บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสวายวิทยาคาร ต าบลสวาย อ าเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ที่.............../............... วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ เรื่อง ขออนุญาตใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้ เรียน ผู้อ านวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร ข้าพเจ้า นางสิริกานต์ วายโศรก ต าแหน่งครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ และนางสาวสรชา รชตธนวันต์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ชีววิทยา ได้จัดท าคู่มือการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว๓๒๒๔๓ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เพื่อใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในภาค เรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ จ านวน ๕ หน่วยการเรียนรู้ ดังเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาอนุญาตให้ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ลงชื่อ..................................................... (นางสาวสรชา รชตธนวันต์) ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ .............................................................................................. ........................................................................................... ........................................................................................... ลงชื่อ............................................................... (นางสาววราพร จิตร์เดียว) ................../................/.................... ความคิดเห็นหัวหน้างานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ .............................................................................................. ........................................................................................... ........................................................................................... ลงชื่อ................................................................. (นางนารีรัตน์ สุบินดี) ................../................/.................... ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ .............................................................................................. ........................................................................................... ........................................................................................... ลงชื่อ............................................................... (นางสิริกานต์ วายโศรก) ................../................/.................... ความคิดเห็นรองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............................................................................................. ........................................................................................... ........................................................................................... ลงชื่อ............................................................... (นายประหยัด เขียวหวาน) ................../................/....................
ความคิดเห็นผู้อ านวยการโรงเรียนสวายวิทยาคาร .............................................................................................. ........................................................................................... ลงชื่อ............................................................... (นางสาวทองใบ ตลับทอง) ................../................/....................
การวิเคราะห์หลักสูตร วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่ดีต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพราะเชื่อว่า ทุก คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จุดหมาย 1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากล และมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่ มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง มีความสุข สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุก คนทั้งในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่ มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็น เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย และมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้(Knowledge- based society)ดังนั้น ทุกคน จึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงอย่างหลากหลายเหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กำหนดสาระสำคัญไว้ดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการดำรงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอดทาง พันธุกรรม การทำงานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการ และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และ เทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตใน สภาพแวดล้อมต่าง ๆ 3. สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมีและการแยกสาร 4. แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออก แรงกระทำต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 5. พลังงาน พลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและ พลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากร ทาง ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลง ของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณีปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผลต่อ สิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะ หา ความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต มาตรฐาน ว1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ ความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ใน ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น อย่างยั่งยืน สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง และมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศ ที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะ หา ความรู้การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบาย และตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คุณภาพผู้เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันใน ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วิวัฒนาการที่ทำให้เกิดความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม 2. เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 3. เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่าง ๆ ของสารที่มี ความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว พันธะเคมีโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์การเกิดปฏิกิริยาเคมีปัจจัยที่มีผล ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและการเขียนสมการเคมี 4. เข้าใจปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่งผลของ ความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่าง สนามแม่เหล็กและกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลียส 5. เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบนและการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง สีกับการมองเห็นสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 6. เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีที่ สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุกระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
7. เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมุนเวียน ของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศความสัมพันธ์ของการหมุนเวียน ของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทรและผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของ มนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกรวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สำคัญ จากแผนที่อากาศ และข้อมูลสารสนเทศ 8. เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่ สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซีโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์และความสัมพันธ์ระหว่าง ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ความสัมพันธ์ระหว่างสีอุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต บริวารของดวงอาทิตย์ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มี ต่อโลก รวมทั้งการสำรวจอวกาศ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ 9. ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่ เป็นไปได้ 10. ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ที่ แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและ เชื่อถือได้สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบ วิธีการสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสมมีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสำรวจ ตรวจสอบอย่างเป็นระบบ 11. วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพื่อตรวจสอบกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูลและนำเสนอข้อมูลด้วย เทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจโดยมีหลักฐานอ้างอิง หรือมีทฤษฎีรองรับ 12. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ 13. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้พบคำตอบ หรือแก้ปัญหาได้ทำงาน ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบเกี่ยวกับผลของการ พัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น 14. เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม 15. ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิตและการประกอบ
อาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น และการ พัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ 16. แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น 17. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบสร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาที่มี ผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอ ผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทาง ปัญญา 18. ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ รวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคมวัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัย มีจริยธรรม คำอธิบายรายวิชา วิชา ชีววิทยา เพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ศึกษาเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิต ทั้งจุลินทรีย์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและ สัตว์ การย่อยอาหาร ของมนุษย์ อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหารของมนุษย์ ความผิดปกติของทางเดิน อาหารในมนุษย์ ศึกษาเกี่ยวกับระบบหายใจ การแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ การ แลกเปลี่ยนแก๊สของมนุษย์ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส การแลกเปลี่ยนแก๊ส กลไกการหายใจ การ ควบคุมการหายใจ การวัดอัตราการหายใจ ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรคระบบทางเดินหายใจ ศึกษาเกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือด การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์และของมนุษย์ ระบบน้ำเหลือง ระบบ ภูมิคุ้มกัน กลไกการท้างานของระบบภูมิคุ้มกัน กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ศึกษาเกี่ยวกับ ระบบขับถ่าย การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ การขับถ่ายของมนุษย์ ไตและ อวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ ไตกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย โรคที่เกี่ยวข้องกับไต โดยใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การ อภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และน้าความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูลอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มี ทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหาร แบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหาร แบบสมบูรณ์ 2. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดรา และพลานาเรีย
3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึม สารอาหารภายใน ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 4. สืบค้นข้อมูลอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 5. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม 6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊ส และกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของมนุษย์ 7. อธิบายการทำงานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ 8. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียน เลือดแบบปิด 9. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และ สรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด 10. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของหัวใจ และหลอดเลือดในมนุษย์ 11. สังเกต และอธิบายโครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ทิศทางการไหลของเลือด ผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และ พลาสมา 13. อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh 14. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของน้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้างและ หน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม แบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะ 16. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ การสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา 17. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้การ สร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสีย ออกจาก ร่างกายของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง 19. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกาย 20. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไต ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียน แผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสีย ออกจากร่างกายโดยหน่วยไต 21. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคต่าง ๆ รวมทั้งหมด 21 ผลการเรียนรู้
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา เพิ่มเติม 3
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ เรื่องระบบย่อยอาหาร
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ เรื่องระบบหายใจ
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ เรื่องหมุนเวียนเลือด และระบบน้ำเหลือง
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ เรื่องภูมิคุ้มกัน
แผนผังความคิด หน่วยการเรียนรู้ เรื่องระบบขัยถ่าย
ตารางที่ 1 วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา เพิ่มเติม 3 วิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยที่ ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 ระบบ ย่อยอาหาร 1. สืบค้นข้อมูลอธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดิน อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดิน อาหารแบบสมบูรณ์ 2. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดรา และพลานาเรีย 3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และ กระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึม สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของ มนุษย์ 15 10 2 ระบบหายใจ 4. สืบค้นข้อมูลอธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสร้างที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 5. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดใน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม 6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊ส และกระบวนการ แลกเปลี่ยนแก๊สของมนุษย์ 7. อธิบายการทำงานของปอด และทดลอง วัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของ มนุษย์ 12 10 การวัดผลกลางภาคเรียน - 20
หน่วยที่ ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 3 ระบบหมุนเวียน เลือดและระบบ น้ำเหลือง 8. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบ หมุนเวียนเลือดแบบปิด 9. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของ เลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดใน หางปลา และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของ หลอดเลือดกับความเร็วในการไหล ของเลือด 10. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของ หัวใจ และหลอดเลือดในมนุษย์ 11. สังเกต และอธิบายโครงสร้างหัวใจของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ทิศทางการไหลของ เลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผัง สรุป การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลต เลต และพลาสมา 13. อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และรับ เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh 14. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบ และหน้าที่ของน้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้างและหน้าที่ ของหลอดน้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง 16 10 4 ระบบภูมิคุ้มกัน 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม แบบไม่จำเพาะและแบบจำเพาะ 16. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ การสร้างภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา 17. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความ ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง 8 10 5 ระบบขับถ่าย 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสียออกจาก ร่างกายของฟองน้ำ ไฮดราพลา นาเรียไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง 9 10 หน่วยที่ ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน
19. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และ โครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจาก ร่างกาย 20. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไต ใน การกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียน แผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสีย ออกจาก ร่างกายโดยหน่วยไต 21. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่าง เกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจาก โรคต่าง ๆ การวัดผลปลายภาคเรียน - 30 รวมทั้งหมด 60 100
ตารางที่ 2 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อกำหนดสาระการเรียนรู้/ กิจกรรมสำคัญ/ผลที่เกิดขึ้น วิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ ผลที่เกิดกับผู้เรียน สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจ การย่อยอาหารของสัตว์ และมนุษย์ รวมทั้งการ ห า ย ใ จ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส ก า ร ล ำ เลี ย ง ส า ร แ ล ะ ก า ร หมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ ก า ร ตอบสนองการเคลื่อนที่ ก ารสื บ พั น ธุ์แ ล ะ ก า ร เจริญเติบโต ฮอร์โมนกับ การรักษาดุลยภาพ และ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง สั ต ว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 1. สืบค้นข้อมูลอธิบายและ เปรียบเทียบโครงสร้างและ กระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบ ไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มี ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ 2. สังเกต อธิบาย การกิน อาหารของไฮดรา และพลา นาเรีย 3 . อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ โค รงสร้าง ห น้ าที่ แ ล ะ กระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึม สารอาหาร ภายในระบบย่อยอาหารของ มนุษย์ 1. ทดลอง 2. สังเกต 3 .แ ก้ ปั ญ ห า ใช้ เทคโนโลยีในการ สืบค้นข้อมูล 4. อธิบาย 5. เปรียบเทียบ 6. จำแนก 7. อภิปราย 8. ก ารสรุป อ งค์ ความรู้ในรูปแบบ แผนผังความคิด 9. ใช้เทคโนโลยีใน การนำเสนอข้อมูล เช่น Canva 10. นำความรู้ไปใช้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้ ความ เข้าใจ 1.2 การนำไปใช้ 2.ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 กระบวนการกลุ่ม 2.2 การนำเสนอข้อมูล 3. ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3.1 มีความเป็นผู้นำ 3.2มีความเอื้ออาทร แบ่งปันความรู้ 3.3มีความรับผิดชอบ 3.4 มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 3.5 มีความสามัคคี 3.6 แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน 3.7 ชื่นชมให้กำลังใจ เพื่อน 3.8มีความกระตือรือร้น 3.9 ตรงต่อเวลา 3.10 มีระเบียบวินัยใน การส่งงาน 3.11 มีเหตุผล 3.12 รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อน
เรื่อง ระบบหายใจ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ ผลที่เกิดกับผู้เรียน สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจ การย่อยอาหารของสัตว์ และมนุษย์ รวมทั้งการ ห า ย ใ จ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส ก า ร ล ำ เลี ย ง ส า ร แ ล ะ ก า ร หมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ ก า ร ตอบสนองการเคลื่อนที่ ก ารสื บ พั น ธุ์แ ล ะ ก า ร เจริญเติบโต ฮอร์โมนกับ การรักษาดุลยภาพ และ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง สั ต ว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 4. สืบค้นข้อมูลอธิบาย และ เปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำ หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 5 . สั งเก ต แ ละ อ ธิ บ าย โครงสร้างของปอดในสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม 6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย โค รง ส ร้ า ง ที่ ใช้ ใน ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส แ ล ะ กระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สของมนุษย์ 7. อธิบายการทำงานของ ป อ ด แ ล ะ ท ด ล อ ง วั ด ปริมาตรของอากาศในการ หายใจออกของมนุษย์ 1. ทดลอง 2. สังเกต 3 .แ ก้ ปั ญ ห า ใช้ เทคโนโลยีในการ สืบค้นข้อมูล 4. อธิบาย 5. เปรียบเทียบ 6. จำแนก 7. อภิปราย 8. ก ารสรุป อ งค์ ความรู้ในรูปแบบ แผนผังความคิด 9. ใช้เทคโนโลยีใน การนำเสนอข้อมูล เช่น Canva 10. นำความรู้ไปใช้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้ ความ เข้าใจ 1.2 การนำไปใช้ 2.ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 กระบวนการกลุ่ม 2.2 การนำเสนอข้อมูล 3. ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3.1 มีความเป็นผู้นำ 3.2มีความเอื้ออาทร แบ่งปันความรู้ 3.3มีความรับผิดชอบ 3.4 มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 3.5 มีความสามัคคี 3.6 แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน 3.7 ชื่นชมให้กำลังใจ เพื่อน 3.8มีความกระตือรือร้น 3.9 ตรงต่อเวลา 3.10 มีระเบียบวินัยใน การส่งงาน 3.11 มีเหตุผล 3.12 รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อน เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบน้ำเหลือง
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ ผลที่เกิดกับผู้เรียน สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจ การย่อยอาหารของสัตว์ และมนุษย์ รวมทั้งการ ห า ย ใ จ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส ก า ร ล ำ เลี ย ง ส า ร แ ล ะ ก า ร หมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ ก า ร ตอบสนองการเคลื่อนที่ ก ารสื บ พั น ธุ์แ ล ะ ก า ร เจริญเติบโต ฮอร์โมนกับ การรักษาดุลยภาพ และ พ ฤ ติ กร ร ม ข อ ง สั ต ว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 8. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ เปรียบเทียบระบบหมุนเวียน เลื อดแบบเปิ ดและระบบ หมุนเวียนเลือดแบบปิด 9. สังเกต และอธิบายทิ ศ ทางการไหลของเลือดและการ เคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดใน ห า ง ป ล า แ ล ะ ส รุ ป ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด ของหลอดเลือดกับความเร็วใน การไหลของเลือด 10. อธิบายโครงสร้างและการ ทำงานของหัวใจ และหลอด เลือดในมนุษย์ 11 . สั งเกต และอธิ บาย โครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยน้ำนมทิศทางการไหล ของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป การ หมุนเวียนเลือดของมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความ แตกต่างของ เซลล์เม็ดเลือด แดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลต เลต และพลาสมา 13. อธิบายหมู่ เลือดและ หลักการให้และรับเลือดใน ระบบ ABO และระบบ Rh 14. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและหน้าที่ของ น้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้าง และหน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง 1. ทดลอง 2. สังเกต 3 .แ ก้ ปั ญ ห า ใช้ เทคโนโลยีในการ สืบค้นข้อมูล 4. อธิบาย 5. เปรียบเทียบ 6. จำแนก 7. อภิปราย 8. ก ารสรุป อ งค์ ความรู้ในรูปแบบ แผนผังความคิด 9. ใช้เทคโนโลยีใน การนำเสนอข้อมูล เช่น Canva 10. นำความรู้ไปใช้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้ความ เข้าใจ 1.2 การนำไปใช้ 2.ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 กระบวนการกลุ่ม 2.2 การนำเสนอข้อมูล 3. ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3.1 มีความเป็นผู้นำ 3.2มีความเอื้ออาทร แบ่งปันความรู้ 3.3มีความรับผิดชอบ 3.4 มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 3.5 มีความสามัคคี 3.6 แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน 3.7 ชื่นชมให้กำลังใจ เพื่อน 3.8มีความกระตือรือร้น 3.9 ตรงต่อเวลา 3.10 มีระเบียบวินัยใน การส่งงาน 3.11 มีเหตุผล 3.12 รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อน
เรื่อง ระบบภูมิคุ้มกัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ ผลที่เกิดกับผู้เรียน สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจ การย่อยอาหารของสัตว์ และมนุษย์ รวมทั้งการ ห า ย ใ จ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส ก า ร ล ำ เลี ย ง ส า ร แ ล ะ ก า ร หมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ ก า ร ตอบสนองการเคลื่อนที่ ก ารสื บ พั น ธุ์แ ล ะ ก า ร เจริญเติบโต ฮอร์โมนกับ การรักษาดุลยภาพ และ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง สั ต ว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการ ต่ อ ต้ า น ห รื อ ท ำ ล า ย สิ่ ง แปลกปลอม แบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะ 16. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ การสร้าง ภู มิคุ้ ม กั น ก่ อ เอ ง แ ล ะ ภูมิคุ้มกันรับมา 1 7 . สืบ ค้ น ข้ อ มู ล แ ละ อ ธิ บ า ย เกี่ ย ว กั บ ค ว า ม ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การ สร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อ ตนเอง 1. ทดลอง 2. สังเกต 3 .แ ก้ ปั ญ ห า ใช้ เทคโนโลยีในการ สืบค้นข้อมูล 4. อธิบาย 5. เปรียบเทียบ 6. จำแนก 7. อภิปราย 8. ก ารสรุป อ งค์ ความรู้ในรูปแบบ แผนผังความคิด 9. ใช้เทคโนโลยีใน การนำเสนอข้อมูล เช่น Canva 10. นำความรู้ไปใช้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้ ความ เข้าใจ 1.2 การนำไปใช้ 2.ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 กระบวนการกลุ่ม 2.2 การนำเสนอข้อมูล 3. ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3.1 มีความเป็นผู้นำ 3.2มีความเอื้ออาทร แบ่งปันความรู้ 3.3มีความรับผิดชอบ 3.4 มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 3.5 มีความสามัคคี 3.6 แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน 3.7 ชื่นชมให้กำลังใจ เพื่อน 3.8มีความกระตือรือร้น 3.9 ตรงต่อเวลา 3.10 มีระเบียบวินัยใน การส่งงาน 3.11 มีเหตุผล 3.12 รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อน
เรื่อง ระบบขับถ่าย ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสำคัญ ผลที่เกิดกับผู้เรียน สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจ การย่อยอาหารของสัตว์ และมนุษย์ รวมทั้งการ ห า ย ใ จ แ ล ะ ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส ก า ร ล ำ เลี ย ง ส า ร แ ล ะ ก า ร หมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย ก า ร รั บ รู้ แ ล ะ ก า ร ตอบสนองการเคลื่อนที่ ก ารสื บ พั น ธุ์แ ล ะ ก า ร เจริญเติบโต ฮอร์โมนกับ การรักษาดุลยภาพ และ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง สั ต ว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้าง และหน้าที่ในการกำจัดของ เสียออกจากร่างกายของ ฟองน้ำ ไฮดราพลา นาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์ มีกระดูกสันหลัง 19. อธิบายโครงสร้างและ หน้าที่ของไต และโครงสร้าง ที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออก จากร่างกาย 2 0 . อ ธิ บ า ย ก ล ไกก า ร ทำงานของหน่วยไต ในการ ก ำจัด ข อ งเสี ย อ อ ก จาก ร่างกาย และเขียนแผนผัง สรุปขั้นตอนการกำจัดของ เสีย ออกจากร่างกายโดย หน่วยไต 21. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับ ความ ผิดป กติของไตอัน เนื่องมาจากโรคต่าง ๆ 1. ทดลอง 2. สังเกต 3 .แ ก้ ปั ญ ห า ใช้ เทคโนโลยีในการ สืบค้นข้อมูล 4. อธิบาย 5. เปรียบเทียบ 6. จำแนก 7. อภิปราย 8. ก ารสรุป อ งค์ ความรู้ในรูปแบบ แผนผังความคิด 9. ใช้เทคโนโลยีใน การนำเสนอข้อมูล เช่น Canva 10. นำความรู้ไปใช้ 1. ด้านความรู้ 1.1 มีความรู้ ความ เข้าใจ 1.2 การนำไปใช้ 2.ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 กระบวนการกลุ่ม 2.2 การนำเสนอข้อมูล 3. ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3.1 มีความเป็นผู้นำ 3.2มีความเอื้ออาทร แบ่งปันความรู้ 3.3มีความรับผิดชอบ 3.4 มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน 3.5 มีความสามัคคี 3.6 แก้ปัญหาอย่างเป็น ขั้นตอน 3.7 ชื่นชมให้กำลังใจ เพื่อน 3.8มีความกระตือรือร้น 3.9 ตรงต่อเวลา 3.10 มีระเบียบวินัยใน การส่งงาน 3.11 มีเหตุผล 3.12 รับฟังความ คิดเห็นของเพื่อน
ตารางที่ 3 วิเคราะห์เวลา หน่วยการเรียนรู้ วิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ลำดับ ชื่อเรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 กระบวนการย่อยอาหาร 2 2 การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ 1 3 การย่อยอาหารของสัตว์ 4 4 การย่อยอาหารของมนุษย์ 4 5 การดูดซึมสารอาหาร 3 รวม 15 เรื่อง ระบบหายใจ ลำดับ ชื่อเรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ 3 2 อวัยวะและโครงสร้างในระบบหายใจของมนุษย์ 2 3 การแลกเปลี่ยนแก๊สและการลำเลียงแก๊ส 2 4 การหายใจ 5 รวม 12 เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบน้ำเหลือง ลำดับ ชื่อเรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 การลำเลียงสารในร่างกายสัตว์ 2 2 การลำเลียงสารในร่างกายมนุษย์ -หัวใจ- 4 3 การลำเลียงสารในร่างกายมนุษย์ -หลอดเลือด- 5 4 การลำเลียงสารในร่างกายมนุษย์ -เลือด- 3 5 ระบบน้ำเหลือง 2 รวม 16 เรื่อง ระบบภูมิคุ้มกัน
ลำดับ ชื่อเรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม 2 2 กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม แบบจำเพาะ 1 3 กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม แบบไม่จำเพาะ 2 4 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน 1 5 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน 2 รวม 8 เรื่อง ระบบขับถ่าย ลำดับ ชื่อเรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 การขับถ่ายของสัตว์ 2 2 การขับถ่ายของมนุษย์ 3 3 ไตกับการรักษาดุลยภาพ และความผิดปกติของไต 4 รวม 9
ตารางที่ 4 วิเคราะห์สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/สาระการเรียนรู้ วิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ระบบย่อยอาหาร สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระที่ 1 วิท ยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจการ ย่อยอ าห ารขอ งสัต ว์และ มนุษย์ รวมทั้งการหายใจและ การแลกเป ลี่ ยน แก๊ สการ ลำเลียงสารและการหมุนเวียน เลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ ตอบสนองการเคลื่อนที่ การ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลย ภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ ร ว ม ทั้ ง น ำ ค ว า ม รู้ ไป ใช้ ประโยชน์ 1. สืบค้นข้อมูลอธิบายและ เปรียบเทียบโครงสร้างและ กระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ ที่มีทางเดินอาหารแบบไม่ สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดิน อาหารแบบสมบูรณ์ โครงสร้างและกระบวนการย่อย อาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดิน อาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหาร แบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มี ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ 2. สังเกต อธิบาย การกิน อาหารของไฮดรา และพลานา เรีย การกินอาหารของไฮดรา และพ ลานาเรีย 3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และกระบวนการย่อย อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ดู ด ซึ ม สารอาหารภายในระบบย่อย อาหารของมนุษย์ 1. โครงสร้างและหน้าที่ของ อวัยวะในระบบย่อยอาหารของ มนุษย์ 2. กระบวนการย่อยอาหารและ การดูดซึมสารอาหารภายใน ระบบย่อยอาหารของมนุษย์
เรื่อง ระบบหายใจ สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระที่ 1 วิท ยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจการ ย่อยอ าห ารขอ งสัต ว์และ มนุษย์ รวมทั้งการหายใจและ การแลกเป ลี่ ยน แก๊ สการ ลำเลียงสารและการหมุนเวียน เลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ ตอบสนองการเคลื่อนที่ การ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลย ภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ ร ว ม ทั้ ง น ำ ค ว า ม รู้ ไป ใช้ ประโยชน์ 4. สืบค้นข้อมูลอธิบาย และ เปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำ หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก โครงสร้างที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยน แก๊สของฟองน้ำไฮดรา พลานา เรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลากบ และนก 5. สั ง เก ต แ ล ะ อ ธิ บ า ย โครงสร้างของปอดในสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม โครงสร้างของปอดในสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยน้ำนม 6. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ า ย โ ค ร ง ส ร้ า ง ที่ ใช้ ใ น ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น แ ก๊ ส แ ล ะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส ของมนุษย์ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน แ ก๊ ส แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก าร แลกเปลี่ยนแก๊สของมนุษย์ 7. อธิบายการทำงานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของ อากาศในการหายใจออกของ มนุษย์ การทำงานของปอด และการวัด ปริม าตรของอากาศในการ หายใจออกของมนุษย์
เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบน้ำเหลือง สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระที่ 1 วิท ยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจการ ย่อยอาห ารขอ งสัต ว์และ มนุษย์ รวมทั้งการหายใจและ การแลกเป ลี่ ยน แก๊ สการ ลำเลียงสารและการหมุนเวียน เลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ ตอบสนองการเคลื่อนที่ การ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลย ภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รว ม ทั้ ง น ำ ค ว า ม รู้ ไป ใช้ ประโยชน์ 8. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ เปรียบเทียบระบบหมุนเวียน เลือดแบ บ เปิ ดและระบ บ หมุนเวียนเลือดแบบปิด ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด และระบบ หมุนเวียนเลือดแบบปิด 9. สังเกต และอธิบายทิ ศ ทางการไหลของเลือดและการ เคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดใน ห า ง ป ล า แ ล ะ ส รุ ป ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด ของหลอดเลือดกับความเร็ว ในการไหลของเลือด 1. ทิศทางการไหลของเลือดและ การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือด ในหลอดเลือดขนาดต่างๆ ของ หางปลา 2. ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด ของหลอดเลือดกับความเร็วใน การไหลของเลือด 10. อธิบายโครงสร้างและ การทำงานของหัวใจ และ หลอดเลือดในมนุษย์ โครงสร้างและการทำงานของ หัวใจ และหลอดเลือดในมนุษย์ 11. สั ง เก ต แ ล ะ อ ธิ บ า ย โครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยน้ำนมทิศทางการไหล ของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป การ หมุนเวียนเลือดของมนุษย์ 1. โครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยน้ำนม 2. ทิศทางการไหลของเลือดผ่าน บริเวณหัวใจของมนุษย์ และการ หมุนเวียนเลือดในร่างกายมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความ แตกต่างของ เซลล์เม็ดเลือด แดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลต เลต และพลาสมา ความแตกต่างของเซลล์เม็ด เลือดแดงเซลล์เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา 13. อ ธิบ ายห มู่เลือ ดและ หลักการให้และรับเลือดใน ระบบ ABO และระบบ Rh 1. หมู่เลือดระบบ ABO และ ระบบ Rh 2. หลักการให้และรับเลือดใน ระบบ ABO และระบบ Rh 14. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับ ส่วนประกอบและหน้าที่ของ น้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้าง แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ห ล อ ด น้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง 1. ส่วนประกอบและหน้าที่ของ น้ำเหลือง 2. โครงสร้างและหน้าที่ของ ห ลอ ด น้ ำเห ลื อ ง แ ละ ต่ อ ม น้ำเหลือง เรื่อง ระบบภูมิคุ้มกัน สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ
สาระที่ 1 วิท ยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจการ ย่อยอ าห ารขอ งสัต ว์และ มนุษย์ รวมทั้งการหายใจและ การแลกเป ลี่ ยน แก๊ สการ ลำเลียงสารและการหมุนเวียน เลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ ตอบสนองการเคลื่อนที่ การ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลย ภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ ร ว ม ทั้ ง น ำ ค ว า ม รู้ ไ ป ใช้ ประโยชน์ 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการ ต่ อ ต้ า น ห รื อ ท ำ ล า ย สิ่ ง แปลกปลอม แบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะ กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่ง แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะและ แบบจำเพาะ 16. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ การสร้าง ภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกัน รับมา 1 . ภู มิ คุ้ ม กั น ก่อ เอ ง แ ล ะ ภูมิคุ้มกันรับมา 2. วัคซีน ทอกซอยด์ และซีรัม สำหรับโรคหรืออาการต่างๆ 17. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย เกี่ยวกับความผิดปกติของ ระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิด เอดส์ ภูมิแพ้ การสร้างภูมิ ต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง ค วา ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ร ะ บ บ ภูมิคุ้มกันที่ทำให้ เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ และการสร้าง ภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง
เรื่อง ระบบขับถ่าย สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระที่ 1 วิท ยาศาสตร์ ชีวภาพกับสาระชีววิทยา สาระชีววิทยาข้อ 4 เข้าใจการ ย่อยอ าห ารขอ งสัต ว์และ มนุษย์ รวมทั้งการหายใจและ การแลกเป ลี่ ยน แก๊สการ ลำเลียงสารและการหมุนเวียน เลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ ตอบสนองการเคลื่อนที่ การ สืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลย ภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ ร ว ม ทั้ ง น ำ ค ว า ม รู้ ไป ใช้ ประโยชน์ 18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้าง และหน้าที่ในการกำจัดของ เสียออกจากร่างกายของ ฟองน้ำ ไฮดราพลา นาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มี กระดูกสันหลัง โครงสร้างและหน้าที่ในการ กำจัดของเสียออกจากร่างกาย ในฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มี กระดูกสันหลัง 19. อธิบายโครงสร้างและ หน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจาก ร่างกาย 1. โครงสร้างและหน้าที่ของไต 2 . โค รงส ร้างที่ ใช้ ล ำเลี ย ง ปัสสาวะออกจากร่างกาย 20. อธิบายกลไกการทำงาน ของหน่วยไต ในการกำจัดของ เสียออกจากร่างกาย และ เขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการ ก ำจั ด ข อ งเสี ย อ อก จ า ก ร่างกายโดยหน่วยไต 1. กลไกการทำงานของหน่วยไต ในการกำจัดของเสียออกจาก ร่างกาย 2. ขั้นตอนการกำจัดของเสีย ออกจากร่างกายโดยหน่วยไต 21. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความ ผิดปกติของไตอันเนื่องมาจาก โรคต่าง ๆ ค วา ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ไ ต อั น เนื่องมาจากโรคต่าง ๆ
ตารางที่ 5 วิเคราะห์ตัวชี้วัด และจุดประสงค์การเรียนรู้ วิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลำเลียงสารและ การหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ ที่ไม่มี ทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบไม่ สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบ สมบูรณ์ ๒. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของ ไฮดรา และพลานาเรีย จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. รามีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยอาหารนอก เซลล์ ส่วนอะมีบาและพารามีเซียมมีการย่อย อาหารภายในฟูดแวคิวโอลโดยเอนไซม์ในไลโซโซม 2. ฟองน้ำ ไม่มีทางเดินอาหารแต่จะมีเซลล์พิเศษ ทำหน้าที่จับอาหารเข้าสู่เซลล์แล้วย่อยภายในเซลล์ โดยเอนไซม์ในไลโซโซม 3. ไฮดรา และพลานาเรียมีทางเดินอาหารแบบไม่ สมบูรณ์ จะกินอาหารและขับกากอาหารออกทาง เดียวกัน 4. ไส้เดือนดิน แมลง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วน ใหญ่ และสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีทางเดินอาหาร แบบสมบูรณ์ ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความเป็นผู้นำ 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๓. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และ กระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึม สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของมนุษย์ จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. การย่อยอาหารของมนุษย์ประกอบด้วย การ ย่อยเชิงกลโดยการบดอาหารให้มีขนาดเล็กลง และ การย่อยทางเคมีโดยอาศัยเอนไซม์ในทางเดินอาหาร ทำให้โมเลกุลของอาหารมีขนาดเล็กจนเซลล์สามารถ ดูดซึม และนำไปใช้ได้ 2. การย่อยอาหารของมนุษย์เกิดขึ้นที่ช่องปาก กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็ก 3. สารอาหารที่ย่อยแล้ว วิตามินบางชนิด และ ธาตุอาหารจะถูกดูดซึมที่วิลลัสเข้าสู่หลอดเลือดฝอย แล้วผ่านตับก่อนเข้าสู่หัวใจ ส่วนสารอาหารประเภท ลิพิด และวิตามินที่ละลายในไขมันจะถูกดูดซึมเข้าสู่ หลอดน้ำเหลืองฝอย 4. อาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้จะเคลื่อน ต่อไปยังลำไส้ใหญ่ น้ำ ธาตุอาหาร และวิตามิน บางส่วนดูดซึมเข้าสู่ผนังลำไส้ใหญ่ ที่เหลือเป็นกาก อาหารจะถูกกำจัดออกทางทวารหนัก ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล 3. ทำการทดลองเพื่อศึกษาระบบย่อยอาหาร ด้านจิตพิสัย 1. มีความเป็นผู้นำ 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน 4. ชื่นชมให้กำลังใจเพื่อน 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๔. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ โครงสร้างที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก ๕. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดใน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. ไส้เดือนดินมีการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเซลล์ บริเวณผิวหนังที่เปียกชื้น 2. แมลงมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางท่อลม ซึ่งแตกแขนงเป็นท่อลมฝอย 3. ปลาเป็นสัตว์น้ำมีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ละลาย อยู่ในน้ำผ่านเหงือก 4. สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกใช้ปอดและผิวหนังใน การแลกเปลี่ยนแก๊ส 5. สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมอาศัยปอดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความกระตือรือร้น 2. แก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน 3. มีความตรงต่อเวลา 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๖. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊สและกระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สของมนุษย์ ๗. อธิบายการทำงานของปอด และทดลอง วัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของ มนุษย์ จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. ทางเดินหายใจของมนุษย์ประกอบด้วย ช่อง จมูก โพรงจมูก คอหอย กล่องเสียง ท่อลม หลอดลม และถุงลมในปอด 2. ปอดเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย และบริเวณเซลล์ ของเนื้อเยื่อต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ ผ่านหลอดเลือดฝอยเช่นกัน 3. การหายใจเข้า และการหายใจออกเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงความดันของอากาศภายในปอด โดยการทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อกะบังลม และ กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครง และควบคุมโดย สมองส่วนพอนส์และเมดัลลาออบลองกาตา ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความกระตือรือร้น 2. มีระเบียบวินัยในการส่งงาน 3. มีเหตุผล 4. รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น 5. ชื่นชมผลงานของเพื่อน
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๘. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบ ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบ หมุนเวียนเลือดแบบปิด ๙. สังเกตและอธิบายทิศทางการไหลของ เลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดใน หางปลา และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาด ของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของ เลือด จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ที่มีโครงสร้าง ร่างกายไม่ซับซ้อนมีการลำเลียงสารต่าง ๆ โดยการ แพร่ระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อม 2. สัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อนจะมีการ ลำเลีย งส ารโด ย ระ บ บ ห มุ น เวีย น เลื อ ด ซึ่ ง ประกอบด้วยหัวใจ หลอดเลือด และเลือด 3. ระบบหมุนเวียนเลือดมี ๒ แบบ คือ ระบบ หมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือด แบบปิด 4. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดพบในสัตว์ จำพวกหอย แมลง กุ้ง ส่วนระบบหมุนเวียนเลือด แบบปิดพบในไส้เดือนดินและสัตว์มีกระดูกสันหลัง ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความกระตือรือร้น 2. มีระเบียบวินัยในการส่งงาน 3. มีเหตุผล 4. รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น 5. ชื่นชมผลงานของเพื่อน
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๐. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของ หัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ ๑๑. สังเกตและอธิบายโครงสร้างหัวใจของ สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยน้ำนม ทิศทางการไหลของ เลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผัง สรุปการหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ ๑๒. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลต เลต และพลาสมา ๑๓. อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และรับ เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ประกอบด้วย หัวใจ หลอดเลือด และเลือด ซึ่งเลือดไหลเวียนอยู่ เฉพาะในหลอดเลือด 2. หัวใจมีเอเตรียมทำหน้าที่รับเลือดเข้าสู่หัวใจ และเวนตริเคิลทำหน้าที่สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ โดยมีลิ้นกั้นระหว่างเอเตรียมกับเวนตริเคิล และ ระหว่างเวนตริเคิลกับหลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ 3. เลือดออกจากหัวใจทางหลอดเลือดเอออตาร์ อาร์เตอรี อาร์เตอริโอล หลอดเลือดฝอยเวนูลเวน และเวนาคาวาแล้วเข้าสู่หัวใจ 4. ขณะที่หัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือด ทำให้เกิดความ ดันเลือดและชีพจร สภาพการทำงานของร่างกาย อายุ และเพศของมนุษย์ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความ ดันเลือดและชีพจร 5. เลือดมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดชนิด ต่างๆเพลตเลตและพลาสมา ซึ่งทำหน้าที่แตกต่างกัน 6. หมู่เลือดของมนุษย์จำแนกตามระบบ ABO ได้ เป็น เลือดหมู่ A B AB และ O ซึ่งเรียกชื่อตามชนิด ของแอนติเจนที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง และจำ แนกตามระบบ RH ได้เป็น เลือดหมู่ RH+ และ RHการให้และรับเลือดมีหลักว่าแอนติเจนของผู้ให้ต้อง ไม่ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ และการให้และรับ เลือดที่เหมาะสมที่สุดคือผู้ให้และผู้รับควรมีเลือดหมู่ ตรงกัน ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความกระตือรือร้น 2. มีการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน 3. ตรงต่อเวลา 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๔. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับส่วนประกอบ และหน้าที่ของน้ำเหลือง รวมทั้งโครงสร้างและ หน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และ ต่อมน้ำเหลือง จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมา อยู่ระหว่างเซลล์ เรียกว่า น้ำ เหลือง ทำหน้าที่หล่อ เลี้ยงเซลล์ และสามารถแพร่เข้าสู่หลอดน้ำเหลือง ฝอย ซึ่งต่อมาหลอดน้ำเหลืองฝอยจะรวมกันมีขนาด ใหญ่ขึ้น และเปิดเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดที่หลอด เลือดเวนใกล้หัวใจ 2. ระบบน้ำเหลืองประกอบด้วย น้ำเหลือง หลอด น้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง โดยทำหน้าที่นำ น้ำเหลืองกลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดต่อม น้ำเหลืองเป็นที่อยู่ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ ทำลายสิ่งแปลกปลอม ที่ลำเลียงมากับน้ำเหลือง ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล 3. การทดลอง ด้านจิตพิสัย 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. รับฟังความคิดเห็น 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๕. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอม แบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะ ๑๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ การสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา ๑๗. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความ ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมิแพ้การสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง จุดประสงค์ด้านความรู้ 1 .กลไก ที่ ร่างก ายต่ อ ต้ าน ห รือ ทำลาย สิ่ ง แปลกปลอมมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบไม่จำเพาะ และ แบบจำเพาะ 2. ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ ที่ผิวหนังช่วยป้องกัน และยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์บางชนิด และเมื่อ เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย เซลล์เม็ด เลือดขาวทำลายสิ่งแปลกปลอม เป็นการต่อต้าน หรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ 3. การต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบ จำเพาะจะเกี่ยวข้องกับการทำงานของลิมโฟไซต์ ชนิดเซลล์บีและเซลล์ที 4. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและตอบสนอง ของลิมโฟไซต์ประกอบด้วย ต่อมน้ำเหลืองทอนซิล ม้าม ไทมัส และเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่ผนังลำไส้เล็ก 5. การสร้างภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะของร่างกายมี ๒ แบบ คือ ภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา 6. การได้รับวัคซีนหรือทอกซอยด์เป็นภูมิคุ้มกัน ก่อเอง โดยการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น ส่วนภูมิคุ้มกันรับมาเป็นการรับแอนติบอดีโดยตรง เช่น การได้รับซีรัม การได้รับน้ำนมแม่ 7. เอดส์ ภูมิแพ้ และการสร้างภูมิต้านทานต่อ เนื้อเยื่อตนเอง เป็นตัวอย่างของอาการที่เกิดจาก ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ทำงานผิดปกติ ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล 3. การทดลอง ด้านจิตพิสัย 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. รับฟังความคิดเห็น 5. มีความสามัคคี ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๘. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ จุดประสงค์ด้านความรู้
โครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสียออก จากร่างกายของฟองน้ำไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง 1. อะมีบาและพารามีเซียมเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวที่มีคอนแทรกไทล์แวคิวโอลทำหน้าที่ในการ กำจัดและรักษาดุลยภาพของน้ำ และแร่ธาตุในเซลล์ 2. ฟองน้ำ และไฮดรามีเซลล์ส่วนใหญ่สัมผัสกับ น้ำโดยตรง ของเสียจึงถูกกำจัดออกโดยการแพร่สู่ สภาพแวดล้อม 3. พลานาเรียใช้เฟลมเซลล์ซึ่งกระจายอยู่ ๒ ข้าง ตลอดความยาวของลำตัวทำหน้าที่ขับถ่ายของเสีย 4. ไส้เดือนดินใช้เนฟริเดียม แมลงใช้มัลพิเกียน ทิวบูล และสัตว์มีกระดูกสันหลังใช้ไตในการขับถ่าย ของเสีย ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความเป็นผู้นำ 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. มีความสามัคคี
ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๑๙. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และ โครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกาย ๒๐. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไตใน การกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียน แผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสียออกจาก ร่างกายโดยหน่วยไต ๒๑. สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่าง เกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจาก โรคต่าง จุดประสงค์ด้านความรู้ 1. ไตเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่าย และรักษาดุลยภาพของน้ำ และแร่ธาตุในร่างกาย 2. ไตประกอบด้วยบริเวณส่วนนอกที่เรียกว่า คอร์เท็กซ์ และบริเวณส่วนในที่เรียกว่า เมดัลลา และบริเวณส่วนปลายของเมดัลลาจะยื่นเข้าไปจรด กับส่วนที่เป็นโพรงเรียกว่า กรวยไต โดยกรวยไตจะ ต่อกับท่อไตซึ่งทำหน้าที่ลำเลียงปัสสาวะไปเก็บไว้ที่ กระเพาะปัสสาวะเพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย 3. ไตแต่ละข้างของมนุษย์ประกอบด้วยหน่วยไต ลักษณะเป็นท่อ ปลายข้างหนึ่งเป็นรูปถ้วยเรียกว่า โบว์แมนส์แคปซูล ล้อมรอบกลุ่มหลอดเลือดฝอยที่ เรียกว่า โกลเมอรูลัส 4. กลไกในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย ประกอบด้วยการกรอง การดูดกลับ และการหลั่ง สารที่เกินความต้องการออกจากร่างกาย 5. โรคนิ่วและโรคไตวายเป็นตัวอย่างของโรคที่ เกิดจากความผิดปกติของไต ซึ่งส่งผลกระทบต่อ การรักษาดุลยภาพของสารในร่างกาย 6. นอกจากไตที่ทำหน้ารักษาดุลยภาพของน้ำแร่ ธาตุ และกรด-เบส ผิวหนังและระบบหายใจยังมีส่วน ช่วยในการรักษาดุลยภาพเหล่านี้ด้วย ด้านทักษะกระบวนการ 1. กระบวนการกลุ่ม 2. การนำเสนอข้อมูล ด้านจิตพิสัย 1. มีความเป็นผู้นำ 2. มีความเอื้ออาทรแบ่งปันความรู้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. มีความสามัคคี
ตารางที่ 6 วิเควิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชื่อหน่วย หัวข้อย่อย ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ร ะ บ บ ย่อยอาหาร สืบค้นข้อมูลอธิบาย แ ล ะเป รีย บ เที ย บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ กระบ วน การย่อ ย อาหารของสัตว์ที่ไม่มี ทางเดินอาหาร สัตว์ ที่มีทางเดินอาหาร แบบไม่สมบูรณ์ และ สั ตว์ ที่ มี ท า ง เดิ น อาหารแบบสมบูรณ์ 1. นักเรียนสามารถอธิบายและ เปรียบเทียบโครงสร้าง และ กระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหารได้ 2. นักเรียนสามารถร่วมกัน อภิ ปรายกระบวนการบ่ อย อาหารของสัตว์ที่มีทางเดิน อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ ที่มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ ได้ 3. นักเรียนสามารถอธิบายการ ย่อยอาหารภายนอกเซลล์ และ ภายในเซลล์ได้ 12345ค6เ
คราะห์กิจกรรมการเรียนรู้ รหัสวิชา ว32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระบบย่อยอาหาร กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัด และประเมินผล สื่อการสอน จำนวน ชั่วโมง 1. สังเกต อธิบาย 2. วิเคราะห์อภิปราย 3. เปรียบเทียบ สรุป 4. สืบค้นข้อมูล จัดกลุ่ม 5. ฝึกคิดแบบแผนผัง ความคิด 6. ฝึกคิดทบทวนความรู้ เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ 1. ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรียน 2. ตรวจแบบฝึกหัด 3. ป ร ะ เ มิ น ก า ร ปฏิบัติการ 4. สังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล 5. สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน ๑ . ห นั งสื อ เรี ย น สาร ะ ก ารเรี ย น รู้ เพิ่ ม เติ ม ชี ววิท ย า เล่ม 4 สสวท 2 . Power point เรื่องกระบวนการ ย่อยอาหาร ๓. ใบความรู้เรื่อง กระบวนการย่อย อาหาร ๔ . ใบ ง า น เรื่ อ ง กระบวนการย่อย อาหาร 2
หัวข้อย่อย ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ร ะ บ บ ย่อยอาหาร ของสัตว์ สังเกต อธิบาย การ กินอาหารของไฮดรา และพลานาเรีย 1. อ ธิ บ า ย โค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ กระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่ มีทางเดินอาหาร ไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหาร สมบูรณ์ได้ 2. เปรียบเทียบโครงสร้างและ กระบวนการย่อยอาหารของ สัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่ มีทางเดิน อาหารไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหาร สมบูรณ์ได้ 3. สังเกตและอธิบายการกิน อาห ารของไฮดราและพ ลา นาเรียได้ 12345ค6เ
กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัด และประเมินผล สื่อการสอน จำนวน ชั่วโมง 1. สังเกต อธิบาย 2. วิเคราะห์อภิปราย 3. เปรียบเทียบ สรุป 4. สืบค้นข้อมูล จัดกลุ่ม 5. ฝึกคิดแบบแผนผัง ความคิด 6. ฝึกคิดทบทวนความรู้ เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ 1. ตรวจแบบทดสอบ ก่อนเรียน 2. ตรวจแบบฝึกหัด 3. ป ร ะ เ มิ น ก า ร ปฏิบัติการ 4. สังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล 5. สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน ๑ . ห นั งสื อ เรี ย น สาร ะ ก ารเรี ย น รู้ เพิ่ ม เติ ม ชี ววิท ย า เล่ม 4 สสวท 2 . Power point เรื่ อ งร ะ บ บ ย่ อ ย อาหารของสัตว์ ๓. ใบความรู้เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ของสัตว์ ๔ . ใบ ง า น เรื่ อ ง ระบบย่อยอาหาร ของสัตว์ 5
หัวข้อย่อย ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. การย่อย อาหารของ มนุษย์ อ ธิ บ า ย เกี่ย ว กั บ โครงสร้าง ห น้ าที่ และกระบ วน ก าร ย่อยอาหาร และการ ดูดซึม สารอาหาร ภายใน ระบ บ ย่อ ย อาหารของมนุษย์ 1. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ ของปาก คอหอย และหลอด อาหารได้ 2 . อธิบ าย การย่ อย อาห าร บริเวณปากได้ 3. อธิบายการเคลื่อนที่ของ อาหารผ่านหลอดอาหารได้ 4. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ ของกระเพาะอาหาร และการ ดูดซึมสารอาหารบริเวณปากได้ ได้ 5. นักเรียนสามารถอธิบาย ความผิดปกติของทางเดินอาหาร ในมนุษย์ได้ 12345ค6เ
กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัด และประเมินผล สื่อการสอน จำนวน ชั่วโมง 1. สังเกต อธิบาย 2. วิเคราะห์อภิปราย 3. เปรียบเทียบ สรุป 4. สืบค้นข้อมูล จัดกลุ่ม 5. ฝึกคิดแบบแผนผัง ความคิด 6. ฝึกคิดทบทวนความรู้ เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. ตรวจใบงาน เรื่อง การย่อยอาหารของ มนุษย์ 3 . ป ร ะ เมิ น ก า ร ปฏิบัติการ 4.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล 5. สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน ๑ . ห นั งสื อ เรี ย น สาร ะ ก ารเรี ย น รู้ เพิ่ ม เติ ม ชี ววิท ย า เล่ม 4 สสวท 2 . Power point เรื่อง การย่อยอาหาร ของมนุษย์ ๓. ใบความรู้เรื่อง การย่อยอาหารของ มนุษย์ ๔. ใบงานเรื่อง การ ย่ อ ย อ า ห า ร ข อ ง มนุษย์ 7
ชื่อหน่วหัวข้อย่อย ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 . ก า ร แลกเปลี่ยน แ ก๊ ส ข อ ง สัตว์ 1 . สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ า ย แ ล ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ โครงสร้างที่ทำหน้าที่ แลกเปลี่ยนแก๊สของ ฟองน้ำ ไฮดรา พลา นาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และ นก 2. สังเกตและอธิบาย โครงสร้างของปอดใน สั ต ว์ เลี้ ย งลู ก ด้ ว ย น้ำนม 1. อธิบายโครงสร้างที่ทำหน้าที่ แลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและของสัตว์ได้ 2. อธิบายโครงสร้างของปอดใน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมได้ 3. เปรียบเทียบโครงสร้างที่ทำ หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ ต่าง ๆ ได้ 12345ค6เ
ย ระบบหายใจ กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการวัด และประเมินผล สื่อการสอน จำนวน ชั่วโมง 1. สังเกต อธิบาย 2. วิเคราะห์อภิปราย 3. เปรียบเทียบ สรุป 4. สืบค้นข้อมูล จัดกลุ่ม 5. ฝึกคิดแบบแผนผัง ความคิด 6. ฝึกคิดทบทวนความรู้ เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ 1. ตรวจแบบฝึกหัด 2. ตรวจใบงาน เรื่อง การแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสัตว์ 3 . ป ร ะ เมิ น ก า ร ปฏิบัติการ 4.สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล 5. สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม 6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน ๑ . ห นั งสื อ เรี ย น สาร ะ ก ารเรี ย น รู้ เพิ่ ม เติ ม ชี ววิท ย า เล่ม 4 สสวท 2 . Power point เรื่องการแลกเปลี่ยน แก๊สของสัตว์ ๓. ใบความรู้เรื่อง การแลกเปลี่ยนแก๊ส ของสัตว์ ๔. ใบงานเรื่อง การ แลกเปลี่ยนแก๊สของ สัตว์ 6
หัวข้อย่อย ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. อวัยวะ และ โครงสร้างใน ระบบหายใจ ของมนุษย์ สืบค้นข้อมูล อธิบาย โครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊ส และ กระบวนการ แลกเปลี่ยนแก๊สของ มนุษย์ 1. อธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนแก๊สของมนุษย์ได้ 2. อธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊ส บริเวณปอดและบริเวณเซลล์ ต่าง ๆ ได้ 12345ค6เ