The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kooboon, 2019-07-05 05:07:56

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2557-2561

Keywords: แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

94 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสร�มนิสัยรักการอานและพฒั นาหอ งสมดุ โรงเรย� น

๖. ราคาหนังสือ การพิจารณาราคาหนังสือตองคำนึงถึง
ความเหมาะสมดานปริมาณและคุณภาพของหนังสือ โดยพิจารณาจาก
ชนิดของกระดาษ ขนาด จำนวนหนา รูปแบบ และเทคนิคการผลิตภาพ
ความยากงายในการเก็บขอ มูลและเนือ้ หา

๗. สวนลดของราคาหนังสือ หนังสือท่ีจัดซ้ือสวนใหญจะไดรับ
สวนลด ควรนำสวนลดดังกลาวมาจัดซ้ือหนังสือเขาหองสมุดใหมี
ปริมาณเพ่ิมข้ึน แตถาหนังสือเลมใดมีสวนลดมากเปนพิเศษควรพิจารณา
ใหรอบคอบเพราะอาจจะทำใหไดห นังสอื ทไี่ มม คี ุณภาพ

๘. องคประกอบอ่ืน ๆ นอกจากการพิจารณาดังกลาวมาแลว
อาจมีองคประกอบอื่น ๆ ท่ีควรพิจารณา เชน ขอมูลทางบรรณานุกรม
ของสำนักหอสมดุ แหงชาติ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ จำนวนครั้ง
ที่พิมพ ปท่ีพิมพ มีสวนประกอบของหนังสือครบถวน เปนหนังสือท่ี
ชนะการประกวดจากหนวยงาน สถาบัน องคกรตาง ๆ หรือขอมูลอ่ืน ๆ
ที่สถานศึกษาพิจารณาตามความตองการและความเหมาะสม
ประเภทหนังสอื ทีค่ วรจัดซื้อ

สถานศึกษาควรจัดซ้ือหนังสือใหครบทุกประเภท มีสัดสวน
ของประเภทหนงั สือที่เหมาะสม และมีปรมิ าณเพยี งพอกับผอู า น มเี น้อื หา
หลากหลายครอบคลุมทุกกลุมสาระการเรียนรู สอดคลองกับวิสัยทัศน
และพันธกิจของสถานศึกษา ดังนั้น สถานศึกษาควรจัดใหมีหนังสือ
ในหองสมุด ดังรายการตอไปนี้

๑. หนังสืออางอิง เปนหนังสือที่ใชเปนเครื่องมือในการคนควา
ท่ีจะชวยใหผูอานสามารถแสวงหาความรู ขอเท็จจริง และตอบคำถามได

การพฒั นาหองสมุดโรงเร�ยนตามนโยบายหองสมดุ ๓ ดี 95

ในเวลาท่ีรวดเร็ว เพราะหนังสืออางอิงจะมีการจัดลำดับเน้ือหาไวอยาง
มรี ะเบยี บ หนงั สอื อา งองิ ที่ควรจดั ไวใ นหอ งสมดุ ไดแ ก

๑.๑ หนงั สอื พระราชนิพนธ หนงั สือพระนิพนธ
๑.๒ พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน
๑.๓ พจนานกุ รม องั กฤษ-ไทย
๑.๔ พจนานุกรม ไทย-องั กฤษ
๑.๕ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค

ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว
๑.๖ สารานกุ รมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน
๑.๗ สารานกุ รมวิทยาศาสตร
๑.๘ อกั ขรานกุ รมภมู ศิ าสตรไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
๑.๙ สารานกุ รมทัว่ ไป
๒. หนังสือสารคดี เปนหนังสือท่ีมุงใหความรูแกผูอาน มีเนื้อหา
ครอบคลุมวิชาการสาขาตาง ๆ ที่มิใชหนังสือเรียน เน้ือหาควรประกอบ
ดวยหนังสือเกี่ยวกับภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ
๓. หนังสือบันเทิงคดี เปนหนังสือที่มีเน้ือหาใหความบันเทิง
แกผูอาน เปนการเขียนขึ้นจากประสบการณหรือจินตนาการ โดยอาศัย
เคาความจริงของชีวิตและสังคม ผูอานจะไดรับความเพลิดเพลินและ
ขอคิดคติเตอื นใจท่ผี เู ขียนสอดแทรกไวใ นเรอ่ื ง ไดแก

96 แนวทางการดำเนินงาน
สงเสรม� นสิ ัยรกั การอา นและพฒั นาหองสมุดโรงเรย� น
๓.๑ หนงั สอื นวนยิ าย
๓.๒ หนังสอื รวมเร่อื งสัน้
๓.๓ หนงั สอื บทละคร
๓.๔ หนงั สือรอยกรอง
๔. หนังสือเด็กและเยาวชน เปนหนังสือท่ีมีเนื้อหาเหมาะสม
กับวัยของเด็ก มีกลวิธีในการเขียนพรอมภาพประกอบเร่ืองที่ชวนอาน
และติดตาม มีศิลปะในการจัดทำอยางประณีตงดงาม โดยทั่วไปผูเขียน
จะกำหนดวัยของผูอาน หรือระดับความรูความสามารถของผูอาน
ประกอบการเขยี น
๕. หนังสือเสริมประสบการณ เปนหนังสือท่ีจำเปนสำหรับ
ผูเรียนในการศึกษาคนควาใหมีความรูกวางขวางย่ิงข้ึน เน้ือหาสาระอิง
หลักสูตร ชวยใหการจัดการเรียนรูเปนไปตามวัตถุประสงคของหลักสูตร
ตลอดจนสงเสริมใหผูอานเกิดทักษะในการอานและมีนิสัยรักการอานมาก
ยิ่งขน้ึ เชน หนังสอื อา นนอกเวลา หนังสืออานเพ่ิมเตมิ หนังสือสงเสริมการ
อาน เปนตน
๖. เอกสารเกยี่ วกับหลกั สตู รสำหรับครู เชน หลักสตู ร เอกสาร
ประกอบหลักสูตร คูมือครู แผนการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ
เปน ตน
๗. วารสารและนิตยสาร
๘. หนังสือพิมพ ไดแก หนังสือพิมพภาษาไทย หนังสือพิมพ
ภาษาอังกฤษ

การพฒั นาหองสมุดโรงเรย� นตามนโยบายหอ งสมดุ ๓ ดี 97

๙. หนังสือแปลและหนังสือภาษาตางประเทศ เชน
ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน เปนตน
โดยพิจารณาจากการจัดการเรียนการสอนภาษาของแตละโรงเรียน
หรือความตองการของนักเรียนและครู เพ่ือเปนการสงเสริมใหนักเรียน
ไดมีโอกาสไดอานหนังสือหรือสื่อส่ิงพิมพท่ีเปนภาษาตางประเทศ
ตามทไี่ ดเ รียนในชั้นเรียน

แหลงขอ มลู เกย่ี วกบั หนงั สอื
สถานศึกษาสามารถหาขอมูลเก่ียวกับหนังสือไดจากแหลงขอมูล

ตาง ๆ ดังนี้
๑. รายการหนังสือของสำนักพิมพ หรือเอกสารความรูเก่ียวกับ

การผลิตและจำหนายหนังสือของสำนักพิมพ ซ่ึงจัดทำในรูปแบบตาง ๆ
เชน หนังสอื วารสาร นติ ยสาร หนังสอื พมิ พ แผน ปลิว เปนตน

๒. รายช่ือหนังสือและสิ่งพิมพท่ีจัดทำโดยหนวยงานท้ังภาครัฐ
และเอกชน ซ่ึงใหรายละเอียดเกี่ยวกับช่ือผูแตง ชื่อเรื่อง สำนักพิมพ
ปท พ่ี ิมพ จำนวนหนา บางชนิดอาจมีบรรณนิทัศนป ระกอบ

๓. บทวิจารณและแนะนำหนังสือจากส่ิงพิมพ เชน วารสาร
นติ ยสาร หนังสือพิมพ เปนตน

๔. การแนะนำหนังสือทางวิทยุโทรทัศน อินเทอรเน็ต และ
สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสอ ่ืน ๆ

๕. งานนิทรรศการหนังสือ สัปดาหหนังสือ และงานที่เกี่ยวของ
กับหนังสอื

๖. การสำรวจความตองการหนังสือของนักเรียน ครู ผูบริหาร
รวมถึงผูป กครอง

98 แนวทางการดำเนินงาน
สง เสรม� นิสัยรกั การอา นและพฒั นาหองสมดุ โรงเรย� น

การคดั เลอื กหนงั สอื และสอ� เขา หอ งสมุด
การคัดเลือกหนังสือและส่ือเขาหองสมุดโรงเรียน ควรมี

การดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ซ่ึงประกอบดวยผูเก่ียวของ
ในสวนตา ง ๆ เชน ผูบ รหิ าร หวั หนากลุมสาระการเรียนรู ครูบรรณารักษ
ครูกลมุ สาระการเรียนรู หรืออาจรวมถึงกรรมการสถานศกึ ษา ในสว นของ
สื่ออิเล็กทรอนิกสควรมีครูคอมพิวเตอรดวย โดยเปดโอกาสใหนักเรียน
ไดมีสวนรวมในการคัดเลือกและเสนอรายช่ือหนังสือและสื่อการเรียนรู
ดวย การเลือกหนังสอื และส่อื การเรยี นรใู หพ จิ ารณาเปน 4 ประเภท ดงั นี้
(นอกเหนือจากนี้ โรงเรียนสามารถเพิ่มเติมในสวนท่ีเปนความตองการได
เชน ของเลน เด็กเชงิ สรางสรรค แผนที่ ลกู โลก ฯลฯ

๑. หนงั สอื ทห่ี อ งสมดุ ทกุ แหง ตอ งมี ไดแ ก หนงั สอื พระราชนพิ นธ
พระนิพนธ นิพนธในพระองคตาง ๆ และหนังสือดี ๖ เลมท่ี
สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานรายช่ือ
คอื พระอภยั มณี รามเกยี รต์ิ นทิ านชาดก อเิ หนา พระราชพธิ สี บิ สองเดอื น
กาพยเ หเ รอื เจา ฟา กงุ (เจา ฟา ธรรมธเิ บศร) นอกจากนคี้ วรมสี ารานกุ รมไทย
สาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
และหนังสือสารานุกรม พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน
หนงั สอื พจนานกุ รมไทย-องั กฤษ และหนงั สอื พจนานกุ รมองั กฤษ-ไทย ฯลฯ

๒. หนังสือดีท่ีเด็กควรอาน ใหคัดเลือกจากหนังสือที่ผาน
การประกวดหรือการคัดเลือกจากหนวยงาน องคกร หรือคณะกรรมการ
ตาง ๆ เชน หนังสือชนะการประกวดหนังสือดีเดนของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน หนังสือ ๑๐๐ เลม ทเี่ ดก็ ไทยควรอาน
หนังสือดีท่ีหนวยงานภาครัฐและเอกชนคัดสรร เชน สำนักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา สำนักงานอุทยานการเรียนรู สมาคม/สมาพันธ/
มลู นธิ ิตาง ๆ รวมทง้ั หนงั สือที่ระลึกวนั เดก็ และวรรณคดีไทย ฯลฯ

การพัฒนาหอ งสมุดโรงเร�ยนตามนโยบายหองสมดุ ๓ ดี 99

๓. หนังสือเสริมความรู ไดแก หนังสือความรู ๘ กลุมสาระ
การเรียนรู หนังสืออานประกอบ หนังสือเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม
และศาสนา หนังสือประวัติศาสตร หนังสือสารคดี วารสาร จุลสาร
หนังสือเสริมความรูดานอื่น ๆ เชน คอมพิวเตอร งานประดิษฐ
การแตงกลอน การทำการเกษตร ความรูดานการเมือง การปกครอง
กฎหมาย และหนงั สืออน่ื ๆ ตามความตองการ ฯลฯ

๔. หนังสือเพ่ือการศึกษาคนควาสำหรับครู ไดแก คูมือครู
๘ กลุมสาระการเรียนรู เอกสารประเภทตำรา ทฤษฎีทางวิชาการ
หนังสือความรูอื่น ๆ ที่จำเปน เทคนิคการจัดการเรียนการสอน
การผลิตสื่อ วารสาร จุลสารทางวิชาการ และหนังสืออื่น ๆ ตามความ
ตอ งการ ฯลฯ

๕. สื่ออิเล็กทรอนิกส ไดแก สื่อมัลติมีเดียเพ่ือการศึกษา
ที่มีเน้ือหาสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ประเภทตาง ๆ ดังนี้

๕.๑ บทเรยี นคอมพิวเตอรชวยสอน
๕.๒ บทเรียนคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคเฉพาะ
(Learning Object)
๕.๓ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส
๕.๔ วีดทิ ัศน วีซีดี ซีดี-รอม ดีวดี ี
๕.๕ เกมการศึกษา
๕.๖ โปรแกรมการสอนสำเร็จรูปสถานการณจำลอง
(Simulation)

100 แนวทางการดำเนนิ งาน

สงเสร�มนิสัยรกั การอานและพัฒนาหองสมดุ โรงเรย� น

แนวทางการดำเนนิ งานสำหรบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษาและสถานศกึ ษา
การจัดหาหนังสือและสื่อการเรียนรูเพ่ือใหบริการในหองสมุด

ใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา และสถานศกึ ษา ควรดำเนินงานดังตอ ไปน้ี

เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
๑. สงเสริมสนับสนุน และใหคำปรึกษาในการจัดหาหนังสือ
และสื่อการเรียนรู เพื่อใหมีความโปรงใส ตรวจสอบได และถูกตอง
ตามระเบียบการจัดซ้ือจัดจาง การดำเนินการจัดซ้ือหนังสือและ
ส่อื การเรียนรู ควรมกี ารดำเนนิ การในรปู ของภาคี ๔ ฝาย ซึง่ ประกอบดว ย
ผูแทนครู ผูแทนนักเรียน ผูแทนผูปกครอง ผูแทนกรรมการสถานศึกษา
และหรือผูแทนชุมชน ทั้งนี้ควรมีการแนะนำใหมีการจัดซ้ือหนังสือ
ท่ีหลากหลายตามความตองการของผูใชบริการทุกกลุม กลาวคือไมควร
ซ้ือหนังสือโดยเลือกจากสำนักพิมพใด สำนักพิมพหน่ึงโดยเฉพาะ
การจัดซื้อควรใหมีการตอรองเร่ืองสวนลด และใหใชสวนลดท่ีไดในการ
จัดซ้ือหนังสือ โดยแสดงสวนลดและการใชสวนลดในใบเสนอราคา
และใบสง ของอยางชัดเจน
๒. กำหนดหรอื แตง ตง้ั ใหม คี ณะกรรมการกำกบั ดแู ลดา นการจดั ซอื้
ทั้งระดบั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและโรงเรียน
๓. จัดนิทรรศการ/ตลาดนัดหนังสือโดยเชิญชวนรานคา
และสำนักพิมพตาง ๆ มารวมจำหนายหนังสือ หรือดำเนินการ
ตามความเหมาะสม เพื่อใหสถานศึกษาไดรับรูขอมูลตาง ๆ ท่ีเปน
แหลงขอมูลในการชวยพิจารณาคัดเลือกหนังสือที่มีสารประโยชนตรงกับ
สภาพความตอ งการของผูเรยี น

การพฒั นาหอ งสมุดโรงเร�ยนตามนโยบายหอ งสมุด ๓ ดี 101

๔. สงเสริมสนับสนุนใหมีการใชหนังสือเพื่อสงเสริมการอาน
และการเรียนรูทั้งในและนอกหองเรียน และนอกโรงเรียน เพื่อสรางนิสัย
รกั การอานและการศึกษาคน ควาอยา งตอเน่ืองและสมำ่ เสมอ

๕. ใหมีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และรายงานอยางเปนระบบ
ท้ังในการจัดซ้ือหนังสือและสื่อการเรียนรู และการสงเสริมใหใชหนังสือ
เพือ่ การอานและการเรยี นรูใหเกดิ ประสทิ ธิผล

๖. สรุป และรายงานผลการดำเนินงานเสนอสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

โรงเรยี น
• ผูบ ริหาร
๑. ดำเนินการใหมีการจัดซ้ือจัดหาหนังสือและส่ือการเรียนรู
เพื่อใหบริการในหองสมุดใหเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ
เพ่ือใหหองสมุดมีหนังสือท่ีมีคุณภาพ และเพียงพอตอความตองการและ
จำนวนผใู ช ซงึ่ ไดแก นกั เรยี น ครู และผเู ก่ยี วขอ ง
๒. แตงตั้งคณะกรรมการ การดำเนนิ การจัดหาและจัดซอื้ หนังสือ
และส่ือการเรียนรู ควรใชแนวทางเดียวกับการจัดซื้อหนังสือ
ตามโครงการเรียนฟรี ๑๕ ป คือมีการดำเนินการในรูปของภาคี ๔ ฝาย
ซ่ึงประกอบดวย ผูแทนครู (ในท่ีน้ีควรมีครูบรรณารักษ ผูแทนครู
๘ กลมุ สาระการเรียนร)ู ผูแทนนักเรียน ผแู ทนผูป กครอง ผแู ทนกรรมการ
สถานศึกษา และหรอื ผแู ทนชุมชน
๓. ดำเนินการจัดหาและจัดซื้อตามงบประมาณที่ไดรับการ
จัดสรร และรายช่ือที่คัดเลือกไว และอาจขอรับการสนับสนุนจากองคกร
หนวยงานตาง ๆ การจัดหาและจัดซื้อหนังสือและส่ือการเรียนรูควรมี

102 แนวทางการดำเนินงาน

สงเสรม� นสิ ยั รกั การอา นและพัฒนาหอ งสมุดโรงเร�ยน

ความหลากหลายตามความตองการของผูใชบริการทุกกลุม กลาวคือ
ไมควรซ้ือหนังสือโดยเลือกจากสำนักพิมพใด สำนักพิมพหนึ่งโดยเฉพาะ
การจัดซื้อควรมีการตอรองเร่ืองสวนลด และใหใชสวนลดท่ีไดในการ
จัดซ้ือหนังสือ โดยใหแสดงสวนลดและการใชสวนลดในใบเสนอราคาและ
ใบสงของอยางชัดเจน เมื่อไดรับงบประมาณแลวใหคำนวณงบประมาณ
กับหนังสือที่ไดจัดลำดับความสำคัญไวแลว หรือเลือกซื้อทุกกลุม
ตามความตอ งการ การจดั ลำดับจดั ไดดังนี้

๓.๑ กลุมหนังสือประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

๓.๒ กลุมหนังสือที่ทุกโรงเรียนตองมี ไดแก หนังสือ
พระราชนิพนธ พระนิพนธ นิพนธ หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับ
เยาวชนฯ หนังสือดีที่เด็กและคนไทยควรอานตามพระราชวิจารณ
ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ า พ ร ะ บ ร ม ร า ชิ นี น า ถ ท่ี ไ ด พ ร ะ ร า ช ท า น ใ ห
กระทรวงศึกษาธิการ เนื่องในการจัดงานมหกรรมสงเสริมการอาน
ประจำป ๒๕๕๒ (ไดแก พระอภัยมณี รามเกียรต์ิ อิเหนา
กาพยเหเรือเจาฟาธรรมธิเบศร พระราชพิธีสิบสองเดือน นิทานชาดก)
พจนานกุ รมองั กฤษ-ไทย พจนานุกรมไทย-อังกฤษ เปนตน กลุมหนังสือดี
ท่ีเด็กควรไดอาน ไดแก หนังสือท่ีผานการประกวด หรือผานการคัดเลือก
โดยหนวยงาน หรือองคกร หรอื คณะกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ เปนตน

๓.๓ กลุมหนังสือตามความสนใจของผูใชบริการ และอ่ืน ๆ
ตามท่ีเหน็ สมควร

การพัฒนาหองสมดุ โรงเรย� นตามนโยบายหอ งสมุด ๓ ดี 103

๔. กำหนดนโยบายใหมีการใชหนังสือเพื่อการสรางนิสัย
รกั การอา น โดยสง เสรมิ ใหม กี ารจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น และกำหนดให
ครูผสู อนทกุ กลุมสาระการเรยี นรจู ัดการเรยี นการสอนโดยใชห องสมุด

๕. สงเสริมสนับสนุนใหหองสมุดมีการพัฒนาใหเปนศูนย
การเรยี นรทู ีย่ ่งั ยนื

๖. สงเสริมสนับสนุนใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการสงเสริม
การใชหนังสือเพื่อการสรางนิสัยรักการอาน เพ่ือกระตุนใหผูเรียน
รักการอาน และใฝร อู ยา งตอ เน่ืองดวยวิธีการตาง ๆ

๗. จัดใหมีโครงการ กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน และ
ใหกำหนดไวเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
ตลอดจนดำเนินงานใหเปนไปตามโครงการ กิจกรรมอยางตอเนื่อง
สมำ่ เสมอ

๘. มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผล
การดำเนินงานเสนอเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

• ครูบรรณารกั ษ
๑. สำรวจประเภท และจำนวนหนงั สอื ตามกลมุ และประเภทขา งตน
ทั้งดานความเพียงพอ ความตองการเพ่ิมเติม และสภาพของหนังสือ
เพือ่ ใชเปนขอมลู ในการคดั เลือกและจัดซื้อหนังสือใหม
๒. สำรวจหรือเก็บรวบรวมขอมูลความตองการหนังสือและ
ส่ือการเรียนรูของผูใชบริการ ไดแก นักเรียน ครู ผูบริหาร ผูปกครอง
หรือบางโรงเรียนอาจรวมถึงชุมชนที่เขามาใชบริการหองสมุด ท้ังประเภท
รายช่ือหนังสอื และจำนวนที่พอเหมาะกบั การใหบ รกิ าร

104 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสร�มนสิ ัยรกั การอา นและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเร�ยน

๓. จัดทำขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับรายชื่อหนังสือและสื่อสิ่งพิมพ
การเรยี นรู ท่ไี ดจากขอ มูลในขอ ๑ และ ๒

๔. จัดระบบงานหองสมดุ ไดแ ก ลงรายการหนงั สอื จัดหมวดหมู
หนังสือใหเปนปจจุบันอยูเสมอ แนะนำหนังสือใหม ใหคำแนะนำเก่ียวกับ
หนงั สือใหแกครูผสู อนและนกั เรียน ซอ มแซมหนงั สอื และสือ่ ใหอ ยูในสภาพ
ใชง านได

๕. จัดและพัฒนาหองสมุดใหมีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการอาน
และการเรียนรู เพ่ือสรางสังคมแหงการอา น

๖. สงเสริมสนับสนุนใหครูผูสอน และนักเรียนเขาถึงขอมูล
ขาวสารไดอยางสะดวกและรวดเร็ว รวมท้ังใหมีการใชหนังสือเพื่อการอาน
และการเรยี นรู

๗. กระตุนใหนักเรียนและครูผูสอนเกิดการรักการอานและ
การเรียนรู ดวยการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย เชน แนะนำหนังสือใหม
จัดนิทรรศการหนังสือตามกลุมสาระการเรียนรู บันทึกการอาน ประกวด
แขงขนั ดา นการอา น คนหายอดนกั อา น เปน ตน

๘. จัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรู สนับสนุนการใช
หนังสอื ใหเหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั เรยี น

๙. สรางเครือขายหองสมุดโรงเรียน และพัฒนาแหลงเรียนรู
ภายในและภายนอกโรงเรยี น

การพัฒนาหองสมุดโรงเรย� นตามนโยบายหองสมดุ ๓ ดี 105

• ครูผสู อน
๑. ครูผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูตองใหความสนใจกับ
หนังสือใหมท้ังที่มีในหองสมุดและแหลงการเรียนรูอื่น ๆ เพื่อแนะนำ
ใหแ กนกั เรยี นได
๒. จัดทำแผนการเรียนรูบูรณาการการสงเสริมการอานและ
การใชหอ งสมดุ ในการจดั การเรยี นการสอน
๓. ใหความรวมมือกับครูบรรณารักษในการจัดหาหนังสือและ
สอ่ื อื่น ๆ แนะนำหนงั สอื ดี และกจิ กรรมสงเสรมิ การอา น

ดี ๒ : บรรยากาศและสถานท่ดี ี
หองสมุดโรงเรียนในปจจุบันจำเปนตองมีการพัฒนาใหกาวหนา
โดยการผสมผสานกับความมีชีวิตชีวา สดช่ืนแจมใส มิใชเปนเพียง
หองสมุดท่ีเก็บรวบรวมหนังสือไวบริการเพียงอยางเดียว ตองจัด
บรรยากาศแหงการอาน จัดอาคารสถานที่ใหนาเขาใช จัดบรรยากาศ
ที่เอื้อตอการเรียนรู และใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ
งานหองสมุดใหเกิดประสิทธิภาพ ดังน้ันหองสมุดท่ีดีน้ัน ควรมี
องคประกอบที่สามารถสรางความพึงพอใจใหกับผูใชบริการไดรับ
ประโยชนส งู สุด ดงั นี้
๑. บรรยากาศและสถานที่ พิจารณาการออกแบบการจัด
บรรยากาศท้ังภายในและภายนอกหองสมุดใหทันสมัยและมีบรรยากาศ
ท่ีดี ซึ่งจะชวยสงเสริมการเรียนรูและการศึกษาคนควา วิจัย การจัดวาง
ครุภัณฑและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย อุณหภูมิ สี และ

106 แนวทางการดำเนินงาน

สง เสรม� นิสัยรกั การอานและพฒั นาหองสมุดโรงเร�ยน

องคประกอบของครุภัณฑท่ีใชใหมีความสอดคลองเปนแนวคิดเดียวกัน
รวมท้งั การจัดวางมุมตาง ๆ ภายในหอ งสมดุ ดว ย

๒. ทรัพยากรสารสนเทศในหองสมุด พิจารณาคุณคาของ
ทรัพยากรสารสนเทศ ไดแก สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส
ใหม จี ำนวนเหมาะสม และตรงตามความตองการของผูใช

๓. ระบบงานหองสมุด พิจารณาระบบงานหองสมุดโดยใช
เทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยงานครูบรรณารักษใหเกิดประสิทธิภาพ
และใหบริการแกผ ใู ชใ หเขาถึงขอมูลไดอยางสะดวกและรวดเรว็

๔. บริการและกิจกรรม พิจารณาคุณภาพของงานบริการ
ใหสะดวก รวดเร็ว และมีอัธยาศัยไมตรี ทำใหหนังสือมีชีวิต และมีการ
จัดกจิ กรรมสง เสรมิ การอานทีม่ คี วามเคลอื่ นไหวอยตู ลอดเวลา

๕. บุคลากร พิจารณาคุณภาพของบุคลากร ตองพัฒนา
ครูบรรณารักษ ใหมีความรูในการบริหารจัดการหองสมุดสมัยใหม
สรา งมุมมองใหม ๆ ใหเกดิ ขนึ้ มกี ารทำงานเชิงรกุ เพอ่ื สนองความตองการ
การเรยี นรูแกค นทกุ เพศทุกวัยในโรงเรียน รวมทงั้ ชุมชน

๖. รายการครุภัณฑประกอบหองสมุด โรงเรียนสามารถเลือกได
ตามความตองการและความเหมาะสมกับขนาดของหองสมุด โดยคำนึงถึง
วตั ถปุ ระสงคใ นการจดั หอ งสมดุ บรรยากาศ การใหบ รกิ าร และกลมุ เปา หมาย
ทจ่ี ะมาใชบ รกิ ารเปน หลัก

การพฒั นาหองสมุดโรงเรย� นตามนโยบายหอ งสมุด ๓ ดี 107

ดี ๓ : บรรณารักษและกจิ กรรมดี
บุคลากรหองสมุด ประกอบดวย บุคคลากรตาง ๆ ที่เก่ียวของ
ในงานหองสมุด ไดแก ครูบรรณารักษ ครูผูสอน เจาหนาที่หองสมุด
ผูเรียน ตลอดจนชุมชน แตบุคคลที่สำคัญที่สุดของหองสมุด คือ
ครูบรรณารักษ ซ่ึงจะเปนตัวกลางในการเชื่อมโยงความรูในหองสมุด
กับผูใชบริการ ซ่ึงครูบรรณารักษจะตองเปนผูมีความรูวุฒิอยางต่ำ
ปริญญาตรีทางบรรณารักษศาสตรหรือสารสนเทศศาสตร หรือไดผาน
การอบรมวิชาบรรณารักษศาสตรหรือสารสนเทศศาสตร หรือการบริหาร
งานหองสมุดและการสงเสริมการอาน มีหัวใจในการใหบริการ มีอัธยาศัย
ไมตรี ย้ิมแยมแจมใส และบริหารจัดการงานหองสมุดไดอยางมี
ประสิทธิภาพและมีความสุขในการทำงาน ตลอดจนไดรับการสนับสนุน
ใหมีโอกาสในการอบรม ดูงาน หรือแลกเปล่ียนความรูกับบุคลากร
หองสมุดอื่น ๆ เพื่อพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถใหทันกับ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถบริการความรู
ใหเขาถึงผูใชไดอยางรวดเร็ว รวมท้ังมีเวลาในการปฏิบัติงานหองสมุด
เตม็ เวลา
กิจกรรมสงเสริมการอาน เปนสิ่งสำคัญท่ีชวยทำใหหองสมุด
มีชีวิตชีวา และเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
จึงเปนวิธีการที่จะกระตุนใหเกิดการอานอยางตอเนื่อง และเปนแรงจูงใจ
ใหผูอานไดอานอยางมีความสุข ดังนั้น หองสมุดโรงเรียนควรจัดกิจกรรม
อยางสมำ่ เสมอ

108 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสรม� นิสยั รักการอานและพัฒนาหอ งสมดุ โรงเรย� น

ตัวอยางกิจกรรมที่หองสมุดโรงเรียนสามารถจัดเพ่ือสงเสริม
การใชหองสมดุ และสรางนิสัยรักการอาน ไดแ ก

- แนะนำหนงั สอื ใหม หนังสอื ดี - เลา นิทาน
- วิเคราะห วจิ ารณห นังสือรวมกนั - หอ งสมุดเคล่ือนที่
- รณรงคห นงั สอื หนง่ึ เลม ท่ชี อบอา น - รายการเสียงตามสาย
- จัดเวลาอา นหนงั สือ - นทิ รรศการในวาระสำคญั
- คายการอา น - เรียนรแู หลงความรใู นชมุ ชน
- หนังสือเคลอ่ื นที่สูชมุ ชน - คลินกิ หมอภาษา
- กิจกรรมพีช่ วนนองอา น - ใหค วามรูการใชห องสมุด
- แขง ขันเปด พจนานกุ รม-สารานุกรม - เลา เรอ่ื งจากหนังสือ
- โตว าที - จากบทเพลงสูงานเขียน
- เรียงความ - วรรณกรรมสาธิต
- การทำหนังสือเลมเล็ก - พีอ่ า นคลอ ง นอ งอา นเพลนิ
- หนุ มอื ส่อื ภาษา - ขวัญใจยอดนักอาน
- จดหมายลูกโซหนงั สือดใี นดวงใจ - นทิ านจินตนาการทีย่ ่ิงใหญ
ฯลฯ

ภาพตวั อยา งหองสมดุ โรงเรย� น

110 แนวทางการดำเนินงาน

สงเสรม� นสิ ยั รักการอา นและพัฒนาหอ งสมุดโรงเร�ยน

โรงเรย� นวัดประกอบราษฎรบำรงุ
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาฉะเชง� เทรา เขต ๑

ภาพตัวอยางหองสมดุ โรงเร�ยน 111

โรงเรย� นวดั ประกอบราษฎรบ ำรุง

112 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสร�มนสิ ยั รักการอา นและพัฒนาหองสมุดโรงเรย� น

โรงเรย� นวดั ประกอบราษฎรบ ำรงุ

ภาพตัวอยางหองสมดุ โรงเร�ยน 113

โรงเรย� นวดั ประกอบราษฎรบ ำรุง

114 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสร�มนิสยั รกั การอานและพฒั นาหองสมุดโรงเร�ยน

โรงเร�ยนแมทาวท� ยาคม
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๕

115

โรงเร�ยนแมทาว�ทยาคม

116 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสร�มนสิ ัยรกั การอานและพฒั นาหอ งสมุดโรงเรย� น

โรงเรย� นบานในไร
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพงั งา

ภาพตัวอยา งหองสมุดโรงเรย� น 117

โรงเรย� นวดั ถนน
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอางทอง

118 แนวทางการดำเนนิ งาน

สงเสรม� นสิ ยั รกั การอา นและพัฒนาหองสมดุ โรงเรย� น

โรงเรย� นวัดมหาบษุ ย
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร

โรงเร�ยนมัธยมวดั ดาวคะนอง
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑

ภาพตัวอยางหอ งสมดุ โรงเร�ยน 119

โรงเรย� นวดั ตะครำ้ เอน
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุร� เขต ๒

โรงเร�ยนนารน� ุกลู ๒
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๙

120 แนวทางการดำเนนิ งาน

สง เสร�มนิสัยรกั การอา นและพฒั นาหอ งสมดุ โรงเร�ยน

คณะผูจดั ทำ

ทป่ี รกึ ษา
นางเบญจลกั ษณ นำ้ ฟา รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
นางสาววณี า อคั รธรรม ที่ปรกึ ษาดานพฒั นากระบวนการเรยี นรู

ผูกำหนดกรอบการเขยี นรายงาน ทปี่ รกึ ษาดา นพฒั นากระบวนการเรียนรู
นางสาววีณา อัครธรรม สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
นางศกนุ ตลา สขุ สมัย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
นางสาวองั คณา ผิวเกล้ยี ง

คณะทำงานและเขยี นรายงาน ทป่ี รกึ ษาดานพฒั นากระบวนการเรยี นรู
นางสาววณี า อัครธรรม ขา ราชการบำนาญ
นางสวุ ณั นา ทดั เทยี ม ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ที่
นางเยาวลกั ษณ คงพลู การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓
นายครรชิต มนญู ผล สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
นายกลนิ่ สระทองเนยี ม ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต ๑
นายวิรัช ตันตระกลู สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
นายวจิ ารณ ดานวุ งศ มธั ยมศึกษา เขต ๑
นายวฑิ รู ย ชงั่ โต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๑
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต ๒

คณะผจู ัดทำ 121

นางสาวอุไรพร พานิชกุล สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
นางสวุ รัชต วชั รสทุ ธิพงศ ประถมศกึ ษาพงั งา
นางธัญพร ภมุ รนิ ทร สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
นางอารียา เจะ มุ ประถมศึกษาบรุ ีรมั ย เขต ๓
นายปญญา ปรางคทอง สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
นายบพติ ร มหี นองหวา ประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต ๒
นางบญุ เต็ม ปรีดสี นทิ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
นางไพรินทร เหมบตุ ร ประถมศึกษานราธิวาส เขต ๑
นางนาถลดา ทองหยวก สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
นางศกุนตลา สขุ สมัย ประถมศึกษาอางทอง
นางสาวอังคณา ผวิ เกลีย้ ง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
มัธยมศกึ ษา เขต ๒๙
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
มธั ยมศกึ ษา เขต ๒๓
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
มัธยมศกึ ษา เขต ๔๑
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต ๓
สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา

ผูทรงคุณวุฒิพจิ ารณาเอกสาร ท่ปี รกึ ษาดา นพฒั นากระบวนการเรยี นรู
นางสาววีณา อัครธรรม รองผูอำนวยการสำนักวชิ าการ
นางศกนุ ตลา สขุ สมัย และมาตรฐานการศกึ ษา

122 แนวทางการดำเนินงาน

สง เสรม� นสิ ัยรกั การอานและพฒั นาหองสมุดโรงเรย� น

บรรณาธกิ ารและผเู รียบเรยี งรายงานฉบับสมบรู ณ

นางสาววีณา อัครธรรม ทีป่ รกึ ษาดา นพัฒนากระบวนการเรยี นรู
นางศกนุ ตลา สุขสมยั สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
นางสาวอังคณา ผวิ เกลย้ี ง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

ผูออกแบบปกและจดั ทำรูปเลม

นางสาวองั คณา ผวิ เกลยี้ ง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา


Click to View FlipBook Version