The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krusunsanee, 2019-11-19 23:37:59

Story NAKA

Story NAKA

ตำนำนพญำนำค

นาค หรอื พญานาค มลี กั ษณะคือ เป็นงูใหญม่ ีหงอน สญั ลักษณ์แหง่ ความยงิ่ ใหญ่ ความอดุ ม
สมบรู ณ์ ความมวี าสนา และนาคยงั เป็นสัญลักษณข์ องบนั ไดสายรงุ้ สจู่ กั รวาล นาคเปน็ เทพเจา้ แห่ง
ทอ้ งนา้ บางแห่งก็ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งฟา้ ตา้ นานความเชอื่ เรือ่ งพญานาคมคี วามเกา่ แกม่ าก ดทู า่ ว่าจะ
เกา่ กว่าพุทธศาสนาอกี ด้วย

ต้นก้าเนิดความเช่อื เรอ่ื งพญานาคน่าจะอยู่ทอ่ี นิ เดยี ดว้ ยมีนยิ ายหลายเร่อื งเล่าถึงพญานาค
โดยเฉพาะในมหากาพย์มหาภารตะ ซ่งึ ถอื เป็นปรปักษข์ องพญาครุฑ ส่วนในต้านานพุทธประวัติ ก็เล่า
ถงึ พญานาคไว้หลายครงั ด้วยกัน

อย่างไรกด็ ี ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ยงั มตี ้านานเร่ืองพญานาคอย่างแพรห่ ลาย ชาวบ้านใน
ภูมภิ าคนมี กั เชอ่ื กนั ว่า พญานาค อาศัยอยู่ในแม่นา้ โขง หรอื เมอื งบาดาล และเช่ือกนั ว่าเคยมีคนเคย
พบรอยพญานาคขึนมาในวนั ออกพรรษาโดยจะมีลกั ษณะคล้ายรอยของงขู นาดใหญ่ และเม่ือไปเล่นนา้
ในแม่นา้ โขงควรยกมือไหวเ้ พ่ือเปน็ การสักการะสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ

ลกั ษณะของพญานาคตามความเชอื่ ในแตล่ ะภมู ิภาคจะแตกต่างกนั ไป แต่พืนฐาน
คือ พญานาค ลักษณะตัวเปน็ งตู ัวใหญ่มีหงอนสที องและตาสแี ดง เกล็ดเหมอื นปลามหี ลายสแี ตกต่าง
กันไปตามบารมี บา้ งก็มสี เี ขียว บา้ งกม็ สี ดี า้ หรอื บ้างก็มี 7 สี และท่สี า้ คญั คอื นาคตระกูลธรรมดาจะมี
เศยี รเดยี ว แต่ตระกลู ทสี่ งู ขึนไปนันจะมีสามเศยี ร หา้ เศียร เจด็ เศยี รและเกา้ เศียร นาคจ้าพวกนีจะสบื
เชือสายมาจาก พญาเศษนาคราช (อนันตนาคราช) ผู้เปน็ บลั ลงั กข์ องพระวิษณนุ ารายณป์ รมนาท ณ
เกษียณสมุทร อนนั ตนาคราชนันเล่ากนั วา่ มีกายใหญ่โตมหมึ ามีความยาวไมส่ นิ สุด มีพันศรี ษะ
พญานาคนนั มีทังเกิดในน้าและบนบก เกดิ จากครรภแ์ ละจากไข่ มอี ทิ ธิฤทธิ์สามารถบันดาลใหเ้ กิดคณุ
และโทษได้ นาคนนั มักจะแปลงร่างเปน็ มนษุ ย์รูปร่างสวยงาม

ตระกลู ของนำค

นาคเปน็ เจา้ แห่งงู แตไ่ มส่ ามารถบรรลธุ รรมได้ แตก่ ็จดั อยูฝ่ ่ายสุคติภูมิ อยู่สวรรค์ชนั จาตมุ หา
ราชกิ า นาคแบ่ง ออกเปน็ 4 ตระกลู ใหญ่ คือ

1. ตระกลู วริ ูปักษ์ พญำนำคตระกูลสีทอง

2. ตระกลู เอรำปถ พญำนำคตระกูลสเี ขยี ว

3. ตระกลู ฉัพพยำปตุ ตะ พญำนำคตระกลู สรี ้งุ

4. ตระกลู กณั หำโคตมะ พญำนำคตระกลู สดี ำ

พญำนำคเกดิ ได้ทั้ง 4 แบบ คือ
1. แบบโอปปาตกิ ะ เกิดแล้วโตทนั ที
2. แบบสังเสทชะ เกดิ จากเหงือ่ ไคล ส่ิงหมักหมม
3. แบบชลาพชุ ะ เกดิ จากครรภ
4. แบบอัณฑชะ เกดิ จากฟองไข่

ควำมเชอ่ื เรือ่ งพญำนำคท่เี กี่ยวขอ้ งกับคนไทย

เรามกั จะเหน็ สัญลักษณท์ ีเ่ กีย่ วกบั นาคได้เสมอ ในงานจติ รกรรม ประตมิ ากรรม และ
หตั ถกรรม นาคเป็นสว่ นประกอบท่สี ้าคญั ทางสถาปตั ยกรรม โดยเฉพาะตามอาคารวดั ต่าง ๆ หลังคา
อาคารท่สี รา้ งขนึ สา้ หรบั สถาบันพระมหากษัตริย์ และสถาบนั ศาสนสถาน ตามคตินิยมท่ีว่า นาค
ย่ิงใหญ่คคู่ วรกับสถาบนั อันสงู สง่ เชน่ นาคสะดุ้ง ท่ีทอดลา้ ตัวยาวตามบนั ได นาคล้ายอง ท่ที า้ เป็น
ป้านลมหลงั คาโบสถ์ ท่ตี ่อเช่อื มกบั นาคสะดุ้ง นาคเบือน นาคจ้าลอง และนาคทนั ต์ คนั ทวยรปู
พญานาค

พญำนำคกับตำนำนในพระพุทธศำสนำ

ตามตา้ นาน พญานาค มอี ยกู่ อ่ นสมัยพระพุทธเจา้ แล้ว ดงั เช่น หลังจากพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้
ตรัสรู้ธรรมพเิ ศษแล้ว ได้เสดจ็ ไปตามเมืองต่าง ๆ เพอื่ แสดงธรรมเทศนา มีครงั หน่ึงได้เสด็จออกจากรม่
ไม้อธปุ ปาลนิโครธ ไปยงั ร่มไมจ้ ิกชื่อ "มุจลินท์" ทรงนั่งเสวยวิมตุ ติสขุ อยู่ 7 วัน คราวเดียวกันนันมีฝน
ตกพร้า ๆ ประกอบไปด้วยลมหนาวตลอด 7 วนั ได้มีพญานาคชอื่ "มจุ ลนิ ท"์ เข้ามาวงดว้ ยขด 7 รอบ
พรอ้ มกบั แผพ่ ังพานปกพระผ้มู พี ระภาคเจ้า เพื่อจะป้องกันฝนตกและลมมใิ ห้ถูกพระวรกาย หลงั จาก
ฝนหายแล้ว คลายขนดออก แปลงเพศเปน็ มานพมายืนเฝ้าทีเ่ บอื งพระพกั ตร์ ด้วยความศรัทธาอยา่ ง
แรงกลา้

ความเช่ือดังกล่าวทา้ ให้ชาวพุทธสรา้ งพระพุทธรูปปางนาคปรก แตม่ กั จะสรา้ งแบบพระน่งั บน
ตัวพญานาค ซ่งึ ดูเหมือนว่าเอาพญานาคเป็นบลั ลังก์ เพอ่ื ให้เกิดความสง่างาม และท้าให้คิดว่า
พญานาค คือผูค้ ุ้มครองพระศาสดา และยงั มีความเช่ืออกี วา่ พญานาคเปน็ สะพาน (สายรุ้ง) ทเ่ี ชือ่ ม
โลกมนุษยก์ ับสวรรค์ หรอื อีกชอ่ื หน่งึ กค็ อื โลกศักด์ิสิทธ์ิ ความเชอ่ื ที่วา่ พญานาค กบั รุ้ง เป็นอนั
เดยี วกัน ก็คอื สะพานเช่อื มโลกมนษุ ยก์ ับสวรรคน์ ่นั เอง

ควำมเช่อื เร่ืองพญำนำคในดินแดนต่ำง ๆ ของไทย
ภำคเหนอื

มตี า้ นานเก่ยี วกับพญานาคอยูเ่ ช่นกัน ดังในตา้ นานสิงหนวตั ซิ ึง่ เป็นต้านานเก่าแกข่ องทาง
ภาคเหนือเอง "เม่อื เจ้าเมืองสิงหนวัตอิ พยพคนมาจากทางเหนือ พญานาคแปลงกายมาชว่ ยชที ตี่ งั เมือง
ใหม่ และขอให้อยใู่ นทศพิธราชธรรม พอตกกลางคืนกข็ นึ มาสร้างคเู มืองเป็นเมอื งนาคพันธ์ุสงิ หนวตั ิ
ตอ่ มายกทพั ปราบเมอื งอื่นไดแ้ ละรวมดินแดนเขา้ ด้วยกนั จงึ เปลย่ี นชื่อเปน็ แคว้นโยนกนคร ตน้ วงศ์
ของพญามังรายผกู้ ่อกา้ เนดิ อาณาจกั รล้านนานน่ั เอง"

ภำคตะวันออกเฉียงเหนอื
เปน็ เรื่องเหลอื เชือ่ และมหัศจรรย์แหง่ ล่มุ แม่น้าโขงที่แท้จริง เพราะลูกไฟประหลาดที่

เรียกวา่ "บงั ไฟพญานาค" เกดิ ขนึ เฉพาะในเขต จังหวัดหนองคายเท่านัน ตามแนวแม่น้าโขง ไม่มีขึนที่
อื่นแม้จะอยูต่ ามรมิ แม่น้าโขงเช่นกนั จึงนับได้วา่ หนองคายกับเวียงจันทน์ สมัยกอ่ นนนั การปกครอง
และการสร้างเมืองโดยพญานาค จึงไดร้ ับอิทธพิ ลนเี ชน่ กัน ถึงแมว้ ่าจะถูกแยกการปกครอง และแยก
ประเทศออกจากกัน แตใ่ นความเป็นจรงิ ทางภูมศิ าสตร์กเ็ ปน็ พนื ทเ่ี ดียวกัน ต้านานประเพณีต่าง ๆ
ของคนแถบลุ่มแมน่ ้าโขง จะเกีย่ วข้องกบั พญานาคกนั ทงั นัน เพราะพญานาค หมายถึง ความอดุ ม
สมบูรณ์ทางการเกษตร และความเป็นอยู่ของมนุษย์

ประเพณีท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั พญำนำค

ประเพณีไหลเรอื ไฟ (ในวันขึน 15 ค้่า เดอื น 11 หรอื วนั แรม 1 คา่้ เดือน 11)
เปน็ ประเพณขี องชาวอีสาน ภาษาท้องถิน่ เรียกวา่ “เฮอื ไฟ” จัดขึนในชว่ งเทศกาลออกพรรษา
โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อบูชารอยพระพทุ ธบาทของพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ณ ริมฝั่งแมน่ ้านัมทามหานที
โดยมปี ระวตั ิความเป็นมาดังนี กล่าวคือพระพุทธเจ้าเสดจ็ ไปฝง่ั แมน่ า้ นัมทามหานที ซึ่งเปน็ ท่อี ยอู่ าศยั
ของพญานาค พระพุทธองค์ไดแ้ สดงธรรมเทศนาโปรดพญานาคที่เมืองบาดาล และพญานาคได้ทูลขอ
พระพทุ ธองค์ประทบั รอบพระบาทไว้ ณ ริมฝงั่ แม่นา้ นมั ทามหานที ตอ่ มาบรรดาเทวดา มนษุ ย์
ตลอดจนสัตวท์ ังหลายไดม้ าสักการะบูชา รอยพระพุทธบาท นอกจากนีประเพณไี หลเรอื ไฟยังจดั ขึน
เพือ่ ขอขมาลาโทษแม่น้าท่ีได้ทงิ ส่ิงปฏิกลู และเป็นการเอาไฟเผาความทุกข์ใหล้ อยไปกบั สายน้า

ประเพณบี ญุ บ้งั ไฟพญำนำค (ในวันเพ็ญขึน 15 ค้า่ เดือน 11 หรอื วนั ปวารณาออกพรรษา)

เป็นประเพณีสา้ คญั ของภาคอสี านบ้านเราทถี่ ือปฏบิ ัติสืบทอดกนั มาตังแตส่ มยั โบราณ ถือเปน็
หนงึ่ ในฮตี สิบสองเดือนของชาวอสี านที่ท้ากันในเดือน 6 ช่วงเข้าสู่ฤดฝู นซ่ึงเป็นฤดูทา้ นา จะมกี ารจดุ บงั
ไฟเพื่อบชู าเทพยดาและส่ิงศักดส์ิ ทิ ธิ์ทังหลาย หรือท่ชี าวอสี านเรียกกันว่า พญาแถน เป็นการขอให้ฝน
ตกถกู ต้องตามฤดกู าลและทา้ ให้พืชพนั ธุ์ธญั ญาหารอุดมสมบูรณ์

ความเช่ือของประเพณีบุญบังไฟ ปรากฏอยู่ในต้านานเรื่องพญาคนั คากและเรื่องผาแดงนางไอ่
มกี ารกลา่ วถงึ การจุดบังไฟเพ่ือบูชาพญาแถน โดยเฉพาะในเร่ืองพญาคนั คาก ซง่ึ ต้านานนันมอี ยู่วา่
พญาคันคากเป็นพระโพธิสัตว์ เสวยชาติเปน็ โอรสของกษตั ริย์ เหตุท่ไี ด้ชอื่ ว่า “พญาคนั คาก” เป็น
เพราะเมื่อครังประสตู มิ รี ูปรา่ งผวิ พรรณเหมือนคางคก หรือที่ชาวอีสานเรียกกนั ว่า คันคาก และถงึ แม้
พระองคจ์ ะมรี ปู ร่างอัปลกั ษณ์ แต่พระอินทร์ก็คอยชว่ ยเหลอื จนพญาคนั คากเปน็ ทเ่ี คารพนับถอื ของ
ชาวบา้ น จนลมื ท่จี ะเซ่นบชู าพระยาแถน พระยาแถนจงึ โกรธ ไมย่ อมปล่อยนา้ ฝนใหต้ กลงมายงั โลก
มนษุ ย์

ในงานประเพณบี ญุ บงั ไฟ จะมีกิจกรรมหลายอยา่ ง ตังแต่การจัดขบวนแหบ่ งั ไฟ การเซงิ บงั ไฟ
และการละเลน่ ต่าง ๆ ท่แี สดงถึงวถิ ีชวี ิตของคนในท้องถน่ิ เช่น การทอดแหหาปลา การสักสุ่ม ขบวน
เซิงแต่งกายสวยงามแบบโบราณ เซิงเปน็ กาพยใ์ หค้ ติธรรมตามหลกั พระพทุ ธศาสนา

บังไฟแต่ละอันท่ีมาเข้าขบวนแห่ จะถูกตกแตง่ ประดบั ประดาอยา่ งสวยงามด้วยลวดลายไทยสี
ทอง วา่ กันว่าศิลปะการตกแตง่ บังไฟนี นายช่างจะต้องสับและตดั ลวดลายตา่ ง ๆ นไี วเ้ ป็นเวลาแรม
เดอื น แล้วจงึ น้ามาทากาวติดกบั ลูกบงั ไฟ สว่ นหัวบงั ไฟนันจะทา้ เป็นรปู ต่าง ๆ ส่วนมากนิยมทา้ เป็นรูป
หวั พญานาคอา้ ปากและลินพ่นนา้ ได้ บา้ งก็ท้าเป็นรูปอ่ืนๆ แตก่ ม็ ีความหมายเข้ากับต้านานในการขอ
ฝนทงั สนิ ตวั บงั ไฟจะน้าไปตงั บนฐาน ใชร้ ถหรือเกวียนเปน็ พาหนะ น้ามาเดนิ แหต่ ามประเพณี

ขอบคณุ ข้อมลู จาก https://hilight.kapook.com/view/81846
https://meesara6.com/36962


Click to View FlipBook Version