้ กั
ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผูเรียน
รวมท้ังร่วมกนั แลกเปลี่ยนเรียนรูและนาผลที่ไดมาใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรับปรุงการจัดการ
เรยี นรู โดยภาพรวมรอ้ ยละ 88.80

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 46

จุดเดน่

ด้านคุณภาพผ้เู รยี น
ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรยี น
- ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ งานอาชีพ คดิ เป็นร้อยละ 84.31
- ผู้เรยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร คดิ เปน็ ร้อยละ 83.69

คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น
- ผูเ้ รียนมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
- ผเู้ รียนมกี ารยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 95.38
- ผเู้ รยี นมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม คดิ เปน็ ร้อยละ 94.77

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
- โรงเรยี นมเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน คิดเปน็ ร้อยละ 100
- โรงเรียนมีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
- โรงเรียนดาเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ

ทกุ กล่มุ เป้าหมาย คดิ เป็นร้อยละ 100
- โรงเรยี นพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
- โรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ

คิดเปน็ ร้อยละ 100

ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั
- ครจู ัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้

คิดเปน็ รอ้ ยละ 92
- ครมู กี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก คิดเป็นร้อยละ 92
- ครใู ช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 88
- ครตู รวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน คดิ เปน็ ร้อยละ 88

จุดทคี่ วรพัฒนา

ด้านคณุ ภาพผเู้ รยี น
ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน
- ผ้เู รียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ 72.92
- ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคานวณ คดิ เปน็ รอ้ ยละ

72.92
- ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ น

ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา คิดเปน็ รอ้ ยละ 74.77
- ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม คิดเป็นร้อยละ 76.62

คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรียน
- ผู้เรียนมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทีส่ ถานศึกษากาหนด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.23

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 47

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ คดิ

เปน็ รอ้ ยละ 80

ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ
- ครมู ีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้

คดิ เป็นรอ้ ยละ 84

แนวทางการพัฒนา

ด้านคุณภาพผูเ้ รยี น
โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หินไดว้ างแนวทางในการพฒั นาผเู้ รยี นด้านคุณภาพผูเ้ รียน ดงั นี้
ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
ผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
แนวทางพฒั นาใหผ้ เู้ รยี นบรรลุและมคี วามกา้ วหนา้ ในการเรียนรูตามหลกั สูตรสถานศึกษาจาก

พื้นฐานเดมิ ในด้านความรู ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการตา่ งๆ รวมทงั้ มีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบ
ระดับชาติ หรือผลการทดสอบอน่ื ๆ โรงเรียนจดั กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ครจู ดั ทาแผนการ
จัดการเรยี นรตู้ ามตวั ชว้ี ดั และสอนตามแผนท่ีกาหนด จดั ทาบันทกึ หลงั แผนเพ่ือประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของ
ผเู้ รยี นแตล่ ะคน และนาผลท่ไี ดม้ าวเิ คราะห์เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาปรบั ปรุงผเู้ รียนให้เต็มตามศักยภาพ
ในกล่มุ เก่ง ปานกลาง และอ่อน เนน้ พัฒนากลุ่มออ่ น และส่งเสริมกลมุ่ เก่งและปานกลาง จดั ทาเคร่ืองมือวดั
และประเมนิ ผลทห่ี ลากหลายและสอดคลอ้ งกับผเู้ รียนแต่ละคน จัดกจิ กรรมเพ่อื นสอนเพ่ือนเพ่ือเปน็ การ
ชว่ ยเหลอื เพือ่ นท่ีด้อยกวา่ และเปน็ การทบทวนความรู้ของตนเองไปในตวั ครจู ดั หาแบบทดสอบระดบั ชาตทิ ัง้
O-Net, NT, RT มาใหน้ ักเรียนได้ฝกึ ทาซา้ ๆเพอื่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจกบั ลกั ษณะคาถามของแบบทดสอบโดยครู
คอยช้ีแนะและให้แนวทางการตอบคาถาม

โรงเรียนควรกาหนดให้ทุกกลุ่มสาระการเรยี นร้จู ัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่เี นน้ ทกั ษะกระบวนการคิดวเิ คราะห์ คดิ วจิ ารญาณ และคดิ แกป้ ญั หา จดั
โครงการและกิจกรรมทสี่ ง่ เสริมพฒั นาสมรรถนะทั้ง 5 ดา้ น รวมทง้ั สอดแทรกคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
และค่านิยมหลัก 12 ประการ เพอ่ื ให้นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและทักษะตา่ งๆตามหลกั สตู ร
สถานศึกษาอย่างเป็นรปู ธรรมและต่อเนื่อง รวมไปถงึ ไดต้ ระหนกั ถึงบทบาทหนา้ ท่ีของตนเองท่มี ีตอ่ ส่วนรวม
ตลอดจนส่งเสรมิ การพฒั นาครูอยา่ งต่อเนือ่ ง จดั แหล่งเรยี นรอู้ ยา่ งหลากหลายท้ังภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา ใหก้ ้าวทันเทคโนโลยีทเี่ ปลยี่ นแปลง

ครผู สู้ อนต้องมีเวลาอยู่กบั นกั เรียนอย่างเต็มท่ี เพ่ือทาการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมคี ุณภาพ หา
จุดเดน่ จุดดอ้ ยของนักเรียนแต่ละคนเพื่อสง่ เสริมและพัฒนาให้นกั เรยี นมคี วามรู้ มีทักษะ และมีกระบวนการ
ทางความคดิ จัดกจิ กรรมที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ จัดสื่อการสอนให้ผ้เู รียนมีความสนใจตลอดเวลาและมี
ความรว่ มมอื ในการจัดกจิ กรรม

ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สารและการคิดคานวณ
แนวทางพฒั นาให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่านการเขยี น การส่ือสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนดในแต่ละระดับชั้น โดยจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านโดยดาเนินการคัดกรองนักเรียน
ออกเปน็ กลมุ่ เกง่ ปานกลาง และกลุ่มออ่ น จัดหากิจกรรมพัฒนาสาหรับกลุ่มอ่อนโดยจดั หาแบบฝึกการอ่าน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 48

จากคาที่ไม่มตี ัวสะกด ไปหาคาท่มี ีตัวสะกด อ่านเปน็ คา เป็นประโยค จัดหาหนังสือท่ีมีเน้ือหานา่ สนใจและมี
ภาพ สี นา่ อา่ นเพื่อเร้าความสนใจให้นกั เรยี นร้สู ึกรักการอา่ น จดั ทาบันทกึ การอ่านเพื่อให้นักเรยี นได้บนั ทึก
เรือ่ งท่ีอ่าน ครูสง่ เสริมใหน้ ักเรียนบันทึกโดยมรี างวลั ให้เพอ่ื เรา้ ใจให้นกั เรยี นมีความกระตือรือร้นที่จะร่วม
กิจกรรม จดั กจิ กรรมรกั การเขียน เขียนได้มรี างวลั ฝึกเขยี นเร่ืองจากภาพโดยเรม่ิ จากใหน้ ักเรยี นเลา่ เรือ่ ง
จากภาพทีเ่ ห็นก่อน แล้วจงึ นาเรื่องทีเ่ ล่ามาเขียน จัดกจิ กรรมทเ่ี น้นการส่ือสาร การเล่านิทาน การแสดง
บทบาทสมมติ โดยเร่มิ ฝกึ ตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ออกมาเล่าเรื่องหนา้ ชนั้ เพื่อฝึกการกลา้
แสดงออก กิจกรรมเสยี งตามสาย

สง่ เสรมิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นให้ผเู้ รียนอา่ นหนังสือ ตาราเรยี น บทความตา่ ง ๆ ได้
อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ จัดโครงการสง่ เสริมนิสยั รกั การอา่ นและกจิ กรรมห้องสมดุ จัดทาสมดุ บันทึกรกั
อา่ นสาหรับนกั เรยี นทุกคน สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะในการอา่ น ฟงั ดู พดู เขยี นและตง้ั คาถาม เพ่ือคน้ คว้า
ความรู้เพิ่มเติม กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นดา้ นการอ่านการเขยี น เชน่ กจิ กรรมอ่านคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง กิจกรรม
ฝกึ อ่านและเขยี นสะกดคา วนั ละ 5 คา สาหรบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 จัดกิจกรรมฝึกอา่ น ฝึก
เขยี นตามคาบอกโดยใช้คาง่ายๆก่อน ฝึกการแต่งประโยคง่ายๆสนั้ ๆ โดยใชเ้ วลากอ่ นเลิกเรยี นประมาณ
30 นาที ทกุ วัน

ส่งเสรมิ ความสามารถในด้านการคิดคานวณใหเ้ หมาะสมตามระดบั ชน้ั จดั โครงการยกระดบั
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน การเขา้ คา่ ยคณติ ศาสตรแ์ ละครผู ูส้ อนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบเน้นทกั ษะ
กระบวนการคิดการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในชัน้ เรยี นอย่างหลากหลาย จัดกจิ กรรมคณติ คดิ เรว็ กิจกรรม
ท่องสตู รคูณเพ่ือฝึกพื้นฐานการคิดคานวณ ทุกระดบั ชัน้ ช่วงเชา้ ทกุ วัน โดยให้ครผู ้สู อนออกแบบแบบทดสอบ
เพ่ือนามาฝกึ นักเรียนแตล่ ะชั้น จดั กิจกรรมสื่อการคดิ คานวณ โดยมีส่อื ที่แปลกใหมน่ า่ สนใจ

ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความ
คดิ เหน็ และแกป้ ญั หา

แนวทางพัฒนาใหผ้ ้เู รียนมคี วามสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใครครวญไตรตรอง พิจารณา
อย่างรอบคอบ โดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และแกปญั หา
อย่างมีเหตผุ ล โรงเรยี นจัดกิจกรรมโครงงาน กิจกรรมหนงั สือเล่มเล็ก การสร้างองค์ความร้อู อกมาในลักษณะ
ของแผนผงั ความคดิ หรือการบูรณาการความรู้โดยใช้เทคโนโลยีมาชว่ ยและจดั ทาเปน็ องค์ความร้เู ปน็ แผ่น
พบั หรือเปน็ รปู เล่ม ฝึกการคิดจากคาถาม ใคร (who) ทาอะไร (what) ท่ีไหน (where) ทาไม (why)
อย่างไร (how) เม่อื ไร (when) โดยครูผู้สอนแตล่ ะกลุ่มสาระฝึกถามบ่อยๆเพ่ือให้นักเรยี นคุ้นเคยและโต้ตอบ
ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว

สง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนและจดั กจิ กรรมต่างๆ ทเี่ น้นทกั ษะกระบวนการคดิ และมีการ
บรู ณาการให้เหมาะสมกบั ทุกกลุม่ สาระ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถทางด้านการคดิ วเิ คราะห์
คดิ สร้างสรรคผ์ ลงาน จัดโครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพและความสามารถด้านวิชาการ มีการจัดกจิ กรรมเพอ่ื
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนรู้จกั การแก้ปัญหาและตดั สินใจดว้ ยตนเอง เช่น กิจกรรมการแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มกี ารสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นรจู้ ักนาเสนอวธิ คี ดิ เชน่ การจดั การแข่งขันโครงงาน
วิทยาศาสตร์ โครงงานคณติ ศาสตร์ โครงงานคอมพวิ เตอร์ การจดั กจิ กรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
การประกวดวาดภาพในหัวข้อตา่ งๆ การประกวดการประดิษฐ์ชุดจากวสั ดเุ หลือใช้ เปน็ ต้น

ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารทางานแบบกระบวนการกลมุ่ ให้มกี ารคดิ วิเคราะห์แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ฝกึ ใหม้ กี าร
คิดแยกแยะ มีการพิจารณาอยา่ งรอบคอบ รวมทง้ั ให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายและรว่ มกันติดสนิ ใจโดยมี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 49

เหตผุ ลเพียงพอ ซ่ึงครูคอบดูแลและใหค้ าปรึกษา ชี้แนะ ฝกึ การคิดวิเคราะห์ โดยการเขียนเรือ่ งจากภาพ
อา่ นจับใจความในแตล่ ะวิชา

ผู้เรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม สามารถรวบรวมความรูได้ ทัง้ ดว้ ยตวั เองและ
การทางานเป็นทีม

แนวทางการพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์นวตั กรรม สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ อนพฒั นาทักษะการสร้างสรรค์
นวตั กรรม ของผูเ้ รยี นผา่ นการจัดการเรียนรตู้ ามแนวทางต่อไปน้ี

1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู้ หท้ า้ ทายความคิด ตอบสนองธรรมชาติ ความต้องการ และความ
สนใจของผเู้ รียน เมอ่ื ผเู้ รยี นเกิดความรู้สกึ ทา้ ทาย และเปน็ ส่ิงท่เี ขาอยากเรยี นรู้ จะทาให้ ใชค้ วามคิด
ของตนเองอยา่ งเต็มความสามารถ

2. เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนใชค้ วามคิดของตนเองให้มากทส่ี ดุ โดยผสู้ อนไมน่ าความคิดหรือ
ประสบการณ์ของตนเองไปตัดสนิ ความคดิ ของผ้เู รียน แตจ่ ะตอ้ งกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นหาเหตุผลมาสนบั สนนุ
ความคิดของตนเอง

3. ช้แี นะวิธีการแสวงหาความร้จู ากแหลง่ การเรียนรู้ทหี่ ลากหลายใหก้ บั ผเู้ รียน และโคช้ ใหผ้ เู้ รยี น
ให้นาความรตู้ า่ งๆ มาสังเคราะหแ์ ละนาไปใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม

4. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence Technology)
มาเปน็ เครื่องมือในการสร้างสรรค์นวตั กรรม ทาให้เกิดแนวคิด (Idea) ในการสรา้ งสรรค์ สิ่งใหมท่ มี่ ี
ประโยชน์ต่อสว่ นรวม

5. สร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนนาเสนอนวตั กรรมของตนเอง ผา่ นเทคโนโลยดี ิทลั เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน
มีประสบการณใ์ นการส่ือสารนวตั กรรมสู่สงั คม คุณลักษณะจิตอาสา แบ่งปนั นวตั กรรม กบั บคุ คลอ่นื

6. ฝึกใหผ้ ูเ้ รยี นรู้จักการทาโครงงาน หรือชิ้นงานทน่ี ักเรียนมีประสบการณโ์ ดยทากนั เป็นกล่มุ
แล้วชว่ ยกันเพมิ่ เตมิ ความคิดสร้างสรรคข์ องแตล่ ะคนเพ่ือผลิตชิ้นงานทด่ี ีๆ ออกมา จดั กจิ กรรมการทางาน
เปน็ ทมี เปน็ กลมุ่ เพือ่ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และเกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหมๆ่

7. ประเมนิ ทักษะการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมของผ้เู รยี น อยา่ งต่อเน่ือง ด้วยวิธีการประเมินอย่าง
หลากหลาย ในลักษณะของการประเมนิ ท่เี สริมพลังตามสภาพจรงิ และให้ข้อมลู ย้อนกลับ อย่างสร้างสรรค์
เพือ่ ให้ผเู้ รยี นนาไปต่อยอดทกั ษะการสร้างสรรคน์ วตั กรรมของตนเอง เชื่อมโยงองค์ความรูและประสบการณ
มาใชใ้ นการสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ๆ อาจเปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ช้นิ งาน ผลผลติ

คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รียน
ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะและค่านิยมทด่ี ีตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
แนวทางพฒั นาผเู้ รียนมีพฤติกรรมเป็นผ้ทู ม่ี คี ุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มคี ่านิยมและ
จิตสานึกตามทสี่ ถานศึกษากาหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม โรงเรยี นจดั กิจกรรม
เสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมด้วยวธิ กี ารสอดแทรกในกจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอนและโครงการตา่ งๆ
กจิ กรรมส่งเสริมประชาธปิ ไตย กจิ กรรมสวดมนต์ทุกวันศุกร์ การสอบธรรมศึกษา กิจกรรมจติ อาสา กจิ กรรม
วันสาคญั ตา่ งๆ กจิ กรรมวันไหวค้ รู กจิ กรรมตักบาตรวนั สาคัญ กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และบูรณาการใน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมธนาคารความดี กจิ กรรมกีฬาสี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 50

ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ

โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนร่วม
แนวทางพฒั นาสถานศึกษาจัดระบบการจดั หา การพัฒนาและการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เพื่อใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา โรงเรยี นส่งครู
เข้ารับการอบรมการจัดทาข้อมูลสารสนเทศและมาจดั ทาระบบสารสนเทศใหท้ ันต่อเหตแุ ละเปน็ ปัจจุบัน
สามารถสบื ต้นได้ง่ายและรวดเรว็ วางแผนในการบรหิ ารจัดการเพื่อใหบ้ ริหารงานในโรงเรยี นเป็น
ระบบ สะดวก รวดเร็ว มคี วามน่าเชื่อถือในการนาข้อมลู ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาสถานศกึ ษา
แนวทางในการพฒั นาการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียนมี ดงั น้ี
1. ประชุมสร้างความตระหนักใหบ้ คุ คลกรทุกคนในโรงเรยี นเห็นความสาคัญของการจัดระบบข้อมูล
สารสนเทศ สรา้ งความเข้าใจแก่บคุ คลทกุ ระดับซง่ึ จาเป็นต้องเปล่ยี นแปลงกระบวนการทางาน วัฒนธรรม
การทางาน ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีทีน่ าเข้ามาใช้ บคุ ลากรตอ้ งพฒั นาท้ังทักษะทางเทคโนโลยีและ
พัฒนาความคดิ วเิ คราะห์ให้เข้าใจในกระบวนการทางานทางเทคโนโลยี ซง่ึ บางครงั้ จาเป็นต้องเปลย่ี นแปลง
ระบบ วธิ ีการทางาน ใหส้ อดคล้องกบั วธิ ีทางเทคโนโลยี ต้องพัฒนาตนเอง ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้บุคลากร
ไดม้ ีโอกาสพฒั นาตนเองในด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้มคี วามรู้ความ เข้าใจ การเลอื กใชส้ ่อื ใหเ้ หมาะสม
การผลิตส่อื การเรียนการสอนด้วยตนเอง สง่ เสริมใหม้ ีการวิจัย วิเคราะห์ การใชส้ อ่ื ประเภทต่างๆ
2. วางแผนจัดระบบงานในโรงเรยี นให้เปน็ หมวดหมู่ จดั หาเครอื่ งคอมพิวเตอร์กาหนดจดุ ประสงค์
การนาคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารเข้ามาใช้ในโรงเรียน โดยแยกเปน็ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการบริหาร
จัดการ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรยี นการสอน การจดั การระบบ ICT
3. มอบหมายให้ผรู้ บั ผิดชอบแต่ละงานอย่างชัดเจน
4. ผู้รบั ผดิ ชอบดาเนินการจัดทาข้อมูลตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
5. นเิ ทศติดตามอยา่ งต่อเน่ือง ตรวจสอบข้อมูลเปน็ ระยะ
6. สรุปผลและประเมนิ
7. ประชาสัมพนั ธ์ให้ผเู้ กี่ยวข้อมทราบทุกปี

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
ครูมกี ารแลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

ปัจจยั ที่สนับสนุนการเปน็ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี คือ การสร้างโอกาส ให้ครู พบปะ หารอื กัน
และทางานรว่ มกันทั้งในรูปแบบท่ีเป็นทางการและรปู แบบทไ่ี มเ่ ป็นทางการ การสนับสนุนของผู้บรหิ าร
โรงเรยี น การจัดเวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรูส้ าหรบั ครู การเสริมสรา้ งบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ให้เกดิ
ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ข้ึนได้ในโรงเรียน การเสรมิ สร้างพลังอานาจครใู นการทีจ่ ะสามารถเข้ารว่ ม และ
มีอทิ ธิพลตอ่ การตัดสนิ ใจระดับโรงเรยี น การพฒั นาวิชาชีพครูถือเปน็ กลไกการขัดเกลาทางสงั คมให้กับ
บุคลากรในโรงเรียนไดเ้ ป็นอย่างดี

แนวทางในการพัฒนาชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี กาหนดนโยบายชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ครู
ทีช่ ัดเจน รณรงค์สร้างความรู้ความเขา้ ใจ หาจดุ เริ่มต้นในชุมชน จดั ต้งั คณะกรรมการดาเนินงาน สร้างความ
สนใจในวงกว้าง พัฒนาบุคลากรท่ีจะเปน็ ผูด้ าเนินงาน วิเคราะห์สภาพ ปญั หาและความต้องการ จัดทาแผน
และกาหนดยุทธศาสตรใ์ นการดาเนินงาน วเิ คราะห์ศักยภาพของหุน้ สว่ น ดาเนินการตามแผนกจิ กรรม
ติดตามประเมินผลประชาสมั พันธ์ผลการดาเนนิ งาน สรา้ งเครอื ขา่ ย และหา มาตรการในการระดมทุนจาก
แหล่งต่าง ๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 51

ลักษณะของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เปน็ การรวมตวั กันของครูในลักษณะของ ชมุ ชนการ
เรยี นรทู้ ี่มสี ่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั การสืบค้นรว่ มกนั โดยรว่ มกัน ปรบั เปล่ยี นทิศทาง และ
การลงมอื กระทาการพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง รว่ มกันทาหน้าที่เป็นผนู้ าการเปลี่ยนแปลง ขบั เคล่อื นการ
เปล่ียนแปลงการปฏิรูปการเรียนรู้ทเี่ กิดจากภายใน คือ ครู ร่วมกนั ดาเนนิ การเพื่อให้การปฏริ ปู การเรยี นรู้
เป็น การกระทาทสี่ ะท้อนให้เห็นถงึ การสร้างสรรคง์ านของครเู พื่อเปิดโอกาสให้นักเรยี นได้เรยี นรดู้ ้วยการ
แลกเปลยี่ น หรอื แบง่ ปนั ความรูผ้ า่ นการร่วมมือรวมพลงั กันเพ่อื พฒั นาวชิ าชพี ของตนเองและส่งเสรมิ การ
เรียนรูข้ องนักเรียน

กลยทุ ธใ์ นการจัดการและใช้ชุมชนแหง่ การเรียนทางรูว้ ิชาชพี (PLC) อย่างย่ังยืน
1. เรม่ิ ตน้ ด้วยข้นั ตอนง่ายๆ (Take a baby steps) โดยเรม่ิ ตน้ จากการกาหนดเป้าหมาย อภปิ ราย

สะท้อนผล แลกเปลยี่ นกับคนอน่ื ๆ เพ่ือกาหนดว่า จะดาเนินการอยา่ งไร โดยพจิ ารณาและสะท้อนผล
ในประเดน็ ต่อไปน้ี

1.1 หลักการอะไรทีจ่ ะสรา้ งแรงจูงใจในการปฏบิ ัติ
1.2 เราจะเรมิ่ ตน้ ความรู้ใหม่อย่างไร
1.3 การออกแบบอะไรทีพ่ วกเราควรใชใ้ นการตรวจสอบหลักฐานของการเรยี นรู้ท่ีสาคญั
2. การวางแผนดว้ ยความรว่ มมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลมุ่ กาหนดสารสนเทศทต่ี ้อง
ใชใ้ นการดาเนนิ การ
3. การกาหนดความคาดหวงั ในระดบั สงู (Set high expectations) และวเิ คราะห์การสอน
สืบเสาะหาวธิ ีการทจ่ี ะทาให้ประสบผลสาเร็จสูงสุด
3.1 ทดสอบข้อตกลงทเ่ี กย่ี วข้องกบั การสอนหลงั จากได้มีการจดั เตรยี มต้นแบบทเี่ ป็นการ
วางแผนระยะยาว (Long-term)
3.2 จดั ให้มีชว่ งเวลาของการชแี้ นะ โดยเนน้ การนาไปใช้ในช้ันเรียน
3.3 ให้เวลาสาหรบั ครูทีม่ ีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัตใิ นชั้นเรียนของครูท่สี ร้าง
บรรยากาศในการเรียนรอู้ ย่างประสบผลสาเร็จ
4. เรม่ิ ตน้ จากจุดเลก็ ๆ (Start small) เริ่มตน้ จากการใชก้ ลุ่มเลก็ ๆ ก่อน แลว้ ค่อยปรับขยาย
5. ศกึ ษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนาไปใชแ้ ละการสะท้อนผล
เพ่อื นามากาหนดวา่ แผนไหน ควรใชต้ อ่ ไป/แผนไหนควรปรบั ปรงุ หรือยกเลิก
6.วางแผนเพอ่ื ความสาเรจ็ (Plan for success) เรียนร้จู ากอดีต ปรบั ปรุงหรือปฏิเสธในส่งิ ทีไ่ ม่
สาเรจ็ และทาต่อไป ความสาเร็จในอนาคต หรือความลม้ เหลวขน้ึ อยู่กับเจตคติและพฤติกรรมของครู
7. นาส่สู าธารณะ (Go public) แผนไหนที่สาเรจ็ กจ็ ะมีการเชญิ ชวนให้คนอน่ื เข้ามามีสว่ นรว่ ม
ยกย่องและแลกเปลีย่ นความสาเร็จ
8. ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลยี้ งสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จดั กิจกรรม
ทไี่ ด้มีการเคล่ือนไหวและเตรียมครูทีท่ างานสาเรจ็ ของแตล่ ะกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เคร่ืองดืม่ ท่ีมปี ระโยชน์

ข้นั ตอนการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี
ขนั้ ตอนท่ี 1 ระบปุ ญั หา ระบุปญั หาเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอน/การทางานของครู ท่ีเกดิ ข้ึน

ในสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 2 วเิ คราะหส์ าเหตุของปัญหา วิเคราะห์สาเหตขุ องปัญหาทเี่ กิดขน้ึ ว่าเกิดขึน้ จากสาเหตุ

ทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยมปี ัจจยั ใดเขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง มีแนวโน้มของปัญหาอยา่ งไร และมีผลกระทบใดทจ่ี ะเกิดข้ึน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 52

ขัน้ ตอนที่ 3 ระดมความคิด เพื่อนาเสนอวธิ ีแกป้ ัญหา ระดมความคิดเพ่ือหาวธิ ีแก้ปัญหาจาก
ประสบการณ์และผลการวิจัยทีส่ ามารถอ้างองิ ได้ แลว้ นาเสนอผลการระดมความคิด เม่ือนาเสนอเสรจ็ ส้นิ
ดาเนนิ การอภิปรายสรุปและเลือกวิธีการแก้ปญั หาที่เหมาะสม

ขนั้ ตอนที่ 4 ทดลองใช้วิธแี ก้ปัญหา นาวธิ แี ก้ปัญหาท่ีได้จากการระดมความคิด ไปทดลองใชใ้ นการ
เรียนการสอนในชน้ั เรียน /ในการทางาน โดยร่วมกันสังเกต การสอนและเกบ็ ข้อมูล หรือเก็บข้อมูลจากการ
ทดลองใช้ในการทางาน

ข้นั ตอนที่ 5 สรปุ ผลวธิ กี ารแกป้ ัญหา อภปิ รายผลทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการทดลองใช้ นาเสนอผลการสังเกต
การสอนและเสนอแนะวิธกี าร ปรับปรุงแกไ้ ข แล้วจงึ สรปุ ผลวธิ ี การแก้ปัญหาที่ใหผ้ ลดีต่อการเรียนรขู้ อง
ผู้เรยี น /การทางาน แลว้ ทาการแบ่งปนั ประสบการณ์กับชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพอน่ื

วธิ กี ารและเทคนคิ การเรยี นรทู้ ่สี อดคล้องกบั การจดั การเรยี นการสอนสู่PLC
1. การออกแบบและจดั การเรียนรผู้ ่านกิจกรรมการเรียนรู้
2. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ใหม้ ีความหลากหลายตามสภาพผ้เู รียนตาม

ความสนใจและศักยภาพของผู้เรียน และเนน้ ผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล
3. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ใหน้ กั เรยี นลงมือปฏบิ ตั ิ เช่น โครงงาน Active Learning
4. การกระตุ้นการเรยี นรู้ของผู้เรียน โดยเน้นทักษะการคดิ วิเคราะห์การต้ังคาถาม
5. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่อื และเทคโนโลยี
6. การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเชื่อมโยงกลมุ่ สาระ
7. การประเมนิ ตามสภาพจรงิ และใหข้ ้อมลู ย้อนกลับและติดตามผล รวมทัง้ การช่วยเหลอื นักเรยี น

องค์ประกอบสาคัญของชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ
1. ต้องมีวิสยั ทัศนร์ ่วมกัน หมายถงึ มีเปา้ หมาย ทศิ ทางเดยี วกนั มุ่งสูก่ ารพัฒนาการเรียนการสอน

สคู่ ณุ ภาพผู้เรียน
2. รว่ มแรง รว่ มใจ และร่วมมือ หมายถึง ต้องเปิดใจ รับฟงั เสนอวิธกี าร นาสกู่ ารปฏบิ ัตแิ ละ

ประเมินร่วมกัน Open เปดิ ใจรบั และให้ care และ share
3. ภาวะผนู้ ารว่ ม หมายถึง การทา PLC ตอ้ งมผี ูน้ าและผตู้ ามในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้
4. กัลยาณมิตร หมายถงึ เปน็ เพอื่ นรว่ มวิชาชพี เตมิ เตม็ ส่วนท่ีขาดของแต่ละคน
5. ตอ้ งปรับเปลย่ี นวัฒนธรรมองค์กร หมายถงึ ต้องเนน้ การทางานท่ีเปดิ โอกาสการทางานที่

ช่วยเหลือกนั มากกว่าส่งั การ มชี ว่ั โมงพดู คุย
6. การเรยี นรแู้ ละพัฒนาวชิ าชพี หมายถึง การเรยี นรู้การปฏิบตั งิ าน และตรงกับภาระงานคือการ

สอน สู่ คุณภาพผ้เู รียน

โรงเรียนปรบั เปล่ยี นมมุ มองเกี่ยวกบั ครแู ละนักเรียน”โดยเฉพาะ ในศตวรรษที่ 21” โดยดาเนนิ ดงั นี้
1. กาหนดความต้องการของโรงเรยี นและความพร้อมในการเลยี่ นแปลง (ระบุสงิ่ ที่ขัดขวาง/
อปุ สรรค)
2. หาคนมาแลกเปลย่ี นวสิ ยั ทัศน์ โดยเริม่ ตน้ จากการแลกเปลี่ยนแนวคิด
3. กาหนดกรอบ
4. พจิ ารณาจุดที่ต้องการเปลี่ยนแปลงจากจุดเลก็ ๆ (เช่น เร่ิมต้นจากบางสิ่งบางอย่างทส่ี ามารถ
มองเห็นได้ชดั เจนจากภายนอก เช่น การประดบั ตกแต่งห้องโถง หรือทางเดินหน้าโรงเรยี น)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 53

5. ส่งเสริมให้ครแู ละผูมีสวนเกีย่ วของรวมกนั แลกเปล่ยี นความรูและประสบการณรวมทั้งใหขอมูล
ปอนกลบั เพื่อนาไปใชในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ ส่งเสรมิ การสร้างชมุ การเรยี นรูท้ าง
วิชาชีพ Professional Learning Community หมายถึง การร่วมมอื ร่วมใจกันของครู ผู้บรหิ ารโรงเรยี น
และหน่วยงานการศกึ ษาท่เี ก่ียวขอ้ ง เพื่อพัฒนาการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี โดยมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ไิ ปทผี่ เู้ รยี น เพ่อื ให้
ผเู้ รียนสามารถ พัฒนาการเรยี นร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง ผ่านการวางแผน การมวี ิสยั ทศั น์ร่วมกัน การแลกเปล่ียน
เรียนรู้ซง่ึ กันและกัน จนเกดิ เป็นวัฒนธรรม หรือชมุ ชนของการแลกเปล่ียนเรียนรใู้ นโรงเรียน

การต้องการความช่วยเหลอื

1. การพฒั นาครผู ู้สอนในการจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ สี่ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาผู้เรยี นในศตวรรษ
ที่ 21

2. การสร้างข้อสอบทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET
และ NT

3. การจัดสรรครผู สู้ อนให้ตรงตามสาขาวชิ าท่โี รงเรียนขาดแคลนมคี วามต้องการและจาเป็น
4. ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรพัฒนาศักยภาพด้านการใชภ้ าษาอังกฤษ เพือ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงรูปแบบ
การสอนที่เปน็ ระบบสองภาษาในอนาคต ตามกระแสของการเปลีย่ นแปลงของการจัดการศกึ ษาในปัจจุบัน
ทั้งในระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
5. สอ่ื สง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ทุกด้าน ส่อื เทคโนโลยีที่ทนั สมยั และเพยี งพอกับความต้องการ ได้แก่
เครือ่ งฉายโปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมการสอนสาเรจ็ รปู
6. จัดสรรงบประมาณในการสนบั สนุนการจดั การศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 54

ส่วนท่ี 4
ภาคผนวก

- บนั ทึกการให้ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษารายงานการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

- คาสัง่ โรงเรยี น
- ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดบั การศกึ ษา
ขั้นพืน้ ฐาน
- ประกาศการกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
- ผลการนิเทศ ตดิ ตามและตรวจสอบคุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564
- ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. (รอบล่าสุดของสถานศึกษา)
- ขอ้ มลู อ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 55

บันทึกการพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบเอกสาร
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ของโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2
...........................................................................................................................

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2564 ของสถานศึกษาดาเนนิ การตาม
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่กาหนดไวอ้ ย่างชดั เจนในมาตรา 48 ใหส้ ถานศกึ ษามีการ
ทารายงานพฒั นาคุณภาพเสนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กดั เป็นประจาทกุ ปี

โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน จงึ ไดด้ าเนนิ การประชุมปรึกษาหารือคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาและคณะครู เมื่อวันท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ตลอดจนได้ศึกษาแนวทางปฏิบตั ิ พรอ้ มท้งั
ไดด้ าเนนิ การรวบรวมข้อมูล ผลงาน ซงึ่ ทางโรงเรยี นได้ดาเนนิ กิจกรรมตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้และตาม
แผนปฏิบตั งิ านประจาปี ตลอดจนผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นทุกช้นั ในรอบปีการศกึ ษา การจดั ทา
รายงานพฒั นาคุณภาพการศึกษาระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ประจาปีการศึกษา 2564 คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ ได้พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบรายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564 ดว้ ยมตเิ ปน็ เอกฉันทใ์ ช้รายงานต่อหนว่ ยงานต้นสงั กัด
และสาธารณชนได้

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

ลงช่ือ

(นายนพิ ล อาทติ ย์ต้งั )
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ

ลงชอื่

( นางอรุณฉลอง ศิริพร ณ ราชสีมา ) 56
รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หิน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

คาสง่ั โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ
ที่ 3 / 2565

เรือ่ ง แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน ปกี ารศึกษา 2564 ระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

…………………………………………..

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าดว้ ยมาตรฐานและการประกนั
คุณภาพการศึกษามาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา เพอื่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาทุกระดับประกอบด้วยระบบประกนั ภายใน และระบบการประกันคณุ ภาพภายนอก ระบบ
หลกั เกณฑ์และวธิ ีการประกนั คณุ ภาพการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้
หนว่ ยงานต้นสังกดั และสถานศึกษา จดั ใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือวา่ การ
ประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบรหิ ารการศึกษาทตี่ ้องดาเนนิ การอย่างต่อเนื่องและ
ตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีกาหนดให้มีคณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในของ
สถานศกึ ษาเป็นกลไกหลกั ในการขบั เคล่ือน การพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาใหไ้ ด้มาตรฐานอย่างเป็นระบบ
มปี ระสทิ ธิภาพ อันส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศกึ ษา โดยมีการจดั ทารายงานประจาปีเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกดั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องและเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน เพอื่ นาไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกนั คุณภาพภายนอก โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ จงึ แตง่ ต้ัง
บคุ คลในท้ายคาส่ังนเ้ี ปน็ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2564
เพ่อื ทาการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐานใหแ้ ล้วเสร็จ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบดว้ ย

1.1 นางอรุณฉลอง ศิริพร ณ ราชสมี า รกั ษาการผู้อานวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นางปิยะกุล พัวอมรพงศ์ ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นหนิ โคน กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ

1.3 นายนพิ ล อาทิตยต์ ้ัง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ กรรมการ

1.4 นายสมุ ติ ร ปัดใจ กรรมการ

1.5 นายเกรกิ ฤทธ์ิ เจียนรัมย์ กรรมการ

1.6 นางวงเดอื น บุลานาผาย กรรมการ

1.7 นายทวี วันสวี งศ์ กรรมการ

1.8 นายแว่น จาเรญิ ลาภ กรรมการ

1.9 นางสาวประภาภรณ์ จาเรญิ ลาภ กรรมการและเลขานกุ าร

มหี น้าท่ี ให้คาแนะนา ปรกึ ษา อานวยความสะดวก แก้ไขปญั หาในการดาเนนิ การประเมิน

คณุ ภาพภายในสถานศึกษาแกค่ ณะกรรมการดาเนนิ งาน เพ่อื ให้การดาเนนิ งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

และมปี ระสทิ ธิภาพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 57

2. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั ประกอบด้วย

2.1 นางสาวรัญชยา กาสาโรง ครูผู้ช่วย ประธานกรรมการ

2.2 นางสาวจริยา ต้อยหม่ืนไวย ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ

3. คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย

3.1 นางอรณุ ฉลอง ศิรพิ ร ณ ราชสมี า ครูชานาญการพิเศษ ประธานกรรมการ

3.2 นางสาวนงลักษณ์ คชสาร ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

3.3 นางสาววนัสนนั ท์ พรานุสร ครผู ู้ช่วย กรรมการ

3.4 นายกฤษฎา ศรสี นั ต์ พนกั งานราชการ กรรมการ

3.5 นางสาวพัชราวรรณ แพงไธสง เจ้าหนา้ ทีธ่ ุรการ กรรมการและเลขานกุ าร

คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา มีหนา้ ที่ดงั น้ี
1. วางแผนกาหนดแนวทางและวธิ ีการดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในโรงเรยี น
2. กากับ ตดิ ตาม และให้ข้อเสนอแนะเกย่ี วกับการดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน

สถานศึกษา
3. เสนอแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพฯ จากตวั แทนในคณะกรรมการประกนั คุณภาพ

การศึกษาภายในโรงเรยี น และทาหน้าที่ตรวจสอบ ทบทวน รายงานคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
4. ให้โรงเรียนจัดระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนเปน็ ส่วนหนึ่งของการบริหาร

การศึกษาท่ปี ระกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ คือ
1) การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา

แตล่ ะระดับ
2) จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาท่ีม่งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
3) การดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
4) การจดั ให้มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
5) การติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน

การศกึ ษาของสถานศึกษา
6) จดั สง่ รายงานผลการประเมินตนเองใหแ้ ก่หนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือหนว่ ยงานท่ีกากับ

ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปี

4. คณะกรรมการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564

ประกอบดว้ ย

4.1 นางอรณุ ฉลอง ศิรพิ ร ณ ราชสมี า ครชู านาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ

4.2 นางสาวนงลกั ษณ์ คชสาร ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

4.3 นางสาวรัญชยา กาสาโรง ครู กรรมการ

4.4 นางสาววนัสนนั ท์ พรานสุ ร ครูผูช้ ว่ ย กรรมการ

4.5 นางสาวจรยิ า ต้อยหมน่ื ไวย ครอู ตั ราจ้าง กรรมการ

4.6 นายกฤษฎา ศรสี นั ต์ พนักงานราชการ กรรมการ

4.7 นางสาวพชั ราวรรณ แพงไธสง เจ้าหน้าท่ธี ุรการ กรรมการและเลขานุการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 58

มีหน้าที่ ดาเนินการรวบรวมข้อมูล จดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)
ประจา ปีการศึกษา 2564 เพือ่ นาเสนอต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และเสนอต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ัง ดาเนนิ การประเมนิ ตรวจสอบตาม
รปู แบบการประเมิน ให้ได้ขอ้ มูลครบถว้ น ถกู ต้องตามสภาพความเปน็ จรงิ ทสี่ ดุ จัดส่งหน่วยงานตน้ สงั กัด
ทง้ั นเ้ี พื่อใหเ้ กิดความเรยี บร้อย อนั จะยังสง่ ผลใหเ้ ปน็ ไปตามทศิ ทางและวัตถปุ ระสงคก์ ารพัฒนาการศึกษาสู่
มาตรฐานการศึกษาต่อไป

ท้งั น้ี ต้งั แต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป

ส่ัง ณ วนั ที่ 14 มนี าคม พ.ศ. 2565

(ลงชื่อ)
(นางอรุณฉลอง ศริ ิพร ณ ราชสมี า)

รักษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 59

ประกาศโรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน
เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย และระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
.........................................................

โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรูป
การศึกษา ในทศวรรษท่ีสองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษา
ไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพท้ังภายในและ
ภายนอกของทุกระดับ ก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป จาเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐานให้สอดคลอ้ งกนั จึงให้ ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9
(3) ได้กาหนดการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักสาคัญข้อหนึ่ง คือ มีการ
กาหนด มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
โดย มาตรา 31 ให้กระทรวงมีอานาจหน้าท่ีกากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กาหนดนโยบาย
แผน และมาตรฐานการศึกษา และมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ อื ว่าการประกนั คณุ ภาพภายในเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการบริหารการศึกษาที่
ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่
เก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือการ
รองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนบ้านบ้านหนองจระเข้หิน จึงขอยกเลิกประกาศโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน เรื่องให้ใช้
มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.
2561 และปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้
เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมนิ คณุ ภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานในการประชมุ คร้ังที่ 2/2564 เม่อื วนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน จึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี เพ่ือ
เป็นเป้าหมายในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการประเมิน
คุณภาพภายใน ต้งั แตป่ กี ารศึกษา 2564 เปน็ ต้นไป

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 60

ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นางปราณี รปู จนั ทร์)
ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 61

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน
แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หนิ เรื่อง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย

และระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ฉบบั ลงวันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2564 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน

1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รียน
1.2 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียดดังนี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

1) นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สารตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา
กาหนด

2) นกั เรียนมีความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาไดต้ ามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนด

3) นกั เรียนมีผลงานหรือช้ินงานจากการทางานกลุ่มหรือเด่ยี วได้ และสามารถอธบิ าย
หลกั การ แนวคดิ ขั้นตอนการทางาน และปญั หาอุปสรรคของการทางานได้

4) นกั เรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื ค้นขอ้ มูลได้
5) นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
6) นักเรียนมีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและเจตคติท่ดี ีพร้อมที่จะศกึ ษาต่อในระดับชัน้ ท่ีสงู ขึ้น
1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น
1) นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทดี่ ีตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
2) นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมประเพณขี องท้องถนิ่ และมีความภูมใิ จในความเป็นไทย
3) นกั เรียนอยูร่ ่วมกนั อย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรมและความ
หลากหลาย
4) นกั เรียนมสี ุขภาพรา่ งกายทแี่ ขง็ แรงสมบูรณ์และแสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามชว่ งวัย

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
2.1 โรงเรียนกาหนดเปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจทช่ี ดั เจน
2.2 โรงเรยี นมีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาตามระบบ PDCA
2.3 โรงเรียนมกี ารพฒั นาวชิ าการตามคณุ ภาพผู้เรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษาทุกกล่มุ เป้าหมาย
2.4 โรงเรยี นสง่ เสริมและสนบั สนุนพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี
2.5 โรงเรียนจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสภาพแวดลอ้ มทางสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการ

เรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 62

2.6 โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
3.1 ครูสามารถจดั การเรยี นร้ใู หน้ ักเรยี นเกดิ กระบวนการคดิ และคิดสร้างสรรค์โดยการปฏิบตั จิ ริง

และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้
3.2 ครูสามารถใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลายทีเ่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
3.3 ครูมกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก
3.4 ครูมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน
3.5 ครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 63

ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หิน
ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมาย
มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ระดับดี
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผูเ้ รียน ระดบั ดี
ระดบั ดี
1 มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคานวณ ร้อยละ 70
1. ผู้เรยี นมที กั ษะในการอ่าน ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนดในแตล่ ะ
ระดบั ชั้น รอ้ ยละ 70
2. ผ้เู รียนมที ักษะในการเขยี น ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดในแต่ละ
ระดบั ชัน้ รอ้ ยละ 70
3. ผเู้ รียนมีทักษะในการส่ือสารตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากาหนดในแตล่ ะ
ระดบั ชนั้ ร้อยละ 70
4. ผู้เรียนมีทักษะในการคิดคานวณตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนดใน
แตล่ ะระดบั ช้นั ระดับดี
ร้อยละ 70
2 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น และแกป้ ญั หา รอ้ ยละ 70
1. ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณา ร้อยละ 70
อย่างรอบคอบ โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ ระดบั ดี
2. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น รอ้ ยละ 75
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการแกป้ ัญหาอยา่ งมีเหตุผล
รอ้ ยละ 75
3 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ร้อยละ 75

1. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ั้งดว้ ยตัวเองและการ ระดบั ดี
ทางานเป็นทมี รอ้ ยละ 75
ร้อยละ 75
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการเชื่อมโยงองค์ความรู้
3. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการนาประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์ ระดับดี
ร้อยละ 70
ส่ิงใหมๆ่ อาจเปน็ แนวความคิด โครงการ โครงงาน ช้ินงาน ผลผลติ
4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการส่อื สาร ร้อยละ 65

1. ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้การสือ่ สารเพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม

ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม
5 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา

1. ผู้เรยี นบรรลแุ ละมีความก้าวหน้าในการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศึกษา
จากพน้ื ฐานเดมิ ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการต่างๆ

2. ผู้เรียนมีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบ
อืน่ ๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 64

ค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ
ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ค่าเปา้ หมาย
มาตรฐาน
6 มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และ เจตคตทิ ีด่ ีตอ่ งานอาชีพ ระดับดี
รอ้ ยละ 75
1. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานในการจัดการ รอ้ ยละ 80
2. ผู้เรียนมีเจตคติทีด่ พี ร้อมที่จะศกึ ษาต่อในระดบั ชน้ั ที่สูงข้ึน รอ้ ยละ 80
3. ผูเ้ รยี นมเี จตคติท่ีดตี ่อการทางานหรืองานอาชีพ
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน ระดบั ดเี ลิศ
รอ้ ยละ 80
1 มีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด รอ้ ยละ 80

1. ผู้เรียนมพี ฤติกรรมเปน็ ผทู้ ่ีมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา ระดบั ดีเลศิ
2. ผเู้ รยี นมคี า่ นยิ มและมจี ิตสานึกตามทีส่ ถานศึกษากาหนดโดยไมข่ ดั กบั ร้อยละ 80
รอ้ ยละ 80
กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสงั คม
2 มีความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย ระดับดเี ลศิ
ร้อยละ 80
1. ผู้เรยี นมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่ิน เห็นคณุ คา่ ของความเป็นไทย
2. ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมทง้ั ระดบั ดีเลศิ
รอ้ ยละ 80
ภูมิปัญญาไทย ร้อยละ 80
3 ยอมรับท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 80

ผเู้ รยี นยอมรับและอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลในดา้ น เพศ ระดับดเี ลศิ
วัย เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี ระดับดีเลศิ
4 มีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ร้อยละ 80

1. ผู้เรยี นมกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณ์ และสังคม รอ้ ยละ 80
2. ผู้เรยี นมีการแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละชว่ งวัย
3. ผเู้ รยี นสามารถอยู่รว่ มกับคนอ่นื อยา่ งมีความสขุ เข้าใจผอู้ ืน่ ไม่มีความ ร้อยละ 80

ขดั แย้งกบั ผ้อู น่ื ร้อยละ 80
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

1 มเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน

1. สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน
เปน็ รปู ธรรม ปฏบิ ัติได้

2. สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ สอดคล้องกบั บริบท
ของสถานศกึ ษา

3. สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของชุมชน ท้องถิ่น

4. สถานศกึ ษากาหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ สอดคล้องกบั
วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของ
ต้นสงั กดั

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 65

ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หนิ
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย
มาตรฐาน
5. สถานศึกษากาหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ สอดคลอ้ งและทนั ต่อ ร้อยละ 80
การเปลีย่ นแปลงของสงั คม ระดบั ดเี ลิศ
ร้อยละ 80
2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ร้อยละ 80
1. สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ รอ้ ยละ 80
ทงั้ ในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา การนาแผนไป ร้อยละ 80
ปฏบิ ัติเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา รอ้ ยละ 80

2. สถานศึกษามีการตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพฒั นางาน ระดับดเี ลิศ
อย่างต่อเน่อื ง ร้อยละ 80
ร้อยละ 80
3. สถานศกึ ษามีการบริหารอัตรากาลงั ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบ
ดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ร้อยละ 80

4. สถานศกึ ษามรี ะบบการนิเทศภายใน มีการนาข้อมลู มาใช้ในการพัฒนา ระดบั ดีเลิศ
5. บคุ ลากรและผู้ทเ่ี กย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ รอ้ ยละ 80
ร้อยละ 80
และพัฒนา และร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา ระดับดเี ลิศ
3 ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร ร้อยละ 80
ร้อยละ 80
สถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
1. สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การเกีย่ วกับงานวชิ าการ ท้ังด้านการพัฒนาหลกั สูตร

กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
2. สถานศกึ ษามีหลกั สตู รสถานศึกษาและมกี ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอน

ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาพร้อมทง้ั ประเมินผลการใชแ้ ละปรับปรงุ หลกั สูตร
สถานศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง
3. สถานศึกษามีการจัดหลักสตู รเช่อื มโยงวถิ ชี ีวิตจริง และครอบคลุมทกุ กลุ่ม
เปา้ หมาย หมายรวมถงึ การจัดการเรียนการสอนของกล่มุ ท่เี รยี นแบบ
ควบรวมหรอื กล่มุ ท่ีเรยี นร่วมดว้ ย
4 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี

1. ครูได้รบั การสง่ เสริม สนบั สนุน ให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ
2. สถานศกึ ษากาหนดใหม้ ชี ุมชน การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ มาใช้ในการพัฒนา

งานและการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน
5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมี

คุณภาพ
1. สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอก

ห้องเรียน และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้
2. สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอก

ห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมท่ีมคี วามปลอดภัย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 66

คา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ
ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา คา่ เปา้ หมาย
มาตรฐาน
3. สถานศกึ ษาจัดใหม้ ีห้องปฏบิ ตั กิ าร(หอ้ งพิเศษ) ตา่ งๆ เชน่ หอ้ งปฏิบัติการ รอ้ ยละ 80
วิทยาศาสตร์ ห้องสมุด หอ้ งพยาบาล ทีเ่ อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้
ระดับดีเลศิ
6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรกิ ารจดั การและการ ร้อยละ 80
จัดการเรียนรู้
1. สถานศกึ ษามกี ารจดั ระบบการจัดหา สอ่ื เทคโนโลยีที่เอื้อและสนับสนนุ การ ร้อยละ 80
จดั การเรยี นรู้
2. สถานศึกษามีการพฒั นาและการบรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ใน ระดบั ดเี ลิศ
การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา ระดบั ดีเลศิ
รอ้ ยละ 80
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
รอ้ ยละ 80
1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวันได้ รอ้ ยละ 80
1. ครูจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั ของหลักสตู ร
สถานศึกษาท่เี น้นให้ผเู้ รยี นได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง ระดบั ดเี ลิศ
2. ครูจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้ทู สี่ ามารถนาไปจัดกิจกรรมไดจ้ ริง มีรปู แบบ ร้อยละ 80
การจดั การเรียนรเู้ ฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและต้องการความ
ชว่ ยเหลอื พเิ ศษ รอ้ ยละ 80
3. ผู้เรียนได้รับการฝกึ ทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรปุ องค์ความรู้ ระดับดเี ลิศ
นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ร้อยละ 80

2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 80

1. ครูมกี ารใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมท้ังภมู ิปญั ญา ร้อยละ 80
ท้องถิน่ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ รอ้ ยละ 80

2. ครูเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากส่ือทหี่ ลากหลาย ร้อยละ 80
3 มีการบริหารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก

1. ครูผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น โดยเน้นการการมีปฏิสัมพนั ธ์เชงิ บวก
ใหเ้ ด็กรกั ครู ครูรกั เด็กและเดก็ รักเดก็ เด็กรกั ท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้
รว่ มกันอย่างมีความสขุ

2. ครูมขี ้อมูลนักเรียนรายบุคคล และนาผลมาสังเคราะห์เพ่ือวางแผนในการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนนักเรียนเป็นรายบุคคล

3. ครูและผเู้ รียนร่วมกันกาหนดแนวทางการเรยี นรู้และข้อตกลงในหอ้ งเรียน
4. ครูจดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในชัน้ เรียนเออื้ ต่อการเรียนรูข้ อง

ผเู้ รียน ผูเ้ รียนเรยี นรู้อย่างมีความสขุ และอยากมาโรงเรยี น
5. ครมู พี ฤติกรรมการสอนท่ีสรา้ งบรรยากาศอยากรู้อยากเรียนใหก้ บั ผเู้ รยี น

และผู้เรยี นมีความสขุ ในการเรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 67

ค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นบา้ นหนองจระเขห้ ิน
ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเป้าหมาย
มาตรฐาน
4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ระดบั ดเี ลิศ
ร้อยละ 80
1. ครูมกี ารตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจดั การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ รอ้ ยละ 80
2. ครูมีการใช้เครื่องมือและวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสมกบั เป้าหมาย
รอ้ ยละ 80
ในการจดั การเรียนรู้ ระดับดเี ลิศ
3. ครูมีการใหข้ ้อมลู ย้อนกลับแกผ่ เู้ รียนเพ่ือนาไปใช้พฒั นาการเรยี นรู้ ร้อยละ 80
5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ
การจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 80
1. ครแู ละผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งร่วมกันแลกเปลี่ยนความร้แู ละประสบการณ์

รวมทง้ั ใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพอ่ื นาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การ
เรยี นรู้
2. สถานศกึ ษามีระบบนิเทศภายในด้านวชิ าการเพ่ือตรวจสอบตดิ ตาม
ประเมินผลการจดั การเรียนรู้ของครผู ูส้ อนเพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ
คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

การกาหนดคา่ เปา้ หมาย

1. ศึกษาข้อมลู เดิม ผลการประเมนิ ตา่ งๆ ท่ีผ่านมา เพื่อเปน็ ข้อมูลฐานในการกาหนดค่าเปา้ หมาย

2. การกาหนดคา่ เปา้ หมาย แตล่ ะมาตรฐาน กาหนดเปน็ ระดับคุณภาพ 5 ระดบั เพือ่ ให้

สอดคลอ้ งกบั การประเมิน ดงั นี้

ระดับ ยอดเยย่ี ม ร้อยละ 90-100

ระดบั ดีเลิศ ร้อยละ 80-89

ระดับ ดี รอ้ ยละ 70-79

ระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 60-69

ระดบั กาลังพฒั นา รอ้ ยละ 50-59

3. การกาหนดค่าเปา้ หมายในแตล่ ะประเด็นพิจารณา จะกาหนดเปน็ ระดับคุณภาพ หรอื เป็น

รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 68

ผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ตามระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน อาเภอจกั ราช
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2

องค์ประกอบ/ประเด็นการนเิ ทศ ตดิ ตามและตรวจสอบ คะแนน ระดับ แปล
องค์ประกอบท่ี 1 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ เฉล่ยี คุณภาพ ความหมาย
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ 5.00
5 ยอดเยี่ยม
องคป์ ระกอบที่ 2 การจดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษา 5.00
ของสถานศกึ ษาท่ีมงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ 5 ยอดเย่ียม
สถานศกึ ษา 4.00
3.00 4 ดีเลศิ
องคป์ ระกอบท่ี 3 การดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจัด 3.00 3 ดี
การศึกษาของสถานศึกษา 3 ดี
3.00
องคป์ ระกอบท่ี 4 การจดั ใหม้ ีการประเมินผลและ 3 ดี
ตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4.33
4 ดีเลิศ
องค์ประกอบที่ 5 การติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพฒั นา
สถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา

องค์ประกอบท่ี 6 จัดสง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ให้แก่หนว่ ยงานต้นสงั กัดหรอื หน่วยงานกากบั ดูแล
สถานศึกษาเป็นประจาทุกปี

สรุปผลการนเิ ทศ ติดตาม และตรวจสอบ
ตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 69

ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ของ สมศ.

รอบสาม (ระหว่างวันที่ 18 – 20 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2556)

ระดบั คุณภาพ

ตัวบง่ ช้ี / ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ตอ้ ง ตอ้ ง พอใช้ ดี ดีมาก คะแนนท่ี ระดบั
เพ่ือการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ได้ คณุ ภาพ
ปรับปรงุ ปรบั

อยา่ ง ปรุง

เร่งดว่ น

กลมุ่ ตัวบ่งช้พี น้ื ฐาน

1. ผเู้ รียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี 5 9.49 ดีมาก

2. ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ ม

ทพ่ี งึ ประสงค์ 5 9.50 ดมี าก

3. ผู้เรียนมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 4 8.34 ดี

4. ผเู้ รียนคดิ เป็น ทาเป็น 5 9.43 ดีมาก

5. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน 3 7.14 พอใช้

6. ประสิทธิผลของการจดั การเรียนการสอน

ที่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 5 9.00 ดมี าก

7. ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและ

การพัฒนาสถานศกึ ษา 5 4.80 ดีมาก

8. พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายใน

โดยสถานศึกษาหรอื ต้นสังกัด 5 4.87 ดีมาก

กลมุ่ ตวั บง่ ช้อี ตั ลกั ษณ์

9. ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน 4 4.00 ดี

พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงคข์ องการจัดตงั้

สถานศึกษา

10. ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจุดเด่นที่

ส่งผลสะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา 4 4.00 ดี

กลมุ่ ตัวบง่ ชมี้ าตรการสง่ เสริม

11. ผลการดาเนินงานงานโครงการพิเศษเพอื่ 4 4.00 ดี

ส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา

12. ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอื่

ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และ 5 5.00 ดีมาก

พฒั นาสู่ความเป็นเลิศ ทส่ี อดคล้องกับ

แนวทางการปฏิรปู การศกึ ษา

คะแนนรวม 100 80.57 ดี

สรุปผลการจัดการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานของสถานศกึ ษาในภาพรวม

 สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 70

ข้อเสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา

จุดเดน่
1. ดา้ นผลการจัดการศึกษา

1) ผเู้ รียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจติ ท่ีดี เชน่ มีน้าหนักสว่ นสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
รวมท้งั รจู้ ักดูแลตนเองให้มคี วามสะอาดปลอดภยั ผเู้ รยี นมีสุนทรียภาพ เช่น เข้ารว่ มกิจกรรมทงั้ ในและ
นอกหลักสตู ร ด้านศิลปะ ดนตรนี าฏศลิ ป์ และนันทนาการ

2) ผ้เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เช่น เปน็ ลกู ทดี่ ีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
เปน็ นักเรยี นที่ดีของโรงเรยี น ร้จู กั การบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ สังคมท้งั ในและนอกสถานศึกษา

3) ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น มีความสามารถด้านการคิดและปรับตัวเขา้ กับสังคมได้เหมาะสม
2. ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา

1) ผู้บริหารมปี ระสิทธิภาพการบรหิ ารการจัดการและการพัฒนาการศึกษา เช่น มกี ารพฒั นางาน
ตามบทบาทหนา้ ทีข่ องผ้บู ริหารท้ังดา้ นวิชาการ ดา้ นงบประมาณ ดา้ นการบริหารงานบุคคล ดา้ นการ
บริหารท่ัวไป

2) สถานศึกษามีประสิทธภิ าพของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เช่น มีการประชุมและ
ให้ข้อเสนอแนะตอ่ การพฒั นาดีมาก

3) สถานศึกษามผี ลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐาน เชน่ มีการพัฒนา
คณุ ภาพของผู้เรยี นและครูในแนวใหมๆ่ มกี ารจัดแหล่งเรียนร้ทู ่หี ลากหลาย
3. ดา้ นการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

1) ครมู ีประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน เชน่ มกี ารพฒั นาในวชิ าทส่ี อนตามที่ครุ ุสภากาหนด
ได้รบั การประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ ประเมนิ การจดั การเรียนรู้ อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 ครั้ง

2) ครมู กี ารจัดกระบวนการเรียนรูข้ องครู เชน่ มีการกาหนดเปา้ หมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
ผู้เรยี นด้านความรู้ ทกั ษะ การบวนการท่ีเปน็ ความคิดรวบยอด มีการจัดเตรียมส่อื ใหเ้ หมาะสมกับ
กิจกรรม มกี ารประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผู้เรยี นด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย มีการวิเคราะห์ผลการประเมนิ
และนามาใช้ในการซ่อมเสริมและพฒั นาผู้เรยี นรวมทั้งปรับปรุงการเรยี นการสอน
4. ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน

สถานศกึ ษามีพฒั นาการของการประกันคุณภาพภายใน เช่น ได้ดาเนินการประกันคุณภาพภายใน
ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2553 ขอ้ 14 ตามหลักเกณฑท์ ้ัง 8 ข้อ และมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
15 มาตรฐาน อยา่ งต่อเนื่องมีการประเมนิ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในทุกปีการศึกษาและประกาศต่อ
สาธารณชน

จดุ ทคี่ วรพัฒนา

1. ด้านผลการจัดการศกึ ษา
ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้างตา่ ในหลายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เช่น กล่มุ สาระการ

เรียนร้ภู าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ รวมทัง้
ผ้เู รยี นบางสว่ นขาดความใฝร่ ู้และเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 71

2. ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1) ผู้บริหารสถานศกึ ษายังไม่โดดเด่นในการบรหิ ารจดั การ 2 ดา้ น คือ การประชมุ และ

รายงานการประชุมของคระกรรมการสถานศึกษา
2) การแต่งตั้งทีป่ รึกษาหรืออนุกรรมการเพ่ือดาเนินงานตามระเบียบของคณะกรรมการศึกษา

ข้นั พื้นฐาน
3. ด้านการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ

ครูบางส่วนไม่โดดเดน่ ในการจัดประสบการณเ์ รียนรู้ 2 ด้าน คอื การจัดบรรยากาศท่เี อ้อื ต่อการ
เรยี นรู้ และดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นให้เกิดการเรยี นรู้ การศกึ ษาคน้ ควา้ วิจยั เพื่อพัฒนาส่ือและกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั
4. ด้านการประกันคุณภาพภายใน

1) สถานศึกษายงั ไม่เด่นชดั ในการจัดทาการนิเทศระบบประกันคุณภาพในสถานศึกษาอย่าง
สมา่ เสมอและต่อเน่ือง

2) คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในท่ีสถานศึกษาแตง่ ตัง้ ยงั ไมเ่ ด่นชัดเกย่ี วกับการประชุมและ
ติดตามผลการประเมนิ คุณภาพภายในท่ีสม่าเสมอทุกภาคเรียน ให้ไดภ้ าคเรยี นละ 2 ครั้ง และเสนอผล
การประกันคณุ ภาพต่อสถานศึกษาดาเนินการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 72

คณะทางาน

คณะท่ีปรกึ ษา

1. นายนิพล อาทติ ย์ตั้ง

2. นางสาวประภาภรณ์ จาเรญิ ลาภ

3. นายเกริกฤทธิ์ เจียนรมั ย์

4. นางวงเดอื น บลุ านาผาย

5. นายสมุ ติ ร ปัดใจ

6. นายทวี วนั สวี งศ์

7. นายแว่น จาเริญลาภ

คณะดาเนนิ งาน

1. นางอรณุ ฉลอง ศริ ิพร ณ ราชสมี า

2. นางสาวนงลักษณ์ คชสาร

3. นางสาวรัญชยา กาสาโรง

4. นางสาววนัสนันท์ พรานุสร

5. นางสาวจรยิ า ต้อยหม่นื ไวย

6. นายกฤษฎา ศรสี นั ต์

7. นางสาวพัชราวรรณ แพงไธสง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 73

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 74

โรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ ิน
ตาบลหนิ โคน อาเภอจักราช จงั หวดั นครราชสมี า

โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน

สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 75
กระทรวงศึกษาธกิ ารรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน


Click to View FlipBook Version