The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อการสอน วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunisapoope473, 2021-03-15 22:56:49

สื่อการสอน วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

สื่อการสอน วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

ธุรกจิ และการเป็ นผู้ประกอบการ

(Business and Entrepreneurs)
(รหัสวชิ า 20001 – 1003)

นางสาวสุนิสา เพช็ รเกษม
ครูผู้สอน

การวางแผนเป้าหมายชีวิตดว้ ย กฎหมายที่เก่ียวกบั ธรุ กิจและ
วงจรควบคมุ คณุ ภาพ การเป็นผปู้ ระกอบการ
การออม
รปู แบบและการจดั ทาแผนธรุ กิจ
การลงทุน
ธรุ กิจและการเป็นผปู้ ระกอบการ หลกั เบอื้ งต้นในการบริหารงาน
คณุ ภาพและเพิ่มผลผลิตในองคก์ ร
การจดั หาและการวางแผนทางการเงิน
การประยกุ ตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ในธรุ กิจและการเป็น
ผปู้ ระกอบการ



ก า ร น า PDCA ม า ใ ช้ ค รั้ง แ ร ก โ ด ย Walter
Shewhart เพื่อใช้ควบคมุ กระบวนการทางสถิติของบริษทั
Bell Laboratory ที่สหรฐั อเมริกา ต่อมา W. Edward
Deming ได้เผยแพรค่ วามรวู้ งจรเดมิ่งอยา่ งกว้างขวาง

วงจร PDCA ได้รบั ความนิยมมากโดยเฉพาะในประเทศ
ญี่ป่ ุน ซ่ึงได้ให้ความสาคญั กบั พื้นฐาน การบริหารงานให้เกิดคณุ ภาพ 2 อย่าง
คือ การสื่อสารและความร่วมมือร่วมใจจากทุกคนในหน่วยงาน โดยผ้บู ริหาร
เป็ นผู้กาหนดแผนงาน แต่จะสื่อสารผ่านช่องทางหัวหน้างานและพนักงาน
ตามลาดบั ขนั้ เป้าหมายจะถกู กาหนดขนึ้ ตามความเหมาะสมท่ีเป็นไปได้

4

วงจร PDCA สามารถนามาประยกุ ตใ์ ช้ได้กบั ชีวิตของแต่ละบคุ คลได้ทกุ เรื่อง
PDCA คือ วงจรการควบคมุ คณุ ภาพ หรือวงจรเดม่ิง ประกอบด้วย

5

การวางแผน (Plan)
การปฏิบตั ิตามแผน (Do)
การตรวจสอบ (Check)
การปรบั ปรงุ แก้ไข (Action)

6

7

การวางแผนท่ีดีนัน้ ต้องวิเคราะหส์ ถานการณ์ 5W1H ดงั นี้

8

การประเมินผล การศึกษา
การดาเนิ นงาน
การเตรียมงาน

การวางแผนเป้าหมายชีวิต หมายถึง การตงั้ เป้าหมายชีวิตของบุคคล
ท่ีได้วางแผนไว้ด้วยวิ ธีการที่เหมาะสมเพ่ือนาตนเองไปสู่เป้ าหมายของชีวิ ตใน
อนาคต เป็ นการวางเป้าหมายไว้ว่าจะต้องตงั้ ตวั สร้างฐานะให้ได้ โดยเรียนให้
จบและประกอบอาชีพท่ีสจุ ริต ซ่ึงการวางแผนเป้าหมายในชีวิตของแต่ละบคุ คล
จะแตกต่างกนั ไปเพื่อให้การดาเนินชีวิตมีคณุ ภาพ

9



15

การออม หมายถึง การเก็บสะสมเงินรายได้ใน
ส่วนต่างๆ ไว้ใช้จ่ายในอนาคต รวมถึงการสะสมสิ่งที่มี
ค่าเป็ นตวั เงินและมีประโยชน์ต่อครอบครวั เช่น ทองคา
เพชร เครื่องประดบั ท่ีดิน และอื่นๆ เป็ นต้น ซึ่งการเก็บ
รายได้สุทธิ เมื่อหักรายจ่ายแล้วจะมีส่วนท่ีเหลืออยู่
เรียกวา่ เงินออม

ความสาคญั ของการออมการออมเป็นการ

สร้างหลกั ประกันความมนั่ คงให้กับตนเอง และ
ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด เ ส ถี ย ร ภ า พ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ จึ ง มี
ความสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจ เพราะเก่ียวข้องกบั
ความเป็นอยขู่ องประชาชน ครอบครวั และชมุ ชน

16

ประโยชน์ของการออม การออมให้ประโยชน์ต่อการดารงชีวิตและ
พฒั นาชีวิตของทกุ คน ไม่วา่ จะเป็นการออมเงินและออมทรพั ยากรอ่ืน รวมทงั้
การออมชีวิต ซ่ึงสรปุ ได้ดงั นี้

ด้านการ ด้านเศรษฐกิจ
พฒั นาชีวิต

ด้านทรพั ยากร ด้านสงั คม
ธรรมชาติ

แวดล้อม

ด้านการศึกษา ด้านวฒั นธรรม

17

18

“เป้าหมาย” คือสิ่งจงู ใจในการออม ซึ่งแต่ละบุคคลอาจจะแตกต่าง
กนั ขึ้นอยู่กบั ความหวงั และความึต้องการในชีวิต เช่น อยากมีบ้านและที่ดิน
เป็นของตนเอง อยากมีชีวิตท่ีสุขสบายในวยั เกษียณ เป้าหมายนัน้ จะเป็นส่ิงท่ี
กาหนดให้จานวนเงินออมและระยะเวลาในการออมแตกต่างกนั ได้แก่

เพ่อื สร้างหลกั ประกนั ชีวิต เพ่ือให้มีเงินไว้ใช้ในวยั เกษียณ
และความมนั่ คงดา้ นการเงิน

เพือ่ ไวใ้ ช้ในด้านการศึกษาและ เพือ่ ไว้เป็นมรดกให้ลกู หลาน
ความกา้ วหน้าในการงาน และสงั คม

เพ่ือใช้เป็ นเงินทุนใน
การประกอบอาชีพ

เพื่อไว้ใช้จา่ ยนอกเหนือจาก
รายจา่ ยประจา

19

20

21

การวางแผนการออม (Saving Plan) ส่ิงที่สาคญั

ในการวางแผนการออมคือการประมาณรายได้และรายจา่ ย

เช่น บคุ คลต้องการซื้อบา้ นจะต้องวางแผนการออมโดย
กาหนดจานวนเงินและระยะเวลาท่ีสะสมเงินออม เพื่อให้
ได้ตามจานวนที่ต้องการ เงินออมยงั ช่วยบรรเทาความ
เดือดรอ้ นทางการเงินในยามฉุกเฉิ น แสดงให้เหน็ วา่ การ

ออมเป็นรปู แบบของการลงทนุ อย่างหน่ึง ทกุ คนจงึ ควร
บริหารเงินออมอย่างรอบคอบ

22

ประเภทของการออมเงิน การเกบ็ ออมเงินเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายใน
ชีวิตบคุ คลนัน้ แบง่ ออกได้ดงั นี้

23

การประกนั ชีวิต การฝากเงินกบั ธนาคาร
(Life Insurance) (Deposit)

การซื้อพนั ธบตั ร การออมทรพั ยก์ บั
รฐั บาล “พนั ธบตั ร” สหกรณ์

กองทนุ สารองเลี้ยงชีพ
(Provident Fund : PVD)

24

“เกษียณ” หมายถึง สิ้นไป ซึ่งศพั ท์ทางราชการจะใช้คาว่า “เกษียณอายุ”
หมายถึง ครบกาหนดอายรุ บั ราชการ หรือสิ้นกาหนดเวลารบั ราชการ เม่ือบุคคลนัน้
มีอายคุ รบ 60 ปี ในปัจจบุ นั แม้จะมีผ้ลู าออกตามนโยบายเออรล์ ี่รีไทร์ (Early Retired)
ของรฐั บาลไป ก่อนอายจุ ะครบ 60 ปี กต็ าม แต่ข้าราชการกย็ งั อยู่
จนครบอายเุ กษียณ ซึ่งวิธีการวางแผนการออมท่ีดีท่ีสดุ มีดงั นี้

กาหนดความต้องการใช้เงิน

กาหนดความต้องการของรายได้ท่ีสามารถหามาได้

เปรยี บเทียบความต้องการเงินทนุ กบั ความสามารถ
ในการหารายได้

25

การหาระยะเวลาแห่งช่วงชีวิต
ระดบั เงินเฟ้อที่มีแนวโน้ม
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกบั สขุ ภาพที่เพ่ิมมากขึน้ เม่ือเริ่มอายมุ าก

การกาหนดความต้องการใช้เงินหลงั เกษียณ
การประมาณรายได้หลงั วยั เกษียณอายุ
การจดั หาเงินสารองไว้สาหรบั ส่วนที่ขาด
แหล่งท่ีมาของรายได้หลงั เกษียณอายุ

26

รายได้และรายจา่ ย

สภาพรา่ งกาย เวลา

สภาพจิตใจ

27

ธนาคารโลก (World Bank) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกบั ระบบการออมเพื่อ
เกษียณอายุหรือระบบบาเหน็จบานาญ เพ่ือทาให้เกิดความมนั ่ คงทางสงั คมของ
ประเทศ ที่เรียกว่า “สามเสาหลกั ของระบบเงินออมเพื่อวยั เกษียณ” (Three Pillars
หรือ The Multi Pillar of Old Age Security) โดยยึดหลกั การสร้างระบบบานาญ
สมดลุ และสามารไม่เพ่ิมภาระภาษีให้กบั ประชาชนของประเทศ ขณะเดียวกนั กช็ ่วย
สร้างรายได้ของประเทศโดยใช้เงินออมของคนในประเทศเป็ นตวั ขบั เคลื่อนการ
ขยายตวั ทางเศรษฐกิจและการลงทนุ

รปู แบบการออมเพ่ือการเกษียณของประเทศไทยปัจจุบนั ได้ขยายขอบเขต
ความค้มุ ครองครอบคลุมประชากรโดยทวั่ ไปนอกเหนือจากข้าราชการ เพื่อสร้าง
ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองในวยั เกษียณให้แก่ประชาชน ตามทฤษฎีระบบ
เงินออมของธนาคารโลก ได้แก่

28

29

ระบบการออมเพ่ือการเกษียณ หรือระบบบานาญ คือ ระบบการจดั การเพื่อ
จ่ายเงินสาหรับวัยเกษียณให้แก่ผู้มีสิ ทธิ รับเงินเมื่อครบอายุเกษียณ และมี
วตั ถปุ ระสงค์อย่างชดั เจนเพื่อสร้างความมนั ่ คงด้านรายได้ให้แก่ผ้สู ูงอายุหลงั
เกษียณ มิให้มีมาตรฐานการดารงชีพท่ีตกต่าเม่ือเข้าสู่ภาวะท่ีไม่มีรายได้ ทงั้ นี้
กองทนุ การออมเพ่ือการเกษียณของประเทศไทย มีดงั นี้

กองทนุ ประกนั สงั คม (Social Security Fund)

กองทนุ บาเหน็จบานาญข้าราชการ (Government Pension Fund)

30

กองทนุ สารองเลีย้ งชีพ (Provident Fund)
กองทนุ เพื่อการเลีย้ งชีพ (Retirement Mutual Fund)
กองทนุ การออมแห่งชาติ (National Savings Fund)

31

แบง่ ได้ 3 ระดบั คือ การวางแผนเป้าหมายชีวิตขนั้ ต้น
การวางแผนเป้าหมายชีวิตขนั้ กลาง

การวางแผนเป้าหมายชีวิตขนั้ สงู สดุ

3.1 เป้าหมายท่ีไม่เป็นตวั เงิน 3.2 เป้าหมายที่เป็นตวั เงิน

28

สิ่งที่ต้องพิจารณาในการกาหนดเป้าหมายชีวิต

ตงั้ เป้าหมายที่ เป้ าหมายนัน้
แน่นอนและชดั เจน ควรจดั ลาดบั
ก่อนหลงั ให้แน่นอน
เป้าหมายต้องมี
ความเป็ นไปได้

กระบวนการวางแผนชีวิต มี 4 ขนั้ ตอน ดงั นี้

29

บคุ คลส่วนใหญ่ต้องวางเป้าหมายและวางแผนในแต่ละช่วงชีวิตให้สอดคล้อง

กบั รายได้และความรบั ผิดชอบในช่วงนัน้ เพื่อป้องกนั ไม่ให้เกิดปัญหาในอนาคต

ดงั ต่อไปนี้ ช่วงวยั เดก็

ช่วงวยั หลงั จบการศึกษา

ช่วงวยั ทางานเตม็ ท่ี
ช่วงก่อนวยั เกษียณอายุ

วยั เกษียณอายุ

30

เป้าหมายท่ีดีนัน้ ควรจะกาหนดตามหลกั SMART ดงั นี้
Specific
คือ จะต้องมีความชดั เจนและเฉพาะเจาะจง

Measurable
คือ สามารถวดั ผลและประเมินผลได้

Acceptable
คือ สามารถยอมรบั ได้

Realistic
คือ เป้าหมายนัน้ ต้องอยบู่ นพืน้ ฐานของความเป็นจริง
Timely
คือ เป้าหมายนัน้ ต้องมีการกาหนดเวลาแน่นอน

31

ในปัจจบุ นั อาจจะมีการเพิ่มการวางแผนเป้าหมายชีวิตขนึ้ มาอีก 2 ชนิด
เรียกวา่ SMARTER ดงั นี้

32

วงจรการควบคมุ คณุ ภาพ หรอื วงจรเดม่ิง โดยวงจรการควบคมุ คณุ ภาพนี้
สามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวิตให้ประสบความสาเรจ็ ได้ โดยเมื่อนามาใช้ใน
การดาเนินชีวิตแลว้ จะแบง่ ออกได้ดงั นี้

การวางแผน (P = Plan)

การปฏิบตั ิงานตามแผน (D = Do)

การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน (C = Check)

การปรบั ปรงุ แก้ไข (A = Action)

33



การลงทนุ หมายถึง การใช้ทรพั ยากรในลกั ษณะต่างๆ โดยหวงั จะได้รบั
ผลตอบแทนกลบั คืนมามากกว่าที่ลงทุนไปในอตั ราที่พอใจภายใต้ความเส่ียงที่
เหมาะสม

33

การลงทนุ แบง่ ได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ การลงทนุ ในสินทรพั ย์
ท่ีมีตวั ตน
การลงทนุ ในสินทรพั ย์
ที่ไมม่ ีตวั ตน (Tangible Investment)

(Intangible Investments)

การลงทุนทางการเงิน (Financial Investments) หมายถึง การท่ีผ้ลู งทุน

นาเงินที่มีอยู่ไปซื้อหลกั ทรพั ยต์ ่างๆ ซ่ึงก่อให้เกิดรายได้กบั ผ้ลู งทุน โดยจะทา

ผ่านตลาดการเงิน มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อจะได้รบั ผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ย

(Interest) เงินปันผล (Dividend) กาไรจากการซื้อขายห้นุ (Capital Gain) และ

สิทธิพิเศษอ่ืนๆ 364

แหล่งข้อมลู ภายในกิจการ
การให้คาปรกึ ษาด้านการลงทนุ จากหน่วยงานอนื่
หน่วยงานท่ีเสนอบริการข่าวสารทางการเงิน
และข้อมลู การลงทนุ
ข้อมลู เกี่ยวกบั การลงทนุ ท่ีเสนอลงในส่ิงตีพิมพต์ ่างๆ
เอกสารและข้อมลู ที่ได้จากนายหน้าและตวั แทน

35

การร้จู กั ใช้งบประมาณ
การออมโดยวิธีบงั คบั
การยกเว้นรายจ่ายไม่จาเป็ น
การประหยดั รายได้พิเศษ

36

รายได้ตามปกติ (Current Income)
กาไรจากการซื้อขายห้นุ (Capital Gains)
ค่าเช่า (Rent)
ผลตอบแทนอ่ืนๆ (Others)

37

ความปลอดภยั ของเงินลงทนุ ความเจริญเติบโตของเงินลงทนุ
ความคล่องตวั ในการซื้อขาย

เสถียรภาพของรายได้ หลกั เก่ียวกบั ภาษี
การกระจายเงินลงทนุ

38

การกระจายความเส่ียง อปุ นิสยั ของผลู้ งทนุ
ความเสี่ยง
ขนาดของจานวนเงิน
ท่ีลงทนุ

ขอ้ เสนอแนะในการลงทนุ ความเสี่ยงการเกง็ กาไร

39

ธนาคารพาณิชย์ หมายถึง การประกอบธรุ กิจประเภทรบั ฝากเงินท่ีต้อง
จ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเม่ือสิ้นระยะเวลาอนั ได้กาหนดไว้ และใช้ประโยชน์
จากเงินนัน้ เช่น การให้ก้ยู ืม ซื้อขายหรือเกบ็ เงินตามตวั ๋ หรือตราสารเปล่ียน
มืออ่ืนใด ซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศ ทงั้ นี้จะประกอบธรุ กิจประเภทอ่ืนๆ
อนั เป็นประเพณีของธนาคารพาณิชยด์ ้วยกไ็ ด้ สาหรบั
ธนาคารพาณิชยเ์ ป็นธนาคารท่ีได้รบั อนุญาตให้
ประกอบการธนาคารพาณิชย์ รวมถงึ สาขาของ
ธนาคารต่างประเทศท่ีได้รบั อนุญาตให้ประกอบการ
ธนาคารพาณิชยด์ ้วย

40

มีความเสี่ยงตา่
และเขา้ ใจง่าย

มีสภาพคล่องสงู

มีความสะดวก
ในการฝาก-ถอน

41

การรบั ฝากเงิน
การให้ก้ยู มื
การโอนเงิน

การเรียกเกบ็ เงิน

การให้เช่าต้นู ิรภยั
การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
การบริการอื่นๆ

42

ประกนั ชีวิตแบบชวั่ ระยะเวลา ประกนั ชีวิตแบบออมทรพั ย์
(Term) (Endowment)

ประกนั ชีวิตแบบตลอดชีพ ประกนั ชีวิตแบบบานาญ
(Who Life) (Annuity)

ประกนั ชีวิตควบการลงทุน
(Unit Linked)

43

กองทนุ รวม (Mutual Fund หรือ Unit Trust)

44

กองทนุ เพ่ือการเลีย้ งชีพ

45

ผลตอบแทนที่กองทนุ สารองเลีย้ งชีพจะได้รบั จากการลงทนุ ในหลกั ทรพั ยห์ รือทรพั ยส์ ินต่างๆ

46

การลงทนุ ประกอบธรุ กิจ หมายถึง การนาเงินมาลงทนุ เพื่อประกอบการ
ให้เกิดผลผลิตเป็ นสินค้า หรือบริการและอยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ผ้ทู ่ี
ลงทนุ กจ็ ะได้รบั รายได้คือกาไรจากการขายสินค้าหรอื บริการ

การลงทนุ ของผ้บู ริโภค

การลงทนุ ในธรุ กิจอตุ สาหกรรม

การลงทนุ ในทางการเงิน

47

48


Click to View FlipBook Version