The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kooboon, 2019-07-05 05:07:56

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

Keywords: แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

44 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ยั รกั การอานและพฒั นาหองสมดุ โรงเรย� น

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
๑. กำหนดนโยบายและประกาศจุดเนนในการสงเสริมนิสัยรักการอาน

และการพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรียน
๒. สนับสนุนสงเสริม และสรางความเขมแข็งใหแกเขตพ้ืนที่การศึกษา

และโรงเรยี นเพอื่ ใหก ารดำเนนิ งานบรรลตุ ามเปา หมายอยา งเปน รปู ธรรม
๓. พัฒนาบุคลากรดานการสงเสริมนิสัยรักการอานและการพัฒนา

หองสมุด
๔. วิจัยและพัฒนารูปแบบการสงเสริมนิสัยรักการอานและการพัฒนา

หอ งสมดุ โรงเรียนใหมปี ระสิทธิภาพ
๕. กำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อใหการดำเนินงานเปนไปตาม

นโยบาย
๖. ยกยองเชิดชูเกียรติและประชาสัมพันธการดำเนินงานดานการสงเสริม

การอานและพัฒนาหองสมุดของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และโรงเรยี น

บทบาทและหนา ทข่ี องหนวยงานท่ีเกี่ยวขอ ง 45

สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
๑. จัดทำฐานขอมูลสารสนเทศเก่ียวกับการสงเสริมนิสัยรักการอาน

และการพัฒนาหอ งสมุดของโรงเรียนในสงั กดั
๒. จัดทำแผนงาน โครงการสงเสริมนิสัยรักการอานและการพัฒนา

หองสมดุ โรงเรยี นและหอ งสมุดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
๓. สงเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอานและ

การพัฒนาหอ งสมุดโรงเรยี น
๔. พัฒนาบุคลากรใหสามารถจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน

และปฏบิ ตั งิ านหองสมดุ โรงเรียนไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ
๕. ประสานเครือขายทุกภาคสวนเพ่ือรวมสนับสนุนการสงเสริม

นสิ ัยรักการอา นและการพฒั นาหอ งสมุดโรงเรียน
๖. วิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน

และการบรหิ ารงานหอ งสมดุ โรงเรียนใหมปี ระสทิ ธภิ าพ
๗. นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนนิ งาน
๘. ยกยองเชิดชูเกียรติและประชาสัมพันธผลการดำเนินงานของโรงเรียน

ในสงั กัด

46 แนวทางการดำเนนิ งาน
สง เสรม� นิสยั รกั การอานและพฒั นาหองสมดุ โรงเรย� น

โรงเร�ยน
๑. จัดทำฐานขอมูลสารสนเทศของนักเรียนเก่ียวกับนิสัยรักการอานและ

การใชห องสมดุ
๒. แตงต้ังคณะกรรมการ คณะทำงานสงเสริมนิสัยรักการอานและ

การพัฒนาหองสมดุ
๓. จัดทำแผนงาน โครงการสงเสริมนิสัยรักการอานและการพัฒนา

หอ งสมุด
๔. ดำเนินการสงเสริมนิสัยรักการอานและพัฒนาหองสมุดใหเปนหองสมุด

๓ ดี
๕. พฒั นาบุคลากรเพื่อสง เสรมิ นิสัยรกั การอา นและการพฒั นาหองสมุด
๖. ประสานภาคีเครือขายทุกภาคสวนเพ่ือรวมสนับสนุนการสงเสริม

นสิ ยั รักการอา นและการพัฒนาหองสมุด
๗. วิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน

และการบรหิ ารงานหองสมดุ ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
๘. ใหขวัญ กำลังใจ ยกยองเชิดชูเกียรติครู บุคลากรและผูเก่ียวของ

ในการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานสงเสรมิ นิสยั รกั การอานและการพฒั นา
หองสมดุ สเู ปาหมาย





บรรณานกุ รม

50 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสรม� นสิ ัยรักการอา นและพฒั นาหอ งสมดุ โรงเรย� น
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช ุมนมุ สหกรณการเกษตร
แหง ประเทศไทย จำกดั .
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๕๓). ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง การดำเนนิ การ
พัฒนาคุณภาพผูเรียนในการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ
ทสี่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (๒๕๕๒). มาตรฐานหองสมุด
และตัวบงช้ี เพ่ือการพัฒนาคุณภาพหองสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณ
การเกษตรแหง ประเทศไทย จำกดั .
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (๒๕๕๖). มาตรฐานหองสมุด
โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๖. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย
จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. โครงการไทยเขมแข็ง ๒๕๕๕
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก
http://www.tkk2555.obec.go.th/. (วันท่ีคนขอมูล : ๑๕ พฤษภาคม
๒๕๕๖).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://
www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=62. (วันที่คนขอมูล :
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖).
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี :
นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา วันอังคาร
๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สำนกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี.

บรรณานุกรม 51

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. มติคณะรัฐมนตรี เร่ือง การสงเสริมการอาน
ใหเ ปน วาระแหง ชาตเิ พอื่ สรา งสงั คมแหง การเรยี นรตู ลอดชวี ติ . [ออนไลน] .
เขาถึงไดจาก : http://www.cabinet.soc.go.th/soc/. (วันท่ีคนขอมูล :
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖).

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๕๒). ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑). กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั พรกิ หวาน
กราฟฟค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๕๒). เปาหมายยุทธศาสตรและตัวบงชี้
การปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑).

สหพันธระหวางประเทศวาดวยสมาคมและสถาบันหองสมุด. (๒๐๐๕).
หองสมุดโรงเรียนกับการสอนการเรียนสำหรับทุกคน : บทบัญญัติวาดวย
หอ งสมดุ โรงเรียน. กรงุ เทพมหานคร : ยูเนสโก

American Association of School Librarians. (2009). Standards for the
21st Century Learner in Action. Chicago, Illinois : American
Library Association.

The Partnership for 21st Century Skills. (2011). A Framework for 21st
Century Learning. Retrieved May, 15 2013, from
http://www.p21.org/home.



ภาคผนวก



วส� ยั ทัศน หลักการ และเปาหมายของหอ งสมดุ โรงเร�ยน
สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

56 แนวทางการดำเนนิ งาน
สง เสรม� นิสยั รกั การอานและพัฒนาหอ งสมุดโรงเรย� น

วส� ยั ทศั น
หองสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เปนหองสมุดมีชีวิตที่ไดมาตรฐาน มีบรรณารักษท่ีมีประสิทธิภาพใหบริการทรัพยากร
สารสนเทศครบถวนและทันสมัย มุงพัฒนานักเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู
ตลอดชีวิต มีความสามารถในการคิดสรางสรรคและแกไขปญหา ใชการอาน
เพอ่ื พัฒนาตนเองและเปน พลเมืองที่มีความรับผิดชอบตอสังคมโลก

หลกั การ
การกำหนดมาตรฐานหองสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน มีหลักการสำคัญ ดังนี้
๑. มุงพัฒนาหองสมุดโรงเรียนใหเปนแหลงเรียนรูหลักของโรงเรียน

ที่มีบรรยากาศท่ีเอื้อตอการอานและการเรียนรู โดยมีบุคลากรประจำหองสมุด
ที่มคี วามรคู วามสามารถเหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน

๒. เปนมาตรฐานที่มุงพัฒนาหองสมุดโรงเรียนเพื่อใชในการสนับสนุน
การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรและการคนควาหาความรู โดยใชเทคโนโลยี
ในการบริหารจัดการ และใหบริการทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายรูปแบบ
ที่มคี ณุ ภาพและทนั สมัย สอดคลองกับหลกั สตู รและความตอ งการของผใู ชบ ริการ

๓. มุงสงเสริมและสรางวัฒนธรรมการอานใหเกิดขึ้นในโรงเรียน โดยเนน
ความรวมมือระหวางหองสมุดและหองเรียนในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
อยางหลากหลายและตอเน่ือง ทั้งการอานเพื่อความเพลิดเพลินและการอาน
เพ่ือการคนควาหาความรู เพื่อสรางนิสัยรักการอานท่ียั่งยืนใหแกนักเรียน ครู
บุคลากรทางการศกึ ษา และผบู รหิ ารโรงเรยี น

๔. มุงใหนักเรียนมีทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต เปนผูใชสารสนเทศ
ท่มี ีประสิทธิภาพและมีจรยิ ธรรม และสามารถสรางองคค วามรใู หมไดดว ยตนเอง

ว�สัยทัศน หลักการ และเปา หมายของหอ งสมุดโรงเร�ยน 57

๕. เปนแนวทางในการดำเนินงานและพัฒนาหองสมุดโรงเรียนสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน ดำเนินงาน
อยางเปนระบบ มีการวางแผน การดำเนินงาน และการประเมินผลการดำเนินงาน
เพื่อใหหอ งสมุดใหบ ริการอยา งมีประสิทธภิ าพ ท่วั ถึงและผรู บั บริการพงึ พอใจ

๖. เนนการมีสวนรวมในการดำเนินงานและพัฒนาหองสมุดโรงเรียน
โดยบุคลากรทุกฝาย ท้ังนักเรียน ครูบรรณารักษ ครูผูสอน ผูบริหารโรงเรียน
ผปู กครอง ชุมชน หนวยงาน และองคก ร

๗. ผูบริหารโรงเรียนใหความสำคัญและเปนผูนำในการสรางความตระหนัก
ใหบุคลากรทุกคนในโรงเรียนเห็นความสำคัญของหองสมุดโรงเรียนและสนับสนุน
การดำเนนิ งานและการพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรียน

เปาหมาย
เปาหมายของหองสมุดโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขัน้ พ้ืนฐาน มดี งั น้ี
๑. สงเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยมุงหมาย

เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี น
๒. สงเสริมการอานและการใชหองสมุด โดยกระตุนและสงเสริมใหนักเรียน

อาน ดู ฟง จากทรัพยากรสารสนเทศและสื่อหลากหลายประเภทและรูปแบบ
ท้ังการอานภายในหองสมุดและภายนอกหองสมุด เพ่ือความเพลิดเพลิน เสริมสราง
จินตนาการ การคนควาหาความรูความเขาใจสำหรับการเรียน การเรียนรูตลอดชีวิต
และความเขาใจในสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย

๓. สรางนิสัยรักการอานที่ยั่งยืนใหแกนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา
และผบู ริหารโรงเรียน

๔. สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต โดยพัฒนาใหนักเรียนมีทักษะและนิสัย
ในการต้ังเปาหมายการเรียนรู วางแผน แสวงหา เลือกและประเมินวิธีการเรียนรู
และผลการเรียนรูของตนเอง เพ่ือใหนักเรียนเปนผูเรียนท่ีมีความรับผิดชอบ
สามารถพึ่งพาตนเอง และเติบโตเปนพลเมืองที่สามารถพ่ึงพาตนเอง และมีความ
รบั ผิดชอบตอ ตนเองและสงั คม

58 แนวทางการดำเนนิ งาน
สง เสรม� นิสยั รักการอา นและพัฒนาหอ งสมุดโรงเรย� น
๕. สงเสริมใหนักเรียนมีทักษะการรับรู เขาถึง ประเมิน เลือก และ
ใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม เพ่ือเปนเคร่ืองมือ
ในการเรียนรูแ ละการดำเนินชีวติ
๖. สงเสริมสนับสนุนใหนักเรียนไดเขาถึงองคความรู ความคิด วัฒนธรรม
และขอ มลู ขาวสารทเี่ หมาะสมกบั วยั ไดอยา งเสรี
๗. ใหบริการท่ีมีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน ใหแกนักเรียน ครู
บุคลากรทางการศึกษา ผบู รหิ ารโรงเรยี น ผปู กครอง และชมุ ชน
๘. ใชเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ และพัฒนาใหนักเรียนมีทักษะ
ในการใชเทคโนโลยีอยางรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ เพ่ือชวยใหนักเรียนสามารถ
แสวงหาความรูและมีทักษะสำหรับการดำเนินชีวิตในคริสตศตวรรษที่ ๒๑ ไดอยาง
มีประสทิ ธิภาพ
๙. บรรณารักษหองสมุดโรงเรียนเปนผูนำการเปลี่ยนแปลง โดยติดตาม
ความรู ขาวสาร ความคิด และนวัตกรรมใหม ๆ เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการ
เตรียมความพรอมของนักเรียนสำหรับการเรียนรูและดำเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน
ท่ีมีความซับซอนและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและรองรับการเปล่ียนแปลง
ในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ

เกณฑก ารประเมินและแนวทางการใหค ะแนน
ตามมาตรฐานหองสมดุ โรงเรย� น

สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๖

60 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสร�มนสิ ยั รักการอา นและพัฒนาหองสมุดโรงเร�ยน

หมวดที่ ๑ มาตรฐานดานผูบรหิ าร

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอมลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๑ ๑.๑ ผูบรหิ ารมีการ แนวทางการใหคะแนน วธิ กี ารและเอกสารหลักฐาน

ผบู รหิ ารมคี วาม กำหนดนโยบายและ มี ๑ ขอ ได ๑ คะแนน เชน

สามารถในการ แผนการดำเนนิ งาน มี ๒ ขอ ได ๒ คะแนน - แผนพฒั นาหอ งสมดุ

บริหารจดั การ หอ งสมุดโรงเรียน มคี รบทุกขอได ๓ คะแนน - แผนการจดั การเรียนรู

๑.๑.๑ มีแผน กลุมสาระการเรียนรูอ น่ื ท่ี

การพัฒนาหอ งสมุด แนวทางการประเมนิ ใชหองสมดุ เปนแหลง

ไวใ นแผนพฒั นาคณุ ภาพ ระดับ ๑ ได ๑ คะแนน เรียนรแู ละหรือมกี าร

การศึกษาของโรงเรยี น ระดบั ๒ ได ๒ คะแนน บูรณาการการอาน

๑.๑.๒ มีการ ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน - แผนพฒั นาคุณภาพ

กำหนดนโยบาย การศกึ ษา

ใหค รูผสู อนทุกกลุมสาระ - แผนปฏิบตั ิการ

การเรยี นรูจัดการเรยี น - โครงการตาง ๆ

การสอนโดยใชหอ งสมดุ - แผนภูมโิ ครงสราง

เปนแหลง เรียนรู การบรหิ าร

๑.๑.๓ มกี าร - กจิ กรรม โครงการสง เสริม

กำหนดนโยบาย การอาน

การใชหอ งสมดุ เพ่อื - สถติ ิการเขาใชห อ งสมดุ

สง เสรมิ นสิ ยั รักการอา น - คำสัง่ มอบหมายงาน

ของนักเรียน ครู บคุ ลากร ฯลฯ

และชมุ ชน

เกณฑก ารประเมนิ และแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเรย� น 61

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑการประเมนิ ขอ มูลเชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑ ๑.๒ ผูบ รหิ ารจัดใหมี แนวทางการใหค ะแนน วิธกี ารและเอกสารหลกั ฐาน
ผบู ริหารมีความ โครงสรา งการบริหารงาน มีลักษณะตามตัวบง ชี้ เชน
สามารถในการ ท่ีชดั เจน - แผนภูมิโครงสราง
๑.๒.๑ มกี าร ใหขอละ ๑ คะแนน - คำส่ังมอบหมายงาน
- รายงานการประชุม
บรหิ ารจัดการ กำหนดโครงสราง แนวทางการประเมนิ
ฯลฯ
(ตอ) การบรหิ ารงานหอ งสมุด ระดับ ๑ ได ๒ คะแนน

แตง ตง้ั คณะกรรมการ ระดับ ๒ ได ๓ คะแนน
บริหารงานหองสมุดและ ระดบั ๓ ได ๔ คะแนน
คณะกรรมการดำเนินงาน

หอ งสมุด

๑.๒.๒ มกี าร

กำหนดบทบาทหนา ที่

ของบุคลากรตามโครงสราง

และสง เสริมใหม ีการ

ดำเนนิ งานตามบทบาท

หนา ที่

๑.๒.๓ มีการ

ประชมุ คณะกรรมการ

บรหิ ารงานหอ งสมดุ และ

คณะกรรมการดำเนินงาน

หอ งสมดุ อยางนอย

ภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั

๑.๒.๔ มกี าร

แตงต้ังครหู รือบุคลากร

ทำหนาท่ีบรรณารกั ษเปน

คณะกรรมการฝายวิชาการ

62 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ยั รักการอานและพัฒนาหองสมดุ โรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑก ารประเมนิ ขอมูลเชิงประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๑ ๑.๓ ผูบริหารจัดใหมี แนวทางการใหค ะแนน วิธกี ารและเอกสารหลกั ฐาน

ผบู รหิ ารมีความ ครูหรือบุคลากร มี ๑ ขอ ได ๑ คะแนน เชน

สามารถในการ ทำหนาทบ่ี รรณารักษ มี ๒ ขอ ได ๒ คะแนน - คำสงั่ แตงตัง้

บรหิ ารจัดการ และเจาหนาที่หองสมดุ มคี รบทุกขอ ได ๓ คะแนน มอบหมายงาน
(ตอ ) ๑.๓.๑ มีการ - สังเกต

แตง ตั้งครหู รือบุคลากร แนวทางการประเมิน - สมั ภาษณ

ทำหนาที่บรรณารกั ษ ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน - หลักฐานการเขา รวม

และเจาหนา ที่หองสมดุ ระดับ ๒ ได ๒ คะแนน ประชุม สัมมนา

๑.๓.๒ มีการ ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน - เกียรติบัตร รางวลั

เสริมแรง ใหข วัญและ ฯลฯ

กำลังใจแกครหู รอื บคุ ลากร

ทำหนาที่บรรณารักษ

และเจาหนาทีห่ องสมดุ

๑.๓.๓ มีการ

สง เสริม สนบั สนุน

และใหโอกาสแกค รู

หรือบุคลากร

ทำหนาที่บรรณารักษ

และเจา หนา ที่หอ งสมดุ

ไดรับการพฒั นา

เกณฑการประเมนิ และแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเร�ยน 63

มาตรฐาน ตัวบง ชี้ เกณฑการประเมิน ขอ มูลเชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๑ ๑.๔ ผบู ริหารจัดใหมี วธิ ีการและเอกสารหลกั ฐาน

ผบู ริหารมคี วาม งบประมาณสำหรับ เชน

สามารถในการ การดำเนินงานและ - คำสง่ั

บริหารจดั การ พัฒนาหองสมุด - แผนพัฒนาหองสมดุ

(ตอ ) ๑.๔.๑ มกี าร แนวทางการใหค ะแนน - แผนพัฒนาคุณภาพ
จัดสรรงบประมาณประจำป ขอ ๑.๔.๑ การศกึ ษา

เพ่ือสนบั สนนุ การดำเนินงาน จัดสรรงบประมาณประจำป - แผนปฏิบัติการ

และการพฒั นาหอ งสมุด เพ่อื ซือ้ หนังสอื และจดั - หลกั ฐานการจดั หา

กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น งบประมาณ

ดังนี้ ฯลฯ

โรงเรียนประถมศึกษา

ขนาดเลก็ (นักเรยี น

นอยกวา ๑๒๑ คน)

- จัดสรรไมน อยกวา

รอ ยละ ๕

ของเงินอดุ หนุน

ได ๑ คะแนน

- จัดสรรไมน อยกวา

รอยละ ๖

ของเงินอดุ หนุน

ได ๒ คะแนน

- จัดสรรไมนอยกวา

รอยละ ๗

ของเงินอดุ หนนุ

ได ๓ คะแนน

64 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ัยรกั การอานและพัฒนาหอ งสมุดโรงเร�ยน

มาตรฐาน ตวั บงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอมลู เชงิ ประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๑ ขนาดกลาง (นกั เรียน
ผูบริหารมีความ ๑๒๑-๖๐๐ คน)
สามารถในการ - จัดสรรไมนอ ยกวา

บริหารจัดการ รอ ยละ ๗
(ตอ ) ของเงนิ อดุ หนุน
ได ๑ คะแนน
- จัดสรรไมนอ ยกวา
รอ ยละ ๘
ของเงนิ อดุ หนุน
ได ๒ คะแนน
- จัดสรรไมนอยกวา
รอ ยละ ๙
ของเงินอดุ หนนุ
ได ๓ คะแนน

ขนาดใหญ (นกั เรยี น
๖๐๑ คนขน้ึ ไป)
- จัดสรรไมน อ ยกวา

รอยละ ๑๐
ของเงนิ อดุ หนุน
ได ๑ คะแนน
- จัดสรรไมนอยกวา
รอยละ ๑๑
ของเงนิ อดุ หนนุ
ได ๒ คะแนน

เกณฑก ารประเมินและแนวทางการใหค ะแนนตามมาตรฐานหอ งสมุดโรงเร�ยน 65

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอ มูลเชิงประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑ - จัดสรรไมน อยกวา
ผบู ริหารมคี วาม รอ ยละ ๑๒
สามารถในการ ของเงินอดุ หนนุ
ได ๓ คะแนน
บริหารจดั การ
(ตอ ) โรงเรยี นมัธยมศึกษา
- จดั สรรงบประมาณ

ประจำป ไมน อยกวา
รอ ยละ ๓
ของเงนิ อดุ หนนุ
ได ๑ คะแนน
- จัดสรรงบประมาณ
ประจำป ไมนอยกวา
รอ ยละ ๔
ของเงินอดุ หนนุ
ได ๒ คะแนน
- จดั สรรงบประมาณ
ประจำป ไมน อยกวา
รอยละ ๕
ของเงินอุดหนนุ
ได ๓ คะแนน

แนวทางการประเมนิ
ระดับ ๑ ได ๑ คะแนน
ระดับ ๒ ได ๒ คะแนน
ระดับ ๓ ได ๓ คะแนน

66 แนวทางการดำเนนิ งาน
สงเสร�มนิสัยรักการอานและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรย� น

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมิน ขอมลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๑ ๑.๔.๒ มีการ แนวทางการใหคะแนน

ผูบริหารมีความ จดั หางบประมาณจาก ขอ ๑.๔.๒

สามารถในการ หนว ยงานภาครฐั และเอกชน - มีการจดั หางบประมาณ

บริหารจัดการ จากแหลงทนุ ภายในและ จากภายในโรงเรยี น
(ตอ ) ภายนอก เพ่ือสนบั สนุน ได ๑ คะแนน

การดำเนนิ งานและ - มกี ารจัดหางบประมาณ

การพฒั นาหองสมุด จากแหลง ทนุ ภายนอก

ได ๒ คะแนน

- มกี ารจดั หางบประมาณ

จากแหลงทุนทง้ั จาก

ภายในและภายนอก

ได ๓ คะแนน

แนวทางการประเมิน
ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน

ระดบั ๒ ได ๒ คะแนน

ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน

๑.๕ ผบู รหิ ารจดั ใหม ี แนวทางการใหค ะแนน วิธีการและเอกสารหลกั ฐาน
หองสมดุ โรงเรยี น มลี กั ษณะตามตัวบง ชี้ เชน
ทไี่ ดม าตรฐานไวบ รกิ าร ใหขอละ ๑ คะแนน - สงั เกต (หอ งสมุด
นักเรยี น ครู ผบู ริหาร
บุคลากรภายในโรงเรียน แนวทางการประเมิน อาคารเอกเทศ
ผูปกครอง และชุมชน ระดบั ๑ ได ๖ คะแนน วสั ดคุ รุภัณฑ)
ระดับ ๒ ได ๗ คะแนน - ทะเบียนครุภัณฑ
ระดับ ๓ ได ๘ คะแนน - ทะเบยี นทรพั ยากร
สารสนเทศ

เกณฑการประเมนิ และแนวทางการใหค ะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเรย� น 67

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑการประเมิน ขอมูลเชิงประจักษ

มาตรฐานที่ ๑ ๑.๕.๑ จดั ใหมี ขนาดของหอ งสมุด

ผูบริหารมีความ หอ งสมดุ โรงเรยี นท่มี ขี นาด โรงเรยี น

สามารถในการ เหมาะสม โรงเรียนประถมศกึ ษา

บริหารจัดการ ๑.๕.๒ หองสมุด - โรงเรียนขนาดเลก็

(ตอ) ต้ังอยใู นตำแหนง ทเ่ี หมาะสม (นกั เรยี นนอ ยกวา
เปน ศูนยก ลาง สะดวก ๑๒๑ คน) มีหองสมดุ

ตอการเขา ไปใชบ รกิ าร ขนาด ๑ หอ งเรียนขึน้ ไป

๑.๕.๓ หองสมุด - โรงเรียนขนาดกลาง

มีสภาพดี (นักเรยี น ๑๒๑-๖๐๐ คน)

๑.๕.๔ หอ งสมุด มีหอ งสมุดขนาด

มบี รรยากาศทเ่ี อ้อื ๑-๒ หองเรียนขน้ึ ไป

ตอ การเรียนรู หรือเปนอาคารเอกเทศ

๑.๕.๕ จดั ใหมี - โรงเรียนขนาดใหญ

วัสดคุ รภุ ณั ฑเ พียงพอ (นักเรียน ๖๐๑ คนขึ้นไป)

กับการใชบ รกิ าร มหี อ งสมุดขนาด

๑.๕.๖ จดั ใหม ี ๒-๓ หองเรยี นขึ้นไป

วัสดุครภุ ัณฑเ หมาะสมกบั หรือเปนอาคารเอกเทศ

วัยของนักเรียน ขนาด ๒ หองเรยี นข้ึนไป

๑.๕.๗ จัดใหม ี โรงเรยี นมธั ยมศึกษา

ทรัพยากรสารสนเทศ - โรงเรียนขนาดเล็ก

ท่ีเพียงพอกับการใชบ ริการ (นักเรยี นนอ ยกวา

๑.๕.๘ จดั ใหม ี ๕๐๐ คน) มีหองสมดุ

ทรพั ยากรสารสนเทศ ขนาด ๑-๒ หองเรียน

เหมาะสมกับวัยของ ขน้ึ ไป หรือเปน

นกั เรียน อาคารเอกเทศ

68 แนวทางการดำเนนิ งาน
สงเสรม� นสิ ัยรักการอา นและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรย� น

มาตรฐาน ตวั บง ชี้ เกณฑการประเมนิ ขอมลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑ - โรงเรียนขนาดกลาง
ผบู ริหารมีความ (นักเรียน ๕๐๐-๑,๔๙๙ คน)
สามารถในการ มหี อ งสมุดขนาด
๒-๓ หองเรยี นขึน้ ไป
บรหิ ารจัดการ หรือเปน อาคารเอกเทศ
(ตอ) ขนาด ๒ หองเรียนขน้ึ ไป

- โรงเรยี นขนาดใหญ
(นักเรียน ๑,๕๐๐ คน
ข้ึนไป) มีหองสมดุ
๓ หอ งเรียนขน้ึ ไป
หรือเปนอาคารเอกเทศ
ขนาด ๓ หอ งเรียนขน้ึ ไป

๑.๖ ผูบรหิ ารนิเทศ แนวทางการใหคะแนน วธิ ีการและเอกสารหลกั ฐาน
กำกบั ติดตาม และ มลี กั ษณะตามตัวบงชี้ เชน
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ใหข อ ละ ๑ คะแนน - แผนการนิเทศ
- หลกั ฐานการนิเทศ
๑.๖.๑ มแี ผน - รายงานผล
การนิเทศงานหอ งสมุด แนวทางการประเมิน - หลกั ฐานการนำ

๑.๖.๒ มกี ารนเิ ทศ ระดับ ๑ ได ๓ คะแนน ผลการประเมินไปใช
กำกับ ตดิ ตาม และ ระดับ ๒ ได ๔ คะแนน ฯลฯ
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ระดับ ๓ ได ๕ คะแนน

๑.๖.๓ มกี าร

รายงานผลการดำเนนิ งาน

ตอ หนวยงานตน สงั กัด

และผูท ี่เก่ียวของ

เกณฑก ารประเมนิ และแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเรย� น 69

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอมลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑ ๑.๖.๔ มกี าร

ผบู รหิ ารมคี วาม นำผลการประเมินมาใช

สามารถในการ ในการพฒั นาหอ งสมุด

บรหิ ารจดั การ ๑.๖.๕ มกี าร

(ตอ ) นำมาตรฐานหอ งสมุด

โรงเรียนของสำนกั งาน

คณะกรรมการการศกึ ษา

ขนั้ พ้ืนฐานมาใชในการ

บรหิ ารงานหองสมดุ

มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ ผูบรหิ ารเปดโอกาส แนวทางการใหคะแนน วธิ กี ารและเอกสารหลกั ฐาน
ผบู รหิ าร ใหช มุ ชนมาใชบริการ มลี ักษณะตามตัวบงชี้ เชน
สงเสรมิ หองสมดุ เพือ่ การเรียนรู ใหขอ ละ ๑ คะแนน - สงั เกต
ความสมั พันธ ๒.๒ ผบู ริหารเปดโอกาส - สัมภาษณ
และความ ใหชุมชนมสี ว นรว มในการ แนวทางการประเมนิ - ภาพถาย
รวมมือกับชุมชน พฒั นาหอ งสมุดโรงเรียน ระดับ ๑ ได ๑ คะแนน
ในการพัฒนา ๒.๓ ผบู รหิ ารสรา ง ระดับ ๒ ได ๒ คะแนน ฯลฯ
หอ งสมุด เครอื ขา ยความรว มมือ ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน

และแสวงหาความชวยเหลอื

จากหนวยงานและ

องคก รอืน่ ๆ ทงั้ ภาครฐั

และเอกชน เพื่อพฒั นา

หองสมุดโรงเรยี น

70 แนวทางการดำเนนิ งาน
สงเสร�มนสิ ยั รักการอานและพฒั นาหองสมดุ โรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมนิ ขอ มลู เชงิ ประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๓ ๓.๑ ผบู ริหารเขา รับ แนวทางการใหคะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน

ผบู รหิ าร การอบรม สมั มนา มลี กั ษณะตามตวั บง ชี้ เชน

เปนแบบอยา ง ศึกษาดงู าน และแลกเปล่ียน ใหขอ ละ ๑ คะแนน - เกียรตบิ ัตร

ในการเปน ประสบการณด า น - บทความทางวชิ าการ

บุคคลแหง หองสมุด อยา งนอ ย แนวทางการประเมิน - เอกสารเผยแพร

การเรียนรู ปละ ๑ ครั้ง ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน ในรูปแบบตา ง ๆ

๓.๒ ผูบรหิ ารใชห อ งสมดุ ระดับ ๒ ได ๒ คะแนน - หลักฐานการเขารว ม

เปน แหลง ศกึ ษาคนควา ระดับ ๓ ได ๓ คะแนน ประชมุ สมั มนา

เพอ่ื พฒั นาตนเอง - หลักฐานการยมื -คืน

และพัฒนางาน - หลกั ฐานการศกึ ษาคนควา

๓.๓ ผูบริหารมนี สิ ัย - สังเกต

รักการอาน แสวงหาความรู - สมั ภาษณ

และพฒั นาตนเอง ฯลฯ

อยางตอเน่อื ง

เกณฑก ารประเมนิ และแนวทางการใหค ะแนนตามมาตรฐานหอ งสมุดโรงเรย� น 71

หมวดท่ี ๒ มาตรฐานดา นครู
๒.๑ ครหู รอื บุคลากรทำหนา ท่ีบรรณารักษ

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑการประเมิน ขอ มูลเชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๔ ๔.๑ มกี ารกำหนด แนวทางการใหค ะแนน วิธกี ารและเอกสารหลักฐาน
เชน
ครูหรอื บุคลากร วิสัยทัศน พันธกิจ มีลกั ษณะตามตัวบง ช้ี - แผนพฒั นางานหอ งสมุด
- สถติ ิการใชบริการ
ทำหนา ท่ี ของหองสมุดโรงเรยี น ใหขอละ ๑ คะแนน - แผนพับประชาสัมพนั ธ
- สังเกตสภาพแวดลอม
บรรณารกั ษ ๔.๒ มีการจดั ทำแผนงาน - แบบประเมนิ

มคี วามสามารถ โครงการหอ งสมุดที่ แนวทางการประเมิน ผลการดำเนินงาน
ในการบรหิ าร สอดคลองกับแผนพฒั นา ระดบั ๑ ได ๕ คะแนน - ขอ มูลแสดงการนำ

งานหองสมดุ คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับ ๒ ได ๖ คะแนน ผลการประเมนิ
มาใชพฒั นาตอไป
ของโรงเรยี น ระดับ ๓ ได ๗ คะแนน
ฯลฯ
๔.๓ มกี ารจดั ทำ

โครงสรา งการบรหิ ารงาน

หองสมดุ

๔.๔ มีการจัด

สภาพแวดลอ มและ

บรรยากาศของหองสมดุ

ใหเ อื้อตอการจดั การเรยี นรู

๔.๕ มกี ารประเมนิ

ผลการดำเนินงาน

๔.๖ มีการนำ

ผลการประเมินมาใช

ในการพฒั นางานหองสมดุ

72 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ยั รกั การอานและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรย� น

มาตรฐาน ตวั บง ช้ี เกณฑการประเมนิ ขอ มูลเชงิ ประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๔ ๔.๗ มีการนำมาตรฐาน
ครูหรอื บุคลากร หอ งสมดุ โรงเรียนของ
ทำหนาที่ สำนักงานคณะกรรมการ
บรรณารกั ษ การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
มีความสามารถ มาใชใ นการบริหารงาน
ในการบริหาร หอ งสมุด
งานหอ งสมดุ
(ตอ)

มาตรฐานท่ี ๕ ๕.๑ จัดใหม ที รัพยากร แนวทางการใหคะแนน วิธกี ารและเอกสารหลกั ฐาน
เชน
ครหู รอื บคุ ลากร สารสนเทศที่มเี น้ือหา มลี กั ษณะตามตัวบง ช้ี - ทะเบยี นทรัพยากร

ทำหนา ที่ สอดคลองกบั การจัด ใหข อละ ๑ คะแนน สารสนเทศ
- แผนการจดั หาทรพั ยากร
บรรณารกั ษ การเรียนการสอน - สงั เกตระบบการจดั

มีความสามารถ ตามหลกั สูตร แนวทางการประเมนิ หมวดหมกู ารสืบคน
- การเขาถึงทรพั ยากร
ในการปฏิบัติ ๕.๒ จัดใหมีทรพั ยากร ระดับ ๑ ได ๕ คะแนน
สารสนเทศ
งานเทคนิค สารสนเทศทม่ี เี นื้อหา ระดับ ๒ ได ๖ คะแนน - หลักฐานการสำรวจ

เหมาะสม และตรงตาม ระดับ ๓ ได ๗ คะแนน หรือแสดงความตอ งการ
ทรพั ยากรสารสนเทศ
ความตอ งการของ
ฯลฯ
ผูใชบริการ

๕.๓ มีการจัดหมวดหมู

และทำรายการทรพั ยากร

สารสนเทศตามหลักสากล

๕.๔ มกี ารเตรียม

ทรัพยากรสารสนเทศ

เพือ่ ใหบรกิ าร

เกณฑการประเมินและแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเร�ยน 73

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมนิ ขอ มูลเชงิ ประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๕ ๕.๕ ใชเทคโนโลยี
ครูหรือบคุ ลากร ในการจดั เกบ็ และสืบคน
ทำหนา ท่ี ทรพั ยากรสารสนเทศ
บรรณารักษ อยางเหมาะสมตามสภาพ
มคี วามสามารถ ของโรงเรียน สะดวก
ในการปฏบิ ตั ิ ตอ การเขาถงึ และใชบ รกิ าร
งานเทคนิค ๕.๖ มกี ารสำรวจ
(ตอ ) ทรัพยากรสารสนเทศ

ประจำป

๕.๗ มกี ารบำรงุ รกั ษา

ทรพั ยากรสารสนเทศ

ใหอ ยูในสภาพ

พรอ มใหบ รกิ าร

มาตรฐานที่ ๖ ๖.๑ มีการจดั ทำระเบียบ แนวทางการใหค ะแนน วธิ ีการและเอกสารหลกั ฐาน
ครูหรอื บุคลากร การใชหอ งสมดุ เชน
มลี กั ษณะตามตัวบงช้ี - ระเบยี บการใชบ ริการ
- ตารางการใชหอ งสมุด
ทำหนาท่ี ๖.๒ มีการจัดทำตาราง ใหขอ ละ ๑ คะแนน - สถติ กิ ารยืม-คืน
- สังเกต
บรรณารักษ การใชห อ งสมุดทชี่ ดั เจน - สมั ภาษณ

มคี วามสามารถ ๖.๓ มีการแนะนำการใช แนวทางการประเมิน ฯลฯ
ในการใหบ รกิ าร หอ งสมุด และการรบั รู ระดบั ๑ ได ๗ คะแนน

เขา ถงึ และใชประโยชน ระดับ ๒ ได ๘ คะแนน

จากสารสนเทศ ระดับ ๓ ได ๙-๑๐

คะแนน

74 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ยั รกั การอา นและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรย� น

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน ขอมลู เชิงประจักษ

มาตรฐานท่ี ๖ ๖.๔ มีการสอนวชิ าการใช
ครหู รือบุคลากร หองสมดุ และการรบั รู
ทำหนาท่ี เขาถึง และใชป ระโยชน
บรรณารักษ จากสารสนเทศ
มีความสามารถ ๖.๕ มีการจัดบรกิ ารการอา น
ในการใหบริการ และการศกึ ษาคน ควา
(ตอ) ๖.๖ มกี ารจัดบรกิ ารยมื -คืน

๖.๗ มีการจดั บริการ

ตอบคำถามและชวยคนควา

๖.๘ มีการจดั บริการเชิงรกุ

อยางหลากหลาย

๖.๙ มกี ารจดั บรกิ ารสืบคน

ทางส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส

และทางอินเทอรเน็ต

๖.๑๐ มกี ารจดั เกบ็ สถิติ

การใชบ รกิ าร

มาตรฐานท่ี ๗ ๗.๑ มีการจัดกิจกรรม แนวทางการใหคะแนน วิธีการและเอกสารหลกั ฐาน
ครหู รอื บคุ ลากร หอ งสมุดเพือ่ สนับสนนุ มีลกั ษณะตามตัวบงชี้ เชน
- แผนปฏิบตั งิ าน
ทำหนา ท่ี การจัดการเรยี นการสอน ใหข อละ ๑ คะแนน - แผนพฒั นาหอ งสมดุ
- การประเมินโครงการ
บรรณารกั ษ ตามหลักสูตร - รูปภาพ
- สรุปโครงการ
มคี วามสามารถ ๗.๒ มีการจัดกจิ กรรม แนวทางการประเมิน - สถติ ิ
ในการจัด สงเสริมการอา น
ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน ฯลฯ

กจิ กรรม อยางหลากหลาย ระดับ ๒ ได ๒ คะแนน

เพือ่ ปลูกฝงนสิ ัยรกั การอาน ระดับ ๓ ได ๓ คะแนน

เกณฑก ารประเมินและแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหองสมุดโรงเรย� น 75

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมนิ ขอ มลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๗ ๗.๓ มีการจดั กจิ กรรม
ครหู รอื บุคลากร สง เสริมการอาน
ทำหนาที่ อยา งตอ เนื่อง
บรรณารกั ษ เพอ่ื ปลกู ฝง นสิ ัย
มคี วามสามารถ รักการอาน
ในการจัด
กิจกรรม (ตอ)

มาตรฐานท่ี ๘ ๘.๑ มีการศกึ ษาคนควา แนวทางการใหคะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน
เชน
ครหู รอื บุคลากร ดวยตนเอง และมนี สิ ยั มลี กั ษณะตามตวั บง ช้ี - บนั ทึกรายงานการประชุม
- หลกั ฐานอ่ืน ๆ เชน
ทำหนาท่ี รกั การอา น ใหขอละ ๑ คะแนน
เกยี รติบัตร
บรรณารักษ ๘.๒ มีทักษะการใช - สงั เกต
- สัมภาษณ
มีการพฒั นา เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางการประเมนิ - สถติ กิ ารใชหองสมดุ
- คำส่ัง
ตนเอง สมยั ใหม ระดบั ๑ ได ๔ คะแนน - หนังสอื เชิญ
- หนังสอื ตอบรบั
อยา งตอ เนือ่ ง ๘.๓ เขา รับการอบรม ระดับ ๒ ได ๕ คะแนน
ฯลฯ
สัมมนา ศึกษาดงู าน ระดบั ๓ ได ๖ คะแนน

อยางตอเนอ่ื งหรือ

ศกึ ษาตอ

๘.๔ เปนสมาชิกสมาคม

ชมรม หรอื กลมุ วชิ าชีพ

ทีเ่ กี่ยวขอ ง

๘.๕ มกี ารสรา งเครือขา ย

การเรยี นรู และแลกเปลีย่ น

ประสบการณเ ก่ียวกบั

การดำเนนิ งานหองสมุด

76 แนวทางการดำเนนิ งาน
สง เสรม� นิสัยรกั การอา นและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมิน ขอ มลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๘ ๘.๖ มวี ฒุ ิ
ครหู รอื บุคลากร บรรณารกั ษศาสตร
ทำหนา ที่ หรอื สารสนเทศศาสตร
บรรณารกั ษ หรือผานการศึกษาอบรม
มีการพฒั นา ดา นงานหองสมุด
ตนเอง
อยางตอ เนื่อง
(ตอ )

เกณฑการประเมนิ และแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมุดโรงเร�ยน 77

๒.๒ ครูผูสอน

มาตรฐาน ตวั บงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอ มลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๙ ๙.๑ มีแผนการจัด แนวทางการใหคะแนน วธิ ีการและเอกสารหลักฐาน
ครูผสู อน การเรยี นรูท บี่ ูรณาการ - ครรู อยละ ๖๐-๗๐ เชน
ใชหองสมุด การใชหองสมุดใน ปฏิบตั ิได ไดขอละ - แผนการจัดการเรยี นรู
- บันทกึ รายงานการประชมุ
เพ่อื การเรียน สาระการเรยี นรู ๑ คะแนน - ภาพถา ย
- ปายนิทรรศการ
การสอน ที่ตนเองรบั ผิดชอบ - ครูรอยละ ๗๑-๘๐
๙.๒ มสี วนรวม ปฏบิ ตั ิได ไดข อ ละ ฯลฯ

ในการเสนอหรือคัดเลือก ๒ คะแนน

ทรัพยากรสารสนเทศ - ครรู อ ยละ ๘๑-๑๐๐

๙.๓ มกี ารจดั กิจกรรม ปฏิบัตไิ ด ไดข อละ

การเรียนการสอนโดยใช ๓ คะแนน

หองสมุดเปนแหลง เรียนรู แนวทางการประเมิน

๙.๔ มีสวนรว ม

ในการประเมินผล ระดบั ๑ ได ๘ คะแนน

การใชหองสมุด ระดับ ๒ ได ๙ คะแนน

ระดบั ๓ ได ๑๐-๑๒

คะแนน

มาตรฐานที่ ๑๐ ๑๐.๑ มีการจดั กิจกรรม แนวทางการใหคะแนน วิธกี ารและเอกสารหลกั ฐาน
ครผู สู อน สง เสรมิ นิสยั รกั การอาน - ครูรอ ยละ ๕๐-๖๐ เชน
มีการจดั ในสาระการเรียนรู - แผนการจดั กจิ กรรม
กิจกรรม ทต่ี นเองรบั ผิดชอบอยา ง ปฏิบตั ิได ไดขอ ละ
สง เสริมนสิ ยั หลากหลาย ๑ คะแนน สงเสริมการอาน
รกั การอาน ๑๐.๒ มกี ารจัดกิจกรรม - ครรู อ ยละ ๖๑-๗๐ - ผลงานจากการจดั
แกนักเรียน สงเสริมนิสยั รักการอา น ปฏิบัติได ไดข อ ละ
๒ คะแนน กิจกรรมสงเสริมการอา น

78 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นสิ ยั รักการอา นและพัฒนาหอ งสมุดโรงเร�ยน

มาตรฐาน ตวั บงชี้ เกณฑการประเมนิ ขอมลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานที่ ๑๐ ในสาระการเรียนรู - ครรู อยละ ๗๑-๑๐๐ - สงั เกต
ครูผสู อน ท่ีตนเองรับผิดชอบอยา ง ปฏบิ ัตไิ ด ไดข อละ - สมั ภาษณ
มกี ารจัด ตอ เนื่อง
กิจกรรม ๑๐.๓ มีการประสาน ๓ คะแนน ฯลฯ

สงเสรมิ นิสยั ความรว มมือกบั แนวทางการประเมนิ
รกั การอาน ครูบรรณารักษใ นการจดั ระดับ ๑ ได ๑๕ คะแนน
แกน กั เรยี น กจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ยั
(ตอ ) รกั การอา น ระดับ ๒ ได ๑๖-๑๗

คะแนน
๑๐.๔ มกี ารประเมนิ ระดับ ๓ ได ๑๘-๒๑
ผลการจัดกิจกรรม คะแนน
สง เสริมนสิ ัยรักการอา น

๑๐.๕ มกี ารรายงาน

ผลการประเมินผลการจดั

กจิ กรรมสงเสริมนิสัย

รักการอา นตอผบู รหิ าร

โรงเรยี น

๑๐.๖ มกี ารเผยแพร

ผลการประเมิน

ใหผเู ก่ยี วขอ ง

และสาธารณชนทราบ

๑๐.๗ มีการนำ

ผลการประเมินไปใช

ในการพัฒนากจิ กรรม

สง เสริมนสิ ยั รักการอา น

เกณฑการประเมินและแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเรย� น 79

หมวดท่ี ๓ มาตรฐานดา นนกั เรียน

มาตรฐาน ตัวบง ชี้ เกณฑก ารประเมนิ ขอ มูลเชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑๑ ๑๑.๑ กำหนดลักษณะ แนวทางการใหคะแนน วิธกี ารและเอกสารหลักฐาน

นกั เรียน และขอบเขตของ - นักเรยี นรอ ยละ เชน

มีความสามารถ สารสนเทศทต่ี องการได ๖๐-๗๐ ปฏิบตั ไิ ด - สงั เกต

ในการรับรู ๑๑.๒ คน หาสารสนเทศ ไดข อ ละ ๑ คะแนน - สัมภาษณ

เขาถงึ และ ทต่ี อ งการไดอยาง - นกั เรียนรอ ยละ - ตอบแบบสอบถาม

ใชประโยชน มีประสทิ ธภิ าพ ๗๑-๘๐ ปฏบิ ตั ิได - รายงาน

จากสารสนเทศ ๑๑.๓ ตดั สินใจเลือก ไดข อ ละ ๒ คะแนน - ชิ้นงาน

สารสนเทศที่เขาถึง - นกั เรียนรอยละ ฯลฯ

ไดอยางถกู ตอง ๘๑-๑๐๐ ปฏิบตั ไิ ด

๑๑.๔ สรปุ เรยี บเรยี ง ไดข อ ละ ๓ คะแนน

แนวคดิ จากสารสนเทศ

ทคี่ นพบได แนวทางการประเมิน

๑๑.๕ จัดเก็บและ ระดับ ๑ ได ๑๗ คะแนน

เผยแพรสารสนเทศได ระดับ ๒ ได ๑๘-๒๐

๑๑.๖ สรางองคความรู คะแนน

จากการศึกษาคน ควา ได ระดับ ๓ ได ๒๑-๒๔

๑๑.๗ มีจติ สำนึกท่ดี ี คะแนน

ในการใชท รพั ยากร

สารสนเทศ

๑๑.๘ มคี ณุ ธรรมและ

จรยิ ธรรมในการใช

ทรัพยากรสารสนเทศ

80 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสรม� นิสยั รักการอา นและพฒั นาหองสมุดโรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑก ารประเมนิ ขอมลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานท่ี ๑๒ ๑๒.๑ นกั เรียน แนวทางการใหค ะแนน วธิ กี ารและเอกสารหลักฐาน
นกั เรยี น เขา ใชห องสมุด ขอ ๑๒.๑-๑๒.๓ เชน
มคี วาม อยางสมำ่ เสมอ - นกั เรียนรอยละ - สังเกต
ใฝร ูใฝเรยี น ๑๒.๒ นักเรยี น ๖๐-๗๐ ปฏบิ ตั ไิ ด - สมั ภาษณ
และมีนิสัย ยมื หนังสอื หรอื สอ่ื ไดขอ ละ ๑ คะแนน - แบบสอบถาม
รกั การอาน ทรัพยากรสารสนเทศอ่ืน - นกั เรียนรอ ยละ - รายงาน
๗๑-๘๐ปฏิบตั ไิ ด - ชน้ิ งาน
อยางสมำ่ เสมอ ไดขอละ ๒ คะแนน - สถติ กิ ารเขา ใชหองสมุด
๑๒.๓ นกั เรียน - นักเรยี นรอยละ - สถติ ิการยืมหนงั สอื
เขา รว มกิจกรรม ๘๑-๑๐๐ ปฏบิ ัตไิ ด - หลกั ฐานการเขา รวม
สง เสริมการอาน ไดข อละ ๓ คะแนน กิจกรรมสงเสริมการอา น
อยางสม่ำเสมอ - บันทึกการอาน

แนวทางการประเมิน ฯลฯ
ระดบั ๑ ได ๖ คะแนน
ระดับ ๒ ได ๗ คะแนน
ระดบั ๓ ได ๘-๙ คะแนน

๑๒.๔ นกั เรยี น แนวทางการใหคะแนน
มีปรมิ าณการอาน ขอ ๑๒.๔
เหมาะสมกบั ระดบั ช้นั - นักเรยี นรอยละ
ตามเกณฑก ารอา น ๖๐-๗๐ อานหนงั สือ
หนังสอื ขัน้ ตำ่ ทีส่ ำนักงาน ตามปริมาณข้ันตำ่
คณะกรรมการการศึกษา ได ๑ คะแนน
ขั้นพื้นฐานกำหนด - นักเรียนรอยละ
๗๑-๘๐ อานหนังสอื
ตามปริมาณข้ันต่ำ
ได ๒ คะแนน

เกณฑการประเมินและแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหอ งสมดุ โรงเรย� น 81

มาตรฐาน ตัวบงช้ี เกณฑก ารประเมิน ขอ มลู เชิงประจักษ
- นกั เรียนรอยละ
มาตรฐานท่ี ๑๒
นักเรียน ๘๑-๑๐๐ อา นหนงั สอื
มีความ ตามปริมาณขน้ั ตำ่
ใฝร ใู ฝเรียน ได ๓ คะแนน
และมนี ิสยั
รักการอาน แนวทางการประเมนิ
(ตอ) ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน
ระดบั ๒ ได ๒ คะแนน
ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน

ปรมิ าณการอานหนงั สือ
ขั้นต่ำของสำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน
๑) ประถมศึกษาปท่ี ๑-๓
อานหนงั สอื อ่นื อยา งนอ ย
คนละ ๕ เลม ตอป
๒) ประถมศึกษาปท่ี ๔-๖
อานหนงั สืออน่ื อยา งนอย
คนละ ๑๐ เลม ตอ ป
๓) มัธยมศึกษาปท ี่ ๑-๓
อา นหนงั สืออน่ื อยา งนอย
คนละ ๑๕ เลมตอ ป
๔) มัธยมศึกษาปท ่ี ๔-๖
อานหนงั สอื อน่ื อยางนอ ย
คนละ ๒๐ เลมตอ ป

82 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสรม� นสิ ยั รกั การอานและพัฒนาหองสมุดโรงเรย� น

หมวดที่ ๔ มาตรฐานดานทรัพยากรสารสนเทศ

มาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน ขอ มลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานท่ี ๑๓ ๑๓.๑ หองสมุดมหี นงั สือ แนวทางการใหค ะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน
ทรัพยากร อางอิง เชน หนังสอื ขอ ๑๓.๑ ขอ ๑๓.๒ เชน
สารสนเทศ พระราชนพิ นธ พระนพิ นธ และขอ ๑๓.๔
- ทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภท สารานกุ รมไทย มที รพั ยากรสารสนเทศ - สมดุ ทะเบยี นรายชอื่
วสั ดุตีพมิ พ สำหรบั เยาวชนโดย ตามตวั บง ชี้ ใหขอละ
พระราชประสงค ๑ คะแนน วัสดุตพี มิ พ
ในพระบาทสมเด็จ แนวทางการประเมิน
พระเจา อยูห วั ระดับ ๑ ได ๑ คะแนน - สงั เกต
สารานุกรม พจนานกุ รม - สัมภาษณผูใชบ ริการ

ฯลฯ

ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ระดบั ๒ ได ๒ คะแนน

เปน ตน ระดับ ๓ ได ๓ คะแนน

๑๓.๒ หอ งสมุดมีหนงั สอื

สารคดี บันเทงิ คดี ขอ ๑๓.๓

หนงั สอื ภาษาตา งประเทศ - มจี ำนวนนอ ยกวาทรี่ ะบุ

วารสาร นิตยสาร ในตัวบง ช้ี ได ๑ คะแนน

หนงั สอื พมิ พ จลุ สาร - มจี ำนวนตามท่ีระบุ

เอกสารหลักสูตร ในตัวบงช้ี ได ๒ คะแนน

ทเี่ หมาะสม สอดคลองกบั - มีจำนวนมากกวา ท่รี ะบุ

หลักสูตร และความ ในตัวบงช้ี ได ๓ คะแนน

ตองการของผูใชบรกิ าร
๑๓.๓ หองสมุดมหี นงั สอื แนวทางการประเมนิ
อยางนอย ๑๐ เลม ระดบั ๑ ได ๑ คะแนน

ตอ นกั เรยี น ๑ คน ระดบั ๒ ได ๒ คะแนน

ระดบั ๓ ได ๓ คะแนน

เกณฑการประเมนิ และแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหองสมดุ โรงเร�ยน 83

มาตรฐาน ตวั บงช้ี เกณฑการประเมิน ขอมูลเชงิ ประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๑๓ ๑๓.๔ หองสมดุ มีวารสาร

ทรพั ยากร นติ ยสาร หนังสือพิมพ

สารสนเทศ ไวใ หบรกิ ารอยา งเหมาะสม

ประเภท และเพียงพอ
วัสดุตพี มิ พ (ตอ )

มาตรฐานที่ ๑๔ ๑๔.๑ หองสมดุ มวี สั ดุ แนวทางการใหคะแนน วิธกี ารและเอกสารหลกั ฐาน
เชน
ทรพั ยากร ไมต ีพิมพแ ละสือ่ มที รพั ยากรสารสนเทศ - ทรพั ยากรสารสนเทศ
- สมดุ ทะเบยี นรายช่อื
สารสนเทศ อเิ ล็กทรอนิกสตา ง ๆ ตามตวั บงชี้ ใหขอ ละ
วัสดุไมต ีพิมพ
ประเภท ในปริมาณทเ่ี หมาะสม ๑ คะแนน - สังเกต
- สัมภาษณผใู ชบ ริการ
วัสดไุ มต พี มิ พ และสอดคลอ งกบั หลักสูตร
ฯลฯ
และความตองการ แนวทางการประเมิน

ของผใู ชบริการ เชน ระดบั ๑ ได ๖ คะแนน

๑๔.๑.๑ ลูกโลก ระดับ ๒ ได ๗ คะแนน

๑๔.๑.๒ แผนท่ี ระดับ ๓ ได ๘ คะแนน

๑๔.๑.๓ หุน จำลอง

ของตวั อยา ง

๑๔.๑.๔ เกม

ของเลนเสริมทกั ษะ

๑๔.๑.๕ วดี ิทัศน

ซีดี-รอม ดวี ดี ี

๑๔.๑.๖ บทเรียน

คอมพิวเตอรชวยสอน

84 แนวทางการดำเนนิ งาน
สงเสรม� นิสัยรักการอา นและพฒั นาหอ งสมดุ โรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑก ารประเมิน ขอ มลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานที่ ๑๔ ๑๔.๑.๗ หนงั สอื

ทรพั ยากร อิเล็กทรอนกิ ส

สารสนเทศ ๑๔.๑.๘ บทเรียน

ประเภทวัสดุ ออนไลน

ไมตพี ิมพ (ตอ ) ฯลฯ

มาตรฐานที่ ๑๕ ๑๕.๑ หอ งสมดุ แนวทางการใหคะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน
การจดั การ ใชโ ปรแกรมหองสมดุ มีการจดั การทรัพยากร เชน
ทรัพยากร อัตโนมัติ - โปรแกรมหอ งสมุด
สารสนเทศตามตัวบง ชี้ - คอมพิวเตอรเ พ่ือ

สารสนเทศ ๑๕.๒ หองสมดุ ใหข อละ ๑ คะแนน การสบื คน
- เครอื ขา ยสังคมออนไลน
โดยใช มีการสืบคน ออนไลน - โปรแกรมการฝก อบรม
เทคโนโลยี ทางเว็บไซต - สังเกต
สารสนเทศ ๑๕.๓ หองสมดุ แนวทางการประเมนิ - สมั ภาษณผ ใู ชบ รกิ าร

ระดับ ๑ ได ๒ คะแนน ฯลฯ

มีเครอื ขา ยสงั คมออนไลน ระดบั ๒ ได ๓ คะแนน

เพ่ือสนับสนนุ การใช ระดบั ๓ ได ๔ คะแนน

ทรพั ยากรสารสนเทศ

๑๕.๔ หอ งสมดุ

มีการจัดฝก อบรมการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ของหองสมุด

เกณฑการประเมินและแนวทางการใหคะแนนตามมาตรฐานหองสมุดโรงเร�ยน 85

หมวดที่ ๕ มาตรฐานดา นอาคารสถานท่ี และวสั ดุครภุ ัณฑ

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑก ารประเมิน ขอมลู เชิงประจกั ษ

มาตรฐานที่ ๑๖ ๑๖.๑ หอ งสมุด แนวทางการใหค ะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน
อาคารสถานท่ี ตงั้ อยูในตำแหนง มลี ักษณะตามตัวบง ช้ี เชน
ใหขอ ละ ๑ คะแนน - สังเกต
ท่เี หมาะสม สะดวก - สมั ภาษณผูใชบ ริการ
ในการเขา ใชบ ริการ แนวทางการประเมนิ
๑๖.๒ หองสมดุ ระดบั ๑ ได ๓ คะแนน ฯลฯ
มีการออกแบบและ ระดบั ๒ ได ๔ คะแนน
ตกแตงอยางเหมาะสม ระดบั ๓ ได ๕ คะแนน
และสวยงาม
๑๖.๓ หอ งสมุด
มีการจัดพืน้ ที่
และบรรยากาศทีเ่ อ้อื ตอ
การอานและการเรยี นรู
๑๖.๔ หองสมดุ
มีการจดั การ
ดานสภาพแวดลอม
(สะอาด แสงสวา ง เสยี ง
และการถายเทอากาศ)
อยางเหมาะสม
๑๖.๕ หองสมุด
มีมาตรการในการรกั ษา
ความปลอดภัยของ
หองสมดุ และผูใ ชบ ริการ

86 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสร�มนสิ ยั รักการอานและพฒั นาหองสมดุ โรงเร�ยน

มาตรฐาน ตัวบง ช้ี เกณฑการประเมิน ขอ มลู เชงิ ประจักษ

มาตรฐานที่ ๑๗ ๑๗.๑ หอ งสมดุ แนวทางการใหค ะแนน วิธีการและเอกสารหลักฐาน
เชน
วัสดคุ รุภัณฑ มคี รุภัณฑท ่ีเหมาะสม มลี กั ษณะตามตวั บงชี้ - ทะเบียนครุภณั ฑ
- สงั เกต
กบั ขนาดของหอ ง ใหข อละ ๑ คะแนน - สมั ภาษณผ ูใชบ รกิ าร

และผใู ชบรกิ าร ฯลฯ

๑๗.๒ หองสมดุ แนวทางการประเมิน

มคี รภุ ณั ฑเ พียงพอ ระดบั ๑ ได ๒ คะแนน

และจดั วางไดเหมาะสม ระดับ ๒ ได ๓ คะแนน

กบั การปฏิบัตงิ าน ระดับ ๓ ได ๔ คะแนน

และใหบ ริการ

๑๗.๓ หองสมุด

มีครภุ ณั ฑ เคร่อื งมือ

วัสดุอปุ กรณท ่รี องรับการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ของหองสมุด (คอมพิวเตอร

เพื่อการสบื คน และ

คอมพวิ เตอร

เพือ่ การปฏบิ ตั ิงาน)

๑๗.๔ หองสมดุ

มีเครื่องมือและ

วัสดุอปุ กรณทีเ่ หมาะสม

กับการปฏิบตั งิ าน

ของบรรณารกั ษ

และการใหบ ริการ

การสรปุ ผลการประเมนิ

88 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสร�มนสิ ัยรักการอานและพฒั นาหอ งสมุดโรงเร�ยน
๑. การสรุปผลในแตละมาตรฐานยอยมีการกำหนดเกณฑ
การประเมินไว ๓ ระดับ คือ
ระดบั ๑ หมายถงึ พอใช (ควรปรบั ปรงุ )
ระดับ ๒ หมายถึง ดี
ระดับ ๓ หมายถงึ ดีเย่ียม
๒. การสรุปผลในภาพรวม กำหนดนำ้ หนกั คะแนนในแตละหมวด ดงั น้ี
หมวดท่ี ๑ มาตรฐานดานผูบริหาร
คะแนนเตม็ ๓๕ คะแนน ปรบั ใหเปน ๒๐ คะแนน
โดยนำคะแนนทไ่ี ดค ูณดวย .๕๗๑๔
หมวดท่ี ๒ แบงเปน มาตรฐานดานครหู รือบุคลากรทำหนาท่ี
บรรณารักษ และมาตรฐานดา นครผู ูสอน
มาตรฐานดา นครหู รือบุคลากรทำหนา ที่
บรรณารกั ษ
คะแนนเตม็ ๓๓ คะแนน ปรบั ใหเ ปน ๒๐ คะแนน
โดยนำคะแนนทไ่ี ดค ณู ดวย .๖๐๖๐

การสรปุ ผลการประเมิน 89

มาตรฐานดา นครผู ูส อน
คะแนนเต็ม ๓๓ คะแนน ปรับใหเ ปน ๒๐ คะแนน
โดยนำคะแนนทีไ่ ดค ณู ดวย .๖๐๖๐

หมวดท่ี ๓ มาตรฐานดา นนักเรยี น
คะแนนเตม็ ๓๖ คะแนน ปรบั ใหเปน ๒๐ คะแนน
โดยนำคะแนนท่ไี ดคณู ดว ย .๕๕๕๕

หมวดท่ี ๔ มาตรฐานดา นทรพั ยากรสารสนเทศ รวมกบั
หมวดที่ ๕ มาตรฐานดานอาคารสถานท่ี
และวสั ดคุ รภุ ณั ฑ
คะแนนเต็ม ๒๗ คะแนน ปรับใหเปน ๒๐ คะแนน
โดยนำคะแนนที่ไดค ูณดวย .๗๔๐๗

แลว นำคะแนนทกุ หมวดมารวมกนั เทียบกับเกณฑ ดงั นี้

พอใช (ควรปรบั ปรงุ ) ดี ดเี ย่ียม
มคี ะแนน มีคะแนน มคี ะแนน
๗๐-๘๕ คะแนน มากกวา ๘๕ คะแนน
นอ ยกวา ๗๐ คะแนน



การพฒั นาหองสมุดโรงเร�ยน
ตามนโยบายหอ งสมดุ ๓ ดี

92 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสร�มนิสัยรกั การอา นและพฒั นาหอ งสมุดโรงเรย� น

กระทรวงศึกษาธิการไดกำหนดนโยบายการพัฒนาหองสมุด
ของสถานศึกษาใหเปนแหลงเรียนรูและคนควาของนักเรียน ครู ผูบริหาร
ผูปกครอง และชุมชนไดอยางสมบูรณ โดยไดกำหนดแนวทางใหเปน
“หองสมุด ๓ ดี” ที่เนนการพัฒนาใน ๓ องคประกอบหลัก ไดแก
หนังสือและสื่อการเรียนรูดี บรรยากาศดี และบรรณารักษดี
ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

ดี ๑ : หนังสือและสื่อการเรย� นรดู ี
หนังสือเปนเครื่องมือในการสงเสริมการอานและการเรียนรู
ชวยปลูกฝงนิสัยรักการอาน ทำใหเกิดการใฝรูใฝเรียน และเปนบุคคล
แหงการเรียนรู เพ่ือใหการดำเนินงานสูการปฏิบัติใหเกิดความชัดเจน
และความสำเร็จอยางเปนรูปธรรม ควรสงเสริมใหหองสมุดมีหนังสือ
ท่ีมีสารประโยชน มีปริมาณเพียงพอ และเหมาะสมตรงกับความตองการ
ของผูเรียน และสงเสริมการใชหนังสือเพื่อการอานและการเรียนรู
ใหเกิดประโยชนสูงสุด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จึงไดจัดทำแนวปฏิบัติในการจัดหาหนังสือเขาหองสมุด เพ่ือใชประกอบ
การคัดเลือกหนังสือและใชหนังสือท่ีมีในหองสมุดใหเกิดประโยชนสูงสุด
ตอ ไป
เกณฑการพิจารณาคดั เลอื กหนงั สอื
๑. เน้ือหาสาระ หนังสือที่คัดเลือกไวในหองสมุดใหพิจารณา
ในประเด็นหลักดังน้ี หากเปนประเภทอางอิงหรือสารคดีจำเปน
ตองคำนึงถึงสาระที่ถูกตองตามหลักวิชาการ สอดคลองกับการจัด

การพฒั นาหองสมดุ โรงเร�ยนตามนโยบายหองสมุด ๓ ดี 93

การเรียนรูตามหลักสูตรของทุกกลุมสาระการเรียนรู มีความเปนปจจุบัน
ทันสมัย ทันเหตุการณ หากเปนประเภทบันเทิงคดีหรือสงเสริมการอาน
ควรมีเนื้อหาสาระที่สรางสรรค สงเสริมจินตนาการ และศีลธรรมอันดีงาม
ไมเปนพิษภัยตอการอาน เหมาะสมกับวัย สนุกสนานเราความสนใจ
จูงใจผูอานใหเกิดความเพลิดเพลิน กอใหเกิดนิสัยรักการอานและสามารถ
นำไปประยุกตใชใ นวถิ ชี วี ติ ได

๒. ความถูกตองของขอมูล มีความจำเปนอยางยิ่งสำหรับ
หนังสือประเภทอางอิง สารคดี และหนังสือวิชาการอ่ืน ๆ ตลอดจน
หนังสืออานเพ่ิมเติมตามกลุมประสบการณตาง ๆ ใหพิจารณาในเร่ืองของ
ความเท่ียงตรง เชื่อถือไดของแหลงที่มา แหลงคนควา บรรณานุกรม
ถกู ตองชัดเจน ทันเหตุการณ และไดร ับลิขสิทธถ์ิ กู ตอ งตามกฎหมาย

๓. ภาพประกอบของหนังสือ ควรพิจารณาใหมีความถูกตอง
และเหมาะสมกับประเภทของหนังสือ สอดคลองกับเนื้อเรื่อง ชัดเจน
เหมาะสมกับวัย มีสีสันสวยงาม รวมท้ังมีสัดสวนเหมาะสมกับ
หนากระดาษ

๔. การใชถอยคำสำนวนภาษา ใชถอยคำภาษาถูกตอง
สื่อความหมายไดชัดเจน อานเขาใจงาย เหมาะสมกับประเภทและเนื้อหา
ของหนังสือ รวมท้ังวัยของผูอาน กรณีหนังสือทางวิชาการ คำที่มาจาก
ภาษาตา งประเทศ ถา มีการบัญญัติศัพทภ าษาไทยแลว ควรใชภาษาไทย

๕. ความถกู ตอ งตามอกั ขรวธิ ี ภาษาทใ่ี ชใ นหนงั สอื ประเภทตา ง ๆ
ตองคำนึงถึงความถูกตองตามอักขรวิธี เชน การใชตัวสะกด การันต
คำควบกลำ้ เปนตน รวมทง้ั การใชค ำชนิดตา ง ๆ เชน คำนาม สรรพนาม
อักษรยอ เปนตน ใชภาษาพูด ภาษาเขียนไดถูกตองตามสถานการณของ
เรอื่ งนนั้ ๆ และเหมาะกบั วยั ของผูอ าน


Click to View FlipBook Version