The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์-1-2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patipon_ tpr, 2020-12-23 01:25:53

โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์-1-2559

โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์-1-2559

โครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะตา่ งๆ
ของรา่ งกายมนุษย์ 1

อาจารยก์ ติ ติศกั ดิ์ จนั ทรส์ ขุ
สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

วิทยาลยั สหเวชศาสตร์

รา่ งกายมนุษย์

กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ (Human Anatomy)
หมายถึง วิชาท่ีศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของร่างกายมนุษย์
ท่ีประกอบเป็นรูปร่างของร่างกาย รวมถึงตาแหน่งที่ต้ังของ
อวัยวะต่างๆ ว่าอยู่ส่วนไหนของร่างกาย และส่วนต่างๆน้ี
เก่ยี วข้องสัมพนั ธ์กันอยา่ งไร

สรีรวิทยาของมนุษย์ (Human Physiology) คือวิชาที่
ศึกษาหน้าท่ีการทางานของส่วนหรืออวัยวะต่างๆ ของ
ร่างกายมนุษย์ เม่ือรวมเข้ากันเป็นอวัยวะและระบบต่างๆ
เหล่าน้ีต้องทางานประสานกันเพื่อให้ร่างกายสามารถดารง
อย่ไู ด้ตามปกติ

ร่างกายมนษุ ย์

การศึกษากายวภิ าคศาสตร์และสรรี วิทยาของมนุษย์ จงึ เป็นการศกึ ษาถึง
- โครงสร้างร่างกายและส่วนประกอบต่างๆ ของร่างกายทั้งระดับ

ภายนอกและภายใน
- ระดบั โครงสร้างขนาดใหญ่จนถงึ โครงสร้างขนาดเลก็
- หนา้ ที่การทางานของระบบร่างกาย

การเรียนร่างกายมนุษย์ในระบบต่างๆ จึงต้องศึกษาทั้งกายวิภาคศาสตร์และ
สรีรวิทยาของมนุษย์ไปควบคู่กันท้ังคนปกติและคนที่เจ็บป่วย เพ่ือให้เรา
สามารถดแู ลรกั ษาและปอ้ งกันการเจ็บปว่ ยได้อย่างเหมาะสม

ส่วนตา่ งๆของรา่ งกายมนุษย์

1) ศีรษะและคอ (Head and Neck)

ส่วนต่างๆของรา่ งกายมนษุ ย์

2) ลาตัว แบง่ เปน็ 3 สว่ น คอื อก ทอ้ ง ท้องน้อย

ส่วนต่างๆของรา่ งกายมนุษย์

3) แขนและขา

การจัดลาดบั โครงสรา้ งร่างกายมนุษย์

ในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบแล้วว่า ร่างกายของมนุษย์น้ันประกอบด้วย ส่วนประกอบ
ย่อยๆ หลายสว่ นมารวมกนั เพอ่ื ทาหน้าที่รว่ มกนั โดยสามารถจัดลาดับโครงสร้างของรา่ งกายมนุษยไ์ ดด้ ังนี้

1) อะตอม
2) โมเลกลุ
3) เซลล์
4) เนอื้ เยอ่ื
5) อวัยวะ เกิดจากการรวมกล่มุ ของเน้ือเย่อื หลายชนิดท่มี าทาหนา้ ทร่ี ่วมกัน
6) ระบบอวยั วะ เปน็ กลมุ่ ของอวยั วะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั อวยั วะในระบบเดียวกันอาจมีความสัมพันธ์
ร่วมกันได้หลายทาง แต่มักจะมีลักษณะหน้าท่ีการทางานเก่ียวข้องกัน หน้าท่ีของระบบอวัยวะมักจะมี
หนา้ ท่ีทบั ซ้อนกัน
7) ร่างกายมนษุ ย์ เกดิ จากการรวมกนั ของระบบอวยั วะทุกระบบในร่างกาย

หนา้ ทีก่ ารทางานของรา่ งกายมนุษย์

1) หน้าทห่ี ่อหมุ้ รา่ งกาย
เป็นหน้าท่ีของระบบผิวหนัง ซ่ึงจะทาหน้าท่ี

ในการห่อหุ้มปกคลุมส่วนต่างๆ ของร่างกายไว้ ช่วย
ควบคุมอณุ หภูมริ า่ งกาย และยังมีเนื้อเยื่อท่ีทาหน้าท่ีรับ
ความรสู้ กึ

2) หนา้ ทคี่ า้ จนุ และเคลื่อนไหว
เ ป็ น ห น้ า ที่ ข อ ง ร ะ บ บ ก ร ะ ดู ก แ ล ะ ร ะ บ บ

กล้ามเน้ือ ทาหน้าที่ในการค้าจุนโครงสร่างของส่วน
ต่างๆ ในร่างกาย เป็นแกนของร่างกายและทาให้
ร่างกายสามารถเคล่ือนไหวได้

หน้าที่การทางานของรา่ งกายมนุษย์

3) หนา้ ทใ่ี นการประมวลผลและประสานงาน

เป็นหน้าที่ของระบบประสาทและระบบต่อม
ไรท้ อ่

- ระบบอวัยวะท้ังสองน้ีจะทางานร่วมกันใน
การรับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงจากทั้งภายในและ
ภายนอกร่างกาย

- จะทาหน้าที่ในการประมวลผลสัญญาณ
ต่างๆ แล้วปรับสมดุลของร่างกาย โดยระบบประสาทจะ
ทาหน้าท่ีในการส่งสัญญาณประสาทไปควบคุมอวัยวะ
ต่างๆ

- ส่วนระบบต่อมไร้ท่อ จะทาหน้าท่ีในการ
สร้างฮอร์โมนหรือสารเคมีต่างๆ ออกมาเพ่ือไปควบคุม
ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายเชน่ กนั

หน้าท่ีการทางานของร่างกายมนุษย์

4) หน้าทใี่ นการขนส่งสาร
เป็นหน้าทขี่ องระบบหัวใจและ

หลอดเลอื ดและระบบนา้ เหลือง
- ทัง้ สองระบบนเี้ ป็นระบบท่ีมี

ลักษณะเปน็ ท่อเชอ่ื มโยงท่วั ร่างกาย
- ข น ส่ ง ท้ั ง ส า ร อ า ห า ร

ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ฮอร์โมน
เอนไซม์ หรือสารอ่ืนๆ ไปตามหลอด
เลอื ดและหลอดนา้ เหลือง

หน้าทีก่ ารทางานของรา่ งกายมนุษย์

5) หน้าทีใ่ นการดูดซมึ สารและขับถ่ายของเสยี

เป็นหน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ และระบบทางเดินปัสสาวะ ทั้งสามระบบนี้จะทา
หนา้ ทป่ี ระสานงานกนั ต้ังแต่การดดู ซมึ สารอาหาร ออกซิเจน และการขบั ถ่ายของเสยี ตา่ งๆ

หนา้ ท่ีการทางานของรา่ งกายมนุษย์

6) หนา้ ทใี่ นการสืบพนั ธ์ุ
เป็นหน้าท่ีของระบบสืบพันธ์ุ โดยจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงและเซลล์

สบื พนั ธเ์ุ พศชาย เพือ่ ใหก้ าเนิดชวี ติ ใหม่และดารงเผ่าพนั ธ์ขุ องมนษุ ย์

ระบบของรา่ งกาย

การจัดระบบในร่างกายแบง่ ได้เปน็ 11 ระบบ

1. ระบบผวิ หนงั 2. ระบบกล้ามเนือ้

3. ระบบกระดกู 4. ระบบประสาท

5. ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด 6. ระบบนา้ เหลอื ง

7. ระบบหายใจ 8. ระบบยอ่ ยอาหาร

9. ระบบขับถา่ ย 10. ตอ่ มไรท้ อ่

11. ระบบสืบพนั ธุ์ ประกอบด้วยระบบสบื พนั ธ์ชุ ายและหญงิ

ระบบห่อหุ้มร่างกาย (integumentary system)

ส่วนประกอบของระบบหอ่ หุ้มร่างกาย
- ผิวหนงั
- ขน
- เล็บ

- อวยั วะหรือระบบอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพือ่ ชว่ ยให้ระบบหอ่ หุ้มรา่ งกายทาหนา้ ทไี่ ดส้ มบูรณ์ เชน่
ตอ่ มน้ามนั ตอ่ มเหงอ่ื ระบบประสาท

ระบบห่อหมุ้ รา่ งกาย (integumentary system)

หนา้ ที่ของระบบหอ่ หมุ้ ร่างกาย

1. ป้องกนั และปกปดิ อวัยวะภายในไมใ่ ห้ไดร้ ับ อันตราย
2. ปอ้ งกันเชอ้ื โรคไม่ให้เขา้ สู่รา่ งกายโดยง่าย
3. ขบั ของเสียออกจากรา่ งกาย โดยตอ่ มเหงอ่ื ขับเหงื่อออกมา
4. ช่วยรักษาอุณหภมู ขิ องร่างกายให้คงท่ี โดย ระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของเหง่ือ
5. รับความร้สู ึกสมั ผสั เชน่ ร้อนหนาว เจบ็ ฯลฯ
6. ช่วยสรา้ งวิตามินดใี หแ้ กร่ า่ งกาย โดยแสง แดดจะเปลย่ี นไขมนั ชนิดหนึ่งทผ่ี ิวหนังใหเ้ ปน็ วิตามนิ ดีได้
7. ขบั ไขมนั ออกมาหลอ่ เล้ยี งเสน้ ผม และขน ให้เป็นเงางามอยเู่ สมอและไม่แห้ง

ระบบหอ่ หมุ้ ร่างกาย (integumentary system)

1. หนงั กาพร้า (Epidermis)

Stratum germinativum
หรือ Germinative layer หรือ Malpighian
layer เป็นช้ันท่ีอยู่ล่างสุดของ epidermis
เป็น ช้ันท่ีมีการเจริญมากท่ีสุด โดยเน้ือเย่ือ
ช้นั นจี้ ะเจรญิ ขยบั ขึน้ มาสู่ชั้นนอก กลายเป็น
เน้อื เยื่อชั้นอ่นื ๆ

สามารถแบง่ ได้ออกเป็นสองชั้นย่อยๆ ได้ คือ
Stratum basale เป็นชั้นที่มี malanin อยู่
และ Stratum spinosum เป็นชั้นท่ีมีเซลส์
ลักษณะคลา้ ยหนาม ประสานกนั เป็นรา่ งแห

ระบบหอ่ หมุ้ รา่ งกาย (integumentary system)

1. หนงั กาพรา้ (Epidermis)

Stratum granulosum
เป็นช้ันท่ีถัดข้ึนมา ลักษณะเฉพาะคือ ใน
เซลส์ของชั้นน้ี จะมีลักษณะ granule เล็กๆ
หรือเม็ดเล็กๆ อยู่ภายในเซลส์ เรียกช่ือว่า
Keratohyaline granule ลักษณะของ
นิวเคลียสเริม่ จางลงและคอ่ ยๆหายไป

ระบบห่อหมุ้ รา่ งกาย (integumentary system)

1. หนงั กาพร้า (Epidermis)

Stratum lucidum
เป็นชน้ั ทถ่ี ดั ออกมาดา้ นนอก เปลย่ี นแปลงมา
จากช้ัน Stratum granulosum โดยสาร
Keratohyaline จะเปล่ียนแปลงตัวเองให้ใส
ขึน้ เรียกช่ือวา่ Eledin จงึ ทาให้ช้นั นมี้ คี วามใส
สว่างกว่าชั้นอ่ืน

ระบบห่อหุม้ ร่างกาย (integumentary system)

1. หนังกาพร้า (Epidermis)

Stratum corneum
เป็นเนอื้ เยือ่ ช้นั นอกสดุ หนามาก ประกอบไป
ด้วยเซลส์ที่ตายแล้ว และลอกหลุดออกมา
เสมอๆ โปรตีนท่ีอยู่ในช้ันน้ีมีช่ือเรียกว่า
Keratin เปลี่ยนแปลงมาจาก eledin ในชั้น
Stratum lucidum

ระบบหอ่ หมุ้ ร่างกาย (integumentary system)

2. หนังแท้ (Dermis)
Papillary layer

เป็นชั้นท่ีติดกับ eptdermis มีลักษณะเป็นคลื่น และพบพวกปลายประสาท, เส้นเลือด, ท่อ
น้าเหลือง, Hair follicle, Sebaceous glands และกล้ามเนื้อเรียบของขน (Arrectorpili
muscle)

ระบบห่อหุม้ ร่างกาย (integumentary system)

2. หนงั แท้ (Dermis)
Reticular layer

ประกอบไปด้วย collagen fiber สานกันอย่างแน่นหนา มีเน้ือเยื่อไขมัน (Asdipose tissue)
ปนอยมู่ าก และยังพบ เสน้ เลอื ดเสน้ ประสาท ต่อมเหง่ือ pigment cell และอน่ื ๆ

ระบบห่อหุ้มร่างกาย (integumentary system)

2. หนงั แท้ (Dermis) เปน็ ชน้ั ทอี่ ยใู่ ต้หนงั กาพรา้ ประกอบดว้ ยโครงสรา้ งตา่ งๆ

มากมาย ไดแ้ ก่ - กระเปาะ (Follicle)

- ต่อมเหง่อื (Sweat gland)

- ตอ่ มไขมัน (Sebaceous gland)

- เส้นเลือด (Blood vessel)

- เสน้ ประสาท (Nerve)

- กลา้ มเน้ือมัดเล็กๆจานวนมาก

ระบบหอ่ หมุ้ รา่ งกาย (integumentary system)

ระบบประสาททผ่ี ิวหนัง (The Cutaneous Sense)
ระบบประสาทจะกระจายอยู่เป็นจุดๆ จุดเหล่านี้จะมีความรู้สึกเฉพาะต่อสิ่ง

ท่มี าสมั ผสั คอื
- ความรูส้ กึ ร้อน เย็น
- ความเจบ็ ปวด

ความรู้สึกต่าง ๆ เหล่านี้จะมีปริมาณไม่เท่ากัน คือ ความรู้สึกเจ็บมากท่ีสุด
ความรสู้ กึ สัมผัสรองลงมา ความรู้สกึ เยน็ มากเปน็ ลาดับสาม สว่ นความรสู้ ึกร้อนจะน้อย
ที่สดุ

ระบบหอ่ ห้มุ ร่างกาย (integumentary system)

การกาจัดของเสียทางผวิ หนงั

เหง่ือ (sweat) ประกอบด้วยน้าเป็นส่วนใหญ่

และมีสารอ่ืนๆ เช่น เกลือโซเดียมคลอไรด์ ยูเรีย
เหง่ือจะถูกขับออกจากร่างกายทางผิวหนังโดย
ผ่านทางตอ่ มเหงื่อซ่งึ มอี ยู่ทั่วรา่ งกายใตผ้ ิวหนัง
ต่อมเหงอื่ ของคนเราแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ คือ

1. ต่อมเหงอื่ ขนาดเล็ก
2. ตอ่ มเหงอ่ื ขนาดใหญ่

เหงื่อแล้วยงั ทาหน้าทช่ี ่วยระบายความรอ้ นออกจากรา่ งกายดว้ ยโดย
ทางผวิ หนังมปี ระมาณรอ้ ยละ 87.5 ของความรอ้ นทง้ั หมด

ระบบหอ่ หุ้มร่างกาย (integumentary system)

การกาจัดของเสียทางผวิ หนัง

ต่อมเหง่อื ขนาดเลก็
- มอี ยทู่ ผี่ ิวหนงั ทั่วทุกแห่งของร่างกาย ยกเวน้ ทรี่ ิมฝปี ากและที่อวัยวะสบื พันธบ์ุ างสว่ น
- ตอ่ มเหงอื่ เหลา่ น้ตี ดิ ต่อกับทอ่ ขบั ถา่ ยซึ่งเปดิ ออกท่ผี ิวหนังช้ันนอกสดุ
- ต่อมเหง่ือขนาดเล็กนี้สร้างเหง่ือแล้วขับถ่ายออกมาตลอดเวลา อุณหภูมิภายนอกร่างกาย
สูงขึ้นหรือขณะออกกาลังกาย ปริมาณเหงื่อท่ีขับถ่ายออกมาจะเพ่ิมขึ้นจนสังเกตเห็นได้ ท่ี
อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส จะมกี ารขบั เหง่ือออกมาเหน็ ไดช้ ัดเจน
- เหง่ือจากต่อมเหง่ือขนาดเล็กเหล่านี้ประกอบด้วยน้าร้อยละ 99 สารอื่นๆ ร้อยละ 1 ซ่ึง
ได้แก่ เกลือโซเดยี มคลอไรด์และ สารอินทรีย์พวกยเู รยี นอกน้ัน เป็นสารอื่นอีกเล็กน้อยเช่น
แอมโมเนยี กรดอะมิโน น้าตาล กรดแลกตกิ

ระบบห่อหุม้ รา่ งกาย (integumentary system)

การกาจัดของเสยี ทางผิวหนัง

ต่อมเหงื่อขนาดใหญ่
- ไมไ่ ด้มอี ยู่ท่วั รา่ งกาย พบไดเ้ ฉพาะบางแห่ง ไดแ้ ก่ รักแร้ รอบหัวนม รอบสะดือ ช่องหูส่วน
นอก จมูก อวัยวะสบื พนั ธบ์ุ างสว่ น
- ตอ่ มเหลา่ น้ีมที อ่ ขบั ถ่ายใหญ่กว่าชนิดแรก และจะเปิดท่ีรูขนใต้ผิวหนัง ปกติจะไม่เปิดโดย
ตรงทีผ่ วิ หนังชั้นนอกสุด
- ตอ่ มชนิดนีจ้ ะทางานตอบสนองตอ่ การกระตนุ้ ทางจติ ใจ
- สารที่ขับถา่ ยจากตอ่ มชนิดนี้มกั มกี ลนิ่ ซง่ึ ก็คือ กล่ินตัว
- เหงอ่ื จะถูกลาเลียงไปตามทอ่ จนถึงผิวหนังช้ันบนสุด ซึ่งมีปากท่อเปิดอยู่ หรือท่ีเรียกว่า รู
เหงอ่ื

ระบบกระดูก (Skeletal System)

หนา้ ที่ของกระดกู
1. ชว่ ยรองรับอวยั วะต่างๆ ให้ทรงและตงั้ อยูใ่ นตาแหนง่ ท่คี วรอยู่
(Organ of support)
2. เปน็ สว่ นทใี่ ช้ในการเคลื่อนไหว เชน่ พารา่ งกายย้ายจากทห่ี นึ่งไปยงั
อีกทีห่ น่ึง (Instrument of locomotion)
3. เปน็ โครงของส่วนแข็ง (Framework of hard material)
4. เปน็ ทีย่ ึดเกาะของกลา้ มเนอ้ื ตา่ งๆ และ Ligament เพ่อื ทาหน้าท่ี
เป็นคานใหก้ ล้ามเน้ือทาหนา้ ทีเ่ ก่ยี วกับการเคลอื่ นไหว

ระบบกระดกู (Skeletal System)

หน้าท่ีของกระดูก
5. ชว่ ยป้องกนั อวัยวะสาคญั ไมใ่ ห้ไดร้ ับอนั ตราย เชน่ สมอง ปอด
และหวั ใจ เปน็ ตน้
6. ทาให้ร่างกายคงรูปได้ (Shape to whole body)
7. ภายในกระดูกมไี ขกระดกู (Bone marrow) ทที่ าหนา้ ท่ผี ลิตเมด็
เลือด (Blood cell)
8. เป็นท่เี ก็บแรธ่ าตุ Calcium ในร่างกาย
9. ปอ้ งกนั เสน้ ประสาทและหลอดเลอื ดทท่ี อดอย่ตู ามแนวของ
กระดกู นนั้

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกแบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นใหญ่

กระดูกแกนกลาง ประกอบด้วยกะโหลกศีรษะ คอ
กระดูกสนั หลัง กระดกู ซ่ีโครง กน้ กบ และเอว รวม 80 ช้ิน

กระดูกรยางค์ เป็นกระดูกที่เจริญออกมาจากกระดูก
แกนกลาง ประกอบด้วย กระดูกแขน ขา สะบัก ไหปลารา้ ข้อมอื ฝา่
มอื นิ้วมอื นิว้ เท้า กระดกู เชงิ กราน รวม 126 ชน้ิ

- กระดกู ทแ่ี ทรกอยู่ระหวา่ งกระดูกรยางคก์ ับกระดูกแกนกลาง ทาให้
การทางานของส่วนต่างๆสมบูรณ์ยิ่งข้ึน เช่น กระดูกในหูชั้นกลาง
กระดกู ขากรรไกร จมูก ใบหู

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกแต่ละชิ้นจะมีเอน็ เรียกว่า ลิกาเมนต์ (Ligament) ซึ่งมีความเหนียวมาก
ยดึ ติดกันทาใหก้ ระดกู เคลือ่ นไหวไดใ้ นวงจากัด

บริเวณที่กล้ามเนื้อยึดติดกับกระดูกยังมีเอ็นเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเรียกว่า เท็น
ดอน (Tendon) ช่วยยึดกลา้ มเนอ้ื ใหต้ ิดกระดูก

ระบบกระดกู (Skeletal System)

กระดูกสันหลัง มีหน้าท่ีค้าจุนร่างกายมีกระดูกช้ินเล็กๆ เป็นข้อๆ แต่ละข้อมีแผ่นกระดูก
อ่อน เรียกว่า หมอนรองกรดูก รองรับ ป้องกันการเสียดสีขณะเคล่ือนไหว และยังมีเอ็น
และกลา้ มเน้ือยึดตอ่ กนั แตล่ ะขอ้ ทาใหบ้ ิดตัว เอยี งตัว ก้มตัว และโน้มตวั ได้

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดกู แกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) มที ้ังหมด 80 ช้ิน
1. กระดูกกะโหลกศรีษะ (Cranium)

กระดูกหนา้ ผาก (Frontal bone) 1 ชิ้น
กระดกู ดา้ นข้างศรษี ะ (Parietal bone) 2 ชน้ิ
กระดูกขมบั (Temporal bone) 2 ชิ้น
กระดกู ท้ายทอย (Occipital bone) 1 ชน้ิ
กระดูกข่ือจมกู (Ethmoid bone) 1 ชนิ้
กระดกู รปู ผเี ส้อื (Sphenoid bone) 1 ชน้ิ

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดกู แกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) มที ้งั หมด 80 ช้ิน
2. กระดกู ใบหนา้ (Bone of face)

กระดูกสนั จมูก (Nasal bone) 2 ชน้ิ
กระดกู ก้ันชอ่ งจมกู (Vomer) 1 ชน้ิ
กระดกู ข้างในจมูก (Inferior concha) 2 ชน้ิ
กระดกู ถุงนา้ ตา (Lacrimal bone) 2 ชน้ิ
กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone) 2 ช้นิ
กระดูกเพดาน (Palatine bone) 2 ชน้ิ
กระดกู ขากรรไกรบน (Maxillary) 2 ชน้ิ
กระดกู ขากรรไกรลา่ ง (Mandible) 1 ช้ิน

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกแกนกลางของรา่ งกาย (Axial skeletal) มีทัง้ หมด 80 ช้นิ
3. กระดกู หู (Bone of ear)

กระดกู รูปฆอ้ น (Malleus) 2 ช้นิ
กระดูกรปู ทงั่ (Incus) 2 ชน้ิ
กระดกู รูปโกลน (Stapes) 2 ช้นิ

ระบบกระดกู (Skeletal System)

กระดกู แกนกลางของรา่ งกาย (Axial skeletal) มีทัง้ หมด 80 ชน้ิ
4. กระดูกโคนลน้ิ (Hyoid bone) 1 ช้ิน

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดกู แกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) มที งั้ หมด 80 ชิ้น
5. กระดกู สนั หลัง (Vertebrae)

กระดกู สันหลงั ส่วนคอ (Cervical vertebrae) 7 ช้ิน
กระดูกสันหลังส่วนอก (Thoracic vertebrae) 12 ชน้ิ
กระดกู สนั หลังส่วนเอว (Lumbar vertebrae) 5 ชิน้
กระดกู กระเบนเหนบ็ (Sacrum) 1 ชน้ิ
กระดูกกน้ กบ (Coccyx) 1 ชน้ิ

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกแกนกลางของรา่ งกาย (Axial skeletal) มที ้งั หมด 80 ช้นิ
6. กระดูกทรวงอก (Sternum) 1 ชน้ิ
7. กระดูกซโ่ี ครง (Rib) 24 ชิ้น

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบด้วย กระดกู 126 ชิ้น
1. กระดูกไหล่ (Shoulder girdle)

กระดกู ไหปลาร้า (Clavicle) 2 ชิน้
กระดูกสะบกั (Scapular) 2 ชนิ้

ระบบกระดกู (Skeletal System)

กระดกู ระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบด้วย กระดกู 126 ชนิ้
2. กระดกู ตน้ แขน (Humerus) 2 ชิ้น

3. กระดูกปลายแขน (Bone of forearm)

กระดูกปลายแขนทอ่ นใน (Ulna) 2 ชน้ิ
กระดกู ปลายแขนทอ่ นนอก (Radius) 2 ชน้ิ

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดกู ระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบดว้ ย กระดกู 126 ชิน้

4. กระดกู ขอ้ มือ (Carpal bone) 16 ชิ้น
5. กระดูกฝ่ามอื (Metacarpal bone) 10 ช้นิ
6. กระดูกนวิ้ มอื (Phalanges) 28 ช้ิน

ระบบกระดกู (Skeletal System)

กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบดว้ ย กระดกู 126 ชิน้
7. กระดูกเชิงกราน (Hip bone) 2 ช้นิ
8. กระดูกต้นขา (Femur) 2 ช้ิน

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบดว้ ย กระดูก 126 ช้นิ
9. กระดกู หนา้ แข้ง (Tibia) 2 ชนิ้
10. กระดูกนอ่ ง (Fibula) 2 ชิน้

ระบบกระดูก (Skeletal System)

กระดกู ระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบด้วย กระดกู 126 ชิน้
13. กระดกู น้วิ เท้า (Phalanges) 28 ช้นิ
12. กระดกู ฝ่าเทา้ (Metatarsal
bone) 10 ช้ิน

11. กระดูกข้อเทา้ (Tarsal bone) 14 ชนิ้

ระบบกระดูก (Skeletal System)

จานวนของกระดูก (Number of bone)

จานวนของกระดูกท้ังหมดในร่างกาย หมายถึง กระดูกในผ้ใู หญท่ ่เี จรญิ เต็มท่ี
แลว้ มที ัง้ สิ้น 206 ชนิ้ โดยแบ่งเปน็ สว่ นตา่ งๆ ดงั นี้

กะโหลกศรีษะ ( Cranium) 8 ช้นิ
กระดูกหน้า (Face) 14 ช้นิ
กระดกู หู (Ear) 6 ช้ิน :กระดกู โคนลน้ิ (Hyoid bone) 1 ชน้ิ
กระดกู สันหลงั 26 ช้นิ
กระดกู หน้าอก (Sternum) 1 ชิ้น
กระดูกซโ่ี ครง (Ribs) 24 ช้นิ
กระดูกแขน (Upper extremities) 64 ชน้ิ
กระดูกขา (Lower extremities) 62 ชน้ิ

ระบบกระดกู (Skeletal System)

กระดูกมอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น

1. ส่วนที่มีชีวิต เป็นส่วนที่ทาให้
ก ร ะ ดู ก เ ห นี ย ว แ น่ น แ ล ะ ยื ด ห ยุ่ น
สามารถทาลายด้วยความร้อนได้
ประกอบดว้ ยเซลล์กระดูก เสน้ เลือด
เย่อื ประสาท

2. ส่วนท่ีไม่มีชีวิต เป็นส่วนท่ีทาให้กระดูกมีความแข็งแรง สามารถทาลายด้วยกรดได้
ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต แคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งเป็นสารทาให้กระดูกแข็งแรง มี
ปริมาณสองในสามของเนอ้ื กระดกู

ระบบกระดกู (Skeletal System)

แบง่ ตามลกั ษณะกระดกู

1. กระดูกยาว (Long bone)
» กระดกู ต้นแขน
» กระดกู ตน้ ขา
2. กระดูกสัน้ (Short bone)
» กระดกู ข้อมือ
» กระดูกข้อเท้า
» กระดูกสะบ้า
3. กระดกู แบน (Flat bone)
» กระดูกหน้าอก
» กระดกู กะโหลก
4. กระดกู รูปแปลก (Irregular bone)
» กระดกู สนั หลงั
» กระดูกสะโพก

ระบบกระดกู (Skeletal System)

ข้อต่อ (Joint)

ข้อต่อเป็นส่วนเชื่อมต่อกันระหว่างกระดูกกับกระดูก หรือระหว่างกระดูกกับ
กระดูกอ่อน หรือระหว่างกระดูกอ่อนด้วยกัน ทาให้ร่างกายเคล่ือนไหวได้หลายทิศทาง
ข้อต่อทีเ่ ช่ือมต่อกระดูกแต่ละชิน้ ในรา่ งกายมนษุ ยแ์ บง่ ออกเป็น 2 ประเภท

ระบบกระดกู (Skeletal System)

ข้อต่อ (Joint)

1.ข้อต่อท่ีเคล่ือนไหวไม่ได้ เป็นข้อต่อท่ีประกอบด้วยกระดูก 2 ชิ้น หรือบางส่วนของ
กระดูกมารวมกัน โดยมีเนื้อเยื่อหรือกระดูกอ่อนแทรกอยู่ ทาหน้าท่ียึดกระดูกเอาไว้ไม่
สามารถเคลื่อนไหวได้ เชน่ รอยต่อของกะโหลกศีรษะ

ระบบกระดกู (Skeletal System)

ขอ้ ตอ่ (Joint)

2.ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ เป็นข้อต่อ
ท่ีประกอบด้วยกระดูกต้ังแต่ 2 ช้ิน
ข้นึ ไป และทีห่ ัวและท้ายของกระดูก
จะมีกระดกู ออ่ นมาห้มุ เพอื่ ชว่ ยให้ขอ้
ตอ่ เคลอื่ นไหวได้สะดวก

ระบบกลา้ มเน้ือ (Muscular System)

ชนิดของกล้ามเนื้อ

1. กลา้ มเน้อื เรยี บ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเน้ือทีท่ างานนอกอานาจจิตใจ พบที่
อวยั วะภายในของรา่ งกายเช่น หลอดอาหาร หลอดเลอื ด

2. กล้ามเน้อื ลาย (Skeletal Muscle) เปน็ กล้ามเน้อื ทท่ี างานอยู่ภายใต้อานาจจติ ใจ
เปน็ กลา้ มเน้ือท่ีเกาะอยกู่ ับกระดูก และมบี ทบาทสาคญั ต่อการเคลอื่ นไหวของร่างกาย

3. กล้ามเนือ้ หวั ใจ (Cardiac Muscle) เปน็ กลา้ มเนอ้ื ท่ที างานนอกอานาจจติ ใจ พบที่
หัวใจเพียงแห่งเดียว


Click to View FlipBook Version