The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษารวมเล่มใหม่

SAR รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

2564 (Self-Assessment Report : SAR)
ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หนิ

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 1
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR)
ปีการศกึ ษา 2564
ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หิน

ตาบลหนิ โคน อาเภอจกั ราช จงั หวัดนครราชสมี า

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 2

คานา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ฉบบั นี้
จดั ทาข้นึ ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุใหส้ ถานศึกษาจัดให้มีการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาโดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแตล่ ะระดบั และ
ประเภทการศกึ ษาที่รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด พรอ้ มทง้ั จัดทาแผนพฒั นาการจัด
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีมุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนดไว้ จดั ใหม้ ี
การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการดาเนินการเพ่ือพฒั นา
สถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาและจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหแ้ ก่หน่วยงานต้น
สังกัดหรอื หน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจาทกุ ปีเพือ่ รายงานผลการดาเนนิ งานตามมาตรฐาน
การศกึ ษาทส่ี ะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสาเรจ็ จากการบรหิ ารจดั การศึกษาท่ี
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คุณภาพของผเู้ รียน
กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ และการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ โดยส่วนประกอบ
ของรายงานฉบับน้ี ประกอบด้วย

บทสรุปของผบู้ ริหาร
ข้อมลู พน้ื ฐาน
การดาเนนิ งานของสถานศึกษาตามนโยบายเรง่ ดว่ นของรัฐบาลและต้นสงั กัด
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานโดยรวม
สรุป ขอ้ เสนอแนะ แนวทางการพฒั นาและการต้องการความช่วยเหลอื
ขอขอบคุณผทู้ ่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายทมี่ ีส่วนรว่ มในการจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของ
สถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ฉบับน้ี หวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชนต์ อ่ การ
นาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาปีต่อไป

รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน
12 พฤษภาคม 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 3

สารบญั

หน้า

คานา 1
สารบัญ 4
บทสรุปของผบู้ ริหาร 4
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 4
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน…………………………………………………………….................................................
4
1.1 ขอ้ มูลสถานศกึ ษา …………………………………………………………….................................. 4
1.2 เส้นทางและระยะทางจากโรงเรยี นถึงสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา 5
5
นครราชสีมา เขต 2……………………………………………………………................................. 6
1.3 ประวตั ิโรงเรียน……………………………………………………………........................................ 6
1.4 ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี จานวนห้องเรียน จานวนหอ้ งปฏิบัตกิ าร จานวนหอ้ งพยาบาล... 7
1.5 อตั ลักษณ์ เอกลกั ษณ์ วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ คาขวญั ....................................................... 8
1.6 ข้อมูลผ้บู ริหารโรงเรียน……………………………………………………………............................
1.7 โครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา…………………………………………………………….... 8
1.8 ขอ้ มูลสภาพชมุ ชน เศรษฐกจิ และสงั คมของสถานศึกษา............................................ 9
1.9 โอกาสและขอ้ จากัดของโรงเรียนทส่ี ง่ ผลต่อการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2564....... 10
1.10 ข้อมูลแหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกสถานศึกษา ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน 10
10
ปกี ารศกึ ษา 2564…………………………………………………………….................................
1.11 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564……………………………………………. 11
1.12 ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564........................................ 11
1.13 ข้อมูลผเู้ รยี น ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน................................... 12
1.14 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศกึ ษา 2564...................
1.15 ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ข้อมูลจานวนและร้อยละของผสู้ าเร็จการศกึ ษา 13
14
ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน………………………………………………… 15
1.16 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู ร.............................................. 16
1.17 ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สารและการคิดคานวณ. 17
1.18 ผลการประเมินความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย 17

แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแกป้ ัญหา……………………………………………………………
1.19 ผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม..................................................
1.20 ผลการประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสื่อสาร.............................
1.21 ผลการประเมนิ ความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจคติท่ีดีต่องานอาชีพ.............................
1.22 ผลการประเมินความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย............................................
1.23 ผลการประเมนิ การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย............

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 4

สารบญั

หนา้

ส่วนที่ 1 1.24 ผลการประเมนิ สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมของผูเ้ รียน.................................... 18
1.25 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผู้เรียน.......................................................................... 19
ส่วนท่ี 2
ส่วนที่ 3 1.25.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) 19
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1…………………………………………………………………………
- ผลการประเมิน ปกี ารศึกษา 2564 ท้ัง 2 ด้าน เปรียบเทยี บระดบั 19
โรงเรียน ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดบั จงั หวัด ระดับศกึ ษาธิการภาค ระดับ
สังกดั และ ระดบั ประเทศ ………………………………………………………………. 19
- เปรยี บเทียบผลการทดสอบ ท้ัง 2 ดา้ น 3 ปี ย้อนหลัง
(ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564) …………………………………………………………… 20

1.25.2 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ 20
(NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ……………………………………………………………….
- ผลการประเมิน ปกี ารศกึ ษา 2564 ทัง้ 2 ดา้ น เปรียบเทยี บระดบั 20
โรงเรียน ระดับเขตพนื้ ที่ ระดับจงั หวดั ระดบั ศึกษาธิการภาค ระดับ
สงั กดั และ ระดับประเทศ ………………………………………………………………. 21
- เปรยี บเทยี บผลการทดสอบ ทงั้ 2 ด้าน 3 ปี ยอ้ นหลงั
(ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564) …………………………………………………………… 21

1.25.3 ผลการประเมินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) 21
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ………………………………………………………………………..
- ผลการประเมิน ปกี ารศึกษา 2564 ทงั้ 4 วิชา เปรียบเทยี บระดบั 22
โรงเรียน ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดับประเทศ …………………………………………… 36
- เปรยี บเทียบผลการทดสอบ ทงั้ 4 วิชา 3 ปยี ้อนหลงั 37
(ปกี ารศึกษา 2562 - 2564) …………………………………………………………… 37
37
1.26 การดาเนินงานของสถานศกึ ษาตามนโยบายเรง่ ด่วนของรัฐบาลและตน้ สงั กดั 40
ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน........................................................ 43
45
1.27 ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน......... 46
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา...............................................................................
- ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน.................................

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน.................................................................................
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ.......................................................
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ......................
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานโดยรวม..................
สรุป ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาและการต้องการความช่วยเหลอื ............................

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 5

สารบญั

หนา้

สว่ นที่ 4 ภาคผนวก……………………………………………………………........................................................ 55
- บนั ทึกการให้ความเห็นชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
56
ปีการศึกษา 2564……………………………………………………………………………………………. 57
- คาสั่งโรงเรยี น……………………………………………………………............................................... 60
- ประกาศสถานศึกษาใหใ้ ชม้ าตรฐานระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีการศึกษา 2564……….
- ประกาศการกาหนดคา่ เปา้ หมาย ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 64
ปีการศึกษา 2564 ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน………………………………………………………..
- ผลการนิเทศ ติดตามและตรวจสอบคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น 69
ปีการศึกษา 2564……………………………………………………………………………………………….. 70
- ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. (รอบล่าสุดของสถานศกึ ษา) ....................... 73
- คณะทางาน……………………………………………………………..................................................

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 6

สารบัญตาราง

หนา้

ตารางท่ี 1 ข้อมลู อาคารสถานที่...................................................................................................... 5
ตารางท่ี 2 จัดระบบโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา....................................................... 7
ตารางท่ี 3 แหล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอกโรงเรยี น..................................................................... 8
ตารางที่ 4 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา..................................................................................... 9
ตารางท่ี 5 ข้อมูลครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 ......................................... 10
ตารางท่ี 6 ข้อมูลผ้เู รยี น ปกี ารศกึ ษา 2564.................................................................................... 10
ตารางที่ 7 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ปีการศึกษา 2564....................... 10
ตารางที่ 8 เปรียบเทยี บคา่ เฉลย่ี ร้อยละของคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ตามหลักสตู รระดบั ชัน้ เรยี น 11
ตารางที่ 9 เปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี รอ้ ยละของคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ตามหลกั สตู รระดับชั้นเรียน
และระดบั โรงเรียน........................................................................................................ 11
ตารางที่ 10 เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ร้อยละของความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและ
การคดิ คานวณระหว่างช้ันเรยี น.......................................................................... 12
ตารางท่ี 11
เปรยี บเทยี บคา่ เฉลีย่ ร้อยละของความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารและ 12
ตารางที่ 12 การคดิ คานวณระหว่างชน้ั เรียนและโรงเรยี น........................................................
13
ตารางท่ี 13 เปรียบเทยี บค่าเฉลย่ี ร้อยละของความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี
วจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และแก้ปัญหาระหวา่ งช้นั เรียน......... 13
ตารางท่ี 14 เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ร้อยละของความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมี 14
ตารางท่ี 15 วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหาระหว่างชนั้ เรียนและ
โรงเรียน........................................................................................................................ 14
ตารางท่ี 16 เปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละของความสามารถในการสร้างนวตั กรรมระหว่างชัน้ เรียน
เปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี รอ้ ยละของความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมระหว่างช้ันเรียน 15
ตารางที่ 17 และโรงเรียน.................................................................................................................
เปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยร้อยละของความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการส่อื สาร 15
ตารางท่ี 18 ระหวา่ งช้ันเรียน............................................................................................................
เปรียบเทยี บคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละของความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสือ่ สาร 16
ตารางที่ 19 ระหวา่ งชน้ั เรยี นและโรงเรยี น........................................................................................
เปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ร้อยละของความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจคติท่ดี ตี ่องานอาชีพ 16
ตารางท่ี 20 ระหวา่ งชน้ั เรียน............................................................................................................
เปรียบเทียบค่าเฉล่ียรอ้ ยละของความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจคติท่ีดีต่องานอาชพี 17
ระหว่างช้ันเรียนและโรงเรียน........................................................................................
เปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยร้อยละของความภมู ิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทยระหวา่ ง
ชน้ั เรียน.........................................................................................................................

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 7

สารบัญตาราง

หนา้

ตารางท่ี 21 เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี ร้อยละของการยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ 17
ตารางท่ี 22 หลากหลาย................................................................................................................... 18
ตารางท่ี 23 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของสขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคมของผู้เรยี น..........
19
ตารางที่ 24 เปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละของความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ทงั้ 2 ด้าน เปรยี บเทียบระดบั โรงเรียน 19
ตารางที่ 25 ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับจงั หวัด ระดับศึกษาธกิ ารภาค ระดบั สังกดั และระดับประเทศ...
เปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยรอ้ ยละของความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT) 20
ตารางท่ี 26 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ทง้ั 2 ดา้ น 3 ปี ย้อนหลัง 20
ตารางท่ี 27 (ปกี ารศึกษา 2562 - 2564)..........................................................................................
เปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี รอ้ ยละของการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ 21
ตารางท่ี 28 (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ท้ัง 2 ดา้ น เปรียบเทยี บระดับโรงเรยี น ระดับเขตพื้นที่
ระดับจงั หวดั ระดบั ศึกษาธิการภาค ระดับสังกดั . และระดับประเทศ............................ 21
ตารางท่ี 29 เปรยี บเทียบคา่ เฉลีย่ ร้อยละของการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รยี นระดบั ชาติ 45
(NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ท้ัง 2 ดา้ น 3 ปี ย้อนหลัง (ปีการศกึ ษา 2562 - 2564)....
เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน
(O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 ทง้ั 4 วชิ า เปรียบเทียบระดบั
โรงเรียน ระดับเขตพน้ื ท่ี และระดับประเทศ.................................................................
เปรยี บเทียบค่าเฉล่ียรอ้ ยละของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน
(O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2564 ทั้ง 4 วชิ า เปรียบเทยี บ
ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพน้ื ท่ี และระดบั ประเทศ 3 ปี ย้อนหลงั
(ปกี ารศึกษา 2562 - 2564)..........................................................................................
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐานโดยรวม..................

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 8

บทสรปุ ของผบู้ รหิ าร

ข้อมูลสถานศกึ ษา
ช่ือสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ รหสั สถานศึกษา 1030020047 สงั กัดสานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 ต้งั อยเู่ ลขที่ - หมู่ 7 ตาบลหินโคน อาเภอจักราช
จังหวดั นครราชสีมา รหัสไปรษณยี ์ 30230 Facebook โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน

เปิดสอน ต้ังแตร่ ะดับช้นั อนบุ าล 2 - ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
มีเนือ้ ท่ี 21 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา

ขอ้ มูลผบู้ ริหารโรงเรียน
ปัจจบุ ันโรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หินไม่มผี ู้บริหาร (เนื่องจากยา้ ยไปดารงตาแหนง่ ทีโ่ รงเรียนอ่ืน)

ผู้ดารงตาแหน่งรักษาการในตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียน คือ นางอรุณฉลอง ศิรพิ ร ณ ราชสมี า
หมายเลขโทรศัพท์ 812649849

ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา : ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
1. ผลการประเมนิ ระดบั 4
ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น

โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หินมผี ลการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน ด้านผลสัมฤทธิ์
ทางวชิ าการของผูเ้ รยี น และด้านคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน โดยภาพรวม รอ้ ยละ 84.06

ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน
โรงเรยี นบา้ นหนองจระเขห้ นิ มีผลการพัฒนาดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน โดยภาพรวม
ร้อยละ 77.84
ดา้ นคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
โรงเรียนบา้ นหนองจระเขห้ ินมีผลการพฒั นาดา้ นคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนโดยภาพรวม
ร้อยละ 93.85

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรยี นบา้ นหนองจระเขห้ นิ มีผลการดาเนินงานตามมาตรฐานท่ี 2 มกี ระบวนการบรหิ ารและการ

จดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มกี ารกาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ อย่างชัดเจน สามารถ
ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผู้เรยี นทุกกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาใน
ทกุ กลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ดาเนนิ การพฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความ
เช่ียวชาญทางวิชาชพี และจดั ทาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการเรียนรู
รวมท้ังจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือต่อการจัดการเรยี นรู โดยภาพรวมรอ้ ยละ 96.67

ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ มีผลการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ 3 จัดกระบวนการจัดการเรยี น

การสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษา สร้างโอกาสให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ มกี ารบริหารจัดการช้นั เรียนเชงิ บวก สร้างปฏสิ มั พนั ธท์ ่ีดีทด่ี ี ครรู ้จู ัก

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1

ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผูเรยี น
รวมทั้งร่วมกนั แลกเปล่ยี นเรยี นรูและนาผลทไี่ ดมาให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การ
เรียนรู โดยภาพรวมรอ้ ยละ 88.80

2. ขอ้ มลู ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร หลกั ฐานเชงิ ประจักษท์ ีส่ นับสนุนผลการดาเนินงาน และ
แผนพัฒนา เพือ่ ใหไ้ ด้มาตรฐานที่สงู ข้ึน

ขอ้ มูล หลกั ฐาน และเอกสาร หลกั ฐานเชิงประจักษ์ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองคุณภาพ
ผู้เรียน ของโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ คือ

- แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
- รายงานการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
- ประกาศมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนบา้ นหนองจระเขห้ นิ
- บนั ทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
- สมดุ บันทึกการประชุมผูป้ กครอง
- รายงานความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาของผปู้ กครองและชมุ ชน
- บันทกึ การเขา้ อบรมสัมมนาของครู
- บนั ทกึ การอ่าน
- แผนการจดั การเรยี นการสอน
- แฟ้มสะสมงานของนักเรียน
- หลักสตู รสถานศึกษา
- รายงานผลการอ่านคดิ วเิ คราะห์และเขียน
- รายงานผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษา
- บันทกึ การใช้หอ้ งสมุด
- บนั ทึกการใชห้ ้องคอมพิวเตอร์
- รายงานคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- บนั ทึกการใชแ้ หล่งเรยี นรู้
- สมุดบันทึกการทาความดี
- สมดุ บญั ชีธนาคาร
- ภาพกจิ กรรมตา่ งๆ
- แผนกลยทุ ธ์
- บันทึกการนเิ ทศภายใน
- บันทกึ การผลิตสื่อและการใช้ส่ือ
- บันทึกการวดั และประเมนิ ผล
- เอกสารธรุ การประจาช้ัน
- บักทกึ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC)

การพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดบั เพื่อให้ได้มาตรฐานท่ีสูงขน้ึ โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หนิ ได้ดาเนินการ
จดั ทาโครงการเพื่อรองรบั ดังน้ีคอื

1. โครงการจัดทาแผนปฏบิ ัติการ

2. โครงการส่งเสริมนกั เรียนวัยเรียนให้ได้รับการศกึ ษาอย่างท่ัวถงึ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2

3. โครงการพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
4. โครงการสง่ เสรมิ ความสัมพนั ธ์กับชมุ ชน
5. โครงการพฒั นางานวิชาการสู่คณุ ภาพไดม้ าตรฐาน
6. โครงการผลติ สื่อการเรยี นการสอน
7. โครงการพัฒนาบุคลากร
8. โครงการปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์
9. โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศ
10. โครงการพฒั นางานการเงินและพัสดุ
11. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการศกึ ษา
12. โครงการสง่ เสริมความสามารถทางวิชาการ
13. โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ด้านภาษา
14. โครงการส่งเสริมการอ่านออก เขยี นได้ คดิ เลขเปน็
15. โครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอ่าน
16. โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
17. โครงการสง่ เสริมการเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
18. โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ และสานึกในความเปน็ ไทย
19. โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพ
20. โครงการรณรงคต์ ่อต้านยาเสพติด
21. โครงการตา้ นทุจรติ
22. โครงการพฒั นางานวิชาการสู่คณุ ภาพไดม้ าตรฐาน
23. โครงการพัฒนาบุคลากร
24. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
25. โครงการวิจยั การเรยี นรู้
26. โครงการจัดหาวสั ดุอปุ กรณง์ านวชิ าการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 3

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564

ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

1.1 ขอ้ มูลสถานศึกษา
รหสั สถานศึกษา 1030020047 ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ นิ
สงั กัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2
ตง้ั อยูเ่ ลขที่ - หมู่ 7 ตาบลหนิ โคน อาเภอจกั ราช จังหวดั นครราชสีมา รหสั ไปรษณีย์ 30230
Facebook โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ
เปิดสอน ตัง้ แต่ชน้ั อนุบาล 2 - ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
เนอ้ื ที่ 21 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา

1.2 เส้นทางและระยะทางจากโรงเรียนถงึ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2

1.3 ประวัตโิ รงเรียน
โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หิน ตาบลหินโคน อาเภอจักราช จังหวัดนครราชสมี า

รหัสไปรษณีย์ 30230 โทรศัพท์ 0 4475 1372 สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
นครราชสมี า เขต 2

เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมีเขตพื้นท่ีบริการ
จานวน 2 หมู่บา้ น คือ

- หมทู่ ี่ 6 หมบู่ ้านหัวละเลิง
- หมู่ที่ 7 หม่บู ้านหนองจระเข้หนิ
โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ นิ มเี นือ้ ที่ 21 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา กอ่ สร้างข้ึนโดยความ
รว่ มมือของประชาชนใน หมบู่ ้านท่ี 5 ตาบลจกั ราช (หินโคน ซงึ่ ปัจจุบนั ไดแ้ ยกเปน็ ตาบลใหม่ คือ หมู่ที่ 1
ตาบลหินโคน) ซ่งึ มองเหน็ ความยากลาบากของนกั เรยี นในหมบู่ ้านหัวละเลิงและหมู่บ้านหนองจระเขห้ ิน
ซ่ึงจะต้องเดนิ ทางจากหมบู่ ้านดงั กล่าวไปเรียนท่ี โรงเรียนโคกสะอาด ตาบลหนิ ดาด อาเภอห้วยแถลง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 4

และไปเรียนทโี่ รงเรยี นบ้านข้ีเหล็ก (ครุ ปุ ระชานกุ ูล) ปัจจุบนั คือโรงเรียนบา้ นหนิ โคน ท้งั น้ไี ด้มี นายวัน
สวุ รรณวงศ์ เป็นครูใหญ่ในขณะนัน้ รว่ มมือกบั นายเคน ธรรมพล ผ้ใู หญ่บา้ นหนองจระเข้หิน ได้ขอที่ดนิ
จาก นายซุย พานชิ ย์ ซ่งึ เป็นทดี่ นิ จบั จองในเขตป่าสงวนและมอบใหส้ รา้ งโรงเรียนต่อไป โดยมีบรเิ วณดังนี้
คอื

ทศิ เหนือ ยาว 178 เมตร ติดทด่ี นิ ของ นายแก้ว บุตรศรีภมู ิ
ทศิ ตะวนั ออก ยาว 208 เมตร ติดที่ดินของ นายจาลอง พานชิ ย์
ทศิ ใต้ ยาว 186 เมตร ติดทดี่ นิ ของ นายจาลอง - นายสอง พานชิ ย์
ทศิ ตะวันตก ยาว 155 เมตร ติดที่ดินของ นายติง่ - นางทองมว้ น พมิ สงเคราะห์

เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2537 ได้มเี จ้าหน้าท่ีพสั ดุจังหวัดได้ออกมาทาการรงั วดั ทด่ี ินเพอื่ ทาแผนผัง
และคานวณพนื้ ท่ีใหม้ ีรายละเอยี ดชัดเจน ทงั้ นีไ้ ด้ขอที่ดินจาก นายแก้ว บตุ รศรภี ูมิ ด้านทิศเหนอื เพื่อจดั
ใหเ้ ป็นแนวเส้นตรง ซ่ึงแผนผงั ของทางโรงเรยี นจะไดร้ ับภายหลัง ท้ังนโ้ี ดยในขณะเร่มิ แรกได้ก่อสร้างอาคาร
เรยี น แบบ ป.1 ข. ยกพนื้ สูง และเปดิ เรียนได้ตงั้ แต่วนั ท่ี 20 สงิ หาคม พ.ศ. 2504 ส้นิ ค่าก่อสรา้ ง
6,150 บาท และมนี ักเรยี นตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 4 จานวน 66 คน มนี ายคูณ(กติ ต)ิ พลรักษา
เป็นผู้รักษาการในตาแหนง่ ครูใหญ่ และตอ่ จากน้ันได้รบั งบประมาณจากทางราชการเพ่ือสรา้ งสิ่งตา่ ง ๆ

1.4 ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี

- อาคารเรียน จานวน 2 หลงั

- อาคารเอนกประสงค์ จานวน 1 หลงั

- หอ้ งเรยี น จานวน 8 หอ้ ง

- ห้องปฏิบัติการ จานวน 2 ห้อง คือ หอ้ งปฏิบัติการทางภาษาและห้องปฏบิ ตั ิการ

วทิ ยาศาสตร์

ตารางท่ี 1 ข้อมูลอาคารสถานท่ี

ท่ี ประเภทสิง่ ก่อสรา้ ง แบบการกอ่ สร้าง วนั เดอื นปที ี่ จานวน จานวน หมายเหตุ
ก่อสรา้ ง (หลัง) หอ้ ง

1 อาคารเรยี น ป.1 ฉ. 2521 2 2

2 อาคารอเนกประสงค์ 2521 1 -

3 ห้องเรียน บ้านพักครูแบบองค์การ 2525 1 -

4 อาคารเรียน แบบ สปช.102/26 2530 1 3

5 อาคารประกอบ หอ้ งส้วม สปช /26 2545 1 4

6 อาคารประกอบ อาคารอเนกประสงค์ 1-

แบบสร้างเอง

1.5 อัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น

ระดับก่อนประถมศึกษา “อารมณด์ ี ไมตรีอ่อนหวาน”
ระดับประถมศึกษา “สวมชดุ ขาววันศุกร์”

เอกลกั ษณ์ของโรงเรียน

“จิตอาสา กิรยิ าสุดสวย”

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 5

วสิ ัยทัศน์
“โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หินมุ่งม่ันพัฒนานักเรียน บุคลากรและการบริหารจัดการให้มี

คณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ส่งเสรมิ การใช้ภมู ิปัญญาท้องถ่ินและเทคโนโลยี โดยชุมชนมีส่วนร่วม น้อมนา
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน”

พันธกิจ
การพฒั นาโรงเรยี นให้กา้ วไปสู่วิสยั ทัศนใ์ หม้ ีความสาเร็จจะต้องมีความมุง่ มั่นในการพฒั นา

ดงั นี้
1. พัฒนานกั เรียนทกุ ด้านเตม็ ตามศักยภาพ ดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย ให้มคี ุณภาพตาม

เกณฑ์มาตรฐาน
2. พัฒนาบุคลากรทั้งด้านความรู้ ความสามารถ และเจตคติ เพือ่ ให้สามารถปฏบิ ตั งิ าน

ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. พัฒนาระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
4. สง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมเพื่อให้นักเรียนสามารถดารงชีวิตอยใู่ นสงั คม

ได้อยา่ งมคี วามสขุ
5. สรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน เพอ่ื สง่ เสริมการใช้ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่

และเทคโนโลยีในการจัดการศึกษา

คาขวัญของโรงเรยี น “เรยี นดี มวี นิ ยั ใฝ่คุณธรรม”

สปี ระจาโรงเรียน “ เหลอื ง – ดา ”

อกั ษรย่อของโรงเรยี น “จ.ข”

1.6 ข้อมูลผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
1) ปัจจบุ ันโรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ ินไม่มีผู้บริหาร (เน่อื งจากย้ายไปดารงตาแหนง่ ทโ่ี รงเรยี นอ่ืน)

ผดู้ ารงตาแหน่งรกั ษาการในตาแหน่งผ้อู านวยการโรงเรียน คอื นางอรุณฉลอง ศริ พิ ร ณ ราชสีมา
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ หมายเลขโทรศัพท์ 0812649849

1.7 โครงสร้างการบรหิ ารของสถานศึกษา

โรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หนิ มีบคุ ลากรจานวนท้ังสนิ้ 9 คน จาแนกได้ ดังน้ี

ผู้บรหิ ารโรงเรยี น จานวน - คน

ขา้ ราชการครู จานวน 5 คน

พนกั งานราชการ จานวน 1 คน

ครูอตั ราจา้ ง จานวน 1 คน

ครธู ุรการ จานวน 1 คน

นกั การภารโรง จานวน 1 คน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 6

โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หินได้จัดระบบโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษาออกเป็น
4 กลุ่มงาน ดังต่อไปนี้

ตารางท่ี 2 จดั ระบบโครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา

ลาดับที่ ชื่อหน่วยงาน ภารกจิ สาคญั

1 กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ จดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานให้ผ้เู รียนจบ
หลกั สตู รตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด
2 กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ
3 กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล บรหิ ารแผนงานและงบประมาณใหบ้ รรลพุ นั ธกจิ ของสถานศึกษา

4 กลุ่มบรหิ ารงานทวั่ ไป ส่งเสรมิ สนับสนุน และพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีประสิทธภิ าพ
เหมาะสมกบั การจดั การศึกษา

สนบั สนนุ และอานวยความสะดวกให้กับครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน
จดั การศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล

ผ้อู านวยการสถานศึกษา

คณะกรรมการทปี่ รึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา

การบรหิ ารวิชาการ การบรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล การบริหารทวั่ ไป

บคุ คล

รูปแผนภมู โิ ครงสร้างการบริหารสถานศกึ ษา

1.8 ขอ้ มูลสภาพชุมชน เศรษฐกจิ และสงั คมของสถานศึกษา
1) สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน

ประกอบไปด้วยหมู่บ้าน 2 หมู่บ้าน คือหมู่บ้านหัวละเลิง มีประชากรประมาณ 124 ครัวเรือน 559
คน ชาย 280 คน หญิง 279 คน และหมู่บ้านหนองจระเข้หินมีประชากรประมาณ 170 ครัวเรือน
754 คน ชาย 370 คน หญิง 384 คน อาชีพหลักของชุมชน คือ ทานา ทาไร่และรับจ้าง ส่วนใหญ่
นับถอื ศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ งานบุญเบิกบ้าน งานบุญ
ข้าวจ่ี

2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ร้อยละ 70 ประกอบ
อาชีพทานา และร้อยละ 30 ประกอบอาชีพทาไร่และรับจ้าง ร้อยละ 100 นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทาง
เศรษฐกจิ ค่อนข้างยากจน รายได้เฉลี่ยต่อปี 20,000 บาท ภาษาทใ่ี ชพ้ ูดส่วนใหญเ่ ป็นภาษาลาว

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 7

1.9 โอกาสและข้อจากัดของโรงเรยี นทีส่ ง่ ผลต่อการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2564
ผลการศกึ ษาสภาพแวดล้อมในชุมชนที่มีผลต่อการพัฒนาการจัดการศึกษาในโรงเรียน คือ

จดุ แข็ง
1. ชุมชนมคี วามพร้อมในการให้ความสนับสนุนและให้ความร่วมมือแก่โรงเรยี น
2. ชุมชนมแี หล่งเรยี นรแู้ ละภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินท่ีสามารถนามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ

สอนได้

จุดออ่ น
1. นโยบายดา้ นการเมืองของรฐั บาลที่มอี ยู่ในท้องถ่ิน
2. การบรหิ ารงานงบประมาณของรฐั บาลท่ีกระจายสู่ท้องถิน่
3. ความรขู้ องผปู้ กครองในท้องถ่ิน และการทผ่ี ปู้ กครองต้องออกไปทางานต่างจงั หวดั ท้งิ ให้บุตร

ของตนอยกู่ ับป่ยู า่ ตายายหรือญาติ

1.10 ขอ้ มูลแหล่งเรียนรภู้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ปกี ารศกึ ษา 2564

นับแต่ก่อต้งั เม่ือปี พ.ศ. 2504 โรงเรียนได้มกี ารพัฒนามาโดยตลอด ปัจจุบันโรงเรียนประกอบ

ไปด้วย

- อาคารเรียน จานวน 2 หลัง 12 หอ้ ง

- อาคารประกอบ จานวน 1 หลงั

- หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ จานวน 1 หอ้ ง

- หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา จานวน 1 หอ้ ง 20 ทน่ี ั่ง

- หอ้ งสมุดขนาดเลก็ จานวน 1 ห้อง

- หนังสอื ในห้องสมดุ โดยประมาณ จานวน 2,500 เลม่

- คอมพวิ เตอร์ จานวน 2 เคร่อื ง

นอกจากหอ้ งสมุดแล้ว โรงเรยี นมแี หลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี นดงั น้ี

ตารางที่ 3 แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี น

แหล่งเรยี นรู้ภายใน สถิตกิ ารใช้ แหล่งเรยี นรู้ภายนอก สถิติการใช้
จานวนครง้ั /ปี จานวนครง้ั /ปี
ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ ช่ือแหล่งเรยี นรู้
ทุกวนั 1 ครั้ง
1. ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ ทกุ วนั 1. ฟารม์ เลย้ี งไก่ 1 ครงั้
2. ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา ทุกวัน 2. โรงงานตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ 2 ครัง้
3. สวนเกษตร ทกุ วัน 3. โรงเล้ยี งตัวไหม 3 ครั้ง
4. มุมหนังสอื ในห้องต่าง ๆ 4. วัด

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 8

1.11 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หิน จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สาหรับหลักสูตร

สถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โรงเรียนได้จัดสัดส่วนสาระการเรียนรู้และ
เวลาเรียน ดังแสดงในตารางต่อไปน้ี

ตารางที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา
โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษานครราชสีมา เขต 2

สดั สว่ นเวลาเรียน (ช่ัวโมง/ป)ี

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ช่วงชนั้ ที่ 1 ( ป.1 - ป.3 ) ช่วงชั้นท่ี 2 ( ป.4 - ป.6 )

ภาษาไทย ป.1 ป.2 ป.3 รวม ป.4 ป.5 ป.6 รวม
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 200 200 600 160 160 160 480
สังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม 200 200 200 600 160 160 160 480
สุขศกึ ษาและพลศึกษา
ศิลปะ 80 80 80 240 120 120 120 360
การงานอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ 80 80 80 240 120 120 120 360
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
80 80 80 240 80 80 80 240
80 80 80 240 80 80 80 240
40 40 40 120 80 80 80 240
200 200 200 600 160 160 160 480
80 80 80 240 80 80 80 240

รวมเวลาเรยี น 1040 1040 1040 1,040 1,040 1,040

 จานวนช่วั โมงที่จดั ใหน้ ักเรียนระดบั ชว่ งชน้ั ที่ 1 ทงั้ ปี เทา่ กับ 1040 ช่วั โมง
 จานวนช่วั โมงทจี่ ดั ให้นักเรยี นระดับช่วงช้ันท่ี 2 ท้ังปี เทา่ กบั 1,040 ชั่วโมง
 แผนการเรียนรู้/จุดเนน้ การพัฒนาผเู้ รยี นทตี่ ้องการเน้นเปน็ พเิ ศษคอื ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 9

1.12 ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 รวม 9 คน จานวนครูไม่ครบชน้ั

ตารางท่ี 5 ข้อมูลครูและบุคลากรของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ที่ ชอ่ื - สกุล ตาแหน่ง/วทิ ยฐานะ วฒุ ิ วิชาเอก ภาระงาน/สอนวชิ า/ชน้ั
การศกึ ษา

1 นางอรุณฉลอง ศิรพิ ร ณ ราชสมี า ครชู านาญการพิเศษ ศษ.ม. บรหิ ารการศึกษา ทุกวิชา ชั้น ป.6

2 นางสาวนงลักษณ์ คชสาร ครชู านาญการพิเศษ ค.บ. ปฐมวยั ทกุ วิชา ชั้น ป.1

3 นางสาวรญั ชยา กาสาโรง ครู ค.บ. ปฐมวัย อนุบาล

4 นางสาววนสั นันท์ พรานสุ ร ครผู ้ชู ว่ ย ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ ทุกวิชา ชัน้ ป.5
5 นางสาวอริศรา ไทรสงค์ ครูผ้ชู ว่ ย
6 นายกฤษฎา ศรีสนั ต์ พนักงานราชการ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ทกุ วชิ า ชั้น ป.2
7 นางสาวจริยา ต้อยหมน่ื ไวย ครูอัตราจา้ ง
8 นางสาวพชั ราวรรณ แพงไธสง เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ ค.บ. สงั คมศึกษา ทุกวชิ า ชน้ั ป.3

ค.บ. ปฐมวยั ทุกวิชา ช้นั ป.4

ว.ทบ. ฟิสิกส์ประยุกต์ งานธุรการ

9 นายเทอดศกั ด์ิ พชื ทองหลาง นักการภารโรง ช.4 ม.6 - -

1.13 ข้อมูลผู้เรยี น ปีการศึกษา 2564 ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ตารางที่ 6 ข้อมลู ผเู้ รยี น ปีการศึกษา 2564

ระดบั ชน้ั เรยี น จานวนห้อง ชาย หญิง รวม อตั ราสว่ นผู้เรียน : หอ้ งเรยี น อัตราสว่ นครู : ผ้เู รียน
1:5
ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 1 4 5 5:1 1 : 13
1 : 11
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1 9 4 13 13 : 1 1 : 15
1 : 11
ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 6 5 11 11 : 1 1 : 12

ประถมศึกษาปีที่ 4 1 9 6 15 15 : 1

ประถมศึกษาปีท่ี 5 1 8 3 11 11 : 1

ประถมศึกษาปที ี่ 6 1 7 5 12 12 : 1

รวม 6 40 27 67

1.14 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2564
ตารางที่ 7 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2564

กลุ่ม
สาระ
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์ รวม รวม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เฉลย่ี
สังคมศึกษา
ประวั ิตศาสตร์
ิศลปะ
สุข ึศกษา
การงานอาชีพ
ภาษา ัองกฤษ
ห ้นา ี่ทพลเ ืมอง
้ตาน ุทจริต
คอม ิพวเตอร์
อังกฤษเสริม
ช้นั

ป.1 447 413 417 399 406 417 414 397 388 404 404 - - 4506 81.93
ป.2 1033 1019 1066 1050 1038 1146 1166 1139 987 1086 1079 - - 11744 82.13
ป.3 769 757 723 764 786 811 819 826 738 786 755 - - 8534 77.58
ป.4 1036 1115 1114 1089 1139 1123 1162 1141 1006 1121 1041 1127 1002 14136 77.67
ป.5 916 835 869 897 873 951 940 854 794 873 919 904 796 11421 79.87
ป.6 878 807 845 939 943 898 839 919 930 973 1025 970 800 11766 75.42
เฉล่ีย 78.13 76.09 77.45 79.05 79.77 82.25 82.15 81.17 74.51 80.66 80.35 81.11 70.22 52107 78.72

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 10

1.15 ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ข้อมูลจานวนและร้อยละของผ้สู าเรจ็ การศึกษา ปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หินมนี กั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 12 คน และมีผู้สาเร็จ
การศึกษา ในปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 และเข้าศกึ ษาต่อในโรงเรียน
ตอ่ ไปน้ี

- ศึกษาต่อโรงเรียนจกั ราชวทิ ยา อาเภอจักราช จานวน 5 คน
- ศกึ ษาต่อโรงเรียนหนิ ดาดวิทยา อาเภอหว้ ยแถลง จานวน 7 คน

1.16 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
ตารางที่ 8 เปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละของคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคต์ ามหลกั สตู รระดับชั้นเรียน

120

100 100.00 100.00 95.24 100.00 91.67

82.05

80

60

40

20

0
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ระดบั ชัน้ เรียน

ตารางที่ 9 เปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามหลกั สตู รระดับชั้นเรียนและระดับ
โรงเรยี น

120

100 100.00 98.10 98.10 100.00 98.10 95.24 98.10 100.00 98.10 91.6798.10

80 82.05

60

40

20

0
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ระดบั ชั้นเรียน ระดบั โรงเรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 11

1.17 ผลการประเมินความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณ

ตารางท่ี 10 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียร้อยละของความสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและ
การคิดคานวณระหวา่ งช้นั เรยี น

100 88.00 80.00 85.71 76.36 76.67
80

60

41.54

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

เฉลีย่ ร้อยละของชัน้ เรียน

ตารางที่ 11 เปรียบเทยี บค่าเฉลย่ี ร้อยละของความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและ
การคิดคานวณระหวา่ งชัน้ เรียนและโรงเรียน

100 88.00 72.92 80.00 85.71 76.36 72.92 76.67 72.92
80 72.92 72.92 72.92

60

41.54

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ร้อยละของช้ันเรยี น ร้อยละของโรงเรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 12

1.18 ผลการประเมินความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา

ตารางที่ 12 เปรยี บเทยี บค่าเฉลยี่ ร้อยละของความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และแก้ปญั หาระหวา่ งช้ันเรียน

100 88.00 91.43
80 82.00 81.67

74.55

60
40.00

40

20

0

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

คา่ รอ้ ยละของช้ันเรียน

ตารางท่ี 13 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละของความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หาระหว่างช้ันเรียนและโรงเรยี น

100 88.00 91.43
80 74.77
82.00 81.67 74.77
74.77 74.77 74.77 74.55 74.77

60

40.00

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ค่าร้อยละของชั้นเรียน ค่ารอ้ ยละของโรงเรยี น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 13

1.19 ผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

ตารางท่ี 14 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยร้อยละของความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมระหว่างชนั้ เรียน

ป. 6 81.67
ป. 5 85.45
ป. 4 94.29
ป. 3 74.00
ป. 2 38.46
ป. 1 100.00

0 20 40 60 80 100 120
ค่ารอ้ ยละของช้ันเรยี น

ตารางท่ี 15 เปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมระหว่างชนั้ เรียนและ
โรงเรยี น

ป. 6 76.62 120
ป. 5 81.67
ป. 4
ป. 3 76.62
ป. 2 85.45
ป. 1
76.62
0 94.29

76.62
74.00

76.62
38.46

76.62
100.00

20 40 60 80 100

คา่ ร้อยละของโรงเรยี น คา่ รอ้ ยละของช้ันเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 14

1.20 ผลการประเมนิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการส่ือสาร

ตารางที่ 16 เปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี ร้อยละของความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสื่อสารระหว่าง
ชนั้ เรยี น

120

100 100.00 94.29 100.00
80 84.00 83.64

60

50.77

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ค่ารอ้ ยละของช้นั เรยี น

ตารางท่ี 17 เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ียรอ้ ยละของความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการส่ือสารระหว่าง
ชั้นเรยี นและโรงเรียน

120

100 100.00 83.69 94.29 100.00

80 83.69 83.69 84.00 83.69 83.649 83.69

60

50.77

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

คา่ ร้อยละของชั้นเรยี น คา่ ร้อยละของโรงเรยี น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 15

1.21 ผลการประเมนิ ความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจคตทิ ี่ดีต่องานอาชีพ

ตารางท่ี 18 เปรียบเทยี บคา่ เฉลี่ยร้อยละของความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจคตทิ ่ีดีต่องานอาชพี ระหวา่ ง
ชน้ั เรยี น

100 97.14 94.55 91.67
84.00
80.00

80

60 56.92

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ค่ารอ้ ยละของช้ันเรียน

ตารางท่ี 19 เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละของความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจคติทด่ี ีต่องานอาชพี ระหวา่ ง
ชั้นเรยี นและโรงเรยี น

100 97.14 94.55 91.67
84.31 84.00 84.31 84.31 84.31 84.31
80.00 84.31

80

60 56.92

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

คา่ ร้อยละของช้ันเรียน ค่ารอ้ ยละของโรงเรียน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 16

1.22 ผลการประเมนิ ความภูมิใจในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย

ตารางที่ 20 เปรียบเทยี บค่าเฉลย่ี ร้อยละของความภูมใิ จในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทยระหว่างช้ันเรียน

100 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

80 ป. 6

60

40

20

0

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5

ค่ารอ้ ยละของชน้ั เรยี น

1.23 ผลการประเมนิ การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
ตารางท่ี 21 เปรียบเทยี บค่าเฉล่ียรอ้ ยละของการยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

ป. 6, 100.00 ป. 1, 100.00

ป. 5, 96.36 ป. 2, 80.00

ป. 4, 100.00 ป. 3, 100.00

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 17

1.24 ผลการประเมนิ สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคมของผูเ้ รียน
ตารางที่ 22 เปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ร้อยละของสขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคมของผู้เรยี น

120 100.00 100.00 98.18 100.00

100.00

100

80 75.38

60

40

20

0
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

คา่ ร้อยละของชน้ั เรยี น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 18

1.25 ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผูเ้ รียน
1.25.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
- ผลการประเมิน ปีการศึกษา 2564 ทงั้ 2 ดา้ น เปรยี บเทยี บระดบั โรงเรยี น ระดับเขตพ้ืนท่ี
ระดบั จังหวดั ระดบั ศึกษาธกิ ารภาค ระดบั สังกดั และระดับประเทศ
- เปรียบเทยี บผลการทดสอบ ทั้ง 2 ดา้ น 3 ปี ย้อนหลงั (ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564)

ตารางท่ี 23 เปรยี บเทยี บคา่ เฉลย่ี ร้อยละของความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี น (RT) ชั้นประถมศกึ ษา
ปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ทั้ง 2 ด้าน เปรียบเทยี บระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดับจังหวัด ระดับ
ศกึ ษาธิการภาค ระดบั สังกัด และระดบั ประเทศ

100 94.0808.8901.40

80 76.41 75.51 72.1752.9742.55 72.3751.9742.15 69.0472.370.67 69.9752.7791.38
74.6

60

40

20

0 ประเทศ

โรงเรยี น เขตพื้นที่ จังหวัด ศึกษาธิการภาค สงั กดั

การอา่ นออกเสียง การอ่านรเู้ รื่อง รวม 2 สมรรถนะ

ตารางที่ 24 เปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ร้อยละของความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รียน (RT) ชน้ั ประถมศึกษา
ปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ทั้ง 2 ดา้ น 3 ปี ยอ้ นหลงั (ปีการศกึ ษา 2562 - 2564)

ปี 2564 91.40
ปี 2563 88.80
ปี 2562
94.00
0
94.00
95.38
92.61

68.24
69.45
67.04

20 40 60 80 100 120
รวม 2 สมรรถนะ การอ่านรเู้ ร่อื ง การอ่านออกเสยี ง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 19

1.25.2 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 3

- ผลการประเมิน ปีการศึกษา 2564 ท้ัง 2 ดา้ น เปรียบเทยี บระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพ้นื ที่
ระดับจังหวัด ระดับศึกษาธกิ ารภาค ระดบั สังกัด. และระดบั ประเทศ
- เปรยี บเทียบผลการทดสอบ ทั้ง 2 ด้าน 3 ปี ย้อนหลงั (ปีการศึกษา 2562 - 2564)

ตารางที่ 25 เปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ร้อยละของการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (NT)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ท้ัง 2 ด้าน เปรยี บเทียบระดับโรงเรียน ระดบั เขตพน้ื ท่ี ระดับจังหวดั ระดับ
ศกึ ษาธิการภาค ระดับสังกัด. และระดบั ประเทศ

100

80 79.12
69.93

60.75 57.5500.5504.00 55.2428.1581.71 54.6457.3541.00 55.4488.7532.11 56.14 52.80
49.44
60

40

20

0 เขตพ้นื ท่ี จังหวัด ศึกษาธกิ ารภาค สังกัด ประเทศ

โรงเรยี น

ด้านภาษา ดา้ นคานวณ เฉล่ียท้งั 2 ด้าน

ตารางที่ 26 เปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ร้อยละของการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (NT)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ทัง้ 2 ด้าน 3 ปี ยอ้ นหลงั (ปีการศึกษา 2562 - 2564)

120 95.38 94.00
79.12 69.93
100 92.61
46.25 42.09
80

60.75

60
40 37.93

20

0 ดา้ นคานวณ เฉลย่ี ท้งั 2 ด้าน
ดา้ นภาษา

ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 20

1.25.3 ผลการประเมินการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษา
ปีท่ี 6

- ผลการประเมิน ปกี ารศึกษา 2564 ท้งั 4 วิชา เปรยี บเทยี บระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ที่
และระดบั ประเทศ
- เปรยี บเทยี บผลการทดสอบ ทั้ง 4 วิชา 3 ปี ยอ้ นหลัง (ปกี ารศึกษา 2562 - 2564)

ตารางท่ี 27 เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ียรอ้ ยละของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 ท้ัง 4 วชิ า เปรยี บเทียบระดบั โรงเรียน ระดบั เขตพ้นื ท่ี และ
ระดับประเทศ

60 55.11 33.57 33.57 34.31 39.22
50 51.17 50.38 34.38 35.06
40 36.00 36.28 36.83
30

20

10

0 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย

ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพ้นื ที่ ระดับประเทศ

ตารางที่ 28 เปรียบเทยี บคา่ เฉลย่ี ร้อยละของการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564 ท้ัง 4 วิชา เปรียบเทียบระดับโรงเรยี น ระดบั เขตพื้นที่ และ
ระดับประเทศ 3 ปี ย้อนหลงั (ปีการศึกษา 2562 - 2564)

100

80 31.36 28.13 36.00 35.73 37.03 33.57 30.00 35.94 34.38
60 57.50 61.84 55.11

40

20

0 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย

ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 21

1.26 การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาตามนโยบายเร่งด่วนของรฐั บาลและต้นสังกดั ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
โครงการ/กจิ กรรมตามนโยบายเรง่ ดว่ นของรฐั บาลและต้นสังกัดที่สถานศึกษาดาเนนิ การ คือ

1. โครงการส่งเสริมการดาเนินงานตามนโยบาย
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรมคอื ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้คณะครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เกิดความตระหนกั เหน็ ความสาคัญของนโยบาย

กระทรวงศึกษาธกิ าร และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
2. เพ่ือใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารจดั การกจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ได้อย่าง

เหมาะสม ทั้งดา้ นวิชาการ ดา้ นปฏบิ ัติ นักเรยี นได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนดั
ของแต่ละบุคคล

3. เพือ่ ให้สถานศกึ ษาสามารถการบรหิ ารจดั การกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านออกเขยี นได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธิผล

4. เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาสามารถการบริหารจดั การกิจกรรมส่งเสรมิ การยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษ
ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และประสิทธิผล

5. เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการกิจกรรมการส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล

เปา้ หมาย
1. คณะครู และบุคลากรทางการศกึ ษา รอ้ ยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธกิ าร และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สามารถนาไปปฏิบตั งิ านตาม
ภาระหน้าทไี่ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และมปี ระสทิ ธผิ ล นักเรียนรอ้ ยละ 100 ไดร้ บั การพฒั นาเตม็ ตาม
ศกั ยภาพ ตามความสนใจและถนดั ของแตล่ ะบคุ คล อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และมปี ระสิทธิผล

2. นกั เรียน รอ้ ยละ 100 ไดร้ ับการพฒั นา อยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีประสทิ ธิผลและมีทักษะ
สามารถอา่ นออกเขยี นได้

3. คณะครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ตลอดจนนักเรียน ร้อยละ 90 ไดร้ ับการพฒั นาทักษะ
ภาษาองั กฤษ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และมีประสทิ ธิผล

4. คณะครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ตลอดจนนักเรียน รอ้ ยละ 100 สามารถดารงชีวติ
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างมีความสุข

ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ผูร้ บั ผดิ ชอบ

รายละเอยี ดกจิ กรรม ตุลาคม 2563 ผู้บริหาร
ตลอดปีการศึกษา คณะครทู ุกคน
1. ประชมุ ครูเพ่ือ ศึกษานโยบาย
2. วางแผนการจัดทาโครงการ และแต่งตั้ง
คณะทางาน
3 .ดาเนนิ โครงการ สง่ เสริมการดาเนินงานตาม
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานดังน้ี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 22

รายละเอยี ดกิจกรรม ระยะเวลาดาเนินงาน ผู้รับผดิ ชอบ
ตลอดปกี ารศกึ ษา
3.1. กิจกรรมส่งเสรมิ การ “ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลา ผบู้ รหิ าร
รู้” ดาเนินกิจกรรมดังนี้ คณะครทู ุกคน
- ศึกษาวิเคราะห์นโยบาย คู่มอื การบรหิ ารจดั การ
เวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้” และชดุ
เอกสาร กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
- กาหนดตัวช้วี ัดภาพความสาเร็จ ของการบรหิ าร
จัดการเวลาเรยี น “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ ” ของ
โรงเรียน ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน และ
นักเรยี น อย่างชดั เจน มีความเขา้ ใจตรงกนั
- สรา้ งความตระหนัก ความเขา้ ใจในการดาเนนิ งาน
แก่ครูผสู้ อน และผเู้ กี่ยวข้องในสถานศกึ ษา
- จัดทาขอ้ มลู สารสนเทศเกย่ี วกบั ความสนใจ ถนัด
- วิเคราะห์โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา และ
การนาหลักสตู รไปใช้ หลักสตู รระดบั ชัน้ เรียน
ความพร้อมของ ครูผูส้ อน สอื่ แหลง่ เรียนรู้อาคาร
สถานที่ และห้องปฏิบตั ิการ
- ปรับและออกแบบตารางเรียนทเ่ี อื้อต่อการ
“ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้” ตามแนวทางการบริหาร
จดั การ เวลาเรียนทล่ี ดเวลาเรียน และเพ่ิมเวลารู้
- กจิ กรรมสง่ เสริมการ “ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลาร”ู้
ออกแบบกจิ กรรมที่หลากหลาย สอดคล้องกับช่วงวัย
สนองความสนใจ ความถนัด และความต้องการของ
ผู้เรียน ซ่ึงอาจพจิ ารณาจากกิจกรรมท่ีโรงเรยี น
ดาเนนิ การอยู่ และหรือเลือกจากกจิ กรรมในชดุ
เอกสารกจิ กรรม “ ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” หรือ
จากส่อื และแหล่งเรยี นรอู้ ่นื ๆ
- ดาเนินการจัดการเรยี นรูแ้ ละจดั กิจกรรม ตาม
ตารางเรยี นท่ีกาหนด
- นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
- ประชมุ ทบทวนหลังการปฏิบัตงิ าน (After
Action Review : AAR) นาผลไปใชใ้ นการพฒั นา
อย่าง ตอ่ เน่อื ง สรุปรายงาน และเผยแพร่ผลการ
ดาเนินงาน

3.2 กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้
- ประกาศนโยบายเปน็ วาระสาคัญของโรงเรยี น
- แจ้งแนวปฏบิ ตั ิใหค้ รทู กุ คนรบั ทราบและจัดทา
MOU

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 23

รายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาดาเนินงาน ผรู้ บั ผิดชอบ
ตลอดปีการศึกษา
- จัดประชุมช้แี จงแกค่ รู คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผ้บู รหิ าร
และผู้ปกครอง คณะครูทุกคน
- จดั ทาแนวปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนาภาษาไทยที่
หลากหลายรปู แบบ
- ดาเนินการคัดกรองนักเรยี น/จดั กล่มุ /จัดระดับ
ปญั หา
- วางแผนแกป้ ัญหานักเรียนกล่มุ เป้าหมายตาม
ระดับปัญหา
- จดั กิจกรรมสง่ เสริมความเป็นเลิศดา้ นภาษาไทย
- นเิ ทศ ตดิ ตามอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง
- สรปุ /รายงาน

3.3 กิจกรรมส่งเสริมการยกระดบั ทักษะ
ภาษาองั กฤษ
- การประชมุ วางแผนและแต่งต้งั คณะทางาน
- ผลิต/จัดหาสือ่ พฒั นาทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษ
เพอื่ การส่ือสาร เช่น จดั ทาคลังคาศัพท์ ประโยค-
พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ครู
ผ้บู รหิ ารและบุคลากร
- จัดกจิ กรรมประกวดผลงาน/นวตั กรรมและเวที
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
- นเิ ทศ ตดิ ตาม
- รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะหข์ ้อมลู ประเมนิ และ
สรุปผลการดาเนินงาน นาเสนอและ เผยแพร่

3.4 กิจกรรมการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน
- จัดกจิ กรรมส่งเสริมวถิ ีพอเพยี งดงั น้ี

1. กิจกรรมจัดแหลง่ เรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. กิจกรรมออมทรัพย์
3. กิจกรรมสหกรณ์
4. กจิ กรรมขยะรีไซเคิล
- นเิ ทศ ติดตาม
- ประเมินผลโครงการ และสรุปผลการดาเนนิ
โครงการ
3.5 กจิ กรรมหลักสตู รการตา้ นการทจุ ริต
- แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 24

รายละเอยี ดกจิ กรรม ระยะเวลาดาเนนิ งาน ผ้รู ับผิดชอบ

- ประชมุ คณะกรรมการเพื่อวางแผน
- จัดกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรม
4. นิเทศ กากบั ติดตาม
5. สรปุ ผล รายงานผลการดาเนินงาน

งบประมาณ

เงนิ อุดหนุนค่าใชจ้ า่ ยรายหวั

งบดาเนนิ งาน จานวนเงิน 5,000 บาท (ขอถัวจา่ ยเท่าทจี่ า่ ยจรงิ ทุกรายการ)

รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

กจิ กรรมและ งบดาเนนิ งาน

ที่ รายละเอยี ดในการใช้ คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย คา่ วสั ดุ คา่ รวม หมายเหตุ
งบประมาณ สาธารณูปโภค

1 กิจกรรมสง่ เสริมการ “ลด - - 1,000 - 1,000
เวลาเรยี นเพมิ่ เวลาร”ู้

2 กจิ กรรมส่งเสรมิ การ - - 1,000 - 1,000
อา่ นออกเขียนได้

3 กจิ กรรมสง่ เสริมการ

ยกระดบั ทักษะ - - 1,000 - 1,000

ภาษาองั กฤษ

4 กจิ กรรมการส่งเสริม

การเรียนร้ตู ามหลกั - - 1,000 - 1,000
ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง

5 กจิ กรรมหลกั สตู รการ - - 1,0000 - 1,000
ต้านการทุจรติ

รวมเปน็ เงินทง้ั สน้ิ 5,000 - 5,000

การวัดและประเมินผล วิธีการวัดและ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้
ประเมนิ ผล
ที่ ตัวบง่ ช้ีความสาเรจ็ แบบสังเกต
สงั เกต แบบสอบถาม
1 คณะครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เกิดความ สอบถาม
ตระหนกั เหน็ ความสาคญั ของนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการ สังเกต แบบสงั เกต
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
สอบถาม แบบสอบถาม
2 สถานศกึ ษาสามารถบริหารจัดการกิจกรรม “ลดเวลา
เรยี น เพ่ิมเวลารู้” ได้อยา่ งเหมาะสม ทั้งดา้ นวิชาการ ทดสอบ แบบทดสอบ
ด้านปฏบิ ัติ นกั เรยี นได้รบั การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ
ตามความสนใจและถนดั ของแต่ละบุคคล ประเมินความพึงพอใจ ประเมินความพงึ พอใจ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 25

ท่ี ตัวบง่ ช้คี วามสาเร็จ วิธกี ารวดั และ เครือ่ งมอื ทใี่ ช้
ประเมนิ ผล

3 เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการกจิ กรรม ทดสอบ แบบทดสอบ

ส่งเสริมการอา่ นออกเขยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมนิ

ประสทิ ธิผล ความพึงพอใจ

4 เพือ่ ให้สถานศึกษาสามารถการบรหิ ารจัดการกจิ กรรม ทดสอบ แบบทดสอบ

ส่งเสริมการยกระดบั ทักษะภาษาอังกฤษ ได้อยา่ งมี ประเมินความพงึ พอใจ แบบประเมนิ

ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล ความพึงพอใจ

5 เพือ่ ให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจดั การกิจกรรม ทดสอบ แบบทดสอบ

การส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมิน

พอเพยี ง ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผล ความพึงพอใจ

6 เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการกิจกรรม ทดสอบ แบบทดสอบ

หลักสตู รการต้านการทจุ รติ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมนิ

และประสทิ ธผิ ล ความพึงพอใจ

ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
1. คณะครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เกดิ ความตระหนักเหน็ ความสาคัญของนโยบาย

กระทรวงศกึ ษาธิการ และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
2. สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การกจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” ได้อยา่ ง เหมาะสม ท้งั

ด้านวชิ าการ ด้านปฏบิ ัติ นกั เรยี นไดร้ บั การพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ ตามความสนใจและถนัดของแต่ละ
บุคคล

3. สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นออกเขียนได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ และประสิทธิผล

4. สถานศกึ ษาสามารถการบริหารจดั การกิจกรรมส่งเสริมการยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษ ได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล

5. สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการกจิ กรรมการส่งเสริมการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผล

6. สถานศกึ ษาสามารถการบริหารจัดการกจิ กรรมหลักสูตรการตา้ นการทจุ รติ ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล

ผลการดาเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม เม่ือเปรียบเทียบกบั ค่าเปา้ หมาย ปีการศกึ ษา 2564
ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม บรรลวุ ัตถุประสงค์และเป้าหมาย (รอ้ ยละ 80)

จุดเดน่
1. ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้อยา่ ง เหมาะสม

ปลอดภยั มปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ผู้เรยี นมคี วามรทู้ กั ษะ และเจตคติที่ดีพร้อมท่จี ะศกึ ษาต่อในระดบั ชนั้ ทส่ี ูงขนึ้ หรอื มวี ฒุ ภิ าวะ

ทางอาชีพเหมาะสมกับชว่ งวัย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 26

3. โรงเรยี นมีกระบวนการบริหารและการจดั การ
4. ครูมีการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
จดุ ท่ีควรพัฒนา
1. ผเู้ รียนมีความสามารถในการอ่านและเขยี นได้เหมาะสมตามระดับชน้ั
2. ผูเ้ รียนมีความสามารถในด้านการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสมตามระดบั ช้นั
3. ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในด้านการคดิ คานวณเหมาะสมตามระดับช้ัน
4. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์คิดวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น ความคดิ เห็น
แกป้ ัญหาและนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างเหมาะสม
5. ผูเ้ รยี นมคี วามกา้ วหนา้ จากพืน้ ฐานเดมิ ในแต่ละปีในด้านความรคู้ วามเข้าใจและ ทักษะตา่ งๆ
ตามหลกั สตู ร อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและต่อเน่อื ง
6. คา่ เฉลยี่ ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผูเ้ รียนมีพฒั นาการสงู ขน้ึ หรือคณุ ภาพ เป็นไปตาม
เปา้ หมาย
7. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
8. การแลกเปลยี่ นเรียนรูและใหขอมลู ปอนกลบั เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู ครู
และผมู สี วนเกย่ี วของรวมกันแลกเปล่ียนความรูและประสบการณรวมทั้งใหขอมลู ปอนกลับเพ่อื นาไปใชใน
การปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้

ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพฒั นา

- สรา้ งความตระหนักให้นักเรียนเหน็ ความสาคญั ของการอ่านและมนี ิสัยรกั การอ่าน นาไปสู่การ
ใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี นตลอดชวี ติ

- จดั กิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ การอ่านให้หลากหลาย
- สง่ เสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นความสามารถในการอ่านและเขียน การสือ่ สาร
ทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทักษะการคดิ คานวณ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบกลุ่ม โครงงาน เพื่อใหผ้ ้เู รยี นใช้ทักษะการคิด
อย่างเปน็ ระบบ และเพิ่มทักษะในการทางานรว่ มกันกบั ผู้อน่ื
- สง่ เสรมิ ใหค้ รูผู้สอนได้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามตัวชว้ี ัดของแต่ละสาระการเรยี นรู้ตาม
หลักสตู รสถานศึกษา การใช้สอื่ และเทคโนโลยีมาชว่ ยในการจดั การเรียนรู้ และมีการวดั และประเมนิ ผลท่ี
หลากหลาย
- จดั กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาโดยจดั หาข้อสอบและแบบฝกึ ต่างๆทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับ
การทดสอบระดบั ชาติมาให้นักเรยี นไดล้ องฝกึ ทาบ่อยๆ
- ส่งเสรมิ การนิเทศภายใน การประเมนิ การใช้หลักสูตร

2. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย
ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการคือฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

วัตถุประสงค์
1. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ นและเขียนได้เหมาะสมตามระดบั ชั้น
2.. ผู้เรียนมคี วามสามารถในด้านการสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตาม

ระดบั ชนั้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 27

3. ผเู้ รยี นมีความสามารถในด้านการคดิ คานวณเหมาะสมตามระดบั ช้นั
4. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็
แกป้ ญั หาและนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณต์ ่างๆอย่างเหมาะสม
5. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารได้อย่าง เหมาะสม
ปลอดภยั มีประสทิ ธิภาพ
6. ผเู้ รยี นมคี วามก้าวหน้าจากพนื้ ฐานเดมิ ในแต่ละปีในดา้ นความร้คู วามเข้าใจและ ทกั ษะต่างๆ
ตามหลกั สูตร อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและต่อเนื่อง
7. ค่าเฉลีย่ ผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รียนมีพฒั นาการสูงขนึ้ หรอื คณุ ภาพ เปน็ ไปตาม
เปา้ หมาย
8. ผู้เรียนมคี วามรู้ทกั ษะ และเจตคติท่ีดีพร้อมทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดบั ช้นั ทสี่ งู ขน้ึ หรือมวี ฒุ ิภาวะทาง
อาชพี เหมาะสมกบั ช่วงวัย
9. ผู้เรียนมีเหตผุ ลใชห้ ลกั ความพอประมาณใหเ้ กิดความสมดลุ ระหว่างมติ ิทางวัตถกุ ับจติ ใจของคน
ในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแขง่ ขนั ในเวทีโลก ความสมดลุ ระหว่าง
สังคมชนบทกบั เมือง และมรี ะบบภูมิคมุ้ กันท่ดี พี ร้อมเผชญิ กับการเปล่ียนแปลงทเี่ กิดขนึ้

เป้าหมาย
1. ผ้เู รียนมีความสามารถในการอ่านและเขยี นไดเ้ หมาะสมตามระดบั ช้นั ในระดบั ดีไม่น้อยกว่า

รอ้ ยละ 80
2. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในด้านการส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เหมาะสม ตามระดบั ช้ัน

ในระดบั ดีไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผเู้ รียนมีความสามารถในด้านการคิดคานวณเหมาะสมตามระดับชนั้ ในระดับดไี มน่ อ้ ยกว่า

รอ้ ยละ 80
4. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คดิ วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็

แก้ปญั หาและนาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณต์ ่างๆอยา่ งเหมาะสม ในระดบั ดีไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
5. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อยา่ ง เหมาะสม

ปลอดภัย มีประสิทธภิ าพ
6. ผู้เรียนมคี วามกา้ วหนา้ จากพ้ืนฐานเดมิ ในแตล่ ะปีในด้านความรู้ความเข้าใจและ ทกั ษะตา่ งๆ

ตามหลักสตู ร อยา่ งเปน็ รูปธรรมและต่อเนือ่ ง ในระดับดไี ม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
7. คา่ เฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาตขิ องผเู้ รียนมีพัฒนาการสงู ขึ้น หรือคณุ ภาพ เปน็ ไปตาม

เป้าหมาย ในระดับดไี ม่น้อยกว่าร้อยละ 80
8. ผู้เรียนมคี วามรทู้ กั ษะ และเจตคตทิ ีด่ ีพรอ้ มท่จี ะศึกษาต่อในระดบั ชั้นที่สงู ขึน้ หรือมีวฒุ ิภาวะทาง

อาชพี เหมาะสมกับช่วงวัยในระดับดีไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
9. ผู้เรยี นมเี หตุผลใช้หลกั ความพอประมาณใหเ้ กดิ ความสมดลุ ระหว่างมิตทิ างวัตถุกับจติ ใจของคน

ในชาติ ความสมดลุ ระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแขง่ ขันในเวทโี ลก ความสมดุลระหว่าง
สังคมชนบทกับเมอื ง และมีระบบภูมคิ ้มุ กันท่ีดพี ร้อมเผชญิ กับการเปลย่ี นแปลงที่เกิดขน้ึ ในระดับดไี ม่น้อย
กว่ารอ้ ยละ 80

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 28

กจิ กรรมและข้นั ตอนการดาเนนิ งาน

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา

1 กจิ กรรมเรยี นรู้จากเทคโนโลยี ตลอดปีการศกึ ษา

2 กจิ กรรมเสยี งตามสาย ตลอดปกี ารศกึ ษา

3 กิจกรรมพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ ตลอดปีการศกึ ษา

4 กิจกรรมกฬี าสี ธันวาคม 2564

5 กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้จากภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ตลอดปกี ารศกึ ษา

6 กิจกรรม WALK RALLY มกราคม 2565

- ประชมุ คณะครู เสนอโครงการ พฤษภาคม 2564

- วางแผนดาเนนิ งาน พฤษภาคม 2564

- ดาเนนิ งานตามโครงการ จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี พฤษภาคม 2564 – มีนาคม 2565

หลากหลาย

- ติดตามและประเมินผล พฤษภาคม 2564 – มนี าคม 2565

- สรุปผลการดาเนินการ มนี าคม 2565

งบประมาณ จานวน บาท งบประมาณ รวม
ท่ี กจิ กรรม ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย

คา่ วัสดุ

1 กจิ กรรมเรยี นรจู้ ากเทคโนโลยี
2 กจิ กรรมเสียงตามสาย
3 กิจกรรมพฒั นาแหล่งเรียนรู้
4 กจิ กรรมกีฬาสี
5 กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จาก

ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
6 กจิ กรรม WALK RALLY

การประเมินผล วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้

ท่ี ตัวบ่งชีค้ วามสาเรจ็ สงั เกต แบบสงั เกต
สมั ภาษณ์ แบบสัมภาษณ์
1 ผ้เู รยี นมีความสามารถในการอ่านและเขียนได้
เหมาะสมตามระดบั ช้นั

2 ผ้เู รยี นมีความสามารถในด้านการส่ือสารทัง้
ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตามระดับช้นั

3 ผเู้ รยี นมีความสามารถในดา้ นการคิดคานวณ
เหมาะสมตามระดบั ชั้น

4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์คดิ
วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็น
แก้ปญั หาและนาไปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณต์ ่างๆ
อยา่ งเหมาะสม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 29

การประเมนิ ผล วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือทใ่ี ช้

ท่ี ตัวบง่ ชค้ี วามสาเรจ็ สังเกต แบบสังเกต
สมั ภาษณ์ แบบสัมภาษณ์
5 ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารได้อย่าง เหมาะสม
ปลอดภยั มีประสทิ ธิภาพ

6 ผเู้ รยี นมคี วามกา้ วหนา้ จากพื้นฐานเดมิ ในแต่ละปี
ในดา้ นความรู้ความเขา้ ใจและ ทักษะต่างๆ ตาม
หลักสตู ร อยา่ งเป็นรูปธรรมและตอ่ เนื่อง

7 คา่ เฉลีย่ ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผูเ้ รียนมี
พัฒนาการสงู ข้ึน หรือคุณภาพ เปน็ ไปตาม
เป้าหมาย

8 ผูเ้ รยี นมคี วามร้ทู ักษะ และเจตคติท่ดี ีพร้อมทจ่ี ะ
ศึกษาตอ่ ในระดับชนั้ ทีส่ งู ข้นึ หรอื มีวุฒภิ าวะทาง
อาชีพเหมาะสมกบั ช่วงวัย

9 ผเู้ รยี นมีเหตผุ ลใชห้ ลักความพอประมาณใหเ้ กดิ
ความสมดลุ ระหวา่ งมิตทิ างวัตถกุ บั จิตใจของคนใน
ชาติ ความสมดุลระหวา่ งความสามารถในการ
พึ่งตนเองกับการแข่งขันในเวทโี ลก ความสมดุล
ระหว่างสังคมชนบทกับเมือง และมรี ะบบภมู ิคุ้มกัน
ทีด่ พี ร้อมเผชญิ กับการเปล่ียนแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ

ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ
1. ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับช้ัน
2. ผู้เรยี นมีความสามารถในด้านการส่อื สารท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตามระดับชั้น
3. ผูเ้ รียนมีความสามารถในด้านการคิดคานวณเหมาะสมตามระดับชั้น
4. ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์คิดวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็

แกป้ ญั หาและนาไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณต์ ่างๆอย่างเหมาะสม
5. ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารได้อย่าง เหมาะสม

ปลอดภยั มปี ระสิทธิภาพ
6. ผู้เรียนมีความกา้ วหน้าจากพื้นฐานเดิมในแตล่ ะปใี นดา้ นความรคู้ วามเข้าใจและ ทกั ษะตา่ งๆ

ตามหลกั สตู ร อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนอ่ื ง
7. ค่าเฉลย่ี ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรยี นมีพัฒนาการสงู ข้ึน หรอื คุณภาพ เป็นไปตาม

เป้าหมาย
8. ผเู้ รยี นมีความรูท้ ักษะ และเจตคติทด่ี ีพรอ้ มท่จี ะศกึ ษาต่อในระดับชั้นทส่ี งู ข้นึ หรือมวี ฒุ ิภาวะทาง

อาชพี เหมาะสมกบั ชว่ งวยั
9. ผู้เรยี นมเี หตผุ ลใชห้ ลกั ความพอประมาณใหเ้ กิดความสมดลุ ระหว่างมติ ิทางวตั ถกุ ับจติ ใจของคน

ในชาติ ความสมดลุ ระหวา่ งความสามารถในการพ่ึงตนเองกับการแขง่ ขนั ในเวทโี ลก ความสมดุลระหว่าง
สงั คมชนบทกบั เมือง และมรี ะบบภูมิคมุ้ กนั ที่ดีพร้อมเผชิญกับการเปล่ยี นแปลงที่เกิดขึ้น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 30

ผลการดาเนินงานตามโครงการ/กจิ กรรม เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเปา้ หมาย ปีการศกึ ษา 2564
ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ไมบ่ รรลุวัตถุประสงค์และเปา้ หมาย (รอ้ ยละ 77.84)

จดุ เดน่
1. ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อยา่ ง เหมาะสม

ปลอดภยั มปี ระสิทธภิ าพ
2. ผเู้ รยี นมีความรู้ทักษะ และเจตคติท่ีดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดบั ชน้ั ทีส่ ูงขน้ึ หรือมวี ฒุ ิภาวะ

ทางอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวยั ในระดบั ดีไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
จุดทคี่ วรพัฒนา
1. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียนไดเ้ หมาะสมตามระดบั ชน้ั
2. ผ้เู รียนมคี วามสามารถในด้านการสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เหมาะสม ตาม

ระดบั ชัน้
3. ผู้เรียนมีความสามารถในด้านการคิดคานวณเหมาะสมตามระดับชน้ั
4. ผเู้ รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคิดเหน็

แกป้ ญั หาและนาไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณต์ ่างๆอยา่ งเหมาะสม
5. ผเู้ รียนมคี วามก้าวหน้าจากพนื้ ฐานเดมิ ในแต่ละปีในด้านความรคู้ วามเข้าใจและ ทกั ษะตา่ งๆ

ตามหลักสูตร อย่างเปน็ รปู ธรรมและต่อเนอื่ ง
6. ค่าเฉลีย่ ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรียนมพี ัฒนาการสูงขนึ้ หรอื คณุ ภาพ เป็นไปตาม

เป้าหมาย
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา
- ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่เี นน้ ความสามารถในการอ่านและเขยี น การสอื่ สาร

ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทกั ษะการคดิ คานวณ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
- ส่งเสรมิ ใหค้ รูผ้สู อนได้จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามตัวชี้วัดของแต่ละสาระการเรยี นร้ตู าม

หลกั สูตรสถานศกึ ษา การใช้สื่อและเทคโนโลยมี าช่วยในการจัดการเรยี นรู้ และมีการวัดและประเมินผลที่
หลากหลาย

- จัดกิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษาโดยจัดหาข้อสอบและแบบฝกึ ต่างๆท่เี กี่ยวข้องกับ
การทดสอบระดบั ชาติมาให้นักเรียนไดล้ องฝกึ ทาบ่อยๆ

- สง่ เสรมิ การนิเทศภายใน การประเมนิ การใช้หลักสูตร

3. โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ และสานึกในความเป็นไทย
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ คือ ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

วัตถุประสงค์
1. ผเู้ รียนมคี วามประพฤตดิ ้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยมจิตสงั คมและจติ สานกึ ตามทส่ี ถานศึกษา

กาหนดปรากฏชัดเจนโดยไม่ขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรม อนั ดขี องสังคม
2. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอย่างเปน็ รูปธรรม
3. ผ้เู รียนมีความภาคภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ ในความเปน็ ไทย และเห็นคุณค่าเกยี่ วกบั ภมู ิปัญญาไทยและ

แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสมในชวี ติ ประจาวนั
4. ผเู้ รียนยอมรับเหตุผลความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื และมีมนุษยสัมพนั ธด์ ี
5. ผ้เู รียนมวี ิธกี ารรกั ษาสุขภาพของตนเองให้แขง็ แรง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 31

6. ผเู้ รยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจติ ให้ดีอยู่เสมอ
7. ผเู้ รียนรแู้ ละมวี ธิ ีการปอ้ งกันตนเองจากการล่อลวง ข่มเหง รงั แก
8. ผเู้ รยี นไมเ่ พกิ เฉยต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถกู ต้อง และอยู่รว่ มกนั ดว้ ยดใี นครอบครัว ชุมชนและ
สังคม
9. ผ้เู รยี นมเี หตผุ ลใช้หลักความพอประมาณให้เกิดความสมดุลระหวา่ งมติ ทิ างวตั ถุกับจติ ใจของคน
ในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแข่งขนั ในเวทีโลก ความสมดลุ ระหวา่ ง
สังคมชนบทกบั เมือง และมรี ะบบภมู ิคมุ้ กนั ท่ีดพี ร้อมเผชญิ กับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกดิ ขนึ้

เป้าหมาย
1. ผเู้ รียนมีความประพฤติดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมคา่ นยิ มจิตสังคมและจติ สานึก ตามทีส่ ถานศกึ ษา

กาหนดปรากฏชัดเจนโดยไม่ขัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรม อนั ดขี องสงั คม ในระดับดไี ม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างเปน็ รูปธรรม ในระดับ

ดไี ม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
3. ผเู้ รยี นมีความภาคภูมิใจในทอ้ งถน่ิ ในความเปน็ ไทย และเหน็ คุณคา่ เกี่ยวกบั ภูมิปัญญาไทยและ

แสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิตประจาวนั ในระดับดีไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80
4. ผู้เรียนยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน และมีมนุษยสัมพนั ธด์ ี ในระดบั ดไี มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ

80
5. ผู้เรยี นมวี ธิ ีการรักษาสุขภาพของตนเองใหแ้ ขง็ แรง ในระดบั ดีไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
6. ผู้เรยี นรักษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจิตใหด้ ีอยูเ่ สมอ ในระดับดไี มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80
7. ผเู้ รียนรแู้ ละมีวิธกี ารปอ้ งกันตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหง รังแก ในระดบั ดไี มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ

80
8. ผเู้ รยี นไมเ่ พกิ เฉยต่อการกระทาสง่ิ ที่ไม่ถูกต้อง และอยู่รว่ มกันดว้ ยดใี นครอบครวั ชุมชนและ

สังคมในระดบั ดไี มน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
9. ผเู้ รียนมเี หตุผลใชห้ ลกั ความพอประมาณให้เกิดความสมดลุ ระหวา่ งมิติทางวตั ถุกบั จติ ใจของคน

ในชาติ ความสมดลุ ระหว่างความสามารถในการพ่ึงตนเองกับการแขง่ ขนั ในเวทโี ลก ความสมดุลระหว่าง
สังคมชนบทกับเมือง และมรี ะบบภูมคิ มุ้ กนั ทดี่ ีพร้อมเผชิญกับการเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดขึ้นในระดบั ดไี มน่ อ้ ย
กวา่ ร้อยละ 80

กิจกรรมและข้ันตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา
ปีการศกึ ษา 2564
ที่ กิจกรรม

1 กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา
2 กิจกรรมวันสาคญั
3 กจิ กรรมธรรมะทุกวนั ศุกร์
4 กจิ กรรมธนาคารความดี
5 กิจกรรมส่งเสริมประชาธปิ ไตย
6 กจิ กรรมจิตอาสา
7 กิจกรรมหนนู ้อยมารยาทงาม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 32

กิจกรรมและขัน้ ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา

ที่ กจิ กรรม

- ประชุมคณะครู เสนอโครงการ
- วางแผนดาเนนิ งาน
- ดาเนนิ งานตามโครงการ
- ติดตามและประเมนิ ผล สรปุ ผลการดาเนินการ

งบประมาณ จานวน บาท รวม
ท่ี กิจกรรม
งบประมาณ
คา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วสั ดุ

1 กิจกรรมวันสาคญั ทางศาสนา
2 กิจกรรมวันสาคญั
3 กิจกรรมธรรมะทุกวนั ศุกร์
4 กิจกรรมธนาคารความดี
5 กจิ กรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย
6 กจิ กรรมจติ อาสา
7 กจิ กรรมหนูน้อยมารยาทงาม

การประเมนิ ผล

ที่ ตัวบง่ ชีค้ วามสาเรจ็ วธิ กี ารวัดและประเมินผล เครื่องมอื ทใ่ี ช้

1 ผูเ้ รยี นมีความประพฤติดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม สงั เกต แบบสงั เกต
แบบสัมภาษณ์
คา่ นิยมจติ สงั คมและจติ สานึก ตามทีส่ ถานศึกษา สมั ภาษณ์

กาหนดปรากฏชดั เจนโดยไม่ขัดกบั กฎหมายและ

วัฒนธรรม อนั ดีของสังคม

2 ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

และสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ รูปธรรม

3 ผูเ้ รียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิน่ ในความเป็นไทย

และเหน็ คุณค่าเก่ียวกบั ภูมิปัญญาไทยและ

แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสมในชีวติ ประจาวัน

4 ผเู้ รยี นยอมรับเหตุผลความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน และมี

มนุษยสัมพันธ์ดี

5 ผูเ้ รียนมีวิธีการรักษาสขุ ภาพของตนเองให้แข็งแรง

6 ผู้เรยี นรกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจิตใหด้ ีอย่เู สมอ

7 ผเู้ รยี นรู้และมวี ธิ กี ารปอ้ งกันตนเองจากการล่อลวง

ขม่ เหง รงั แก

8 ผู้เรียนไมเ่ พิกเฉยต่อการกระทาสิง่ ทไ่ี ม่ถูกต้อง และ

อยู่ร่วมกนั ด้วยดีในครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 33

การประเมินผล

ท่ี ตัวบ่งชค้ี วามสาเร็จ วิธีการวัดและประเมินผล เคร่อื งมอื ทใี่ ช้

9 ผเู้ รียนมีเหตผุ ลใช้หลักความพอประมาณให้เกดิ

ความสมดลุ ระหว่างมิติทางวตั ถุกับจติ ใจของคนใน

ชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการ

พง่ึ ตนเองกับการแขง่ ขนั ในเวทีโลก ความสมดลุ

ระหวา่ งสงั คมชนบทกับเมือง และมีระบบภมู คิ ุ้มกนั

ท่ีดีพร้อมเผชิญกบั การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดข้ึน

ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. ผเู้ รียนมีความประพฤตดิ า้ นคุณธรรมจริยธรรมค่านยิ มจิตสังคมและจิตสานึก ตามทสี่ ถานศกึ ษา

กาหนดปรากฏชัดเจนโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวฒั นธรรม อนั ดขี องสังคม
2. ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมอย่างเปน็ รูปธรรม
3. ผเู้ รยี นมคี วามภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นในความเป็นไทย และเหน็ คณุ คา่ เก่ียวกับ ภมู ิปัญญาไทยและ

แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสมในชวี ิตประจาวนั
4. ผู้เรยี นยอมรบั เหตุผลความคิดเห็นของผอู้ ่ืน และมีมนุษยสมั พันธ์ดี
5. ผูเ้ รยี นมวี ธิ กี ารรักษาสขุ ภาพของตนเองให้แขง็ แรง
6. ผู้เรยี นรักษาอารมณ์และสุขภาพจติ ใหด้ ีอยเู่ สมอ
7. ผู้เรียนรแู้ ละมีวธิ กี ารปอ้ งกันตนเองจากการล่อลวง ขม่ เหง รงั แก
8. ผูเ้ รียนไม่เพิกเฉยต่อการกระทาส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง และอยู่รว่ มกนั ด้วยดใี นครอบครัว ชุมชนและ

สังคม
9. ผเู้ รียนมเี หตผุ ลใชห้ ลักความพอประมาณใหเ้ กดิ ความสมดุลระหว่างมิติทางวัตถกุ บั จติ ใจของคน

ในชาติ ความสมดุลระหวา่ งความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแขง่ ขันในเวทโี ลก ความสมดลุ ระหว่าง
สงั คมชนบทกับเมือง และมรี ะบบภมู ิคุม้ กันทด่ี ีพร้อมเผชญิ กับการเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดขน้ึ

10. ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1) ความพอประมาณ การดาเนนิ โครงการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทีต่ ง้ั ไว้ตอบสนองต่อนโยบาย

การจดั การเรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นร้ใู ช้งบประมาณทีม่ ีอยู่อยา่ งจากัดใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สุด

2) ความมเี หตผุ ล ผูเ้ รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นาการ
เรยี นรบู้ ูรณาการประยุกต์ใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมตามเวลา และสถานการณด์ ารงชวี ติ ตามแนวปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

3) การมีภมู ิคุ้มกันในตวั ทด่ี ี ผเู้ รียนเป็นคนดี มีคุณธรรม โดยมเี ครอื ข่ายครู ผปู้ กครอง
และชุมชน สนับสนุนและช่วยเหลือนกั เรียนในการจัดการเรียนรู้ และพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งมี
คณุ ภาพ

4) เงื่อนไขความรู้ ผู้เรียนมีความรู้ และนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั อยู่
รว่ มกันในสงั คมได้อย่างมีความสขุ

5) เงอื่ นไขคุณธรรม ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีความรับผดิ ชอบ มีระเบยี บ
วนิ ัย ประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 34

ผลการประเมินโครงการ/กจิ กรรม
ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม บรรลวุ ัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย (ร้อยละ 93.85)

จดุ เด่น
1. ผู้เรยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
2. ผู้เรียนยอมรบั ทจี่ ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
3. ผู้เรยี นมเี หตุผลใชห้ ลกั ความพอประมาณให้เกดิ ความสมดลุ ระหวา่ งมิติทางวตั ถุกับจิตใจของคน

ในชาติ ความสมดลุ ระหวา่ งความสามารถในการพ่ึงตนเองกับการแขง่ ขันในเวทโี ลก ความสมดลุ ระหว่าง
สงั คมชนบทกับเมือง และมรี ะบบภมู คิ ุม้ กันท่ดี ีพร้อมเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดข้นึ

4. ผ้เู รยี นมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
จดุ ทค่ี วรพัฒนา

1. ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามทสี่ ถานศึกษากาหนด
2. ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม
3. ครจู ดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ
ชีวิต
4. ครใู ชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อ้ือตอ่ การเรยี นรู
5. ครูตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน

ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
- สง่ เสรมิ ให้มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบกลุ่ม โครงงาน เพ่ือให้ผูเ้ รยี นใชท้ ักษะการคิด

อย่างเปน็ ระบบ และเพ่มิ ทักษะในการทางานรว่ มกนั กับผอู้ ่นื
- จัดกิจกรรมเพื่อพฤติกรรมนักเรียนให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา มคี ่านิยมและ

จติ สานกึ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยไมขดั กับกฎหมายและวฒั นธรรมอันดขี องสงั คม
- จดั กิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม และ

แสดงออกอยา่ งเหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั สามารถอยรู่ ่วมกบั คนอืน่ อย่างมีความสขุ เขา้ ใจผู้อื่น ไมมีความ
ขดั แย้งกับผู้อืน่

- จดั กจิ กรรมกระบวนการเรยี นรู้โดยใชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น การนาแหล่งเรียนร้ภู ายนอกมาใช้ในการ
จัดกระบวนการเรยี นรู้

- สง่ เสรมิ ให้ครูผสู้ อนจัดกิจกรรมทเ่ี นน้ ทักษะกระบวนการคิด การใชส้ ือ่ และเทคโนโลยี และการวดั
และประเมินผลอย่างเปน็ ระบบ และส่งเสริมการทาวิจัยช้ันเรียนและนาผลมาใช้ปรับปรุงพัฒนาการเรยี น
การสอน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 35

1.27 ความโดดเด่นของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
1. มีเปาหมายวสิ ยั ทศั นและพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจนสถานศกึ ษากาหนดเปาหมาย วิสัย

ทศั น และพนั ธกจิ ไวอยางชดั เจน สอดคลองกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตองการของชมุ ชน ทองถิ่น
วตั ถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาลและของตนสังกัด รวมท้ังทันตอการ
เปล่ียนแปลงของสงั คม

2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาสถานศึกษาสามารถบรหิ ารจัดการคุณภาพของ
สถานศกึ ษาอยางเปนระบบทั้งในสวนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบตั ิ
เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง มี
การบรหิ ารอตั รากาลงั ทรัพยากร ทางการศกึ ษาและระบบดูแลชวยเหลอื นักเรยี น มรี ะบบการนเิ ทศภายใน
การนาขอมลู มาใชในการพฒั นา บคุ ลากรและผูที่เก่ียวของทกุ ฝายมสี วนรวมการวางแผน ปรับปรุงและ
พัฒนา และรวมรบั ผดิ ชอบตอผลการจดั การศึกษา

3. ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เนนคณุ ภาพผู้เรียนรอบดานตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทกุ
กลมุ เปาหมาย สถานศกึ ษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวชิ าการ ทงั้ ดานการพฒั นาหลักสูตรกจิ กรรมเสริม
หลกั สูตรทเ่ี นนคณุ ภาพผูเรยี นรอบดาน เชือ่ มโยงวิถีชวี ติ จรงิ และครอบคลุมทกุ กล่มุ เปาหมาย หมายรวมถงึ
การจดั การเรยี นการสอนของกลุมทเี่ รยี นแบบควบรวมหรือกลุมที่เรยี นรวมดวย

4. พฒั นาครูและบุคลากรใหมีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ
5. จดั กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นนผู้เรียนเปนสาคญั เปนกระบวนการจดั การเรียนการ
สอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวดั ของหลักสูตรสถานศึกษา สรางโอกาสใหผูเรยี นมสี วนรวมในการเรียนรู้ผาน
กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก สรางปฏิสมั พนั ธทด่ี ี ครูรูจักผูเรยี นเปน
รายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปนระบบและนาผลมาพฒั นาผูเรียน รวมท้ังรวม
กนั แลกเปล่ียนเรยี นรูและนาผลทไี่ ดมาใหขอมลู ปอนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู
6. จดั การเรียนรูผ้ านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนาไปประยุกตใชในการดาเนนิ
ชวี ิตจดั กจิ กรรมการเรยี นรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวชีว้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษาท่ีเนน ใหผเู้ รยี นได
เรียนรโู้ ดยผานกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ ริง มแี ผนการจัดการเรยี นรูทส่ี ามารถนาไปจัดกจิ กรรมไดจรงิ มี
รปู แบบการจดั การเรียนรูเฉพาะสาหรบั ผูทมี่ ีความจาเปน และตองการความชวยเหลือพิเศษ ผูเรียนไดรับ
การฝกทักษะแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองคความรู นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยกุ ต
ใชในชีวติ ได

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 36

สว่ นท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
1. ระดบั คณุ ภาพ 4

คุณภาพผเู้ รยี น ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น และด้านคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของ
ผู้เรียน โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หนิ มีผลการพฒั นาโดยภาพรวม รอ้ ยละ 84.06 โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผูเ้ รียน
โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หิน มีผลการพฒั นาโดยภาพรวม รอ้ ยละ 77.84 โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
- ผ้เู รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คานวณ ผเู้ รียนมีทักษะในการ
อ่าน การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คานวณตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนดในแตล่ ะระดบั ช้นั คิดเปน็
รอ้ ยละ 72.92
- ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น

ความคดิ เห็น และแก้ปัญหา ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณา
อย่างรอบคอบ โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และแก้ปัญหา
อยา่ งมเี หตผุ ล คิดเป็นร้อยละ 74.77

- ผเู้ รยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ท้ัง
ดว้ ยตัวเองและการทางานเป็นทมี เช่อื มโยงองค์ความรู้และประสบการณม์ าใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ๆ
อาจเปน็ แนวความคิดโครงการ โครงงานชิ้นงาน ผลผลติ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 76.62

- ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ผ้เู รียนมีความสามารถในใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร เพ่อื การพฒั นาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรยี นรูก้ ารสอ่ื สาร
การทางานอย่างสรา้ งสรรค์และมคี ุณธรรม คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.69

- ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ผเู้ รียนบรรลุและมีความก้าวหนา้
ในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาจากพื้นฐานเดมิ ในดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการตา่ ง ๆ
รวมทั้งมคี วามก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติหรอื ผลการทดสอบอน่ื ๆ คดิ เป็นร้อยละ 72.92

- ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชีพ ผเู้ รียนมีความรู้ทกั ษะพ้ืนฐานในการ
จัดการ เจตคตทิ ่ีดพี ร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดบั ชน้ั ทส่ี ูงขึ้น การทางานหรอื งานอาชีพ คิดเปน็ ร้อยละ 84.31

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน
โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หนิ มีผลการพฒั นาโดยภาพรวม ร้อยละ 93.85 โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี
- ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทส่ี ถานศึกษากาหนด ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ท่ีมี
คณุ ธรรม จริยธรรมเคารพในกฎกตกิ า มคี ่านยิ มและจิตสานึกตามทส่ี ถานศึกษากาหนดโดยไม่ขัดกบั
กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสังคม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.23
- ผู้เรยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย ผูเ้ รยี นมีความภมู ิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่า
ของความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและประเพณไี ทยรวมท้งั ภูมิปัญญาไทย คิดเปน็
ร้อยละ 100

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 37

- ผู้เรียนยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ผเู้ รยี นยอมรับและอย่รู ่วมกัน
บนความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในดา้ น เพศวัยเชื้อชาตศิ าสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี คิดเปน็ ร้อยละ
95.38

- ผู้เรยี นมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม ผเู้ รียนมีการรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณ์
และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัยสามารถอยูร่ ว่ มกบั คนอื่นอย่างมีความสุข เขา้ ใจ
ผูอ้ ่ืน ไม่มีความขัดแย้งกับผอู้ ่ืน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 94.77

2. วิธกี ารพฒั นา ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
2.1 วิธีการพัฒนา
ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร

และการคดิ คานวณ สูงกว่าเป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนด มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตร
สถานศึกษาสูงกวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หาได้ โดย
จัดทาโครงการส่งเสรมิ ความสามารถทางวิชาการ กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเพอื่ การทดสอบ
ระดับชาติ LAS NT RT O-NET กิจกรรมนิทรรศการวชิ าการและแสดงผลงาน กจิ กรรมแข่งขันสคู่ วาม
เปน็ เลศิ ทางวชิ าการ โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้ดา้ นภาษา โครงการส่งเสริมการอา่ นออก เขยี นได้ คดิ เลข
เป็น กิจกรรมคิดเลขเร็ววันละครั้งกจิ กรรมอ่านออกเขยี นได้ โครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ น กิจกรรม
หอ้ งสมุดมชี ีวิต กิจกรรมบันทึกการอา่ น โรงเรยี นส่งเสรมิ ความสามารถในการสร้างนวตั กรรม มกี ารนาไปใช้
และเผยแพร่ ส่งเสรมิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื พัฒนาตนเองและ
สังคมในด้านการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทางาน อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมคี ุณธรรมโดยจดั ทาโครงการส่งเสรมิ
การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย กจิ กรรมเรยี นรจู้ ากเทคโนโลยี กจิ กรรม WALK RALLY กิจกรรมพัฒนาแหลง่
เรียนรู้ กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นร้จู ากภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ กจิ กรรมเสียงตามสาย ส่งเสริมให้มี
ความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีพร้อมทจี่ ะศกึ ษาต่อในระดบั ชน้ั ทส่ี งู ขึน้ และการทางานหรืองานอาชีพ
โครงการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมจัดแหลง่ เรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมออมทรัพย์ กิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมขยะรีไซเคิล กจิ กรรมหนูนอ้ ย
มารยาทงาม

คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน
โรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หินส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ลักษณะและคา่ นยิ มที่ดีสูงกวา่ เปา้ หมายที่
สถานศึกษากาหนดเปน็ แบบอย่างได้ มีความภูมใิ จในทอ้ งถ่ิน เห็นคุณคา่ ของความเป็นไทย มีสว่ นรว่ มในการ
อนุรกั ษว์ ฒั นธรรม ประเพณีและภูมปิ ญั ญาไทย ผเู้ รยี นสามารถอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
โดยจดั ทาโครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์ และสานึกในความเปน็ ไทย กิจกรรมวนั
สาคญั ทางศาสนา กจิ กรรมวันสาคัญ กิจกรรมธรรมะทุกวันศกุ ร์ กจิ กรรมธนาคารความดี กิจกรรมสง่ เสรมิ
ประชาธปิ ไตย กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนร้จู ากภมู ปิ ญั ญา
ท้องถนิ่ พัฒนาผูเ้ รยี นให้มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คมสงู กวา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดย
จดั ทาโครงการส่งเสรมิ สุขภาพ กจิ กรรมอาหารกลางวนั กิจกรรมฟันสวยยม้ิ สวย กิจกรรมเฝา้ ระวงั ภาวะ
โภชนาการ กจิ กรรมอาหารเสริม(นม) กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวงั โรคไขเ้ ลือดออก กิจกรรมสุขภาพอนามยั ดี
กจิ กรรมแอโรบคิ โครงการรณรงค์ต่อตา้ นยาเสพตดิ และโครงการตา้ นทุจรติ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน 38

2.2 ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
-ข้อมลู หลกั ฐาน และเอกสาร ทสี่ นับสนุนผลการประเมนิ ตนเองคุณภาพผู้เรียน ของโรงเรยี น

บ้านหนองจระเขห้ ิน คือ
- แผนปฏิบัติการประจาปี
- รายงานการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
- ประกาศมาตรฐานการศึกษาโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หิน
- บันทกึ การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
- สมดุ บันทึกการประชมุ ผูป้ กครอง
- รายงานความพึงพอใจต่อการจดั การศึกษาของผปู้ กครองและชมุ ชน
- บันทกึ การเขา้ อบรมสัมมนาของครู
- บนั ทกึ การอ่าน
- แผนการจัดการเรยี นการสอน
- แฟม้ สะสมงานของนักเรียน
- หลักสูตรสถานศึกษา
- รายงานผลการอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน
- รายงานผลสัมฤทธิท์ างการศกึ ษา
- บันทกึ การใชห้ ้องสมุด
- บันทึกการใชห้ ้องคอมพิวเตอร์
- รายงานคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- บันทกึ การใช้แหล่งเรียนรู้
- สมดุ บนั ทึกการทาความดี
- สมดุ บัญชธี นาคาร
- ภาพกิจกรรมตา่ งๆ

3. จุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดับให้สูงขนึ้

จุดเด่น จุดท่คี วรพัฒนา

ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน ดา้ นผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน

- ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีต่องาน - ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร

อาชีพ สถานศกึ ษา

- ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี -ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน

สารสนเทศและการส่ือสาร การสือ่ สารและการคิดคานวณ

คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น - ผ้เู รียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด

- ผเู้ รยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความ

- ผเู้ รียนมีการยอมรับทจ่ี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่าง คิดเหน็ และแก้ปัญหา

และหลากหลาย - ผเู้ รียนมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม

- ผ้เู รียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผ้เู รียน

- ผ้เู รียนมีคุณลักษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามท่ี

สถานศกึ ษากาหนด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 39

แผนการพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดับให้สงู ข้นึ
การพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับคณุ ภาพผเู้ รยี นให้สงู ขนึ้ โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ินได้ดาเนินการ

จัดทาโครงการเพ่ือรองรับดังนี้คอื
1. โครงการส่งเสรมิ ความสามารถทางวิชาการ
2. โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรดู้ ้านภาษา
3. โครงการสง่ เสรมิ การอ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเปน็
4. โครงการส่งเสรมิ นิสัยรักการอ่าน
5. โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้ที่หลากหลาย
6. โครงการสง่ เสริมการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ และสานกึ ในความเป็นไทย
8. โครงการสง่ เสริมสุขภาพ
9. โครงการรณรงค์ต่อต้านยาเสพตดิ
10. โครงการต้านทจุ รติ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. ระดับคณุ ภาพ 5

โรงเรยี นบา้ นหนองจระเขห้ ินมกี ระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โดยภาพรวมรอ้ ยละ 96.67
มีรายละเอยี ดดงั นี้

โรงเรียนบ้านหนองจระเข้หินกาหนดใหม้ ีการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศึกษาข้อมูล
จดุ เดน่ จดุ ด้อย ปจั จยั ภายนอกและปจั จัยภายใน กาหนดเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษา
กาหนดชดั เจนเป็นรปู ธรรม ปฏบิ ัติได้ สอดคล้องกบั บริบทของสถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน ท้องถนิ่
สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสงั กัดและทันตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงของสังคม คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาสามารถบรหิ ารจดั การคุณภาพของ
สถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา การนาแผนไปปฏบิ ตั ิ
เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรงุ พัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง
มีการบรหิ ารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน มีระบบการนิเทศ
ภายใน มกี ารนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาบุคลากรและผู้ทเ่ี กย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ มในการวางแผน
ปรับปรุงและพฒั นา และรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100

โรงเรียนดาเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและ
ทุกกลุ่มเปา้ หมาย บริหารจดั การเกย่ี วกบั งานวชิ าการ ท้ังดา้ นการพัฒนาหลกั สตู ร กิจกรรมเสริมหลกั สูตร
ทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้าน มีหลักสูตรสถานศึกษาและมีการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามหลักสตู ร
สถานศึกษา พร้อมทั้งประเมนิ ผลการใชแ้ ละปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง มกี ารจดั หลักสูตร
เชอ่ื มโยงวิถีชีวิตจรงิ และครอบคลมุ ทกุ กล่มุ เป้าหมาย หมายรวมถงึ การจัดการเรยี นการสอนของกลุ่มทเี่ รียน
แบบควบรวมหรือกลุ่มท่เี รียนร่วมด้วย คดิ เป็นร้อยละ 100

ด้านการพฒั นาครู บคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ โรงเรยี นบ้านหนอง
จระเข้หินสนบั สนนุ และสง่ เสริมให้ครไู ด้รบั ความรูแ้ ละมคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี และสง่ เสริมให้ครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษาสร้างชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และนามาใช้ในการพฒั นางานและการ
เรียนรขู้ องผูเ้ รยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 100

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน 40

ดา้ นการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านหนองจระเข้
หินจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมท่ีเอ้ือต่อ
การจดั การเรียนรู้ มีความปลอดภยั จัดให้มหี ้องปฏบิ ตั กิ าร(ห้องพเิ ศษ) ตา่ งๆ เชน่ หอ้ งปฏบิ ัติการ
วิทยาศาสตร์ หอ้ งสมุด ห้องพยาบาล ทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้ คิดเปน็ ร้อยละ 100

ด้านการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริการจัดการและการจัดการเรียน รู้
โรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หินได้ดาเนินการจัดระบบการจัดหา ส่ือเทคโนโลยีท่ีเอื้อและสนับสนุนการจัดการ
เรยี นรู้ มีการพฒั นาและการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80

2. วิธีการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง
2.1 วิธกี ารพฒั นา
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ นิ มเี ป้าหมายวสิ ัยทัศน์และ

พันธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบาย
รัฐบาล แผนการศกึ ษาแห่งชาติเป็นไปได้ในการปฏิบัติ ทันต่อการเปลยี่ นแปลง โดยจดั ทาโครงการจดั ทา
แผนปฏิบัติการ โครงการสง่ เสรมิ นกั เรยี นวยั เรียนใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาอย่างทว่ั ถึง กจิ กรรมสามะโนนกั เรยี น
กิจกรรมประชาสมั พนั ธ์และรับนกั เรยี นเขา้ เรยี น กิจกรรมจัดการเรยี นรูส้ าหรบั นกั เรียนพเิ ศษเรยี นร่วม
จัดให้มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มปี ระสทิ ธิภาพ ส่งผลตอ่ คุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผ้เู ก่ยี วข้องทกุ ฝ่าย มีการนาข้อมลู มาใช้ในการ
ปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเน่ือง และเปน็ แบบอย่างได้โดยจดั ทาโครงการพฒั นาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา โครงการส่งเสริมความสมั พนั ธ์กับชมุ ชน กจิ กรรมประชาสัมพันธ์ กิจกรรม บา้ น วดั
โรงเรียน กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง กิจกรรมประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการ
ทีเ่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย เชือ่ มโยงกับชีวิตจริง และเปน็
แบบอยา่ งไดโ้ ดยจัดทาโครงการพัฒนางานวชิ าการสคู่ ุณภาพได้มาตรฐาน กิจกรรมพฒั นาหลักสตู ร
กจิ กรรมพัฒนางานทะเบียนและวัดผล โครงการผลิตสอื่ การเรียนการสอน โครงการวิจัยการเรยี นรู้
พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ตรงตามความต้องการของครแู ละสถานศึกษา และจัด
ใหม้ ีชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพเพ่ือพฒั นางานโดยจดั ทาโครงการพัฒนาบคุ ลากร กิจกรรมศึกษาดงู าน
กจิ กรรมอบรม-สัมมนา กิจกรรมแฟม้ พัฒนางาน จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมเสือ้ ต่อการ
จัดการเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ และมีความปลอดภยั โดยจัดทาโครงการปรับปรุงภมู ิทัศน์ กิจกรรม ๕ ส.
กจิ กรรมปา้ ยนเิ ทศ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษาโดยจดั ทาโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ โครงการสง่ เสริมสนับสนุน
การศึกษา และโครงการพัฒนางานการเงินและพสั ดุ กจิ กรรมพัฒนางานพัสดุ กจิ กรรมพฒั นางานการเงิน

2.2 ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง
ขอ้ มูล หลักฐาน และเอกสาร ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเองดา้ นกระบวนการบริหารและการ

จดั การของโรงเรียนบา้ นหนองจระเขห้ นิ คือ
- แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
- แผนกลยุทธ์
- รายงานการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
- ประกาศมาตรฐานการศึกษาโรงเรยี นบา้ นหนองจระเข้หิน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 41

- บนั ทึกการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา
- สมดุ บันทกึ การประชมุ ผู้ปกครอง
- รายงานความพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษาของผู้ปกครองและชมุ ชน
- บันทกึ การเขา้ อบรมสัมมนาของครู
- ภาพกจิ กรรมต่างๆ

3. จุดเด่น จดุ ท่คี วรพัฒนา และแผนการพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้นึ

จุดเดน่ จุดท่คี วรพัฒนา

- มเี ปา้ หมาย วิสยั ทศั น์และพันธกิจท่ีสถานศึกษา - จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุน

กาหนดชัดเจน การบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้

- มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

- ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผ้เู รยี นรอบด้าน

ตามหลักสตู รสถานศึกษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย

- พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทาง

วิชาชีพ

- จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการ

จดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดบั ให้สงู ขึ้น
การพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดับกระบวนการบรหิ ารและการจัดการใหส้ ูงขน้ึ โรงเรียนบ้านหนอง

จระเขห้ นิ ได้ดาเนินการจดั ทาโครงการเพ่อื รองรับดงั นี้คือ
1. โครงการจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ
2. โครงการสง่ เสรมิ นกั เรียนวัยเรียนใหไ้ ด้รบั การศึกษาอย่างทว่ั ถึง
3. โครงการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
4. โครงการสง่ เสริมความสัมพันธก์ บั ชุมชน
5. โครงการพัฒนางานวชิ าการสู่คุณภาพได้มาตรฐาน
6. โครงการผลิตส่อื การเรียนการสอน
7. โครงการพฒั นาบุคลากร
8. โครงการปรบั ปรงุ ภูมทิ ัศน์
9. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
10. โครงการพฒั นางานการเงินและพสั ดุ
11. โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 42


Click to View FlipBook Version