รายงานการประเมินผลการใช้
กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรยี นรู้
ว่าท่ีร้อยตรีหญิงจินตจ์ ฑุ าณิศ แสนสีมล
ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ
โรงเรียนเดื่อศรีไพรวลั ย์ อาเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร
สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั สกลนคร
คานา
กลยุทธการจดั การเรียนรู้ให้กับนกั เรียน ผู้จดั ทา ไดศ้ ึกษาทฤษฎีการเรียนการสอน และรปู แบบการ
สอนตา่ งๆ มาสังเคราะห์เปน็ รปู แบบการสอนของตนเอง เพอ่ื นามาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ผ้จู ดั ทาหวงั เป็น
อย่างยง่ิ ว่าจะเป็นประโยชน์กบั ผ้ทู ี่สนใจมากก็นอ้ ย
ผ้จู ัดทา
สารบัญ 1
2
1.กลยทุ ธการเรียนการสอน 5
2. ความตอ้ งการทฤษฎีการเรียนการสอน 6
3. ธรรมชาติของทฤษฎีการเรยี นการสอน 9
4.ทฤษฎีการเรียนการสอน 12
5.พิจารณาคุณลกั ษณะของผเู้ รยี น 20
6.การวจิ ัยการเรยี นรู้ 22
7. ความเขา้ ใจของผู้เรยี นและการเรยี นรู้ 23
8. การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง 24
9.รูปแบบการเรียนรูแ้ ละวธิ ีการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง 26
10. การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 33
11. การจดั การเรยี นรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (PROJECT-BASED LEARNING) 38
12. เครอื่ งมือการสอนคิด 39
13. รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E 42
14. การจัดการเรียนรแู้ บบห้องเรยี นกลับด้าน Flipped Classroom 49
15. การกาหนดกลยุทธ์การสอนและกลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้
แหล่งอา้ งอิง
กลยทุ ธก์ ารเรยี นการสอน
ในการออกแบบการเรยี นการสอน ไม่วา่ จะออกแบบตามโมเดลของนกั การศึกษาคนใดส่ิงหน่งึ ที่
จะตอ้ งพิจารณาก็คอื กลยุทธ์การเรยี นการสอน (instructional strategies) คาว่า “กลยทุ ธ์” เป็นการรวม
วธิ ีการ (method) วธิ ปี ฏิบตั ิ (procedures) และเทคนิคอยา่ งกวา้ งๆซงึ่ ครใู ช้ในการนาเสนอเนื้อหาวิชาใหก้ ับ
ผู้เรียนและนาไปสู่ผลท่ไี ด้รบั ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ โดยปกตแิ ล้วกลยุทธ์รวมถงึ วิธีปฏิบตั ิหรือเทคนคิ หลายๆอยา่ ง
กลยุทธก์ ารเรยี นการสอนทวั่ ไป คือ การบรรยาย การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย การศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง
การคน้ คว้ามนหอ้ งสมดุ การเรยี นการสอนทใ่ี ช่สื่อ (mediated instruction) การฝึกหัดซ้า ๆ การทางานใน
หอ้ งปฏิบตั ิการ การฝกึ หัด (coaching) การตวิ (tutoring) วิธีอปุ นัยและนริ นยั การใช้บทเรียนสาเร็จรูป การ
แก้ปัญหา และการตง้ั คาถาม อาจเปน็ การเพียงพอทจ่ี ะกล่าวว่า ครเู ปน็ ผู้มกี ลยุทธ์การสอนของตนเอง
ครูตกลงใจอย่างไรในการเลือกกลยุทธก์ ารเรียนการสอน ครอู าจจะพบไดใ้ นคมู่ อื หลักสูตร ซึ่งไม่
เพยี งแต่จะให้กลยทุ ธ์ที่จะใชเ้ ท่านั้น แตม่ ีจุดประสงคด์ ้วย และเปน็ ทนี่ า่ เสยี ดายว่า ในคมู่ ือหลักสูตรไม่ไดม้ หี ัวข้อ
เร่ืองทคี่ รูตอ้ งการเน้นปรากฏอยดู่ ้วย และบอ่ ยครง้ั แม้วา่ จะมอี ยู่และหาได้ แต่ก็ แต่กไ็ มเ่ หมาะกับความมุ่งหมาย
ของครูและนักเรียน ผลก็คอื ครูตอ้ งอาศยั ดุลยพินิจทางวิชาชีพและเลือกกลยุทธท์ จ่ี ะใชเ้ อง การเลอื กกลยทุ ธ์
การสอนจะมปี ญั หานอ้ ย เม่ือครจู าไดว้ ่ากลยุทธก์ ารสอนมาจากแหลง่ สาคญั 5แห่งคอื จดุ ประสงค์ เนอื้ หาวิชา
นักเรียน ชมุ ชน และครูตัวเอง
เน้ือหาในบทนีป้ ระกอบด้วยหัวสาคญั คือ สภาวการณ์การเรียนการสอนพน้ื ฐานของการเรยี นการ
สอนปกติ ความตอ้ งการทฤษฎีการเรียนการสอน ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนการ
สอน หลักการเรียนรู้ การวจิ ยั การเรียนรู้ ความเข้าใจผู้เรยี นและการเรียนรู้
1.สภาวการณก์ ารเรยี นการสอนพื้นฐานของการเรียนการสอนปกติ
เมือ่ มกี ารเขียน การจัดลาดับจุดประสงค์ และการสรา้ งแบบทดสอบแล้ว ผู้ออกแบบการเรยี นการ
สอนก็พรอ้ มทจี่ ะพัฒนากลยุทธ์เพอ่ื การออกแบบสภาวการณ์ของการเรียนร้ตู า่ ง ๆ ท่ีจะทาให้ประสบ
ความสาเร็จตามจุดประสงค์ ไม่วา่ การเรยี นการสอนจะเปน็ รปู แบบใด กจ็ ะมชี ุดของสภาวการณโ์ ดยท่วั ๆ ไปท่ี
จะใช้กับทกุ เหตุการณ์การเรียนรู้ ไดอาแกรมของซลี สแ์ ละคลาสโกว์ (Sells and Glasgow,1990:161) ได้
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ สภาวการณก์ ารเรยี นการสอน พ้นื ฐานของการเรยี นการสอนปกติ สภาวการณเ์ ดยี วกนั นี้จะ
รวมอยใู่ นการเรียนการสอนทุกชนิดไม่ว่าจะเปน็ การเรยี นดว้ ยตนเองหรือการเรยี นเป็นกลมุ่ และไม่วา่ จะใชส้ ่อื
หรือวิธกี ารเรยี นการสอนใด เช่น การเรยี นการสอนโดยใช้คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ภาพยนตร์ สถานการณจ์ าลอง
ฯลฯ
บทนา (introduction) จะช่วยนาความตงั้ ใจของผู้เรียนไปสภู่ าระงานการเรยี นรู้ (learningtask)
จูงใจผเู้ รยี นดว้ ยการอธิบายประโยชน์ของการประสบความสาเร็จตามจุดประสงค์ และโยงความสัมพนั ธ์ของ
การเรยี นรใู้ หม่กบั การเรยี นร้เู ดิมท่ีมมี าก่อน
การนาเสนอ (Presentation) เปน็ การนาเสนอสารสารสนเทศ ข้อความจริง มโนทศั น์ หลกั การหรอื
วิธีการใหก้ ับผเู้ รียน ขอ้ กาหนดของการนาเสนอจะหลากหลายไปตามแบบของการเรียนรู้ที่จะทาใหป้ ระสบ
ความสาเรจ็ และข้นึ อยกู่ ับพฤติกรรมแรกเข้าเรียนหรอื พฤตกิ รรมทีแ่ สดงวา่ มคี วามพร้อมถึงระดับที่จะรบั การ
สอน (entry-leve behavior)
การทดสอบตามเกณฑ์ (criterion test) เป็นการวัดความสาเร็จของผู้เรียนตามจดุ ประสงคป์ ลายทาง
(terminal objectives) การปฏบิ ัติตามเกณฑ์ (criterion practice) เกดิ ขึน้ ในสถานการณเ์ ชน่ เดยี วกับการ
ทดสอบปลายภาค (การทดสอบหนสุดท้าย) โดยมีจดุ ประสงคเ์ พือ่ การตัดสินผู้เรยี นว่ามคี วามพรอ้ มที่จะสอบ
ปลายภาคหรอื มคี วามจาเปน็ ตอ้ งเรียนซ่อมเสริม
การปฏบิ ัติในระหว่างเรยี น (transitional practice) เป็นการออกแบบช่วยผูเ้ รียนให้สร้างสะพานขา้ ม
ช่องว่างระหว่างพฤตกิ รรมที่แสดงว่ามคี วามพร้อมถงึ ระดับท่จี ะรบั การสอนกบั พฤตกิ รรมที่กาหนดโดย
จุดประสงค์ปลายทาง สิ่งสาคัญที่ควรจดจาเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ใิ นระหวา่ งเรียน คือ เปน็ การเตรยี มตัวผ้เู รยี นเพ่อื
การแสดงออกซงึ่ การปฏิบตั ทิ ี่เปน็ ไปตามเกณฑ์
การแนะนา (guidance) เปน็ การฝึกท่ฉี ับพลันท่ีช่วยเหลือให้ผเู้ รียนแสดงออกอยา่ งถกู ต้องในชว่ งต้น
ของการปฏิบตั ิพบว่า จะมีการช่วยเหลอื มากและจะคอ่ ยๆลดลง การช่วยเหลือจะอยใู่ นช่วงปฏบิ ัติในระหว่าง
เรยี นเท่านัน้ สว่ นในช่วงของการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ไมต่ อ้ งช่วย
การให้ข้อมูลปอ้ นกลับ เปน็ สว่ นหนึง่ ของการบรู ณาการการปฏบิ ตั ิ เพ่ือที่จะบอกกลับผเู้ รียนว่า ปฏบิ ัติ
ถกู ตอ้ งหรือปฏบิ ตั ไิ มถ่ ูกตอ้ ง และจะปรับปรงุ การปฏบิ ัตินน้ั อย่างไร การปฏิบัตแิ ตเ่ พียงอย่างเดียวโดยไม่มีข้อมูล
ป้อนกลับไมเ่ ป็นเพียงสาหรับการเรยี นรูท้ ม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
2.ความต้องการทฤษฎีการเรียนการสอน
ทฤษฎกี ารเรยี นการสอน เป็นสิ่งจาเป็นที่จะผนวกเขา้ กบั ทฤษฎีการเรยี นรโู้ ดยไม่มขี อ้ โตแ้ ยง้ การ
พัฒนาทฤษฎีการเรียนการสอนขาดความเอาใจใส่ ละเลย และเมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ทฤษฎกี ารเรยี นรแู ล้ว ทฤษฎี
การสอนเกอื บจะไม่ได้รบั การกลา่ วถึงในผลงานการเขียนทางทฤษฎขี องนกั จิตวิทยา เห็นไดจ้ ากบทคัดย่อทาง
จิตวิทยาจะเตม็ ไปดว้ ยปฏบิ ตั ิการทางการเรยี นรู้ และการเรียนรู้ภายในโรงเรียนเปน็ จานวนมาก
เหตุผลต่อการเพิกเฉยตอ่ ทฤษฎีการสอนเป็นเร่อื งท่ีนา่ สนใจ การตรวจสอบท่ีจะกล่าวต่อไปน้ี อาจจะ
ชว่ ยในการตัดสนิ ใจว่าเป็นไปได้หรอื ไม่ ท่ที ฤษฎีการสอนจะมรการกอ่ ตวั ข้ึนและเป็นไปตามต้องการ
ศลิ ปะกับวทิ ยาศาสตร์ บางครั้งความพยายามท่ีพฒั นาทฤษฎีการสอนดูเหมือนวา่ จะเป็นนัยการ
พฒั นาวิทยาศาสตรด์ ว้ ย แต่ผู้เขยี นบางคนปฏเิ สธความคิดในเรอื่ งของวทิ ยาศาสตร์ ไฮเจท (Highet) ไดเ้ ขียน
หนงั สอื “ศิลปะการสอน” และกลา่ ววา่ …เพราะผมเชอื่ ว่า การสอนเป็นศิลปะไม่ใชว่ ทิ ยาศาสตร์ มนั ดู
เหมือนวา่ เป็นเรื่องท่นี ่าอนั ตรายในการมาก ในการทจ่ี ะประยุกตจ์ ุดหมายและวธิ ีการทางวิทยาศาสตรก์ ับแต่ละ
บุคคล แม้วา่ หลกั การทางสถิตสิ ามารถที่จะใชก้ ารอธิบายพฤตกิ กรมในกลุ่มใหญแ่ ละวนิ จิ ฉัยโครงสรา้ งทาง
กายภาพ โดยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ก็ตาม โดยปกติแล้วมีคุณค่ามาก…แนน่ อนทสี่ ุด ที่เป็นความจาเปน็ ของ
ครบู างคนที่จะเรยี งลาดบั ในการวางแผนงานให้ถกู ตอ้ งแม่นยาโดยอาศยั ขอ้ ความจริง แตส่ ่งิ นัน้ ไม่ไดท้ าใหก้ าร
สอนเป็น “วิทยาศาสตร์” การสอนเก่ยี วข้องกบั อารมณ์ ซึง้ ไม่สามารถจะประเมินได้อย่างเปน็ ระบบและใช้งาน
ได้ เปน็ คา่ นิยมของมนุษย์ซึ่งอย่นู อกเหนือการควบคุมของวทิ ยาศาสตร์ การใชว้ ทิ ยาศาสตรก์ ารสอนหรอื แมแ้ ต่
วิชาที่เป็นวิทยาศาสตรจ์ ะไม่เป็นการเพียงพอเลย ตราบทท่ี ้งั ครแู ละนักเรียนยงั คงเป็นมนษุ ย์อยู่ การสอนไม่
เหมือนกบั การพสิ จู น์ปฏิกิริยาทางเคมี การสอนมากไปกวา่ การวาดภาพ หรอื การทาชนิ้ ส่วนของเคร่ืองดนตรี
หรือการปลูกพชื หรอื การเขียนจดหมาย (Highet,1995 requoted from Gage,1964:270)
ไฮเจท ไดโ้ ตแ้ ยง้ คดั ค้าน ตอ่ ตา้ นพฒั นาการของวทิ ยาศาสตรก์ ารเรยี นรู้ โดยโต้แย้งวา่ ในการ
ประยุกตใ์ ช้ทฤษฎกี ารสอนไม่มคี วามจาเป็นท่ีจะต้องพจิ ารณาวิทยาศาสตรก์ ารสอนโดยเห็นว่า ไม่สมควรจะให้
ความเท่าเทียมกนั ในความพยายามเกย่ี วกบั กจิ กรรมกับความยายามท่ีจะขจดั ปรากฏการณเ์ ก่ยี วกบั นสิ ยั และ
คุณลกั ษณะทางศิลปะ การวาดภาพ การเรยี บเรยี ง และแม้ตาการเขยี นจดหมาย และการสนทนา เปน็ เรื่องท่ี
สืบทอดกนั มาและถูกกฎหมาย และสามารถเปน็ เนอื้ หาวชิ าทจ่ี ะวิเคราะห์ทางทฤษฎไี ด้ จิตรกรแม้จะมีศิลปะอยู่
ในการทางานที่ทา บอ่ ยครั้งท่แี สดงใหเ้ ห็นจากการแสดงออกของนกั เรียนจะมเี ร่ืองทฤษฎีของสี สัดส่วนทีเ่ หน็
ความสมดุลหรือนามธรรมรวมอยู่ดว้ ย จิตรกรผู้เต็มไปด้วยความเป็นจิตรกรอยา่ งถูกตอ้ งไมไ่ ด้เป็นโดยอัตโนมตั ิ
ยงั คงตอ้ งการขอบเขตท่กี ว้างขวางสาหรบั ความฉลาดและความเปน็ สว่ นบคุ คล กระบวนการและผลผลติ ของ
จิตรกรไมจ่ าเปน็ ตอ้ งขึน้ อยกู่ ับผูร้ ู้หรือผ้คู งแกเ่ รยี น
การสอนก็เชน่ เดยี วกนั แมว้ า่ จะต้องการความเปน็ ศิลปะแตก่ ็สามารถทจี่ ะไดร้ บั การวเิ คราะหเ์ ชิง
วทิ ยาศาสตรไ์ ดด้ ้วย พลงั ในการอธบิ าย ทานาย และควบคมุ เปน็ ผลจากการพนิ จิ วิเคราะห์ ไม่ใช่ผลจาก
เครอ่ื งจกั รการสอน เชน่ วศิ วกรสามารถทจ่ี ะคงความเชือ่ อยู่ภายในทฤษฎที ่วี า่ ดว้ ยความเคลอื่ นไหวเกีย่ วกบั
ความร้อน ครูจะมหี อ้ งสาหรบั ความหลากหลายทางศลิ ปะในทฤษฎีที่ศึกษาวทิ ยาศาสตรก์ ารสอนทอ่ี าจจะจัดทา
ขนึ้ และสาหรบั งานของผู้ท่ีฝกึ หัด จ้าง และนิเทศครูทฤษฎแี ละความรู้ทอ่ี าศัยการสงั เกตการสอนจะเป็นการ
จัดเตรียมพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์ไดเ้ ปน็ อย่างดี
ทฤษฎีการเรยี นรู้เกย่ี วกบั การเรยี นรู้วา่ ผ้เู รยี นทาอะไร แตก่ ารเปลี่ยนแปลงทางการศกึ ษาต้องข้ึนอยู่
กับว่าสว่ นใหญ่แลว้ ครทู าอะไร นน้ั คือ ผ้เู รยี นเปลย่ี นแปลงอยา่ งไรในธุรกิจการเรยี นรทู้ ่ีเกดิ ข้ึน ตอบสนองตอ่
พฤตกิ รรมของครหู รืออ่ืน ๆ ทอี่ ย่ใู นวงของการศึกษา ครเู ท่านน้ั ท่ีจะเป็นผ้นู าความรูส้ ่วนใหญเ่ กี่ยวกับการเรยี นรู้
ไปสูก่ ารปฏิบัติ และวธิ ีการตา่ ง ๆทค่ี รจู ะทาให้ความรู้เหล่าน้เี กดิ ผลประกอบข้นึ เปน็ สว่ นของวชิ าทฤษฎีการ
สอนในชว่ งเวลาทย่ี งั ไม่พัฒนาทฤษฎกี ารเรยี นการสอน ดงั นนั้ ครจู ะกระทาตามนัยเหล่านเี้ พือ่ ที่จะปรับปรุงการ
เรียนรู้ ทฤษฎีการสอนและการศึกษาเกีย่ วกบั การสอนอาจจะสามารถทาให้เกิดการใช้ความรเู้ กีย่ วกับการ
เรียนรทู้ ่ีดกี ว่าได้
ทฤษฎกี ารสอนควรเกี่ยวขอ้ งกับการอธิบาย การทานาย และการควบคุมทศิ ทางครูท่ีครปู ฏิบตั ิที่
ส่งผลต่อการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน ภาพทีเ่ ป็นลักษณะนที้ าใหม้ พี ้ืนท่ี (room) มากพอสาหรบั ทฤษฎกี ารสอน ดงั น้ัน
ทฤษฎกี ารสอนกค็ งเก่ียวข้องกบั ขอบเขตท้ังหมดของปรากฏการณท์ ีไ่ มไ่ ดร้ บั การเอาใจใส่หรือถูกละเลยจาก
ทฤษฎีการเรยี นรดู้ ว้ ย
ความชัดเจนของทฤษฎีการเรียนการสอนควรจะเปน็ ประโยชน์กบั การผลิตครู ในการผลิตครบู อ่ ยคร้ัง
ที่ดเู หมอื นว่า จะมีการอา้ งทฤษฎีการเรยี นรไู้ ปสูก่ ารปฏิบัติการสอน สงิ่ ทไ่ี ม่เพียงพอเหลา่ นจ้ี ะเหน็ ไดช้ ัดใน
รายวิชาจิตวิทยาการศึกษา จากตารา จากคาถามของผเู้ รยี นวา่ “ครูจะสอนอย่างไร” ในขณะทีค่ าตอบบางส่วน
อาจไดม้ าจากการพจิ ารณาวา่ ผ้เู รยี นเรยี นรูอ้ ย่างไร ซ่งึ ผ้เู รยี นไม่สามารถรบั ความรู้ท้งั หมดได้ด้วยวิธกี ารน้ีอยา่ ง
เดยี ว ครสู ่วนมากตอ้ งรู้เกี่ยวกบั การสอนวา่ ไมไ่ ดเ้ ป็นไปตามความรใู้ นกระบวนการเรียนรโู้ ดยตรง ความรูข้ องครู
ต้องการความชัดเจนมากไปกวา่ การลงความคิดเห็น ชาวนาจาเป็นต้องรู้มากเกินไปกวา่ ทจ่ี ะรแู้ ตเ่ พยี งวา่
ข้าวโพดโตอยา่ งไร ครเู องก็จาเปน็ ต้องรมู้ ากไปกวา่ ท่จี ะรู้แต่เพียงว่านกั เรียนเรียนรู้อย่างไรเช่นกัน
ครูตอ้ งรู้ว่าจะจัดการกับพฤติกรรมของตนเอง ซ่ึงมีผลตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรียนอยา่ งไร ความรู้
เก่ยี วกับกระบวนการเรียนร้ไู มไ่ ดเ้ กดิ ข้นึ อย่างอตั โนมัติ ในการอธิบายและการควบคุมการปฏบิ ตั ิการสอน
ตอ้ งการวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการสอนทถ่ี กู ต้องของตนเอง ผเู้ รียนจิตวิทยาการศึกษาแสดงความขอ้ งใจ
ว่า ได้เรียนรูม้ ากเกย่ี วกบั การเรยี นร้แู ละผูเ้ รยี น แต่ไมไ่ ด้เรยี นรเู้ ก่ยี วกับการสอนและได้ตงั้ คาถามความสมบรู ณ์
ของการสอนแบบสบื สวน ซ่ึงรวมอยใู่ นทฤษฎีการเรยี นการสอนด้วย
3.ธรรมชาตขิ องทฤษฎกี ารเรยี นการสอน
ทฤษฎีการเรียนการสอน (theory of instruction) เป็นกฎทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั วธิ กี ารทม่ี ีประสิทธิภาพท่ีสุด
ของการประสบความสาเร็จในความรูห้ รือทักษะ ทฤษฎีการเรยี นการสอนเก่ียวข้องกบั ความปรารถนาทจ่ี ะสอน
ให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ไดด้ ีทส่ี ดุ ไดอ้ ยา่ งไรด้วยการปรบั ปรุงแทนทจ่ี ะพรรณนาการเรยี นรู้
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้และทฤษฎีการพัฒนามคี วามสมั พันธ์กบั ทฤษฎกี ารเรียนการสอน ตามความเปน็ จริง
แลว้ ทฤษฎีการเรยี นการสอนต้องเก่ยี วข้องกบั การเรยี นรู้และพฒั นาการดีเท่าๆกับเน้ือหาวชิ าและต้องมคี วาม
สมเหตุสมผลทา่ มกลางทฤษฎอี ่ืน ๆ ทีม่ ีอย่หู ลากหลาย ทกุ ทฤษฎจี ะมีความสัมพนั ธ์ซ่ึงกันและกนั สาหรบั ทฤษฎี
การเรียนการสอนมลี ักษณะสาคัญสี่ประการคอื (Brunner,1964:306-308)
ประการแรก ทฤษฎีการเรยี นการสอนควรชเี้ ฉพาะประสบการณซ์ ึ่งปลกู ฝงั บ่มเฉพาะบุคคลให้โอน
เอยี งสกู่ ารเรียนร้ทู ่มี ปี ระสทิ ธิภาพ หรอื เป็นการเรยี นรทู้ สี่ ดุ หรอื เปน็ การเรียนรชู้ นดิ พเิ ศษ ตวั อยา่ งเชน่
ความสัมพันธ์ชนิดใดทม่ี โี อกาสตอ่ โรงเรยี นและต่อสง่ิ ตา่ ง ๆ ในสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรียนอนบุ าลซึง่ มีแนว
แนวโน้มทีจ่ ะทาใหเ้ ด็กตัง้ ใจและสามารถเรียนรู้เมอื่ เข้าโรงเรียน
ประการทสี่ อง ทฤษฎกี ารเรียนการสอนตอ้ งช้เี ฉพาะวิธกี ารจดั โครงสรา้ งองคค์ วามรูเ้ พอื่ ให้เกดิ ความ
พร้อมที่สดุ สาหรับผเู้ รยี นทีจ่ ะตกั ตวงความรู้น้ัน ความดขี องโครงสร้างข้ึนอยูก่ ับพลังในการทาสารสนเทศใหม้ ี
ความงา่ ยในการให้ขอ้ ความใหม่ ทีต่ ้องพสิ ูจนแ์ ละเพ่อื เพิ่มการถา่ ยเทองคค์ วามรู้ มอี ยูเ่ สมอทโ่ี ครงสรา้ งต้อง
สมั พันธก์ ับสถานภาพและพรสวรรค์ของผู้เรียนดว้ ย
ประการทสี่ าม ทฤษฎีการเรียนการสอนควรชี้เฉพาะขนั้ ตอนทีม่ ีประสิทธภิ าพที่สดุ ในการนาเสนอสิง่
ท่ผี ู้เรียนตอ้ งเรียนรู้ ตวั อย่างเช่น ผสู้ อนคนหน่งึ ปรารถนาทจ่ี ะสอนโครงสรา้ งทฤษฎฟี สิ ิกสส์ มัยใหม่ เขาทา
อยา่ งไร เขานาเสนอสาระทเี่ ป็นรปู ธรรมก่อนด้วยการใช้คาถามเพอ่ื สืบคน้ ความจรงิ เกีย่ วกับกฎเกณฑ์ทผ่ี เู้ รยี น
ตอ้ งนาไปคดิ ซ่ึงทาใหง้ ่ายขึ้นเม่ือต้องเผชญิ กบั การนาเสนอกฎน้อี กี คร้ังในภายหลัง
ประการสดุ ทา้ ย ทฤษฎกี ารเรยี นรูค้ วรชเี้ ฉพาะธรรมชาติและชว่ งกา้ วของการให้รางวลั และการ
ลงโทษในกระบวนการเรียนรูแ้ ละการสอน ในขณะท่กี ระบวนการเรียนรู้มจี ุดทด่ี ีกว่าทจี่ ะเปลย่ี นจากรางวลั
ภายนอก (extrinsic rewards) เชน่ คายกยอ่ สรรเสริญจากครู ไปเปน็ รางวลั ภายใน (intrinsic rewards) โดย
ธรรมชาติในการแกป้ ัญหาที่ซบั ซ้อนสาหรับตนเอง ดงั นัน้ การให้รางวัลทันทที ันใด ควรแทนทดี่ ว้ ยรางวลั ของ
การปฏบิ ตั ิตามหรืออนโุ ลมตาม (deferred rewards) อตั ราการเคลอื่ นย้ายหรอื การเปลยี่ นแปลงจากรางวลั
ภายนอกไปสรู่ างวัลภายในและจะไดร้ างวัลทนั ใดไปสู่รางวัลการอนโุ ลมตาม เปน็ เรอื่ งท่เี ขา้ ใจยากและมี
ความสาคัญอยา่ งเห็นไดช้ ัด ตัวอย่างเชน่ ไม่วา่ การเรียนรจู้ ะเกีย่ วข้องกับการบรู ณาการของการกระทาทม่ี ี
ข้ันตอนยาวหรือไม่การเปลยี่ นแปลงควรจะทาได้เรว็ ทีส่ ุดจากกรให้รางวลั ทันทที นั ใดเปน็ การอนโุ ลมตาม และ
จากรางวลั ภายนอกเป็นรางวัลภายใน
4.ทฤษฎีการเรยี นการสอน
การเรยี นรมู้ ีความสมั พนั ธก์ บั การออกแบบการเรยี นการสอนซ่งึ ได้มาจากผลการวจิ ยั เอกัต บุคคล
เรียนรอู้ ย่างไร คาอธบิ ายวา่ จะตคี วามได้ดที ี่สุดไดอ้ ย่างไรตามความเห็นเหล่าน้ี กอ่ ใหเ้ กิดทฤษฎกี ารเรยี นการ
สอนจานวนมาก ซงึ่ เกดิ ขึ้นเมอ่ื 30 ปีทีแ่ ล้วหรอื มากกวา่ นั้น จากทฤษฎีพฤติกรรมนิยมไปจนถึงทฤษฎีปัญญา
นยิ ม เป็นความหวังว่าทฤษฎเี หลา่ นจี้ ะชว่ ยใหเ้ กิดความเข้าใจการเรยี นรู้และการประยกุ ต์ วธิ ีการหรอื หลกั การ
ใหมๆ่ ท่ีเป็นประโยชน์กับผู้ออกแบบการเรยี นการสอน
คากล่าวทั่วไปของทฤษฎเี หล่าน้ี พบไดใ้ นทฤษฎีการเรยี นรขู้ องโบเวอร์และฮลิ การ์ด (Bower and
Hilgard,1981) ทฤษฎีการเรียนการสอนบางทฤษฎี พยายามท่จี ะโยงความสมั พันธ์ของเหตุการณ์การเรียนการ
สอนเฉพาะอยา่ งไปสู่ผลทไี่ ดร้ บั ของการเรียนรู้ (learning outcomes) โดยกาหนดเงอ่ื นไขการเรียนการสอนซึ่ง
ทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ท่ไี ด้ผลดีท่ีสุด ทฤษฎีการออกแบบการเรยี นการสอนมีความคล้ายคลงึ กนั กับทฤษฎกี าร
เรยี นการสอน แต่เนน้ ไปทก่ี ระบวนการพฒั นาการเรียนการสอนท่กี วา้ งกวา่ ท้งั ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนและ
ทฤษฎกี ารออกแบบการเรียนการสอนต่างก็จะทพี่ ยายามโยงความสมั พันธข์ องเหตกุ ารณก์ ารเรียนการสอน
เฉพาะอยา่ ง (specific instructional events) ไปสู่ผลท่ีไดร้ ับของการเรยี นรู้ (learning outcomes) ทฤษฎี
ระบบการเรยี นการสอน ดังนน้ั เนริ ์คและกสู ตัฟสัน ( Knirk and Gustafson, 1986 : 102) จงึ สรุปว่าทฤษฎี
การเรยี นการสอน (instructional theory) ไดร้ ับการพิจารณาว่าเปน็ ส่วนย่อยของทฤษฎกี ารออกแบบการ
เรียนการสอน (instructional design theory) ซงึ่ เป็นสว่ นย่อยของทฤษฎรี ะบบการเรยี นการสอน
(instructional system theory)
มีทฤษฎีการเรยี นการสอนท่นี า่ สนใจและเป็นประโยชนม์ ากมาย ซง่ึ ในทน่ี จ้ี ะกลา่ วถึงเพยี งสีท่ ฤษฎีซง่ึ
มลี กั ษณะตา่ งกัน คือ ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของกาเยแ่ ละบริกส์ (Gagne and Briggs) ทฤษฎกี ารเรยี นการ
สอนของเมอรร์ ิลและไรเกลทุ (Merrill and Reigeluth) ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของเคส (Case) และทฤษฎี
การเรยี นการสอนของลันดา (Landa)
4.1 ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของกาเย่และบริกส์
กาเย่ (Gagne,1985) มีสว่ นชว่ ยอยา่ งสาคญั เกยี่ วกับการเรียนรดู้ ังทเี่ ขาได้ตรวจสอบข้อเงอ่ื นไข
สาหรับการเรียนรู้กาเย่และบรกิ ส์ ได้ขยายเง่อื นไขน้อี อกไปโดยพัฒนาชดุ ของหลักการสาหรบั การออกแบบการ
เรยี นการสอน ทฤษฎดี งั กล่าวนมี้ แี นวแนวโน้มทีจ่ ะเพกิ เฉยต่อปัจจัยการเพกิ เฉยการเรยี นรูด้ ้ังเดิม เชน่ การ
เสรมิ แรง (reinforcement) การต่อเนื่อง (contiguity) และการปฏบิ ตั ิ(exercise) เพราะกาเย่และบรกิ สค์ ดิ วา่
เปน็ เร่อื งธรรมดาเกินไปที่จะใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอนโดยยนื ยันในเรื่องทีเ่ ก่ยี วกับการเรียนรู้
สารสนเทศทางถ้อยคา (verbalinformation) ทักษะเชาว์ปัญญา (intellectual skill) และความสามารถใน
การเรียนรปู้ ระเภทอื่น ๆ กาเย่ไดร้ ะบุผลทร่ี บั จากการเรียนรแู้ ตล่ ะประเภทที่ต้องการ สภาวการณห์ รือเงือ่ นไขท่ี
แตกต่างกนั สาหรบั การเรียนรู้ การคงความทรงจา และการถ่ายโอนการเรียนรู้ในขีดสงู สดุ
ทฤษฎีการเรียนการสอนของกาเย่และบริกสค์ าดเดาการเสรมิ แรงของผเู้ รยี นผา่ นทางขอ้ มลู ปอ้ นกลับ
ของสารสนเทศ(information feedback) ทางสันฐานการเลือก (selective perception) ทางการสะสมของ
ขอ้ มูลในหน่วยความจาระยะส้นั ระยะยาว และ การนากลับมาใชเ้ ป็นการนาเสนอทฤษฎีหรือแบบจาลอง
ประมวลความรอบรูท้ ่รี วมถงึ ผลทไ่ี ดร้ ับของการเรียนรูท้ ุกประเภทของการเรียนการสอน โดยทวั่ ไปไดก้ ล่าวไว้
แบบจาลองใหค้ าแนะนาวา่ การเรยี นการสอนสามารถนยิ ามวา่ เปน็ ชดุ (set) ของเหตุการณ์ภายนอกท่ีจะ
สนับสนนุ กระบวนการภายในของการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น เหตกุ ารณ์ภายนอกเหลา่ น้ัน คอื
1.เพมิ่ ความตงั้ ใจของผูเ้ รยี น (gain learner attention)
2.แจ้งจดุ ประสงค์แกผ่ ูเ้ รยี น (inform the learner of the objective)
3.กระตุ้นใหร้ ะลกึ ถงึ ความรู้เดิมทต่ี ้องมมี ากอ่ น (stimulate recall prerequisite)
4.นาเสนอสอื่ วัสดกุ ารเรียนการสอนท่กี ระตุ้น เรง่ เรา้ (present stimulus materials)
5.จดั เตรยี มคาแนะนาในการเรยี นรู้ (provide learning guidance)
6.ให้นักเรียนปฏิบตั ทิ ี่ตอ้ งการ (elicit the desired performance)
7.จัดเตรยี มขอ้ มูลป้อนกลับเกี่ยวกับการแก้ไข การปฏบิ ัติ
8.การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ (assess the performance)
9.ส่งเสรมิ การคงความรู้และการถา่ ยโอนการเรียนรู้ (enhance retention and transfer)
4.2 ทฤษฎกี ารเรยี นการสอนของเมอรร์ ลิ และไรเกลุท
ทฤษฎีการเรียนการสอนของเมอรร์ ิลและไรเกลุท (Marril,1984 : Reigeluth,1979 : 8-15)
เกีย่ วขอ้ งกบั กลยทุ ธ์มหภาพ (mecro-strategies) สาหรับการจัดการเรยี นการสอน เช่น ความสัมพันธ์ระหวา่ ง
หัวข้อของรายวิชา และลาดบั ข้นั ตอนการเรียนการสอนทฤษฎนี เ้ี น้นมโนทศั น์ หลักการ ระเบยี บวิธีการ และ
การระลึก สารสนเทศขอ้ ความจรงิ ตา่ ง ๆไดโ้ ดยท่วั ไปแลว้ ทฤษฎีนมี้ ีทัศนะเกย่ี วกับการเรยี นการสอนว่า เป็น
กระบวนการนาเสนอรายละเอยี ดอย่างคอ่ ยเปน็ ค่อยไปทลี ะน้อย หรืออยา่ งประณตี ตามทฤษฎีของเมอร์ริลแลพ
ไรเกลุท ขัน้ ตอนของการเรยี นการสอนประกอบดว้ ย
1.เลอื กการปฏิบตั ิทัง้ หมดท่จี ะสอนโดยการวเิ คราะห์ภาระงาน
2.ตัดสินใจว่าจะสอนการปฏิบัติใดเป็นลาดับแรก
3.เรยี งลาดบั ขั้นตอนการปฏบิ ัตทิ ีย่ งั ค้างอยู่
4.ระบุเนอ้ื หาทส่ี นับสนนุ
5.กาหนดเนอ้ื หาทงั้ หมดเปน็ บทและจดั ลาดับบท
6.เรยี งลาดับการเรียนการสอนภายในบท
7.ออกแบบการเรยี นการสอนสาหรับแต่ละบท
4.3 ทฤษฎกี ารเรียนการสอนของเคส
เคส (Case.1978 : 167-228) ไดแ้ นะนาวา่ ขน้ั ตอนของพฤตกิ รรมระหว่างระยะสาคัญของการ
พฒั นาเชาว์ปัญญาข้นึ อยู่กบั การปรากฏใหเ้ ห็นถึงการเพ่มิ ความซบั ซ้อนของกลยทุ ธป์ ัญญาและการทางานใน
หน่วยความจาอยา่ งค่อยเป็นคอ่ ยไปด้วย
ขน้ั ตอนการออกแบบของเคส เกี่ยวกบั การระบุเป้าประสงค์ของภาระงานทป่ี ฏิบัติ (เรียนรู้) จดั ลาดบั
ข้นั ปฏบิ ัติเพ่อื ช่วยผ้เู รียนใหไ้ ปถงึ เป้าประสงคเ์ ปรียบเทยี บการปฏิบัตขิ องผเู้ รยี นกบั เอกตั บุคคลทมี่ ีทกั ษะ
ประเมนิ ระดับงานของนกั เรียน (โดยตง้ั คาถามทางคลนิ ิก) การออแบบแบบฝกึ หดั เพอ่ื สาธิตให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษา
และอธบิ ายวา่ ทาไมกลยุทธท์ ีถ่ ูกตอ้ งจึงให้ผลดีกวา่ และสุดท้ายนาเสนอตวั อย่างเพิ่มเติมโดยใชก้ ลยทุ ธใ์ หม่
4.4 ทฤษฎีการเรยี นการสอนของลนั ดา
ทฤษฎกี ารเรียนการสอนของลนั ดา (Landa,1974) เปน็ การออกแบบการจาลองการเรยี นการสอน
ที่แยกออกม โดยใช้วธิ ีการพเิ ศษในการแก้ปัญหาเฉพาะอย่างของงาน ซง่ี กาหนดให้ผู้เรียนติดตามระเบียบ
วธิ กี ารทม่ี อี ยู่ในคู่มือการอบรม ในการใชว้ ธิ ีการออกแบบของลันดา เป็นความจาเป็นท่ตี อ้ งมกี ารระบุกจิ กรรม
และการปฏิบัติท้ังหมดทีม่ ีอยูก่ ่อนหน้าน้นั ซง่ึ ผเู้ รียนต้องแสดงออกมา เพอื่ จะไดร้ วมไวใ้ นการแกป้ ญั หา
บางอยา่ ง ในทางตรงข้าม อาจเรียกว่าเปน็ วธิ กี ารทางจติ วิทยาในการวางแผนการเรียนการสอน ผเู้ ชี่ยวชาญ
หลกั สูตรมแี นวโน้มที่จะเนน้ ไปท่โี ครงสรา้ งของเนอื้ หาบนพืน้ ฐานของการนาปประยกุ ต์ใช้ บอ่ ยครัง้ ที่มกี าร
จดั การเรยี นรเู้ ปน็
1.เนอ้ื หาดา้ นปัญญา
2.ทกั ษะทางวิชาการ
3.การเรียนรู้สงั คม
4.การเรียนรูต้ ามความตอ้ งการของเอกัตบุคคล
โดยปกติผู้เชย่ี วชาญทงั้ หลายยึดถอื ทัศนะท่ีว่า การเรยี นการสอนทุกชนดิ อาจจะดีทสี่ ุดด้วยการใช้
วิธีการทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจาเปน็ ของผูเ้ รียนแต่ละคน นัน่ คือ เม่อื แต่ละบุคคลรสู้ กึ ถงึ ความจาเป็นทจ่ี ะ
ให้มกี ารเรียนการสอนอาชพี หรือสงั คมแล้ว บุคคลเหลา่ นัน้ จะมแี รงจูงใจมากกวา่ ทจ่ี ะเรยี นเน้อื หาท่ีไม่ตรง
ประเดน็ สภาพการณเ์ รยี นใดเนน้ ความเปน็ เอกตั บุคคลก็ตอ้ งใช้การเรียนการสอนเปน็ รายบุคคล กระบวนการ
ออกแบบการเรยี นการสอนและการกาหนดกลยทุ ธก์ ารสอนตลอดจนการเลือกสือ่ ท่ีจะทาใหง้ า่ ยขึ้น
ทฤษฎีการเรยี นการสอนเหล่านี้และทฤษฎีการเรียนการสอนอื่น ๆ ต่างกเ็ ป็นความจาเปน็ สว่ นหนง่ึ
ของกระบวนการวิจัยการจัดสารสนเทศเกย่ี วกบั การเรยี นรขู้ องมนุษย์ อยา่ งไรก็ตามยงั เปน็ หนทางอกี ยาวไกล
กวา่ ทที่ ฤษฎใี ดทฤษฎีหนง่ึ เหล่าน้ีจะกาหนดกระบวนการสาหรบั การออกแบบการเรียนการสอนท่ีมี
ประสทิ ธิภาพ สาหรับเอกตั บุคคลหรอื ของผ้เู รยี น ปัจจุบนั น้ีทฤษฎีการเรียนการสอนท้งั หลายจะใหห้ ลกั การท่ี
เปน็ แนวทางท่มี ีประโยชน์ หรอื ใหค้ รอบคลมุ สาหรบั การออกแบบจึงต้องเนน้ เปน็ อย่างมากเก่ียวกับการทดสอบ
ตัวแบบของการเรียนการสอน (prototype of the instruction) ก่อนทจี่ ะมีการเผยแพรเ่ พอ่ื การนาไปใช้
โดยทัว่ ไป
5. พจิ ารณาคณุ ลักษณะของผู้เรียน
การวิเคราะหภ์ าระงานและการเรียนการสอนแล้วน้ัน จะพบว่าการพิจารณาคุณลกั ษณะของผู้เรยี น
ต้องอาศยั ความรทู้ ่มี ีอยูข่ อผเู้ รยี นหรอื ความรเู้ ดิม ซงึ่ จะมคี วามสมั พันธ์กับการตัดสนิ ใจวางแผนการเร่มิ ต้นของ
โปรแกรมการเรยี นการสอนใหมๆ่ ในทน่ี ีจ้ ะได้กลา่ วถงึ ประมวลสารสนเทศทางทกั ษะของผ้เู รียน ซึ่งจะสัมพนั ธ์
กบั การออกแบบส่ิงแวดล้อมของการเรียนตอ่ ไป
สไตลก์ ารสอน
สไตลห์ รือลีลาการสอน (styles of teaching) เป็นการแสดงคณุ ค่าของครูแต่ละคน เปน็ ปจั จยั ส่วน
บุคคลท่ีทาให้ครคู นหนง่ึ ตา่ งจากครูคนอนื่ ๆ ประกอบดว้ ยการแต่งกาย ภาษา เสยี ง กรยิ าท่าที ระดับพลัง การ
แสดงออกทางสหี น้า แรงจงู ใจ ความสนใจในบคุ คลอ่นื ความสามารถในการเชาวป์ ัญญาและความคงแกเ่ รยี น
การมงุ่ งาน
ครูจะกาหนดสงิ่ ทตี่ อ้ งการเรียนรแู้ ละบอกถึงความต้องการในการปฏิบตั ิงานของนกั เรยี น การเรียนท่ี
จะประสบความสาเรจ็ อาจจะเฉพาะเจาะจงไปทีพ่ ื้นฐานของนักเรียนแต่ละคน และมีระบบที่ใหน้ ักเรียนแต่ละ
คนเปน็ ไปตามความคาดหวงั อยา่ งชดั เจนม่ันคง
การวางแผนการร่วมมอื กัน
ครูรว่ มมอื กันวางแผนวิธีการและจุดหมายปลายทางของการเรยี นการสอนดว้ ยความรว่ มมือของ
นกั เรยี น ครูไมเ่ พยี งแตร่ ับความคดิ เห็นเทา่ น้นั แต่ครูต้องกระตนุ้ ให้การสนบั สนนุ การมสี ่วนรว่ มของนกั เรยี นทุก
ระดบั ชั้นด้วย
การให้นกั เรยี นเปน็ จดุ ศูนยก์ ลาง
ครูจดั เตรยี มโครงสรา้ งต่าง ๆ สาหรับนกั เรยี นเพอื่ ใหต้ ิดตามแสวงหาความรู้ตามท่ีต้องการหรอื ตาม
ความสนใจ สไตล์แบบน้ีไม่เพียงแตจ่ ะพบวา่ มนี อ้ ย แตเ่ กือบจะเป็นไมไ่ ดท้ ี่จะจินตนาการให้เปน็ ไปตามที่
คาดหวัง เพราะวา่ ช้นั เรียนทม่ี อี ัตราสว่ นระหว่างนกั เรียนกับครแู ละนักเรียนกบั ส่งแวดล้อมในความรับผดิ ชอบ
จะกระตุ้นส่งเสรมิ ความสนใจของนักเรยี นบางคนและทาให้นกั เรยี นบางคนเกดิ ความทอ้ แท้ใจโดยอัตโนมตั ิ
การใหเ้ นอื้ หาวชิ าเป็นศูนย์กลาง
วธิ ีการนี้ครูจะเนน้ ไปทเ่ี นอื้ หาวิชาท่ีจัดไว้ดแี ลว้ และคิดวา่ เนอื้ หาวชิ าที่จดั น้ันครอบคลุมรายวชิ าครจู ะพงึ พอใจ
แม้วา่ การเรยี นรู้จะเกดิ ขน้ึ น้อย
การใหก้ ารเรียนร้เู ปน็ ศนู ยก์ ลาง
วธิ กี ารนคี้ รูจะให้ความสาคัญเทา่ ๆ กันระหว่างนักเรียนและจดุ ประสงค์ของหลักสตู ร ตลอดจนสิ่งทีใ่ ช้
ในการเรยี น ครูจะปฏเิ สธการเน้นอย่างมากเกินไปทั้งในด้านการให้ผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลางแทนการชว่ ยเหลือ
นักเรยี น โดยคานงึ ว่านกั เรียนมคี วามสามารถหรอื ไม่มีความสามารถ เพ่ือท่ีจะพฒั นาไปสู่เป้าประสงค์ท่ีมคี วาม
เปน็ ไปได้ใหด้ เี ทา่ ๆกบั อิสรภาพในการเรียนรู้ของนกั เรยี นใหม้ กี ารตื่นเตน้ ทางอารมณ์และเปน็ แบบอย่าง
วิธีการนค้ี รจู ะแสดงอารมณ์ทเ่ี กี่ยวกบั การสอนอยา่ งเข้มข้น ครูจะเขา้ ไปสู่กระบวนการสอนอยา่ งใจจดใจจอ่
และโดยปกติแล้วจะกอ่ ให้เกิดบรรยากาศของชนั้ เรยี นทตี่ นื่ เต้นและมีอารมณ์ร่วมสูง
สไตล์การเรียนรู้
สไตล์การสอนของครูมคี วามสมั พนั ธบ์ างอย่างกับสไตล์การเรียนร้ขู องนกั เรยี น สไตล์การสอนไม่
สามารถเลอื กในลักษณะเดยี วกับการเลอื กกลยุทธก์ ารสอนได้ สไตล์การสอนไม่ใชเ่ รือ่ งงา่ ยที่จะเปลยี่ นกรมุ่งงาน
ไปเป็นการมงุ่ ใหน้ กั เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง เรื่องนี้เปน็ เร่อื งทีค่ ่อนข้างทาไดย้ าก ครทู ่ไี ม่มีการตืน่ เตน้ ทางอารมณ์จะ
เปล่ียนเปน็ ครทู ่มี ีความตน่ื เตน้ ทางอารมณ์ไดห้ รอื ไม่ มคี าถามอย่สู องคาถามเกย่ี วกับสไตลก์ ารสอนว่า ครู
สามารถเปลยี่ นสไตลก์ ารสอนได้หรอื ไม่ และ ครจู ะเปล่ยี นสไตล์การสอนหรอื ไม่
แบบจาลองการสอน
แบบจาลองการสอน ในขณะที่สไตล์การสอนเปน็ ชดุ พฤติกรรมส่วนบคุ คลของครู แบบจาลองการสอน
เป็นชุดพฤตกิ รรมทัว่ ไปซงึ่ เน้นกลยทุ ธ์หรอื ชุดของกลยทุ ธ์เฉพาะอย่าง ตัวอย่างเชน่ การบรรยาย เป็นกลยุทธ์
การเรยี นการสอนหรอื เปน็ วิธีการทมี่ ลี ักษณะครอบงา กลยทุ ธ์ในการบรรยายคือการเตมิ เตม็ แบบจาลองของ
การบรรยาย ข้อแตกต่างระหว่างแบบจาลอง (model) กับสไตล์ (style) สามารถสังเกตเหน็ ไดโ้ ดยบุคคลท่ีเข้า
ฟังการบรรยายที่มีความแตกตา่ งกันทง้ั สอง
ทักษะการสอน
โอลิวา ได้อธบิ ายเกี่ยวกับสไตลแ์ ละแบบจาลองการสอนซง่ึ ท้ังสองอย่างเกยี่ วข้องกับการเลือกกลยทุ ธ์
หรือวิธกี ารเฉพาะ ในตอนน้ีจะได้ผนวกมิติท่ีสามของการเลือกกลยทุ ธ์การเรยี นการสอน คือ ทักษะการสอนเข้า
ไปดว้ ยคาทีจ่ าเป็นและมีความสาคญั ตอ่ ความสมั พันธ์ระหว่างกันของสไตล์โมเดลหรือแบบจาลองและทกั ษะ
การสอน คอื วิธกี าร ถา้ ไมไ่ ด้แสดงความหมายของกลยุทธ์และโมเดลไว้เรยี บรอ้ ยแลว้ เช่นกลยุทธ์การบรรยาย มี
ความหมายเทา่ กับวธิ กี ารบรรยาย สาหรบั ผู้ท่ีตอ้ งการคาทด่ี กี ว่าก็อาจจะใช้คาทีค่ ลุมเครือวา่ วธิ ีเร่ิมเรอื่ งซง่ึ ให้
ความสาคัญกบั ความสัมพันธร์ ะหว่างคาสามคาคือ สไตล์ โมเดล และทกั ษะ
วิธีเรมิ่ เรอื่ งของครู
ตัวอย่างเช่นในการเรียนการสอนแบบโปรแกรมครซู ึ่งแสดงบทบาทเป็นผู้จดั ทาโปรแกรม (โมเดล)
เปน็ ศนู ยก์ ลาง มีใจชอบในรายละเอียดเช่อื วา่ นกั เรียนเรียนได้ดีท่ีสุดด้วยสไตลก์ ารสอนและมที กั ษะใน
การเลอื กเน้อื หา ข้นั ตอน การเขยี นโปรแกรมและทกั ษะในการทดสอบ อาจกล่าวได้ว่า โปรกรมเป็นวิธกี ารของ
ครู (หรือเป็นโมเดล) และการใชโ้ ปรแกรมรว่ มกบั ผูเ้ รยี นเปน็ กลยทุ ธ์การสอนของครู (หรือเปน็ วิธกี าร)
5.หลักการเรยี นรู้
การเรียนรเู้ ป็นพนื้ ฐานของการดาเนินชีวติ มนุษย์มีการเรียนรู้ต้งั แต่แรกเกดิ จนถึงกอ่ นตาย จงึ มีคากลา่ ว
เสมอวา่ "No one too old to learn" หรือ ไมม่ ใี ครแก่เกินท่จี ะเรยี น การเรยี นรูจ้ ะช่วยในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตไดเ้ ป็นอยา่ งดี ธรรมชาติของการเรยี นรู้ มี4 ขั้นตอน คือ
1. ความต้องการของผเู้ รยี น (Want) คอื ผเู้ รยี นอยากทราบอะไร เม่ือผูเ้ รียนมีความตอ้ งการอยากรู้
อยากเหน็ ในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสง่ิ ท่ียั่วยุให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้
2. สงิ่ เร้าทนี่ า่ สนใจ (Stimulus) กอ่ นทจ่ี ะเรียนรู้ได้ จะต้องมสี ิ่งเร้าท่ีน่าสนใจ และน่าสัมผัสสาหรับ
มนษุ ย์ ทาให้มนษุ ย์ด้ินรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรยี นรู้ในสงิ่ ทน่ี า่ สนใจนน้ั ๆ
3. การตอบสนอง (Response) เมอื่ มสี ิ่งเรา้ ทน่ี า่ สนใจและนา่ สัมผัส มนษุ ย์จะทาการสัมผัสโดยใช้
ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หฟู ัง ล้นิ ชิม จมูกดม ผิวหนังสมั ผัส และสัมผสั ดว้ ยใจ เปน็ ต้น ทาให้มีการแปล
ความหมายจากการสมั ผัสสิง่ เรา้ เปน็ การรบั รู้ จาได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกนั มีการเปรียบเทียบ และคิด
อย่างมเี หตุผล
4. การได้รบั รางวัล (Reward) ภายหลงั จากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพงึ พอใจ ซึ่งเปน็ กาไร
ชีวิตอยา่ งหน่ึง จะไดน้ าไปพฒั นาคุณภาพชีวติ เชน่ การไดเ้ รยี นรู้ ในวิชาชีพชน้ั สงู จนสามารถออกไปประกอบ
อาชีพชน้ั สูง (Professional) ได้ นอกจากจะได้รบั รางวัลทางเศรษฐกิจเป็นเงนิ ตราแล้ว ยังจะไดร้ ับเกยี รตยิ ศ
จากสังคมเป็นศักด์ิศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมได้ประการหนง่ึ ดว้ ย
ลาดับข้นั ของการเรียนรู้
ในกระบวนการเรยี นร้ขู องคนเรานน้ั จะประกอบดว้ ยลาดบั ขน้ั ตอนพ้ืนฐานทส่ี าคัญ 3 ข้ันตอนดว้ ยกนั
คอื (1)ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด
1. ประสบการณ์ (experiences) ในบคุ คลปกติทุกคนจะมีประสาทรบั รู้อยดู่ ว้ ยกนั ท้งั น้ัน สว่ นใหญท่ ี่
เปน็ ที่เข้าใจก็คอื ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ซ่ึงได้แก่ ตา หู จมกู ล้นิ และผิวหนัง ประสาทรับรู้เหล่านจ้ี ะเป็นเสมือน
ช่องประตทู ่จี ะให้บุคคลไดร้ ับรู้และตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ตา่ ง ๆ ถ้าไม่มีประสาทรับรเู้ หลา่ น้แี ลว้ บุคคลจะไมม่ ี
โอกาสรบั รู้หรือมีประสบการณใ์ ด ๆ เลย ซง่ึ กเ็ ท่ากบั เขาไมส่ ามารถเรยี นรู้ส่ิงใด ๆ ได้ดว้ ย ประสบการณ์ต่าง ๆ
ทีบ่ ุคคลไดร้ บั น้ันยอ่ มจะแตกตา่ งกนั บางชนิดก็เป็นประสบการณ์ตรง บางชนิดเป็นประสบการณ์แทน บางชนิด
เป็นประสบการณร์ ปู ธรรม และบางชนดิ เปน็ ประสบการณน์ ามธรรม หรือเปน็ สัญลกั ษณ์
2. ความเข้าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้รบั ประสบการณ์แลว้ ขน้ั ตอ่ ไปกค็ อื ตีความหมาย
หรอื สรา้ งมโนมติ (concept)ในประสบการณน์ ัน้ กระบวนการนีเ้ กดิ ขนึ้ ในสมองหรือจิตของบคุ คล เพราะสมอง
จะเกิดสญั ญาณ (percept) และมีความทรงจา (retain) ขึน้ ซึง่ เราเรยี กกระบวนการนวี้ า่ "ความเข้าใจ" ในการ
เรยี นรู้นน้ั บุคคลจะเขา้ ใจประสบการณ์ที่เขาประสบได้กต็ อ่ เม่อื เขาสามารถจดั ระเบียบ (organize) วเิ คราะห์
(analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ต่าง ๆ จนกระทง่ั หาความหมายอันแทจ้ รงิ ของ
ประสบการณน์ นั้ ได้
3. ความนึกคิด (thinking) ความนกึ คดิ ถือวา่ เป็นข้ันสดุ ทา้ ยของการเรียนรู้ ซง่ึ เปน็ กระบวนการที่
เกดิ ขึน้ ในสมอง Crow (1948) ได้กลา่ ววา่ ความนกึ คิดที่มปี ระสทิ ธิภาพน้ัน ตอ้ งเป็นความนกึ คดิ ท่ีสามารถจดั
ระเบยี บ (organize) ประสบการณเ์ ดมิ กับประสบการณใ์ หมท่ ไี่ ดร้ บั ใหเ้ ข้า
6.การวจิ ัยการเรียนรู้
1. ความเป็นมาของการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้
การปฏิรูปการเรียนร้ตู ามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 ได้กาหนดไว้ ดังนี้
หมวด 4 แนวการจดั การศึกษามาตรา24 (5) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้สอนสามารถจดั บรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวกใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรูแ้ ละมคี วามรอบรูร้ วมทัง้ สามารถ
ใช้การวิจยั เป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการเรยี นรู้ ท้งั น้ี ผู้สอนและผูเ้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั จากสือ่ การเรยี น
การสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
มาตรา30 ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนทมี่ ีประสิทธภิ าพ รวมท้งั สง่ เสริมให้ผูส้ อน
สามารถวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในแตล่ ะระดบั การศึกษา
หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษา มาตรา 48 กาหนดให้หนว่ ยงานต้นสังกัด
สถานศกึ ษาจดั ใหม้ รี ะบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือวา่ การประกนั คณุ ภาพภายในเป็นส่วน
หน่งึ ของการบรหิ ารการ
หมวด 9 เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษามาตรา 67 รฐั ต้องสง่ เสริมใหม้ ีการวจิ ัยและพัฒนา การผลิตและการ
พัฒนาเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คมุ้ ค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรยี นรูข้ องคนไทย
ดงั นนั้ จึงอาจสรุปไดว้ า่ พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2)
พ.ศ. 2554 ไดก้ าหนดให้นาการวจิ ยั มาใช้การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ดังนี้
1. การวจิ ยั ในกระบวนการเรยี นรู้ มุ่งใหผ้ เู้ รยี นทาวิจยั เพอ่ื ใช้กระบวนการวจิ ัยเปน็ ส่วนหน่งึ ของการ
เรยี นรู้ ผเู้ รียนสามารถวจิ ัยในเรื่องทส่ี นใจหรอื ต้องการหาความรูห้ รอื ตอ้ งการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ ซ่งึ
กระบวนการวิจัยจะช่วยใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ ึกการคิด ฝึกการวางแผน ฝึกการดาเนนิ งานและฝกึ หาเหตุผลในการตอบ
ปัญหา โดยผสมผสานองค์ความรูแ้ บบบูรณาการเพอ่ื ให้เกิดประสบการณ์การเรยี นรูจ้ ากสถานการณ์จรงิ
2. การวจิ ัยพัฒนาการเรยี นรู้ มงุ่ ใหผ้ ู้สอนสามารถทาวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรียนรดู้ ว้ ยการศึกษา
วิเคราะห์ปญั หาการเรียนรู้ วางแผนแกไ้ ขปญั หาการเรียนรู้ เกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ขอ้ มลู อย่างเป็น
ระบบ ผู้สอนสามารถทาวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษาที่นาไปสู่คณุ ภาพการเรียนรู้ ดว้ ยการศกึ ษา
วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ทดลองใช้นวตั กรรมการเรยี นรู้ เก็บ
รวบรวมข้อมูล และวเิ คราะห์ผลการใชน้ วัตกรรมนัน้ ๆ และผ้สู อนสามารถนากระบวนการวจิ ยั มาจดั กจิ กรรม
ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ ดว้ ยการใช้เทคนิควิธีการทช่ี ่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนจากการวเิ คราะห์ปัญหา สร้าง
แนวทางเลือกในการแกไ้ ขปัญหา ดาเนินการตามแนวทางทเ่ี ลือก และสรุปผลการแก้ไขปัญหาอันเปน็ การฝึก
ทักษะ ฝึกกระบวนการคิด ฝึกการจัดการจากการเผชิญสภาพการณ์จริง และปรับประยกุ ต์มวลประสบการณ์
มาใชแ้ ก้ไขปญั หา
3. การวจิ ยั พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งใหผ้ ้บู รหิ ารทาการวจิ ยั และนาผลการวจิ ัย
มาประกอบการตดั สินใจ รวมท้งั จัดทานโยบายและวางแผนบริหารจัดการสถานศึกษาใหเ้ ปน็ องค์กรท่นี าไป สู่
คุณภาพการจดั การศกึ ษา และเปน็ แหล่งสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์เรียนรขู้ องผเู้ รยี นอยา่ งมคี ณุ ภาพ
2. กระบวนการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้
กระบวนการวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ มขี น้ั ตอนการวิจัยเช่นเดยี วกบั กระบวนการวิจยั โดยท่ัวไป ดังนี้
แผนภูมิแสดงขน้ั ตอนการวจิ ยั โดยทั่วไป
กระบวนการวจิ ัยเพื่อการเรยี นรู้ ได้มกี ารนากระบวนการวิจยั ทว่ั ไปมาประยุกต์ใชใ้ นการแก้ไข
ปญั หา การเรียนรหู้ รอื การพฒั นาการเรยี นร้เู ป็นสาคัญ ดังนั้นในข้ันการศกึ ษาและวิเคราะห์ปัญหา จึงตอ้ งเนน้
ไปที่ผลการพัฒนาผู้เรยี น 3 ด้าน คือดา้ นความร(ู้ Cognitive Domain) ด้านทกั ษะ(Psychomotor
Domain) และดา้ นเจตคติ(Affective Domain) และก่อนทีผ่ สู้ อนจะใช้การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ เพอ่ื
แก้ปญั หาหรอื เพือ่ พัฒนาผูเ้ รียน เชน่ เดยี วกนั กับผ้บู ริหารจะทาการวจิ ยั เพื่อแกป้ ัญหาหรอื พฒั นาคณุ ภาพ
การศึกษาของสถานศกึ ษา ซ่งึ องค์ประกอบของกระบวนการวจิ ยั เพ่อื การเรียนรู้ มกี ารดาเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนื่อง
ดังแผนภูมิ
แผนภมู ิแสดงองค์ประกอบการเรยี นรดู้ ว้ ยการวิจัย
การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ มงุ่ เน้นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเปน็ เปา้ หมายของการจัดการ
เรยี นรู้ ดว้ ยการใชก้ ารวิจัยในกระบวนการเรยี นรู้ การวจิ ยั พฒั นาการเรียนรแู้ ละการวจิ ัยพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ซง่ึ มรี ายละเอียด ดงั นี้
1. การวิจัยในกระบวนการเรยี นรู้
การวจิ ัยในกระบวนการเรียนรู้ คอื การนาระเบียบวธิ วี ิจัยมามาใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรใู้ หก้ บั
ผูเ้ รยี น ซงึ่ มาจากความเชื่อว่า “ผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรดู้ ้วยตนเองและพฒั นาตนเองได้” ดังนั้นการ
จดั การศกึ ษาจะตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ โดยสง่ เสริมให้ผู้เรยี น
เรยี นรดู้ ้วยตนเองตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการ จากสือ่ และอุปกรณท์ ม่ี อี ยู่ตามแหล่งเรียนรตู้ า่ ง
ๆ ในครอบครัว ในสถานศกึ ษาและในชุมชนทีผ่ ู้เรยี นพบในชวี ิตประจาวนั
· แนวคิดเกี่ยวกบั การส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเอง มีหลายแนวคิด เช่น
1) แนวคดิ การเรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วม (Participation learning) ซงึ่ เนน้ การสรา้ งความรจู้ าก
ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้เรยี นและการมีปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผเู้ รยี น
2) แนวคดิ การเรยี นรูต้ ามหลกั พุทธศาสนา ซ่งึ มี 3 ระดับ คอื การรู้จาจากการบอกหรือสอน การรจู้ กั
จากการคดิ หาเหตุผล และการรูแ้ จง้ จากการสร้างความเข้าใจอย่างแจ่มแจง้ ด้วยการค้นพบด้วยตนเอง
3) แนวคิดการสร้างความรู้ (Constructivism) เน้นการสรา้ งความรดู้ ้วยตนเองจากวิธกี ารตา่ ง ๆ กัน
โดยอาศัยประสบการณเ์ ดมิ จากโครงสรา้ งทางปญั ญา และแรงจูงใจ
จากแนวคดิ ดังกล่าวท่นี ามาใช้ในการสง่ เสริมการเรยี นรใู้ หก้ ับผู้เรยี นได้ ประสบความสาเร็จในการเรียนรไู้ ด้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ควรจัดกระบวนการเรียนร้อู ยา่ งเปน็ ระบบโดยอาศัยกระบวนการวิจัยเข้ามาช่วยในการ
เรยี นรูใ้ นเร่ืองทมี่ ีความซับซอ้ นทาให้ผ้เู รียนได้ฝึกคิด การจดั การ การหาเหตุผลในการแก้ปัญหา การผสมผสาน
ความรู้แบบสหวทิ ยาการและการเรยี นรู้ปัญหาท่ผี ู้เรยี นสนใจ ครจู ะตอ้ งส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีอสิ ระในการทดลอง
ใช้แนวคิดและวิธีการตา่ ง ๆในการเรียนรู้ การทดสอบความรทู้ ี่ไดร้ ับและการสรุปความรู้ เจตคติ และทกั ษะอัน
เปน็ เครอื่ งมือพัฒนาการเรียนรตู้ ลอดชีวิต มีพฒั นาการทางสติปญั ญา ทางอารมณ์ สังคม และทางร่างกาย ซึง่
รูปแบบการวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ มดี ังนี้
แผนภมู ิ แสดงการวจิ ัยในกระบวนการเรียนรู้
จากแผนภูมิ การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ ซง่ึ เปา้ หมายของการจัดการเรยี นรู้ คือผู้เรยี นมคี วามรู้ เจตคติ และ
ทักษะ ซง่ึ ไดจ้ ากการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการวจิ ัยอย่างเปน็ ระบบ มี 5 ข้ันตอน ดังนี้
ขั้นตอนท่ี 1 การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการการเรยี นรู้ ข้ันตอนนี้ผเู้ รยี นจะตอ้ งทราบความตอ้ งการการ
เรียนรขู้ องตนเอง มีการลาดบั ความสาคัญของความตอ้ งการกอ่ นหลังทต่ี อ้ งการจะเรียนเรียน และนาเรอ่ื งท่ีมี
ความสาคัญลาดับแรก มากาหนดเป้าหมายของการเรยี นรู้
ขั้นตอนท่ี 2 การวางแผนการเรยี นรู้ ผเู้ รยี นจะตอ้ งวางแผนการเรียนรู้ของตนเองว่าจะเรียนเรอื่ งอะไร ใช้
เวลาเรียนเท่าไร เรยี นรู้ดว้ ยวิธใี ด เรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ใด ต้องใช้ส่ืออะไร และเมอ่ื มปี ัญหาในการเรียน
จะตอ้ งปรึกษาใคร เมอ่ื ได้รับความร้แู ลว้ จะนาความรไู้ ปใชอ้ ย่างไร ตลอดจนวางแผนการนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ น
การปรบั ปรงุ และพัฒนางาน
ขนั้ ตอนที่ 3 การพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ เปน็ ขนั้ ตอนของการปฏิบัตเิ พื่อแสวงหาความรตู้ ามทไ่ี ด้
วางแผนไว้ ซึง่ อาจใชว้ ิธีการต่าง ๆ ในการเรียนรู้ เชน่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การบันทกึ ขอ้ ความ การสรุป
ความ การเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรู้ เช่น ศนู ย์วิทยาการ สือ่ ส่ิงพมิ พ์ ส่อื บุคคลและสอ่ื เทคโนโลยี เปน็ ต้น เม่อื ได้
ความรู้แล้วควรตรวจสอบความถกู ตอ้ งของความรทู้ ไี่ ด้ และนาความรไู้ ปใช้ให้เปน็ ไปตามเป้าหมายของการ
เรยี นรู้
ขัน้ ตอนท่ี 4 การสรุปความรู้ เป็นขน้ั ตอนที่ผู้เรียนสรปุ ความรแู้ ละนาเสนอความรทู้ ี่ได้จากการศึกษา
ค้นควา้ ในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น รปู ภาพ แผนภาพ แผนภมู ิ ฯลฯ และอาจใช้ เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ หรือเทคโนโลยี
ต่าง ๆมาชว่ ยในการนาเสนอ
ข้นั ตอนท่ี 5 การประเมนิ ผลเพอ่ื ปรบั ปรงุ และนาไปใชใ้ นการพัฒนา เป็นข้นั ตอนท่ีผเู้ รยี นประเมิน
กระบวนการเรียนรขู้ องตนเองในระหว่างการเรยี นรูท้ กุ ขั้นตอน เพอื่ นาไปส่กู ารปรับปรงุ และการนาไปใช้พฒั นา
งานตอ่ ไป
2. การวิจยั พฒั นาการเรยี นรู้
ในการจดั การเรียนรเู้ พ่ือให้ผเู้ รียนเป็นมนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์ทงั้ รา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้ และ
คุณธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้อยา่ งมคี วามสุขนน้ั ผูส้ อน
จะตอ้ งคานงึ ถึงมาตรฐานการจดั การศึกษา ทก่ี าหนดในการจัดการเรียนรูท้ ่มี ุง่ พัฒนาผู้เรยี นเป็นสาคญั คือ
ผเู้ รียนจะต้องเกดิ กระบวนการเรยี นร้ตู รงตามเป้าหมายการเรียนรู้ ซึง่ จะต้องมีการปรับปรงุ และพฒั นาการ
จัดการเรียนรู้ของผู้สอนอยา่ งตอ่ เน่อื ง ดงั นน้ั การทาวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรจู้ งึ มีบทบาสาคญั ในการ
พฒั นาการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนจาเป็นจะตอ้ งบูรณาการภารกิจของการวิจยั มาใช้เป็นเครือ่ งมือในการ
พฒั นาการเรียนรู้ ดงั นี้
1. ในการจดั กระบวนการเรยี นการสอน ควรใชก้ ระบวนการวิจยั มาเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้
2. ทาวจิ ยั เพอื่ จัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั ผูเ้ รยี น
3. นาผลการวิจัยมาใชใ้ นการปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนการสอน
ดังน้ัน การใช้การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้จงึ เปน็ ภารกิจที่สาคัญและจาเป็นท่ีผูส้ อนควรนามาใชใ้ นการ
แกป้ ญั หาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ มกี ารดาเนนิ งาน ดังน้ี
แผนภมู ิ แสดงกระบวนการการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้
จากแผนภมู ิกระบวนการวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน ดังน้ี
ขั้นตอนท่ี 1 วิเคราะห์ความตอ้ งการ/พฒั นาการเรยี นรู้
ข้ันตอนที่ 2 วางแผนการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ ตอนท่ี 3 จดั กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นตอนท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้
ขั้นตอนท่ี 5 ทารายงานผลการเรยี นรู้
กระบวนการทั้ง 5 ข้ันตอนผสู้ อนจะต้องนาวิธวี ิจัยมาใช้ในการดาเนินงาน และในขั้นตอนที่ 3 เมื่อผู้สอนทาการ
ประเมนิ ระหว่างจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู ล้วพบวา่ มีปัญหาเกิดขึ้นเล็กนอ้ ย ผู้สอนจะตอ้ งดาเนนิ การปรับปรุง
แกไ้ ขการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื่ ให้บรรลผุ ลตามจดุ ม่งุ หมายที่กาหนดไว้ และเม่อื ผูส้ อนประเมนิ ผลการ
เรยี นรูใ้ นข้นั ตอนที่ 4 แลว้ พบว่าไมม่ ปี ญั หา ผเู้ รียนมีการพัฒนาการเรยี นรู้ทตี่ รงกบั จุดม่งุ หมายของการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนจะตอ้ งจดั ทารายงานผลการเรยี นรู้ เพ่ือรายงานแกผ่ เู้ กย่ี วขอ้ งเพอื่ ทราบและใช้
ประโยชน์ต่อไป
ในกรณผี ู้สอนทาการประเมนิ ผลการเรียนรู้ในข้นั ตอนที่ 4 แลว้ พบวา่ มปี ญั หารุนแรง หรอื พบวา่ มี
บางเร่ืองที่จาเปน็ ต้องพฒั นา แต่ไมอ่ าจทาได้ทันที เช่น ผู้เรยี นวิชาภาษาไทยขาดทกั ษะการอา่ น โดยเฉพาะการ
อา่ นจบั ใจความ ผู้สอนจะต้องทาวจิ ัยเพอื่ แก้ปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึน โดยดาเนินการดงั นี้
1) จดั กิจกรรมแกป้ ญั หา/พัฒนา
2) เกบ็ รวบรวมข้อมลู /วิเคราะห์ข้อมูล
3) สรุปผลการแก้ปัญหา/พฒั นา
เม่อื ได้ผลการแก้ปญั หา/พฒั นาแล้ว ผ้สู อนจะต้องกลับไปประเมินผลการเรยี นรูแ้ ละรายงานตอ่
ผเู้ กยี่ วข้องเพื่อนาไปใช้ประโยชนแ์ ละเมือ่ ผู้สอนได้ทาวจิ ยั เพ่มิ เติมเพือ่ แกป้ ัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ ในการจัดการเรยี นรู้ได้
แลว้ ผู้สอนจะต้องนาผลวจิ ัยไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ต่อไป
3. การวจิ ยั พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาที่มปี ระสทิ ธิภาพน้ัน ขนึ้ อยู่กบั องค์ประกอบภายในของสถานศกึ ษา
เชน่ ผสู้ อน ผ้เู รยี น หลกั สตู ร สอื่ วสั ดุอปุ กรณต์ ่าง ๆ และผู้ท่มี ีบทบาทสาคัญทสี่ ุดในการทาใหก้ จิ กรรมต่าง ๆ
ของสถานศกึ ษาดาเนนิ ไปได้ดว้ ยดี คอื ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ซงึ่ จะตอ้ งระดมสรรพกาลงั บคุ ลากรทุกฝ่ายต้งั แต่
ผูส้ อน ผู้เรียน กรรมการสถานศึกษา และชมุ ชน มารว่ มกนั วิเคราะหป์ ญั หาและความต้องการ เพ่ือกาหนด
ทศิ ทางหรือวิสยั ทศั น์ จดั ทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา จดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร การดาเนนิ งานตามแผน การ
นเิ ทศติดตามผล และการจดั ทารายงานผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
กระบวนการตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วถือวา่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาได้นากระบวนการวจิ ยั มาใช้ในการบริหาร
จัดการของสถานศกึ ษา ดงั นี้
แผนภูมแิ สดงการวิจัยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
จากแผนภูมจิ ะเห็นไดว้ ่าผู้บริหารได้ใช้กระบวนการวจิ ัยมาดาเนนิ การบริหารสถานศกึ ษา เรม่ิ ตั้งแต่
การวเิ คราะห์ปญั หาและความตอ้ งการเพือ่ กาหนดทิศทาง/วสิ ยั ทัศนจ์ ดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา/
แผนปฏิบตั ิการ กากบั ดูแลการปฏิบัติงานให้เปน็ ไปตามแผน นิเทศ ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน และ
จัดทารายงานผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
ในกรณที ่ีประเมนิ ผลการดาเนินงานแล้วพบว่ามปี ัญหารนุ แรงหรอื พบเร่อื งที่ควรไดร้ บั การพฒั นา
ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งทาวจิ ัยเพ่ือแกป้ ญั หาหรือพฒั นางานดงั กล่าวในระหว่างข้ันตอนท่ี 4 ของการดาเนินงาน โดยมี
ขั้นตอนวจิ ัย 5 ขนั้ ตอน ดังนี้
1. การวิเคราะห์ปญั หา/พัฒนา
2. วางแผนแก้ปญั หา/พฒั นา
3. จัดกิจกรรมแกป้ ญั หา/พัฒนา
4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูล
5. สรปุ ผลการแก้ปญั หา/พฒั นา
เม่อื สรุปผลการแก้ปัญหา/พัฒนา เสรจ็ แล้วขั้นต่อไปคอื การนาผลการวจิ ัยไปใช้ และประเมนิ ใน
ขั้นตอนที่ 4 ของการดาเนินงานบริหารอกี ครงั้ ถา้ พบว่าไมม่ ีปญั หา จึงจัดทารายงานผลการดาเนนิ งาน
สถานศึกษาใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งทราบหรอื เป็นข้อมลู ในการพัฒนา ตอ่ ไป
7.ความเขา้ ใจผู้เรยี นและการเรียนรู้
การเรยี นรเู้ ป็นการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมท่ีถาวร เนอื่ งจากการฝกึ ปฏบิ ัติหรอื ประสบการณก์ าร
เรยี นรขู้ น้ึ อยกู่ บั ปัจจัย 5ประการคือ 1. ความสามารถของผู้เรียน 2. ระดับของแรงจงู ใจ 3. ผู้เรียนเสาะหา
วธิ ีการที่เหมาะสมในการแก้ปญั หา 4. ผลของความก้าวหน้าจากการเลอื กแกป้ ัญหาทลี่ ดความตงึ เครียด
และ 5. การขจัดพฤตกิ รรมทีไ่ มเ่ หมาะสม
ขอบเขตของการเรียนรู้ 4 ประการ
บลมู และเพื่อนๆเป็นทร่ี จู้ ักกันดีในการแบง่ การเรียนรอู้ อกเปน็ 3 ประเภท คือ ดา้ นปัญญาหรอื พุทธ
พิสัย ด้านทกั ษะพสิ ยั พทุ ธพสิ ัยรวมถึงการเรียนรู้และการประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทักษะพสิ ยั รวมถงึ การพฒั นาเสรี
ทางกายและทักษะทต่ี ้องการใชก้ ล้ามเนอ้ื สมั พนั ธก์ ับประสาทจติ พิสัยเกีย่ วขอ้ งกับการไดม้ าซงึ่ เจตคติ ความ
ซาบซึ้งและคา่ นยิ ม การเรียนรทู้ งั้ 3 ประการนี้ ควรได้รับการพิจารณาในการวางแผนผลทไี่ ดร้ ับจากการเรียนรู้
ท่ีได้จากการเรยี นการสอน ในการท่จี ะประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายของการศึกษาขอบเขตการเรียนร้ทู ั้ง 3 นี้
ตอ้ งได้รับการบูรณาการเขา้ ไว้ในทกุ ลักษณะของการเรยี นการสอนและการพฒั นาหลกั สูตรซงึ่ จะทาใหผ้ ูเ้ รยี น
กลายเป็นจุดโฟกสั ของกระบวนการเรียนการสอนการเรยี นรู้
อนุกรมภธิ าน เป็นระบบของการแยกแยะบางพฤติกรรมทน่ี กั เรยี นสามารถคาดหวงั ทจ่ี ะทาให้ได้
ภายหลงั จากท่ีได้เรยี นร้แู ล้ว อนุกรมภิธานเป็นท่ีร้จู กั กันมากทสี่ ดุ คอื อนกุ รมภธิ านดา้ นพุทธพิสัยของบลมู และ
เพื่อนๆ
พทุ ธพิ สิ ยั รวมถึง ความรู้ ความเข้าใจการนาไปประยุกตใ์ ช้ในการวิเคราะห์ การสังเคราะหแ์ ละการ
ประเมนิ คา่ พุทธพิ สิ ัยแต่ละประเภทในอนุกรมอภธิ าน ประกอบดว้ ยองค์ประกอบบางประการของประเภท
ความรทู้ ตี่ ้องมากอ่ นอนกุ รมนีม้ ปี ระโยชนส์ าหรบั การออกแบบหลักสูตรและการสร้างแบบทดสอบ
จิตพิสยั การเรยี นรูท้ างเจตคตพิ าดพิงถึงคณุ ลกั ษณะของอารมณข์ องการเรยี นรู้ เกย่ี วข้องวา่ นกั เรียน
รสู้ ึกอย่างไรเก่ยี วกับประสบการณ์การเรยี นรู้ รู้สึกอย่างไรกับการเรยี นร้กู บั ตนเอง และเปน็ การพิจารณาความ
สนใจ ความซาบซึ้ง เจตคติค่านยิ มและคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน
ทักษะพสิ ยั เกีย่ วข้องกบั ทางรา่ งกายหรือทกั ษะทางประสาทและกลา้ มเน้ือสัมพันธ์กนั ในการเฝา้ ดู
การเรียนรู้ทจี่ ะเดนิ ก็จะความคิดว่ามนุษยเ์ รยี นร้ทู ักษะการเคลอ่ื นไหวอยา่ งไร เมือ่ เดก็ ไดร้ ับความคดิ ว่าต้องการ
อะไรและมีทักษะท่ีต้องมีมาก่อนมคี วามแขง็ แรง และวุฒภิ าวะและอนื่ ๆ เด็กจะพยายามมีความหยาบๆ ซึง่ จะ
ค่อยๆแกไ้ ขผ่านไปขอ้ มูลกลับย้อนมาจากสิ่งแวดล้อม เชน่ ธรณีประตู
สังคมพสิ ัย มีความใกล้เคยี งและสัมพนั ธก์ ับจิตพสิ ัย และเก่ยี วขอ้ งกบั การปรบั ตัวของบุคคลและ
ทกั ษะการปฏสิ ัมพนั ธท์ างสงั คม ซิงเกอรแ์ ละดิค ได้สรปุ สิ่งทเี่ กย่ี วข้องกับสงั คมพิสยั ไว้ 4 ประการ ดังน้ี
คอื 1. ความประพฤติ การปฏิบตั ิ 2. ความมั่นคงทางอารมณ์ 3. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล และ 4. การร้จู ัก
เตมิ เตม็ ตัวเองให้สมบรู ณ์ ทเ่ี รียกว่า Self – fulfillment ครตู อ้ งม่ันใจในทกั ษะทางสังคมทางบวกมากกวา่ ทาง
ลบเปน็ ผลท่ปี รากฏภายหลงั ของการศกึ ษา
8.การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง
การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั เปน็ การ
เรยี นร้มู ่งุ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผู้เรยี น สนองความแตกต่างระหวา่ ง บคุ คล ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรู้อย่างแท้จริง
เรียนรู้อย่างมีความสขุ ได้พัฒนาเดก็ ตามศกั ยภาพรอบดา้ นสมดลุ
หรืออกี นยั หน่งึ ว่า การเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง หมายถงึ การสอนทมี่ ุ่งจัดกิจกรรม
การเรียนรทู้ ี่สอดคล้องกับการดารงชีวติ เหมาะกับความสามารถและความสนใจของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนมสี ่วน
ร่วมและลงมือปฏบิ ัติจรงิ ทุกขน้ั ตอน จนเกดิ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง หรืออาจกลา่ วอกี นยั หนึ่งไดเ้ ช่นกนั ว่า
หมายถึงผเู้ รียนเกิดการเรยี นรอู้ ย่างแทจ้ รงิ เรียนอยา่ งมีความสขุ
แนวคิด
ปัจจุบันมกี ารกลา่ วขานกนั มากถึงการจัดการเรยี นรทู้ เี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง หรอื เน้นผเู้ รยี นเปน็
สาคัญ ซง่ึ นักการศกึ ษาเป็นผคู้ ิดค้นและใช้คาน้ีเป็นคร้ังแรก คือ อาร์ โรเจอร์ โดยเชอ่ื ว่าวิธกี ารเรยี นการสอนที่
เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั เป็นการสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบ โดยสง่ เสริมความคดิ ของผู้เรยี นและอานวย
ความสะดวกให้ผเู้ รยี นและอานวยความสะดวกให้ผู้เรยี นได้พัฒนาศกั ยภาพสงู สุดของตนเองโดยมีแนวคดิ ดังน้ี
1. ผเู้ รยี นตอ้ งรับผดิ ชอบต่อการเรียนรู้ของตน
2. เนื้อหาวิชามคี วามสาคญั และมคี วามหมายตอ่ การเรียน
3. การเรียนร้จู ะประสบความสาเร็จ ถ้าผู้เรยี นมีสว่ นรว่ ม
4. สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผเู้ รียน การมีปฏิสมั พันธ์
5. ครูเปน็ มากไปกว่าการสอน ครูเปน็ ท้ังทรพั ยากรบคุ คล เป็นแหลง่ การเรียนรู้ เปน็ ผอู้ านวยความสะดวก
6. ผู้เรยี นมีโอกาสเหน็ ตนเองในแงม่ ุมทแ่ี ตกตา่ งจากเดมิ
7. การศึกษาเปน็ การพฒั นาประสบการณก์ ารเรียนรู้ของผูเ้ รยี นหลายๆด้าน
8. ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้วธิ กี ารทางานอยา่ งเปน็ กระบวนการ
9. ผ้เู รียนนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้
10. การเน้นผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางก่อใหเ้ กิดความเป็นประชาธิปไตย
11. การเน้นผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลางสอนใหผ้ ู้เรยี นรู้จักวพิ ากษว์ จิ ารณ์
12. การเนน้ ผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลางทาให้เกดิ การนาตนเอง
13. การเน้นผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางกอ่ ให้เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์
14. การเน้นผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางก่อใหเ้ กิดการพัฒนามโนทัศน์ของตน
15. การเนน้ ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลางเป็นการเสาะแสวงหาความสามารถพิเศษของผเู้ รียน
16. การเน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางเปน็ วิธีการทดี่ ีจะช่วยดึงศักยภาพของผ้เู รยี น
9.รปู แบบการเรียนรูแ้ ละวิธกี ารจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง
ในการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง มรี ปู แบบการเรยี นรู้ วธิ กี ารและการจัดการ
เรยี นการสอนทห่ี ลากหลายกลา่ วคือ
รปู แบบการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย เช่น การเรยี นร้แู บบสบื สวน การเรียนรู้การใชเ้ หตุผลเชิงจริยธรรม
การเรียนรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม การเรยี นร้แู บบโครงงาน การเรยี นรูแ้ บบกระบวนการทางปัญญา การเรียนรู้โดยใช้
แผนการออกแบบประสบการณ์ วธิ ีการจัดการเรียนการสอน การสอนที่หลากหลาย เช่น เกมการศึกษา
สถานการณจ์ าลอง กรณตี วั อย่าง บทบาทสมมติ การแก้ปญั หา โปรแกรมสาเร็จรปู ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ชุดการ
เรียน คอมพวิ เตอร์
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
ในช้นั เรียนหน่ึงๆจะมีความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลอยูม่ าก ไมม่ ีใคร 2 คนที่เหมอื นกนั ทกุ ประการ
แมก้ ระทั่งลูกแฝดทเ่ี กิดจากไขใ่ บเดยี วกนั และผูเ้ รียนแตล่ ะคนกจ็ ะมีสไตล์การเรยี นร้ทู ่เี ปน็ ของตวั เอง และมี
ความถนดั ในการเรียนร้ทู แ่ี ตกต่างกนั ท้ัง 4แบบ (จินตนาการ วิเคราะห์ สามญั สานึกเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง : พล
วัต)ิ เพือ่ ให้ผ้เู รียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกสนานและมสี ว่ นรว่ มในรูปแบบการเรยี นรตู้ ามท่ีถนัด ทั้งยังมีการ
พัฒนาความสามารถในด้านอ่นื ๆ ท่ีตนไม่ถนดั ดว้ ยวธิ กี ารเรียนรูร้ ปู แบบอ่ืน ๆ
จอห์สันและจอห์สนั (Johnhon and Jonhon, 1991) จดั ให้มยี ุทธศาสตร์ 5 ประการทอี่ นญุ าตใหเ้ รยี นรแู้ บบ
รว่ มมอื กนั ไปใชอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพในเชิงวชิ าการดา้ นใด ๆ คอื
1. ระบุจุดประสงคข์ องบทเรยี นให้ชัดเจน
2. ตดั สนิ ใจในการกาหนดให้นักเรียนอยใู่ นกลุ่มการเรยี นรูใ้ ดกอ่ นท่ีจะสอน
3. อธิบายภาระงาน โครงสร้างของเป้าประสงคแ์ ละกจิ กรรมการเรียนรู้อย่างชดั เจน
4. เฝ้าระวังประสทิ ธผิ ลของกลมุ่ และคอยให้ความช่วยเหลอื
5. ประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรยี น
ลักษณะและองค์ประกอบพ้นื ฐาน
1. ความเกีย่ วขอ้ งสมั พันธก์ นั หรือการพงึ่ พาในทางบวก
2. ความสมั พนั ธ์แบบหันหน้าเข้าหากัน
3. มาตรฐานการตรวจสอบรายบุคคล
4. การใชท้ ักษะระหว่างบุคคลและทกั ษะการทางานกลมุ่ ยอ่ ย
5. การใช้กระบวนการกลุ่ม
10. การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning
Active Learning คอื กระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ่ผี ู้เรียนได้ลงมอื กระทาและได้ใช้กระบวนการคดิ
เกย่ี วกับสิ่งท่เี ขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เปน็ การจดั กิจกรรมการเรียนร้ภู ายใตส้ มมติฐานพื้นฐาน
2 ประการคือ 1) การเรยี นรเู้ ป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนษุ ย์ และ 2) แตล่ ะบคุ คลมีแนวทางในการ
เรียนรทู้ ่แี ตกตา่ งกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผูเ้ รยี นจะถกู เปลยี่ นบทบาทจากผู้รบั ความร้(ู receive)
ไปสกู่ ารมีส่วนร่วมในการสร้างความรู(้ co-creators) ( Fedler and Brent, 1996)
Active Learning เป็นกระบวนการเรยี นการสอนอยา่ งหนึง่ แปลตามตัวกค็ อื เป็นการเรียนรผู้ ่านการปฏบิ ตั ิ
หรือ การลงมือทาซ่ึง ” ความรู้ “ที่เกดิ ข้ึนกเ็ ป็นความรู้ที่ไดจ้ ากประสบการณ์ กระบวนการในการจัดกจิ กรรม
การเรียนร้ทู ี่ผูเ้ รยี นตอ้ งไดม้ ีโอกาสลงมอื กระทามากกวา่ การฟงั เพยี งอย่างเดยี ว ตอ้ งจัดกิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นไดก้ าร
เรียนรู้โดยการอ่าน, การเขยี น, การโตต้ อบ, และการวเิ คราะหป์ ญั หา อีกท้ังใหผ้ ู้เรียนไดใ้ ชก้ ระบวนการคิดข้ัน
สงู ได้แก่ การวิเคราะห์, การสงั เคราะห์, และการประเมนิ ค่า ดงั กล่าวนน่ั เองหรือพดู ให้งา่ ยข้นึ มาหนอ่ ยก็คอื
หากเปรยี บความร้เู ป็น ” กบั ข้าว ” อย่างหนึ่งแลว้ Active learning ก็คือ ” วิธีการปรุง ” กบั ข้าวชนดิ นั้น
ดังน้นั เพ่อื ให้ไดก้ บั ข้าวดังกล่าว เราก็ตอ้ งใช้วิธกี ารปรุงอันน้แี หละแต่วา่ รสชาติจะออกมาอย่างไรกข็ ้นึ กับ
ประสบการณค์ วามชานาญ ของผปู้ รงุ น่นั เอง ( ส่วนหน่งึ จากผู้สอนให้ปรุงด้วย ) “เป็นกระบวนการเรียนรูท้ ่ีให้
ผู้เรียนได้เรยี นรอู้ ย่างมีความหมาย โดยการร่วมมอื ระหว่างผู้เรยี นดว้ ยกัน ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการ
สอนและการให้ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รยี นโดยตรงลง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกจิ กรรมท่จี ะทาให้ผู้เรียนเกดิ ความ
กระตือรอื รน้ ในการจะทากจิ กรรมต่าง ๆ มากข้ึน และอยา่ งหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปลีย่ น
ประสบการณ์ โดยการพูด การเขยี น การอภปิ รายกับเพ่ือนๆ” กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาให้
ผู้เรียนสามารถรกั ษาผลการเรียนรใู้ หอ้ ยู่คงทนไดม้ ากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive
Learning เพราะกระบวนการเรยี นรู้ Active Learning สอดคล้องกบั การทางานของสมองท่เี กีย่ วข้องกับ
ความจา โดยสามารถเกบ็ และจาสิ่งที่ผ้เู รยี นเรยี นรู้อย่างมีสว่ นรว่ ม มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ กับเพื่อน ผสู้ อน สง่ิ แวดลอ้ ม
การเรยี นรูไ้ ด้ผ่านการปฏบิ ัตจิ รงิ จะสามารถเก็บจาในระบบความจาระยะยาว (Long Term Memory) ทา
ใหผ้ ลการเรยี นรู้ ยงั คงอยู่ได้ในปริมาณทม่ี ากกวา่ ระยะยาวกวา่ ซงึ่ อธบิ ายไว้ ดงั รูป
จากรปู จะเห็นได้วา่ กรวยแห่งการเรยี นรู้นไ้ี ด้แบง่ เปน็ 2 กระบวนการ คือ กระบวนการเรยี นรู้ Passive
Learning กระบวนการเรียนรู้โดย การอ่านท่องจาผูเ้ รยี นจะจาได้ในส่ิงที่เรียนไดเ้ พยี ง 10% การเรยี นรโู้ ดยการ
ฟงั บรรยายเพียงอย่างเดยี วโดยท่ีผเู้ รียนไม่มีโอกาสไดม้ ีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ดว้ ยกจิ กรรมอื่นในขณะทอี่ าจารย์
สอนเมื่อเวลาผา่ นไปผู้เรยี นจะจาได้เพียง 20%หากในการเรียนการสอนผเู้ รียนมโี อกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบ
ดว้ ยกจ็ ะทาให้ผลการเรียนร้คู งอยู่ไดเ้ พิม่ ขน้ึ เป็น 30%กระบวนการเรยี นรูท้ ผ่ี สู้ อนจดั ประสบการณ์ให้กบั ผูเ้ รียน
เพ่ิมขึ้น เช่น การให้ดูภาพยนตร์ การสาธติ จัดนทิ รรศการให้ผเู้ รียนได้ดู รวมทง้ั การนาผเู้ รยี นไปทศั น
ศึกษา หรือดงู าน กท็ าใหผ้ ลการเรียนร้เู พ่ิมขน้ึ เป็น 50%
การบวนการเรยี นรู้ Active Learning
การใหผ้ ูเ้ รยี นมบี ทบาทในการแสวงหาความรู้และเรยี นรูอ้ ยา่ งมปี ฏสิ มั พนั ธจ์ นเกิดความรู้ ความเข้าใจ
นาไปประยุกต์ใชส้ ามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่าหรอื สรา้ งสรรค์สิง่ ตา่ ง ๆ และพฒั นาตนเองเตม็
ความสามารถ รวมถึงการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ให้เขาได้มโี อกาสร่วมอภิปรายใหม้ โี อกาสฝกึ ทักษะการ
สื่อสาร ทาให้ผลการเรียนร้เู พ่ิมขึน้ 70%การนาเสนองานทางวิชาการ เรยี นรู้ในสถานการณจ์ าลอง ท้ังมกี ารฝึก
ปฏิบตั ิ ในสภาพจรงิ มีการเชอ่ื มโยงกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ซ่งึ จะทาใหผ้ ลการเรยี นร้เู กิดขนึ้ ถงึ 90%
ลักษณะของ Active Learning (อ้างองิ จาก :ไชยยศ เรืองสวุ รรณ)
เปน็ การเรยี นการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแก้ปญั หา การนาความรไู้ ป
ประยกุ ต์ใชเ้ ปน็ การเรยี นการสอนทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรียนรูผ้ ู้เรียนสร้างองค์ความรแู้ ละ
จัดระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเองผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มกี ารสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฎิ
สมั พนั ธร์ ว่ มกัน และรว่ มมือกนั มากกวา่ การแขง่ ขนั ผู้เรียนได้เรยี นรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกัน การมวี นิ ัยในการ
ทางาน และการแบง่ หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบเป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ หผ้ ู้เรียนอ่าน พูด ฟงั คดิ
เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนเนน้ ทกั ษะการคิดขั้นสูงเป็นกิจกรรมทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นบรู ณาการขอ้ มูล,
ขา่ วสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสกู่ ารสรา้ งความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอดผู้สอนจะเป็นผอู้ านวยความ
สะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเป็นผ้ปู ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองความร้เู กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์
ความรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรียน
บทบาทของครู กับ Active Learning ณชั นัน แก้วชยั เจริญกิจ (2550) ไดก้ ลา่ วถงึ บทบาทของ
ครผู ู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Active Learning ดงั น้ี จดั ให้ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลางของ
การเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการในการพฒั นาผู้เรยี นและเนน้ การนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิต
จรงิ ของผูเ้ รยี นสรา้ งบรรยากาศของการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ที่ดีกบั
ผู้สอนและเพ่ือนในชน้ั เรียนจดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในทกุ
กจิ กรรมรวมท้ังกระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นประสบความสาเร็จในการเรียนร้จู ัดสภาพการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ ส่งเสริมให้
เกิดการรว่ มมือในกลุ่มผู้เรียนจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหท้ า้ ทาย และให้โอกาสผเู้ รยี นไดร้ บั วิธกี ารสอนที่
หลากหลายวางแผนเกย่ี วกบั เวลาในจัดการเรยี นการสอนอย่างชัดเจน ทงั้ ในสว่ นของเน้อื หา และกิจกรรม
ครูผสู้ อนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เของท่ีผ้เู รียน
การจัดการเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (PROJECT-BASED LEARNING)
ความหมาย
การจดั การเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน หมายถึง การจัดการเรยี นรทู้ มี่ คี รูเป็นผู้กระตนุ้ เพ่อื นาความ
สนใจทเี่ กิดจากตวั นกั เรยี นมาใช้ในการทากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตัวนกั เรยี นเอง นาไปสูก่ ารเพม่ิ ความรู้ท่ี
ได้จากการลงมือปฏิบัติ การฟังและการสังเกตจุ ากผูเ้ ช่ยี วชาญ โดยนกั เรียนมีการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการ
ทางานเปน็ กลุ่ม ท่ีจะนามาสู่การสรุปความรใู้ หม่ มกี ารเขยี นกระบวนการจดั ทาโครงงานและไดผ้ ลการจัด
กิจกรรมเป็นผลงานแบบรปู ธรรม (ดุษฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 19-20)
ลกั ษณะเด่น
การเรยี นรู้แบบโครงงาน เป็นอกี รปู แบบหน่งึ ท่มี ีผใู้ ห้ความสนใจมากในปจั จุบนั McDonell (2007) ได้
กลา่ ววา่ การเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นรูปแบบหน่ึงของ Child- centered Approach ท่เี ปิดโอกาสให้นกั เรียน
ไดท้ างานตามระดบั ทักษะท่ีตนเองมีอยู่ เปน็ เรอื่ งทส่ี นใจและรสู้ กึ สบายใจทีจ่ ะทา นกั เรียนได้รับสิทธิในการ
เลือกว่าจะต้งั คาถามอะไร และตอ้ งการผลผลิตอะไรจากการทางานช้ินน้ี โดยครทู าหนา้ ทเ่ี ป็นผสู้ นับสนุน
อุปกรณแ์ ละจดั ประสบการณ์ใหแ้ ก่นักเรียน สนบั สนนุ การแกไ้ ขปญั หา และสร้างแรงจงู ใจให้แก่นกั เรียน โดย
ลักษณะของการเรียนรู้แบบโครงงาน มดี งั นี้
1. นกั เรยี นกาหนดการเรียนรขู้ องตนเอง
2. เช่อื มโยงกบั ชีวติ จริง สง่ิ แวดล้อมจริง
3. มีฐานจากการวิจัย หรือ องคค์ วามรูท้ เ่ี คยมี
4. ใชแ้ หล่งขอ้ มูล หลายแหล่ง
5. ฝังตรงึ ดว้ ยความรู้และทักษะบางอยา่ ง (embedded with knowledge and skills)
6. ใช้เวลามากพอในการสร้างผลงาน
7. มผี ลผลติ
แนวคิดสาคญั
การเรียนรู้แบบโครงงานนน้ั มีแนวคิดสอดคล้องกับ John Dewey เรื่อง “learning by doing” ซ่ึง
ได้กลา่ ววา่ “Education is a process of living and not a preparation for future living.” (Dewey
John, 1897: 79 cite in Douladeli Efstratia, 2014) ซงึ่ เป็นการเนน้ การจัดการเรียนรู้ท่ีให้นกั เรยี นได้รับ
ประสบการณ์ชีวิตขณะท่เี รยี น เพอื่ ให้นักเรยี นได้พัฒนาทักษะตา่ ง ๆ ซง่ึ สอดคล้องกบั หลกั พฒั นาการคิดของ
Bloom ทง้ั 6 ขน้ั คือ ความรคู้ วามจา (Remembering) ความเข้าใจ (understanding) การประยุกตใ์ ช้
(Applying) การวเิ คราะห์ (Analyzing) การประเมินค่า (Evaluating) และ การคิดสรา้ งสรรค์ (Creating) ซ่งึ
การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน น้ันจงึ เป็นเปน็ อีกรปู แบบหน่ึง ทถี่ ือไดว้ ่าเป็น การจัดการเรียนรทู้ ี่
เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เนอื่ งจากผูเ้ รียนได้ลงมอื ปฏิบตั เิ พอ่ื ฝกึ ทกั ษะตา่ ง ๆ ด้วยตนเองทกุ ขน้ั ตอน โดยมีครูเป็นผู้
จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
การเตรยี มตัวของครกู ่อนการจดั การเรยี นรู้
ในการจดั การเรยี นรูแ้ ตล่ ะครัง้ ครูจะต้องเปน็ ผู้ที่มีความพร้อมและมีความแม่นยาในเน้ือหาเพื่อใหก้ าร
จดั การเรียนรู้เปน็ ไปอย่างราบรนื่ และสามารถอานวยความสะดวกใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรียนรไู้ ด้ขณะกิจกรรม ซึ่ง
การจดั กจิ กรรมการเรียนรดู้ ังกลา่ ว มแี นวทางในการจัดการเรียนรู้ 2 รปู แบบ คอื การจัดกจิ กรรมตามความ
สนใจของผู้เรียน และการจัดกจิ กรรมตามสาระการเรียนรู้
การจดั กิจกรรมตามความสนใจของผู้เรียน เปน็ การจัดกจิ กรรมที่ให้ผู้เรยี นเลือกศึกษาโครงงานจากสง่ิ
ทส่ี นใจอยากรทู้ ่มี อี ยู่ในชีวิตประจาวนั สิ่งแวดล้อมในสงั คม หรือจากประสบการณต์ ่าง ๆ ที่ยงั ต้องการคาตอบ
ข้อสรปุ ซึง่ อาจจะอย่นู อกเหนอื จากสาระการเรียนร้ใู นบทเรยี นของหลกั สูตร มขี นั้ ตอนดงั นี้
– ตรวจสอบ วเิ คราะห์ พจิ ารณา รวบรวม ความสนใจ ของผู้เรียน
– กาหนดประเดน็ ปัญหา/ หัวข้อเรือ่ ง
– กาหนดวัตถปุ ระสงค์
– ตั้งสมมตฐิ าน
– กาหนดวิธีการศกึ ษาและแหลง่ ความรู้
– กาหนดเค้าโครงของโครงงาน
– ตรวจสอบสมมติฐาน
– สรปุ ผลการศกึ ษาและการนาไปใช้
– เขียนรายงานวิจัยแบบงา่ ยๆ
– จัดแสดงผลงาน
การจดั กจิ กรรมตามสาระการเรียนรู้ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยยดึ เน้อื หาสาระตามที่หลักสูตร
กาหนด ผู้เรยี นเลอื กทาโครงงานตามที่สาระการเรยี นรู้ จากหน่วยเนอ้ื หาทเ่ี รยี นในชัน้ เรียน นามาเปน็ หัวขอ้
โครงงาน มีขน้ั ตอนท่ีผูส้ อนดาเนนิ การดังต่อไปน้ี
– ศึกษาเอกสาร หลักสูตร คมู่ อื ครู
– วเิ คราะห์หลักสูตร
– วิเคราะห์คาอิบายรายวิชา เพ่ือแยกเนื้อหา จุดประสงค์และจดั กจิ กรรมให้เด่นชดั
– จดั ทากาหนดการสอน
– เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
– ผลิตส่อื จัดหาแหล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ
– จดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยเร่มิ ตัง้ แต่ แจง้ วตั ถุประสงค์ กรระต้นุ ความสนใจของผเู้ รียน จัดกลุ่ม
ผูเ้ รยี นตามความสนใจ การใช้คาถามกระตนุ้ การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ซง่ึ จะกล่าวถงึ รายละเอียดในหวั ขอ้
บทบาทของครูในฐานะผู้กระตนุ้ การเรยี นรู้
– จดั แหลง่ เรียนร้เู พิม่ เติม
– บันทกึ ผลการจัดการเรียนรู้
ขน้ั ตอนการจดั การเรียนร้แู บบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน
การจดั การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเปน็ ฐานนัน้ มกี ระบวนการและข้ันตอนแตกต่างกันไปตามแตล่ ะ
ทฤษฎี ซ่งึ ในค่มู ือการจัดการเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานฉบับนี้ ขอนาเสนอ 3 แนวคดิ ทถ่ี ูกพจิ ารณาแล้ว
เหมาะสมกบั บริบทของเมอื งไทย คือ 1. การจัดการเรียร้แู บบใช้โครงงาน ของ สานักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษาและกระทรวงศึกษาธกิ าร (2550) 2. ข้ันการจัดการเรียนรู้ ตาม โมเดล จักรยานแหง่ การเรยี นรแู้ บบ
PBL ของ วิจารณ์ พาณิช(2555) และ 3. การจัดการเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน ทไี่ ดจ้ ากโครงการสร้างชดุ
ความรูเ้ พอื่ สร้างเสรมิ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสาเร็จของ
โรงเรยี นไทย ของ ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ (2557) ดงั นี้
แนวคิดที่ 1 ขั้นตอนการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงาน ของ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาและ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ซงึ่ ได้นาเสนอขั้นตอนการจดั การเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ไว้ 4 ขน้ั ตอน ดังนี้
ภาพ 1 ข้ันตอนการจดั การเรียนร้แู บบโครงงาน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ
1. ขัน้ นาเสนอ หมายถึง ขัน้ ท่ีผูส้ อนให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์
เล่นเกม ดรู ปู ภาพ หรอื ผูส้ อนใช้เทคนิคการต้งั คาถามเกย่ี วกับสาระการเรียนรู้ทกี่ าหนดในแผนการจัดการ
เรียนรูแ้ ต่ละแผน เช่น สาระการเรียนรู้ตามหลกั สุตรและสาระการเรียนรู้ทเี่ ปน็ ขัน้ ตอนของโครงงานเพอื่ ใชเ้ ป็น
แนวทางในการวางแผนการเรียนรู้
2. ขั้นวางแผน หมายถึง ข้นั ทีผ่ ู้เรียนร่วมกนั วางแผน โดยการระดมความคิด อภปิ รายหารือข้อสรุป
ของกลมุ่ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิ
3. ขน้ั ปฏบิ ตั ิ หมายถึง ขั้นท่ผี ู้เรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เขยี นสรุปรายงานผลท่เี กดิ ขนึ้ จากการวางแผน
ร่วมกัน
4. ขนั้ ประเมินผล หมายถึง ข้นั การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ โดยให้บรรลจุ ดุ ประสงค์การ
เรยี นรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยมผี ู้สอน ผู้เรียนและเพ่อื นรว่ มกนั ประเมนิ
แนวคดิ ท่ี 2 ขั้นการจัดการเรียนรู้ ตาม โมเดล จักรยานแห่งการเรยี นรู้แบบ PBL ของ วิจารณ์ พาณิช
(2555:71-75) ซึง่ แนวคดิ น้ี มคี วามเช่ือวา่ หากต้องการใหก้ ารเรียนรมู้ พี ลังและฝังในตัวผ้เู รยี นได้ ตอ้ งเป็นการ
เรยี นรูท้ เ่ี รียนโดยการลงมอื ทาเป็นโครงการ (Project) ร่วมมอื กนั ทาเปน็ ทมี และทากับปัญหาท่มี อี ยใู่ นชีวิตจริง
ซ่งึ สว่ นของ วงลอ้ แต่ละชน้ิ ไดแ้ ก่ Define, Plan, Do, Review และ Presentation
ภาพ 2 โมเดล จกั รยานแห่งการเรียนรู้แบบ PBL
1. Define คือ ข้นั ตอนการทาให้สมาชกิ ของทีมงาน รว่ มท้งั ครูด้วยมีความชัดเจนร่วมกนั วา่ คาถาม
ปัญหา ประเด็น ความท้าทายของโครงการคอื อะไร และเพือ่ ให้เกิดการเรียนรูอ้ ะไร
2. Plan คือ การวางแผนการทางานในโครงการ ครูกต็ ้องวางแผน กาหนดทางหนที ีไล่ในการทาหน้าที่
โคช้ รวมทั้งเตรียมเครอ่ื งอานวยความสะดวกในการทาโครงการของนักเรยี น และท่สี าคัญ เตรียมคาถามไว้ถาม
ทมี งานเพอ่ื กระตนุ้ ใหค้ ดิ ถึงประเดน็ สาคญั บางประเด็นทน่ี ักเรยี นมองข้าม โดยถือหลกั ว่า ครตู อ้ งไม่เขา้ ไป
ชว่ ยเหลือจนทีมงานขาดโอกาสคิดเองแก้ปญั หาเอง นกั เรยี นท่ีเป็นทีมงานก็ต้องวางแผนงานของตน แบ่งหน้าท่ี
รับผิดชอบ การประชุมพบปะระหวา่ งทีมงาน การแลกเปลี่ยนขอ้ ค้นพบแลกเปล่ยี นคาถาม แลกเปลี่ยนวธิ กี าร
ยงิ่ ทาความเข้าใจร่วมกนั ไวช้ ดั เจนเพยี งใด งานในขน้ั Do ก็จะสะดวกเล่อื นไหลดีเพยี งนั้น
3. Do คือ การลงมอื ทา มกั จะพบปัญหาทไ่ี ม่คาดคิดเสมอ นกั เรยี นจงึ จะได้เรียนร้ทู ักษะในการ
แก้ปัญหา การประสานงาน การทางานรว่ มกันเป็นทมี การจัดการความขดั แยง้ ทกั ษะในการทางานภายใต้
ทรัพยากรจากัด ทักษะในการคน้ หาความรู้เพม่ิ เติมทกั ษะในการทางานในสภาพทที่ มี งานมีความแตกต่าง
หลากหลาย ทักษะการทางานในสภาพกดดนั ทักษะในการบันทกึ ผลงาน ทักษะในการวเิ คราะหผ์ ล และ
แลกเปลยี่ นขอ้ วิเคราะหก์ บั เพือ่ นรว่ มทีม เป็นต้น ในข้ันตอน Do น้ี ครเู พ่ือศิษยจ์ ะไดม้ โี อกาสสังเกตทาความ
รจู้ กั และเขา้ ใจศษิ ยเ์ ปน็ รายคน และเรียนรหู้ รอื ฝึกทาหน้าทเี่ ป็น “วาทยากร” และโค้ชด้วย
4. Review คือ การทท่ี มี นักเรยี นจะทบทวนการเรยี นรู้ ท่ไี ม่ใช่แค่ทบทวนว่า โครงการได้ผลตามความ
มุ่งหมายหรือไม่ แตจ่ ะตอ้ งเน้นทบทวนวา่ งานหรอื กจิ กรรม หรอื พฤติกรรมแต่ละขัน้ ตอนไดใ้ หบ้ ทเรยี นอะไรบา้ ง
เอาท้ังขนั้ ตอนที่เปน็ ความสาเรจ็ และความล้มเหลวมาทาความเข้าใจ และกาหนดวธิ ที างานใหมท่ ีถ่ ูกตอ้ ง
เหมาะสมรวมทัง้ เอาเหตกุ ารณร์ ะทกึ ใจ หรอื เหตกุ ารณท์ ่ภี าคภมู ิใจ ประทับใจ มาแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ นั ขน้ั ตอน
นี้เปน็ การเรยี นรูแ้ บบทบทวนไตรต่ รอง (reflection) หรือในภาษา KM เรียกวา่ AAR (After Action Review)
5. Presentation คือ การนาเสนอโครงการตอ่ ชั้นเรียน เป็นขั้นตอนท่ใี หก้ ารเรียนรู้ทกั ษะอกี ชดุ หน่งึ
ต่อเนื่องกับขน้ั ตอน Review เป็นข้ันตอนที่ทาให้เกดิ การทบทวนขัน้ ตอนของงานและการเรียนรทู้ ี่เกดิ ขน้ึ อย่าง
เข้มขน้ แล้วเอามานาเสนอในรปู แบบทเี่ รา้ ใจ ใหอ้ ารมณ์และให้ความรู้ (ปัญญา) ทีมงานของนักเรียนอาจสร้าง
นวตั กรรมในการนาเสนอก็ได้ โดยอาจเขยี นเป็นรายงาน และนาเสนอเปน็ การรายงานหน้าช้นั มี เพาเวอร์
พอยท์ (PowerPoint) ประกอบ หรือจดั ทาวดี ิทัศนน์ าเสนอ หรือนาเสนอเปน็ ละคร เปน็ ต้น
“Project-Based Learning increases long-term retention, improves problem-solving and
collaboration skills, and improves students’ attitudes towards learning.”
(Strobel , 2009)
แนวคดิ ท่ี 3 การจดั การเรียนรแู้ บบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ท่ปี รบั จากการศึกษาการจดั การเรียนรูแ้ บบ
PBL ทไี่ ดจ้ ากโครงการสรา้ งชุดความรู้เพอื่ สร้างเสรมิ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเดก็ และเยาวชน: จาก
ประสบการณ์ความสาเรจ็ ของโรงเรยี นไทย ของ ดุษฎี โยเหลาและคณะ (2557) โดยมที งั้ หมด 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี
ภาพ 3 ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นร้แู บบใช้โครงงานเปน็ ฐาน
(ปรับปรุงจาก ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 20-23)
ในการจดั การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานครง้ั น้ี ได้นาแนวคิดท่ีปรบั ปรุงจาก ดุษฎี โยเหลาและคณะ (2557:
20-23) ซึง่ เปน็ แนวทางการจัดการเรยี นรูท้ ่สี ร้างขน้ึ มาจากการศกึ ษาโรงเรยี นในประเทศไทย โดยมขี ั้นตอนดงั นี้
1. ข้ันใหค้ วามรู้พ้นื ฐาน ครูใหค้ วามรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั การทาโครงงานกอ่ นการเรียนรู้ เนอื่ งจากการทา
โครงงานมีรูปแบบและขั้นตอนทช่ี ัดเจนและรดั กลมุ ดังน้นั นักเรียนจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งทีจ่ ะตอ้ งมคี วามรู้
เกีย่ วกับโครงงานไวเ้ ปน็ พ้นื ฐาน เพอื่ ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิขณะทางานโครงงานจริง ในข้ันแสวงหาความรู้
2. ข้นั กระต้นุ ความสนใจ ครูเตรยี มกจิ กรรมทจ่ี ะกระตุ้นความสนใจของนักเรยี น โดยตอ้ งคดิ หรือ
เตรียมกจิ กรรมที่ดงึ ดูดใหน้ ักเรียนสนใจ ใคร่รู้ ถงึ ความสนกุ สนานในการทาโครงงานหรือกจิ กรรมรว่ มกนั โดย
กจิ กรรมน้ันอาจเปน็ กจิ กรรมทีค่ รูกาหนดขนึ้ หรืออาจเปน็ กิจกรรมทนี่ กั เรียนมีความสนใจตอ้ งการจะทาอย่แู ลว้
ทง้ั นใี้ นการกระตนุ้ ของครูจะต้องเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นเสนอจากกิจกรรมท่ไี ด้เรียนรู้ผา่ นการจดั การเรยี นรู้ของ
ครทู ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ชุมชนที่นกั เรยี นอาศัยอยหู่ รอื เป็นเร่ืองใกล้ตวั ท่ีสามารถเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง
3. ขน้ั จดั กลุม่ รว่ มมือ ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มกันแสวงหาความรู้ ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการวางแผน
ดาเนนิ กจิ กรรม โดยนกั เรียนเปน็ ผรู้ ่วมกันวางแผนกจิ กรรมการเรยี นของตนเอง โดยระดมความคิดและหารอื
แบง่ หนา้ ทเี่ พือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ิรว่ มกนั หลังจากทไ่ี ดท้ ราบหัวขอ้ สิง่ ท่ีตนเองตอ้ งเรยี นรู้ในภาคเรียนนน้ั ๆ
เรยี บร้อยแล้ว
4. ขั้นแสวงหาความรู้ ในขั้นแสวงหาความร้มู แี นวทางปฏิบัติสาหรบั นกั เรียนในการทากจิ กรรม ดงั นี้
นกั เรียนลงมอื ปฏิบตั กิ ิจกรรมโครงงาน ตามหวั ข้อทกี่ ลมุ่ สนใจ
นกั เรียนปฏิบตั หิ น้าท่ขี องตนตามขอ้ ตกลงของกลุ่ม พรอ้ มท้ังรว่ มมอื กันปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยขอคาปรกึ ษาจากครู
เป็นระยะเม่ือมขี อ้ สงสยั หรอื ปญั หาเกิดขน้ึ
นักเรียนรว่ มกนั เขียนรปู เล่ม สรปุ รายงานจากโครงงานที่ตนปฏิบตั ิ
5. ขน้ั สรปุ ส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ ครใู หน้ ักเรียนสรปุ ส่ิงที่เรียนรูจ้ ากการทากจิ กรรม โดยครูใชค้ าถาม ถาม
นกั เรียนนาไปสกู่ ารสรุปสงิ่ ท่เี รียนรู้
6. ขั้นนาเสนอผลงาน ครูให้นกั เรียนนาเสนอผลการเรียนรู้ โดยครอู อกแบบกิจกรรมหรอื จดั เวลาให้
นกั เรยี นไดเ้ สนอส่ิงทตี่ นเองได้เรียนรู้ เพอ่ื ให้เพ่ือนรว่ มชั้น และนักเรยี นอื่น ๆในโรงเรียนไดช้ มผลงานและเรียนรู้
กจิ กรรมทน่ี ักเรยี นปฏบิ ัตใิ นการทาโครงงาน
12. เครอื่ งมือการสอนคิด
13. รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
ของสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท., 2546) ประกอบดว้ ยข้ันตอนที่สาคัญดังน้ี
1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) เปน็ การนาเข้าสูบ่ ทเรยี นหรอื เรอ่ื งทส่ี นใจซงึ่ เกดิ ขนึ้ จาก
ความสงสยั หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตวั นักเรยี นเองหรอื เกดิ จากการอภิปรายภายในกล่มุ เรอ่ื งที่
น่าสนใจอาจมาจากเหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นอยู่ในช่วงเวลานนั้ หรอื เปน็ เร่อื งทเ่ี ชือ่ มโยงกับความร้เู ดิมท่ีเพ่ิงเรยี นรู้
มาแล้ว เป็นตัวกระต้นุ ใหน้ ักเรียนสรา้ งคาถาม กาหนดประเด็นท่ีศึกษา ในกรณีท่ไี ม่มีประเด็นใดทีน่ ่าสนใจ ครู
อาจให้ศกึ ษาจากสอื่ ต่าง ๆ หรือเป็นผู้กระต้นุ ด้วยการเสนอดว้ ยประเดน็ ขึ้นมาก่อน แต่ไมค่ วรบังคบั ให้นักเรยี น
ยอมรับประเดน็ หรอื คาถามท่ีครูกาลงั สนใจเป็นเรื่องทีจ่ ะใช้ศึกษา
เมื่อมคี าถามทีน่ า่ สนใจและนักเรียนส่วนใหญ่ยอมรับใหเ้ ปน็ ประเด็นทตี่ ้องการศึกษา จงึ รว่ มกันกาหนด
ขอบเขตและแจกแจงรายละเอียดของเรือ่ งท่จี ะศกึ ษาให้มีความชดั เจนมากขึน้ อาจรวมทง้ั การรับรู้
ประสบการณ์เดิม หรอื ความร้จู ากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท่ีจะช่วยใหน้ าไปสู่ความเข้าใจเร่อื งหรือประเด็นท่ีจะศกึ ษามาก
ข้ึน และมีแนวทางทีใ่ ช้ในการสารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย
2) ขน้ั สารวจและคน้ หา (Exploration) เม่อื ทาความเข้าใจในประเดน็ หรือคาถามทสี่ นใจจะศกึ ษา
อย่างถอ่ งแท้แล้ว ก็มกี ารวางแผนกาหนดแนวทางสาหรบั การตรวจสอบตัง้ สมมติฐาน กาหนดทางเลือกที่เปน็ ไป
ได้ ลงมอื ปฏิบัตเิ พื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวธิ ี
เช่นทาการทดลอง ทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพวิ เตอร์เพอื่ ชว่ ยสรา้ งสถานการณ์จาลอง
(Simulation) การศกึ ษาหาข้อมลู จากเอกสารอ้างองิ หรือจากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู อยา่ ง
เพียงพอท่ีจะใชใ้ นขั้นต่อไป
3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เมื่อไดข้ ้อมลู อยา่ งเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้ว
จงึ นาข้อมูลข้อสนเทศทไ่ี ด้มิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลท่ีไดใ้ นรูปต่าง ๆ เชน่ บรรยายสรปุ สร้าง
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรอื รปู วาด สรา้ งตาราง ฯลฯ การคน้ พบในข้ันนอี้ าจเปน็ ไปได้หลายทาง เช่น
สนบั สนุนสมตฐิ านท่ีต้งั ไว้ โต้แยง้ กบั สมมตฐิ านท่ีต้ังไว้ หรือไมเ่ ก่ยี วข้องกบั ประเดน็ ทไ่ี ด้กาหนดไว้ แตผ่ ลที่ได้จะ
อยใู่ นรปู ใดกส็ ามารถสรา้ งความรู้และชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้
4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) เปน็ การนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรเู้ ดมิ หรอื
ความคดิ ที่ได้ค้นคว้าเพ่ิมเติมหรือนาแบบจาลองหรือขอ้ สรุปที่ไดไ้ ปใช้อธิบายสถานการณ์หรอื เหตุการณ์อื่น ๆ
ถ้าใช้อธบิ ายเรอื่ งต่าง ๆ ไดม้ ากกแ็ สดงว่าข้อจากัดนอ้ ย ซึง่ จะชว่ ยใหเ้ ช่อื มโยงกบั เรือ่ งต่าง ๆ และทาให้เกิด
ความรู้กวา้ งขวางขึน้
5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) เปน็ การประเมนิ การเรียนรดู้ ้วยกระบวนการตา่ ง ๆ วา่ นักเรียนมีความรู้
อะไรบ้าง อยา่ งไร และมากนอ้ ยเพียงใด จากข้นั นจี้ ะนาไปสู่การนาความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นเรอ่ื งอนื่ ๆการนา
ความรหู้ รือแบบจาลองไปใช้อธิบายหรอื ประยกุ ตใ์ ช้กับเหตกุ ารณ์หรือเรื่องอ่ืน ๆ จะนาไปสู่ขอ้ โต้แยง้ หรอื
ข้อจากดั ซึง่ จะกอ่ ใหเ้ กิดประเดน็ หรือคาถาม หรอื ปญั หาท่ีจะต้องสารวจตรวจสอบตอ่ ไป ทาให้เกดิ เปน็
กระบวนการท่ตี อ่ เนอ่ื งกนั ไปเรอ่ื ย ๆ จงึ เรียกว่า Inquiry cycle กระบวนการสบื เสาะหาความรู้จงึ ช่วยให้
นกั เรียนเกิดการเรยี นรูท้ งั้ เนอื้ หาหลกั และหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนลงมอื ปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหไ้ ด้ความร้ซู งึ่ จะเปน็
พืน้ ฐานในการเรยี นตอ่ ไป
14. การจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรียนกลับดา้ น Flipped Classroom
Flipped Classroom เปน็ การจดั การเรียนการสอนที่สวนทางกบั สิง่ ท่ีเป็นอยู่ปจั จุบนั โดยใหน้ ักเรียน
ศกึ ษาความรู้ผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตนอกหอ้ งเรยี น นอกเวลาเรยี น ส่วนในห้องเรยี นจะเปน็ การจดั กจิ กรรม นา
การบา้ นมาทาในห้องเรียนแทน วธิ ีนเี้ ด็กมเี วลาดูการสอนของครูผา่ นวดี ีโอออนไลน์ ดกู ี่ครั้งก็ได้ เม่ือไรก็
ได้ สามารถปรกึ ษาพูดคุยกบั เพอื่ นหรือครู ดว้ ยโปรแกรมสนทนาออนไลน์กไ็ ด้ ในหอ้ งเรียนครใู ห้นักเรียน
ทางานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเนือ้ หาทีด่ ูผ่านวีดีโอ เพ่ือทาความเข้าใจหลักการความรูผ้ ่านกจิ กรรม โดยครจู ะเป็นผใู้ ห้
คาแนะนาเม่อื เดก็ มคี าถาม หรอื ตดิ ปัญหาท่ีแกไ้ ม่ได้
หลักการของ Flipped Classroom
ใชเ้ ทคโนโลยีทางการศึกษา บวกกับการจดั กิจกรรมในหอ้ งเรียน เนอื่ งจากเวลาในหอ้ งเรียนมจี ากดั
การทีจ่ ะใหน้ ักเรียนเขา้ ใจในหลกั การความรู้บางอย่างอาจมเี วลาไม่พอ ดังน้นั การศึกษาความร้จู ากการสอนผา่ น
วีดโี อท่ีครไู ด้บนั ทึกไวแ้ ล้ว รวมท้งั การอา่ นหนงั สอื เพิ่มเตมิ ปรกึ ษาเพอื่ นหรือครอู อนไลน์ สามารถทาไดล้ ว่ งหนา้
นอกห้องเรยี น ส่วนเวลาในห้องเรยี น ครูก็สรา้ งสภาวะแวดลอ้ มใหเ้ หมาะกับการจดั กิจกรรมท่อี อบแบบไว้
เพ่อื ใหเ้ ดก็ ไดล้ งมือปฎบิ ตั ิ ครกู เ็ ดนิ สารวจไปรอบ ๆ หอ้ ง คอยให้คาแนะนาหลกั การทีเ่ ข้าใจยาก หรือปัญหาท่ี
เดก็ พบ วธิ นี จ้ี ะทาใหเ้ ดก็ เข้าใจความรู้ และเชอื่ มโยงในหลกั การ มากยง่ิ ขนึ้ ท่ีสาคญั ไม่ง่วงดว้ ย!
ถ้าสอนแบบเดิมตามปกติ
ในมุมมองของเด็กนกั เรยี น อาจตามไมท่ นั ไมเ่ ข้าใจก็ไม่กล้าถาม ครไู ม่มชี อ่ งวา่ งใหถ้ าม เน้ือหาเยอะ
อัดแน่นในเวลาท่จี ากัด ปรึกษาเพือ่ นก็โดนครดู ุ เม่ือกลบั มาบา้ น ทาการบา้ นกไ็ ม่ได้ เลยตอ้ งลอกเพอ่ื นตลอด
แลว้ ก็สะสมความไมเ่ ข้าใจตลอดทงั้ เทอม
ในมมุ มองของครู ก็สอนเหมือนปีทีแ่ ล้ว อดั อยา่ งเดยี วเวลามนี อ้ ย มองดูเดก็ ๆ ในห้องเรียน ก็ไมม่ ใี ครสงสัย
การบ้านทสี่ ง่ มาก็ทาได้เหมือนกนั หมด ตรวจง่ายจัง ใครเกง่ ไมเ่ ก่ง วัดกันตอนสอบเลย
ถา้ สอนแบบ Flipped Classroom
สิง่ ท่ีนักเรยี นต้องเตรียม
ในมุมมองของเด็ก มีเวลามากพอทีจ่ ะดูวีดีโอ สามารถปรึกษากับเพ่อื นหรอื ครูออนไลนไ์ ด้ ไมม่ ี
การบ้าน ไมเ่ ครยี ด ไมต่ ้องลอกการบา้ นเพื่อนแตเ่ ชา้ ทาการบา้ น (กจิ กรรม) ในห้องเรยี นกไ็ ม่เครียด มีครู มี
เพื่อน ให้คาปรกึ ษาตลอดเวลา ได้ลงมือปฎบิ ตั ิ ได้โต้ตอบกบั เพื่อนกับครู เรอ่ื งยากกด็ จู ะงา่ ยขนึ้
บทบาทของครู
ครู ค่อนข้างหนักทีเดียว เนื่องจากต้องเตรียมอดั วีดีโอการสอนล่วงหนา้ ถ้ามีวดี ีโอเหมอื น Khan
Academy ฉบับภาษาไทยกอ็ าจจะสบายหน่อย หรือไม่ ก็ต้องหาหนว่ ยงานกลางท่ที าวีดีโอแทน เชน่ สสวท.
ตกดกึ ก็คอยให้คาปรึกษาออนไลน์กับเดก็ ๆ ตอ้ งหาเวลาออกแบบและเตรียมจัดกจิ กรรม สร้างสิง่ แวดล้อมให้
สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาใหม่ ในแตล่ ะกิจกรรมทไี่ ม่เหมอื นเดมิ ครตู ้องทบทวนความรพู้ น้ื ฐาน ความเข้าใจใน
หลักการ เนื้อหาทัง้ หลกั สตู ร เตรยี มพร้อมสาหรบั ใหค้ าแนะนาเด็ก ๆ ขณะทากิจกรรม ครตู อ้ งมีความพร้อม
ชว่ ยเหลอื เดก็ ตลอดเวลา ต้องคอยกระตนุ้ เด็ก ตอ้ งสงั เกตความเข้าใจของเดก็ เม่อื เด็กมีปัญหา ต้องวิเคราะห์
ปัญหาและความเข้าใจของเด็กต่อปัญหานนั้ ซง่ึ ปกตเิ ด็กแต่ละคนจะมปี ญั หาไมเ่ หมอื นกัน
15. การกาหนดกลยุทธก์ ารสอนแล
ผลการเรียนรู้ กลยุทธการสอนท่ใี ช
มีความรู้
สามารถประยกุ ต์ความรู้ ในการประกอบวิชาชพี -การสอนแบบบรรยาย หรอื บ
-การสอนแบบจัดกระบวนกา
ความรู้ 5E
- การเรียนแบบโครงงาน
- การสอนคดิ Thinking Sch
-การสอบแบบActive Learn
-การลงมือปฏบิ ัติ
-การสอนแบบห้องเรียนกลับด
(google classroom)
ละกลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้
ช้พฒั นาการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้
บรรยายกึง่ อภปิ ราย การประเมนิ ความรู้
ารเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหา - ใชแ้ บบทดสอบวัดความรู้
- แบบประเมนิ ผงั มโนทศั น์
hool ประเมินดา้ นทกั ษะ
ning -ใชแ้ บบประเมินการสังเกตรายบุคคล
- แบบประเมนิ การปฏบิ ัติงาน
ดา้ น -แบบประเมินชนิ้ งาน
-แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
ประเดน็ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
- แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก
มคี ณุ ธรรม
การสอนแบบโครงงาน และการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ดา้ น -จดั การปฐมนเิ ทศนกั
(google classroom) ระเบียบ และข้อกาห
1. มีคณุ ธรรมและจิยธรรม -หลกั คิดและแนวปฏบิ ตั ิท่แี สดงถึง -จดั กิจกรรมทหี่ ลากห
ความรบั ผิดชอบต่อผู้เรียนและสงั คม มีศีลธรรม ซอ่ื สัตย์ สุจรติ กลับดา้ น (google c
2. มีจรรบาบรรณ – มรี ะเบียบวินยั และเคารพกฎกติกาของ การตรงต่อเวลา จรยิ
สังคมมีการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามจรรบรรณแห่งวิชาชีพ และ มอบหมาย ในทุกราย
จรรยาบรรณของครู
คดิ เปน็
ใชก้ ารสอนแบบสอนคดิ Thanking school รว่ มกบั การสอน - การปฏิบตั ิตนเปน็ แ
แบบสบื เสาะหาความรู้ 5E
1. การคดิ แบบอย่างมีวิจารณญาณ คอื - การสอนคิด Think
1.1 มีทกั ษะการคดิ แบบมีวจิ ารณญาณและคิดแบบองคร์ วม รู้ นักเรียนมีการเรียนรู้ด
และเขา้ ใจในกหลกั การและทฤษฎี การสอนคดิ Thinking นกั เรียนสามารถคิดอ
School อย่างถอ่ งแท้
1.2. สามารถประสานความคดิ ดว้ ยหลกั แห่งเหตุผลและความ
ถกู ตอ้ ง - มกี ารกระตุ้นใหน้ ักเ
นักเรยี นมีความคดิ สร
การสอนที่ใช้พฒั นาการเรียนรู้ กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้
กเรยี นใหม่ ใหท้ ราบแนวปฏิบัติ กฎ ประเมนิ จาก
หนดต่าง ๆ ในหอ้ งเรียน 1.ความตรงต่อเวลาของนักเรยี นในการเข้าชนั้ เรียน
หลาย โดยนาวธิ กี ารสอนแบบ ห้องเรยี น การสง่ งานตามกาหนดระยะเวลาท่ีมอบหมายและการ
classroom) เพอื่ สอดแทรกเร่อื งคุณธรรม เขา้ รว่ มกิจกรรม
ยธรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รบั 2. ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่หรืองานทไ่ี ดร้ บั
ยวชิ า มอบหมาย
แบบอยา่ งท่ดี ีของครู -การประเมินความรู้และการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ในการ
สอบข้อเขยี นด้วยเครอื่ งมือชนดิ ต่าง ๆ
king School เน้นการเรียนการสอนเพือ่ ให้ - แบบประเมินสงั เกตพฤติกรรม
ดว้ ยตนเอง มกี ารใชก้ ารสอนคดิ เพ่ือให้ - แบบประเมินการปฏบิ ตั งิ าน
อย่างมีวิจารณาณ - แบบประเมนิ แบบบนั ทกึ ผลการจดั กิจกรรม
เรียนโดยใชก้ ิจกรรม Active Learning ให้
ร้างสรรคใ์ นการแก้ปญั หาทางการเรียนรู้
2.สามารถคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ - มกี ารลงมือปฏบิ ตั ิง
2.1. ความสามารถคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรคใ์ นการปฏิบัติตามหนา้ ท่ี การแกป้ ัญหา
และสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการ
แกป้ ัญหาและการต่อยอดองคค์ วามรทู้ างการคดิ เปน็ เปน็ การสอนท่ีฝึกการ
3. มีทักษะในการคิดแก้ปญั หา คือ - นักเรยี นกาหนดการ
3.1 มที ักษะการตดั สินใจท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ - เช่อื มโยงการเรยี นก
3.2 สามารถประเมินขอ้ มลู และแนวคดิ จากแหล่งข้อมลู ที่ - มีฐานจากงานวิจยั ห
หลากหลายเพื่อแกป้ ญั หาได้อย่างสรา้ งสรรค์และเปน็ ระบบ - ฝงั ตรึงความรดู้ ว้ ยท
ทาเปน็ - ใช้เวลามากพอในก
การสอนแบบโครงงาน -มีผลผลิต
-ใช้ทกั ษะเทคโนโลยีเหมาะสมในการสืบคน้ วเิ คราะห์ ตดิ ตาม
ความกา้ วหนา้ การทางาน และการนาเสนอผลงาน
งานจริงเพื่อส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเกดิ ทกั ษะใน
รลงมือปฏิบตั ิเริม่ จากการตง้ั ปัญหา -แบบสงั เกตการณป์ ฏิบัติงานจากสถานการณ์จรงิ
รเรยี นรขู้ องตนเอง - แบบประเมนิ การทางานกลุ่ม
กบั ชวี ิตจรงิ ส่งิ แวดลอ้ มจรงิ - แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน
หรอื องค์ความรทู้ ีเ่ คยมี
ทักษะบางอยา่ ง
การสรา้ งผลงาน