The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการโรงเรียนปิติศึกษา ประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pitisuksa School, 2022-01-28 00:52:47

แผนปฏิบัติการโรงเรียนปิติศึกษา ประจำปี 2564

แผนปฏิบัติการโรงเรียนปิติศึกษา ประจำปี 2564

คำนำ

โรงเรียนปิติศึกษา มอนเตสซอรี่ โปรแกรมภาษาอังกฤษ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการนำ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาไปใช้เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ได้รับการ
พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงร่วมกันวิเคราะห์แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและจัดทำ
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ มสี าระสำคญั ประกอบดว้ ย ๔ สว่ น ดังน้ี

สว่ นที่ ๑ ภาพรวมของโรงเรียน
สว่ นที่ ๒ ทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
ส่วนท่ี ๓ แผนการดำเนินโครงการ กิจกรรม
ส่วนที่ ๔ การกำกับ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี

การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียนเล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากคณะครู
ผบู้ ริหาร คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น และบคุ ลากรทกุ ฝา่ ยของโรงเรียน ขอขอบคณุ ในความรว่ มมือไว้ ณ โอกาส
น้ี หวงั ว่าเอกสารเลม่ น้จี ะเป็นประโยชน์ในการดำเนินงานบริหารการจัดการศึกษาของโรงเรียน และผู้ทเ่ี ก่ียวข้องใน
การจดั การศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพต่อไป

ลงช่ือ.......................................
(นางปิยะนุช ชชั วรตั น์)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นปิติศึกษา

สารบัญ

หนา้

ส่วนท่ี ๑ ภาพรวมของโรงเรียน ๑-๒๘
ส่วนท่ี ๒ ทศิ ทางการพฒั นาโรงเรยี น ๒๙-๔๐
ส่วนท่ี ๓ แผนการดำเนนิ โครงการ กจิ กรรม ๔๑-๔๕
สว่ นท่ี ๔ การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน
๔๖

ภาคผนวก
- Pitisuksa School Calendar
- Budget Plan
- Student List
- Teacher List



ส่วนท่ี ๑
ขอ้ มลู และสภาพท่วั ไป

๑. ข้อมูลทั่วไป

๑.๑ ช่ือโรงเรยี น ปติ ศิ ึกษา ที่ต้ัง ๓๗๗/๑ หมู่ ๔ ตำบล รมิ กก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงราย
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทร ๐-๕๓๗๕-๐๘๘๘ โทรสาร ๐-๕๓๗๕๐-๘๗๗
e-mail [email protected] website www.pitisuksa.com

๑.๒ ได้รับอนุญาตจัดตง้ั เมื่อ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๒

๑.๓ เปิดสอนระดับ เตรยี มอนบุ าล ถึงระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม ๓)

๑.๔ เนื้อที่ ๘ ไร่ ๒ งาน ๙๘ ตารางวา

๑.๕ เขตพ้ืนที่บรกิ าร  สังกัดศกึ ษาธกิ ารจังหวัดเชียงราย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
เอกชน กระทรวงศึกษาธิการ

สังกัดสำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัด เชียงราย

๑.๖ ประวตั โิ รงเรียนโดยย่อ

โรงเรียนปิติศึกษาก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ โดยการรวมกลุ่มของผู้ปกครอง นักธุรกิจ
นักการศึกษา ของชุมชนเชียงรายที่ต้องการสถานศึกษาที่เปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษและผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความสขุ ต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต ในระยะแรกน้ันโรงเรียนจดทะเบยี นในนามโรงเรียนปติ ิศึกษา ตั้งอยู่ ณ เลขท่ี ๑๒๙ หมู่
๑๖ ตำบลรอบเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เปิดสอนในระดับปฐมวัย ใช้หลักสูตรมอนเตสซอรี่โดยตรงและ
ใช้เฉพาะภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน ช่วงชั้นอนุบาล ๑-๓ จำนวน ๑ ห้อง มีนักเรียนในวันแรก ๑๗ คน มี
ครูที่มีคุณวุฒิจบการศึกษามอนเตสซอรี่จากสหรัฐอเมริกา ๑ คน ครูผู้ช่วยชาวไทย ๑ คน มีนายพัฒนา สิทธิสมบตั ิ
เปน็ ผู้รับใบอนญุ าต และนายบญุ ยัง ชมุ ศรี เปน็ ครูใหญ่

ตอ่ มาในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ โรงเรียนได้ขอเปล่ยี นชอื่ เปน็ โรงเรียน “เชียงรายมอนเตสซอร่ี”
ทัง้ น้ีเพ่ือใหส้ อดคล้องกับแนวคิด และนวตั กรรมทางการศึกษาทโ่ี รงเรียนนำมาใช้ และได้รับอนญุ าตให้ขยายชัน้
เรยี นระดบั ประถมศึกษาอีกด้วย

ปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ นายพัฒนา สิทธิสมบัติ ได้โอนกรรมสิทธิ์โรงเรียนให้แก่มูลนิธิปิติศึกษา
โดยมีนางสาวนพมาศ วงศ์โสภา ประธานมูลนิธิปิติศึกษาเป็นผู้รับใบอนุญาตตามตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่ใน
ตำแหนง่ ครใู หญ่อกี ด้วย ในปีเดียวกนั นี้โรงเรยี นไดย้ ้ายทต่ี ้ังมาอยู่ ณ เลขที่ ๓๗๗/๑ หมู่ ๔ ตำบลริมกก อำเภอเมือง
จังหวัดเชียงราย และได้ขยายชั้นเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้นอีก ๑ ห้องเรียน พร้อมทั้งขออนุญาตจัดการ
เรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) และไดเ้ ปลยี่ นกลบั ไปใช้ช่ือเดมิ คอื โรงเรียนปิตศิ ึกษา เพื่อให้
สอดคล้องกับระเบียบของทางราชการว่าด้วยการตั้งชื่อโรงเรียน โรงเรียนยังคงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ตาม
กระบวนการมอนเตสซอรี่ ตามหลกั สตู รปฐมวยั ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๔๖ และหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานแห่งชาติปี
พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ และขยายช้นั เรยี นถึงประถม ๖



ในปีพุทธศักราช๒๕๔๔ปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ นางนพมาศ วงศ์โสภา ได้ลาออกจากตำแหน่ง
ประธานมูลนิธิปิติศึกษา และครูใหญ่ มูลนิธิฯได้มีการแต่งตั้งประธานมูลนิธิคนใหม่ คือ แพทย์หญิงสุษมา อุปรา
ทำหนา้ ท่เี ปน็ ผูร้ ับใบอนญุ าตโรงเรยี นปิติศึกษา และแตง่ ตง้ั นางปิยะนชุ ชัชวรัตน์ ผ้จู ัดการโรงเรยี นให้ดำรงตำแหน่ง
ครใู หญ่ อกี ตำแหนง่ หน่งึ

ในปพี ทุ ธศักราช ๒๕๕๐ แพทยห์ ญิงสุษมา อุปรา ได้ลาออกจากตำแหน่งประธานมูลนิธิปิติศึกษา
มูลนธิ ฯิ ไดม้ ีการแตง่ ตงั้ ประธานมลู นิธคิ นใหม่ คือ นายพัฒนา สทิ ธสิ มบตั ิ ทำหนา้ ที่รบั ใบอนญุ าตโรงเรยี นปติ ิศกึ ษา

ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนได้มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามบทบัญญัติมาตรา ๓๒ แห่ง
พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน ปี ๒๕๕๐ และจัดทำตราสารจัดตั้งนิติบุคคลของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัด
สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยโรงเรียนได้คงรูปแบบในการจัดการเรียนรู้ตาม
ปรัชญาการศึกษาแบบมอนเตสซอรี่ คือ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดห้องเรียนคละวัยและจัดแผนการเรียนรู้เป็น
รายบุคคล

ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ โรงเรียนได้รับอนุญาตขยายชั้นเรียนในระดับเตรียมอนุบาลเพิ่มข้ึน
โดยโรงเรียนคงรูปแบบในการจดั การเรยี นรู้ตามปรัชญาการศึกษาแบบมอนเตสซอรี่ คือ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัด
หอ้ งเรยี นคละวัย และจดั แผนการเรยี นรู้เปน็ รายบคุ คล

ปีพุทธศกั ราช ๒๕๕๕ นางเกศสุดา บุญงามอนงค์ ไดล้ าออกจากตำแหน่งประธานมลู นิธปิ ิติศึกษา
มูลนิธิฯได้มีการแต่งตั้งประธานมูลนิธิคนใหม่ คือ นางณัฐฬส วังวิญญู ทำหน้าที่รับใบอนุญาตโรงเรียน ปิติศึกษา
และแต่งตั้งนางสาวกาญจนา ภูครองนาค ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน และแต่งตั้งนางผกากรอง ปงศักดิ์
ดำรงตำแหนง่ ผจู้ ดั การโรงเรยี น

ตอ่ มาในปี ๒๕๕๘ โรงเรียนได้เปล่ยี นโครงสรา้ งการบรหิ ารภายใน โดยได้มีการโอนโรงเรียนให้กับ
บริษัท ไตรสกิ ขา จำกดั โดยมีประธานกรรมการ คือ นายแพทย์ ธรี ะวัฒน์ ศรีนครนิ ทร์ และมี นายณัฐฬส วังวิญญู
เป็นกรรมการบริหาร และได้เปลี่ยนแปลงผู้รับใบอนุญาต จากมูลนิธิปิติศึกษา โดยนาย ณัฐฬส วังวิญญู ประธาน
มูลนิธิ เป็นบุคคลธรรมดา คือ นายณัฐฬส วังวิญญู เป็นผู้รับใบอนุญาตในฐานะบุคคลธรรมดา และแต่งตั้งให้
นางปิยะนุช ชัชวรัตน์ เป็นผ้อู ำนวยการและผู้จดั การ เปน็ ต้นมา



ผู้บริหารรุ่นท่ี ๑ รายชือ่ ผู้บริหาร
ผรู้ ับใบอนุญาต/ผู้จัดการ
นายพัฒนา สทิ ธสิ มบัติ
ครูใหญ่ ดำรงตำแหน่งเมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๒ จนถงึ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๕
นายบญุ ยงั ชมุ ศรี
ผู้บรหิ ารรุ่นที่ ๒ ดำรงตำแหนง่ เม่ือปีการศึกษา ๒๕๔๒ จนถงึ ปีการศึกษา ๒๕๔๕
ผรู้ บั ใบอนญุ าต/ครใู หญ่
นางนพมาศ วงศ์โสภา
ผูจ้ ดั การ ดำรงตำแหน่งเมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๕ จนถึงปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๙
นางปิยะนุช ชชั วรัตน์
ผู้บรหิ ารรุ่นท่ี ๓ ดำรงตำแหนง่ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๕ จนถึงปีการศกึ ษา ๒๕๕๒
ผรู้ บั ใบอนญุ าต
นางสษุ มา อปุ รา
ผู้อำนวยการ/ผูจ้ ดั การ ดำรงตำแหนง่ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๙ จนถงึ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๐
นางปิยะนุช ชชั วรัตน์
ผ้บู ริหารรุ่นท่ี ๔ ดำรงตำแหน่งเม่ือปีการศึกษา ๒๕๔๕ จนถึงปีการศึกษา ๒๕๕๒
ผู้รบั ใบอนญุ าต
นายพฒั นา สทิ ธสิ มบตั ิ
ผจู้ ัดการ ดำรงตำแหน่งเมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๑ จนถึงปีการศึกษา ๒๕๕๓
นายพัฒนา สทิ ธสิ มบตั ิ
ดำรงตำแหนง่ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๓ จนถึงปกี ารศึกษา ๒๕๕๓

ผู้อำนวยการ นายปรชี า ศรสี วุ รรณ์
ดำรงตำแหน่งเม่ือปีการศึกษา ๒๕๕๓ จนถงึ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓



ผู้บรหิ ารรุ่นท่ี ๕ นายณฐั ฬส วังวิญญู
ผู้รบั ใบอนญุ าต ดำรงตำแหน่งเม่ือปีการศึกษา ๒๕๕๕ จนถึงปกี ารศึกษา ๒๕๕๖
นางผกากรอง ปงศักด์ิ
ผู้จัดการ ดำรงตำแหน่งเมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๕ จนถงึ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๖
นางสาวกาญจนา ภคู รองนาค
ผอู้ ำนวยการ ดำรงตำแหนง่ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๕ จนถงึ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗

ผู้บริหารรนุ่ ปจั จุบนั นายณัฐฬส วังวิญญู
ผู้รับใบอนญุ าต ดำรงตำแหนง่ เม่ือปีการศึกษา ๒๕๕๘ จนถงึ ปัจจบุ ัน
นางปยิ ะนุช ชัชวรัตน์
ผจู้ ัดการ ดำรงตำแหน่งเมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๘ จนถึงปัจจุบนั
นางปยิ ะนชุ ชชั วรตั น์
ผู้อำนวยการ ดำรงตำแหนง่ เมื่อปีการศึกษา ๒๕๕๘ จนถงึ ปัจจบุ นั



๒. ข้อมูลครแู ละบุคลากร และขอ้ มูลนักเรียน

๒.๑ ข้อมูลครู และบุคลากร (ข้อมลู ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ )

โรงเรยี นกำหนดให้มคี รูประจำห้องเรยี นในแต่ละระดับห้องละ ๒ คน โดยแบง่ เป็นครชู าวตา่ งชาติ
๑ คนและครูไทย ๑ คน โดยครูประจำชั้น (Montessori Lead Teacher) จะต้องจบการศกึ ษาหลักสตู รการเรียน
การสอนแบบมอนเตสซอรใ่ี นแตล่ ะช้ัน สถานศึกษามีข้อมลู บคุ ลากรดงั นี้

๒.๑.๑ ข้อมลู ครูและบุคลากร จำแนกตามหนา้ ท่ี เพศ ระดบั การศึกษา อายุ และประสบการณ์

(ข้อมลู ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔)

ประเภทบคุ ลากร เพศ (คน) ระดับการศึกษา อายุ ประสบการณ์
ชาย หญิง (คน) เฉลย่ี ในตำแหน่ง
ผู้รบั ใบอนญุ าต ผูจ้ ัดการ และ (ป)ี (เฉล่ีย)
ผู้อำนวยการ -- ตำ่ ป.ตรี สงู (ปี)
ผรู้ บั ใบอนญุ าตและผ้จู ดั การ กวา่ กว่า -
ผู้รบั ใบอนุญาตและผอู้ ำนวยการ ป. ป.ตรี -
ผจู้ ัดการและผ้อู ำนวยการ ตรี
ผรู้ ับใบอนญุ าต -
ผจู้ ัดการ -- - -
ผูอ้ ำนวยการ ๑๓
รองผ้อู ำนวยการ - --- - - ๑๐
ครู (บรรจ)ุ - --- - - -
ครูพเิ ศษ/ครูผู้ชว่ ย (ไมบ่ รรจุ) - ๑--๑ ๕๗ -
ครูต่างประเทศ ๑---๑ ๔๙ -
พ่เี ลี้ยง - --- - - ๕
บคุ ลากรทางการศึกษา - --- - -
นักการภารโรง - --- - - ๕
คนขับรถ ๔ ๑๕ - ๑๔ ๑ ๓๓
ยามรักษาความปลอดภยั - --- -
อ่นื ๆ (ระบุ แมบ่ ้าน-แมค่ รวั ) ๑ ๑๑ ๑ ๑๐ - ๔๕
- ๑--๑

๓-๒๑
๑ -๑- -
- --- -
- --- -
- ๕๕- -



๒.๑.๒ ขอ้ มูล ครูและบุคลากร จำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา (ข้อมูล ณ วนั ที่ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓)

ตำแหน่ง ต่ำกว่า ป. ระดับการศึกษาสงู สุด ปรญิ ญา รวม
ปริญญา ปรญิ ญา เอก
ตรี - ๒
ตรี โท - ๓๒
ผ้บู รหิ าร - -๒ - ๓
๓๐ ๑ - ๑
ครูสายผูส้ อน ๑ ๒๑ ๕
-- ๔๓
บุคลากรทางการศึกษา -

นกั การ/ภารโรง ๑

แม่ครัว/แมบ่ ้าน ๕

รวม ๗ ๓๒ ๔ -

อายเุ ฉล่ีย/ปี ๓๙ ปี

อายงุ านเฉล่ยี /ปี ๖ ปี

อัตราสว่ นครู ต่อ นกั เรียน ๑: ๗ คน
๑๙ คน : ๑ หอ้ ง
อตั รานกั เรียน ต่อ ห้อง



๒.๒ ข้อมลู นกั เรียน ณ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔
จำนวนนกั เรียนทงั้ หมดในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ แยกเปน็ ระดับชน้ั ดังน้ี

ระดบั ชั้น เพศ จำนวนรวม หมายเหตุ

เตรียมอนุบาล Toddler ชญ
รวมจำนวนนักเรียนเตรยี มอนบุ าล
๒๑ ๑๗ ๓๘
อนบุ าล ๑
อนบุ าล ๒ ๒๑ ๑๗ ๓๘
อนุบาล ๓
๒๒ ๑๔ ๓๖
รวมจำนวนนักเรยี นอนุบาล
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑๘ ๑๓ ๓๑
ประถมศึกษาปที ี่ ๒
ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๑๑ ๑๔ ๒๕

รวมจำนวนนกั เรียน ประถมตน้ ๕๑ ๔๑ ๙๒
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๑๔ ๘ ๒๒

รวมจำนวนนกั เรียน ประถมปลาย ๑๐ ๔ ๑๔
ประถมศึกษาปที ี่ ๖
มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๙ ๕ ๑๔

รวมจำนวนนักเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๓๓ ๑๗ ๕๐
รวมทั้งสนิ้
๕ ๕ ๑๐

๒๔ ๖

๗ ๙ ๑๖

๒๕ ๗

-๒ ๒

๒๗ ๙

๑๑๔ ๙๑ ๒๐๕



๓. แผนท่ีตัง้ ของโรงเรียน

๔. ข้อมลู อาคารสถานท่ี

โรงเรียนปิติศึกษามีพื้นที่ ๘ ไร่ ๒ งาน ๙๘ ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียนทั้งหมด ๖ หลัง เป็นอาหารเรียน
ถาวร ๓ หลัง และอาคารประกอบไดแ้ ก่ อาคารห้องสมุด ๑ หลัง อาคารสำนกั งาน ๑ หลงั และโรงอาหาร ๒ หลัง ดังน้ี

๔.๑ อาคารเปรมอนุสรณ์ มีห้องเรียนมอนเตสซอรี่คละวัย ๖ ห้องเรียนได้แก่ ห้องเรียนระดับอนุบาล
Kindergarten (อนุบาล ๑-๓) จำนวน ๔ ห้อง ห้องเรียนประถมปลาย (ประถม ๔-๕) ๑ ห้อง ห้องเรียนมัธยม (ประถม ๖
และมัธยม ๑) ๑ หอ้ ง และ ห้องศิลปะ ๑ หอ้ ง หอ้ งภาษาไทย ๑ หอ้ ง ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ และหอ้ งพยาบาล ๑ หอ้ ง

๔.๒ อาคารระดับเตรียมอนุบาล มีห้องเรียนเตรียมอนุบาล (อายุ ๒-๓ ปี) ๓ ห้องและโรงอาหารระดับเตรียม
อนุบาล ๑ ห้อง

๔.๓ อาคารเรยี นประถมตน้ Lower Elementary (ประถม ๑-๓) เป็นอาคารสองชั้น ช้ันละหนึง่ หอ้ งเรียน จำนวน
๒ ห้อง



๔.๔ อาคารสำนกั งานชอื่ อาคารอนสุ รณ์ ๒๐ ปี มหี อ้ งสำนกั งาน ๑ ห้อง และห้องประชุม ๑ ห้อง

๔.๕ อาคารหอ้ งสมดุ ชือ่ อาคารบิล ฮาลินานด์ ๑ หลงั

๔.๕ มสี ถานที่ทำกจิ กรรม จำนวน ๘ แหง่ ได้แก่ อาคารเอนกประสงคศ์ าลาเอนกประสงค์ชว่ั คราว สนามกีฬาและ
สนามเด็กเล่น ศาลา ๖ เหลย่ี ม ห้องทำครัวและโรงอาหาร

๑๐

๕. โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี น

๑๑

๖. ส่งิ อำนวยความสะดวก

๖.๑ ห้องสมุดมีขนาด........๑๐๖.๒๕........ ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหอ้ งสมุด ...๑๐,๐๐๐..เลม่
การสืบค้นหนังสือและการยมื – คืน ใชร้ ะบบ …….การจดบันทกึ …………………………
จำนวนนักเรียนทใี่ ช้หอ งสมุดในปกี ารศึกษาทรี่ ายงาน เฉลย่ี ..........…………คนตอ่ วัน
คดิ เปน็ รอ ยละ……..……….ของนักเรยี นท้ังหมด

๖.๒ ห้องปฏิบัติการมีทงั้ หมด ............๑๔……….ห้อง ได้แก่

หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ……๑……...หอ้ ง หอ้ งวิทยาศาสตร์ …-….. หอ้ ง
ห้องศลิ ปะ …..๑…..ห้อง
หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษาไทย …..…๑..…. ห้อง หอ้ งพยาบาล ......๑….หอ้ ง
ห้องพละ ............… ห้อง
ห้องนาฏศิลป์/ ดนตรี ........…-... หอ้ ง ห้องสันทนาการ . ……-….ห้ อง

ห้องศาสนสัมพันธ์ ……..-…...….ห้อง

ห้องเรยี นมอนเตสซอร่ี ……..๑๑……หอ้ ง

หอ้ งอ่ืน ๆ ระบุ …….-……..ห้อง

๖.๓ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์พร้อมโปรแกรมใช้งาน มีท้ังหมด……………๑๗………….เครื่อง

คอมพิวเตอร์ จำนวน (เครอื่ ง)
๑. ใชใ้ นการเรยี นการสอน ๑๖
๒. ใชส้ ืบค้นขอ้ มลู ทางอินเตอรเ์ น็ตได้ ๒๑
๓. ใช้ในการบรหิ าร ๕

๖.๔ แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น - โรงอาหาร
- มุมหนังสือ (ห้องเรยี น, ห้องสมุด) - ป้ายนิเทศ, บอร์ดประชาสัมพนั ธ์
- ห้องศิลปะ - สวนผกั /สวนครัว
- สนามเด็กเล่น

๑๒

๖.๕ แหลง่ เรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ -๒๕๖๔

▪ หอ้ งสมุดประชาชน
▪ บอ่ บำบดั น้ำเสียนครเชยี งราย
▪ สำนกั งานไปรษณยี ์ไทย สาขาเชียงราย
▪ ตลาดบ้านใหม่
▪ สวนไม้งามริมน้ำกก องค์การบริหารส่วนจงั หวดั เชียงราย
▪ ข่วงวัฒนธรรม
▪ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ อบจ. จงั หวดั เชียงราย
▪ Chiang Rai Historical Center
▪ ไรแ่ ม่ฟา้ หลวง
▪ หอศลิ ป์
▪ ศนู ย์วฒั นธรรมเชยี งราย
▪ นั่งรถรางเท่ยี วตวั เมืองเชียงราย
▪ พพิ ิธภณั ฑ์การเรียนร้มู ิวเซยี มสยาม และห้องสมุดรถไฟ
▪ นาขา้ วบา้ นฟาร์ม

๗. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ยทุ ธศาสตร์ตามแผนฯของ เปา้ หมาย
โรงเรยี น
โครงการ ปริมาณ
(จำนวน)
คุณ

๗.๑ ผลการดำเนินตามแผนปฏิบัตกิ ารระดับปฐมวยั

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ๑. กจิ กรรมฮาโลวีน/ ลอยกระทง / สงั สรรค์ ๑๑๖ ยอด

การพฒั นาดา้ นคณุ ภาพ กอ่ นปิดภาคเรียนท่ี ๑

เดก็ ๒.กีฬาสสี ัมพันธต์ รีมครสิ ต์มาส ๗๖ ยอด

๓.กิจกรรมฝึกซ้อมดับเพลงิ ๗๗ ยอด

๔.วนั แมแ่ ห่งชาติ ๑๑๖ ยอด

๕.กจิ กรรมวันมอบใบประกาศนยี บัตรนักเรยี น ๗๗ ยอด

๖.สัปดาห์ภาษาและวฒั นธรรมไทย ๗๗ ยอด

๗.กจิ กรรมสปั ดาหห์ อ้ งสมดุ ๗๗ ยอด

๘.อาชีพทีน่ า่ สนใจ ๗๗ ยอด

๙. โครงการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดย ๑๑๖ ยอด

แอพพลเิ คช่นั Zoom

๑๓

ย ผลสำเร็จ *** ***
สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกบั ตัวช้ีวัด
ณภาพ ปริมาณ มาตรฐานการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ สช. ประเด็นการตดิ ตาม
(รอ้ ยละ) คณุ ภาพ ของสถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ดเยย่ี ม ๙๗ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท๑ี่ ยุทธศาสตร์ที่ ๓,๔,๕ ข้อ๑

ดเยย่ี ม ๙๗ ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท๑ี่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓,๔,๕ ขอ้ ๑
ดเยี่ยม ๙๔ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท๑่ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓,๔ ข้อ๑
ดเยี่ยม ๙๙ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท๑ี่ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓,๔ ข้อ๑
ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเย่ียม มาตรฐานท๑ี่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อ๑,๔
ดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท๑ี่ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑,๓,๔ ข้อ๑
ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท๑่ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑,๓,๔,๕ ข้อ๑,๒
ดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท๑่ี ยุทธศาสตร์ที่ ๑,๓,๔,๕ ข้อ๑,๒
ดเยี่ยม ๘๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท๑่ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ขอ้ ๑,๖,๙

ยทุ ธศาสตรต์ ามแผนฯของ เป้าหมาย
โรงเรยี น
โครงการ ปริมาณ
(จำนวน)
คุณ

๗.๑ ผลการดำเนนิ ตามแผนปฏบิ ัติการระดบั ปฐมวยั

ยทุ ธศาสตร์ ๑.. อบรมครรู ะดบั ชั้นเตรยี มอนุบาล ๓ ยอด
ที่ ๒ ๗ ยอด
๒. Montessori Workspace ๑๑๖ ยอด
การพฒั นาคณุ ภาพ
กระบวนการบรหิ ารและ ๓. โครงการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดย ๗ ยอด
แอพพลเิ คช่ัน Zoom
การจดั การ ๔.โครงการพฒั นาครู อบรม Montessori for

Toddler

๑๔

ย ผลสำเรจ็ ***
*** สอดคล้องกบั ตวั ช้วี ดั
มาตรฐานการศึกษา สอดคลอ้ งกับ ประเดน็ การตดิ ตาม
ปริมาณ ของสถานศึกษา ยุทธศาสตร์ สช.
ณภาพ (ร้อยละ) คณุ ภาพ ประเมินผลของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ดเยยี่ ม ๑๐๐ ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓,๔,๗ ข้อ ๑,๙
ดเยยี่ ม ๑๐๐ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ขอ้ ๑,๖,๘,๙
ดเยย่ี ม ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๒ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ข้อ ๑,๖,๘

ดเยีย่ ม ๑๐๐ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ๑,๔,๘

ยุทธศาสตร์ตามแผนฯของ เป้าหมาย
โรงเรียน
โครงการ ปรมิ าณ
(จำนวน)
คุณ

๗.๑ ผลการดำเนินตามแผนปฏบิ ัตกิ ารระดบั ปฐมวัย

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ๑. การจดั ประสบการณ์การเรยี นรตู้ าม ๑๑๖ ยอด
พฒั นาคุณภาพกระบวนการ แนวทางมอนเตสซอรี ระดบั เตรยี มอนุบาล
จดั การศกึ ษาท่เี น้นผเู้ รยี น และระดบั อนุบาล ๑๑๖ ยอด
เปน็ สำคญั เพอื่ ใหเ้ กดิ การ ๑๑๖ ยอด
เรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข ๒. โครงการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ๑๑๖ ยอด
โดยแอพพลเิ คช่ัน Zoom

๓. ผูป้ กครองสังเกตการเรยี นการสอนใน
หอ้ งเรยี นภาคเรียนละ ๑ ครง้ั

๔ .การพบปะประชุมระหวา่ งครูกบั
ผูป้ กครองภาคเรียนละ ๑ ครง้ั

๑๕

ย ผลสำเร็จ มาตรฐาน *** ***
การศกึ ษาของ สอดคล้องกับ สอดคล้องกบั ตัวช้วี ัด
ณภาพ ปริมาณ คุณภาพ สถานศึกษา ยทุ ธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม
(ร้อยละ)
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ดเย่ียม ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๓ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑,๓ ขอ้ ๑

ดเยย่ี ม ๑๐๐ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ ข้อ ๑,
ดเยย่ี ม ๑๐๐ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ ๓ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ขอ้ ๑
ดเย่ยี ม ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ ขอ้ ๑

ยุทธศาสตร์ตามแผนฯ โครงการ เป้าห
ของโรงเรยี น
ปรมิ าณ
๗.๑ ผลการดำเนินตามแผนปฏบิ ัตกิ ารระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (จำนวน)
๑ โครงการ ทศั นศกึ ษาระดบั ประถมปลาย
๑๘
ยุทธศาสตร์ ๒. โครงการทศั นศึกษาระดบั ประถมต้น ๓๕
ท่ี ๑ ๓. โครงการเข้าคา่ ยลูกเสือ-เนตรนารี ๕๖
๔.โครงการสปั ดาห์หอ้ งสมุด ๕๖
ดา้ นพัฒนาผเู้ รียน ๕.โครงการสปั ดาหภ์ าษาไทยและวฒั นธรรมไทย ๕๖
๖.กจิ กรรมฮาโลวนี ลอยกระทง สังสรรค์กอ่ นปิดภาค ๕๖
เรียนที่ ๑
๗.โครงการเตรยี มความพรอ้ มสู่การทดสอบระดับชาติ ๗
O-NET
๘.โครงการวนั สำคญั ๕๖
๙. โครงการอาชพี ท่ีน่าสนใจ ๕๖
๑๐.กจิ กรรมกฬี าสสี มั พนั ธต์ รีมครสิ ตม์ าส / ๕๖
Christmas Sports Day
๑๑.โครงการเรยี นรวู้ ิถีสบั ปะรด หอ้ งประถมศกึ ษา ๑๘
ตอนปลาย
๑๒.กจิ กรรม ชมรม Gardening ทำสวน ๕๖

๑๖

หมาย ผลสำเรจ็ มาตรฐาน *** ***
การศกึ ษาของ สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกับตวั ช้วี ดั
คณุ ภาพ ปรมิ าณ คณุ ภาพ สถานศึกษา ยทุ ธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม
(รอ้ ยละ)
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ยอดเยย่ี ม ๙๔ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ข้อท๑ี่
ข้อท๗ี่
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ ขอ้ ท๑ี่ ,๒,๓,๕,๗
ยอดเยี่ยม ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ขอ้ ท่ี ๑,๒
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ข้อท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๒ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ข้อท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๗ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑
ขอ้ ท๑่ี
ยอดเย่ียม ๗๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑
ข้อท๑่ี
ยอดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ขอ้ ท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ข้อท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑
ข้อท๑่ี ,๒
ยอดเยีย่ ม ๙๔ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑
ข้อท๑่ี
ยอดเยยี่ ม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑

ยุทธศาสตร์ตามแผนฯของ โครงการ เปา้ หมาย
โรงเรยี น ปรมิ าณ
(จำนวน คณุ
ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๑๓. กจิ กรรม ชมรม Decoupage (เดคพู าจ ) )

๑๔.กจิ กรรม ชมรม Thai dancing รำไทย ๕๖ ยอด
๕๖ ยอด
ยทุ ธศาสตร์ ๑๕.กิจกรรม ชมรม Softball ๕๖ ยอด
ที่ ๑ ๕๖ ยอด
๑๖.กจิ กรรมชมรมsharing craft งานฝีมือเพ่ือ
ดา้ นพัฒนาผู้เรียน การแบ่งปัน ๕๖ ยอด

๑๗.กจิ กรรม ชมรม Macrame Friendship ๕๖ ยอด
Bracelet ๕๖ ยอด

๑๘.กจิ กรรม ชมรม Cooking ทำอาหาร

๑๙โครงการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ โดย
แอพพลิเคชน่ั Zoom

๑๗

ย ผลสำเรจ็ *** ***
สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับตวั ช้ีวัด
ณภาพ ปริมาณ คุณภาพ มาตรฐานการศึกษาของ ยทุ ธศาสตร์ สช. ประเด็นการตดิ ตาม
(ร้อยละ) สถานศึกษา
ประเมนิ ผลของ
กระทรวงศึกษาธิการ

ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ข้อท๑ี่
ดเยย่ี ม ๙๖ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ขอ้ ท๑ี่
ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ข้อท๑ี่
ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อท๑ี่

ดเย่ียม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อท๑่ี

ดเย่ยี ม ๙๕ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ขอ้ ท๑่ี
ดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ท๑่ี ,๖,๘

ยทุ ธศาสตรต์ ามแผนฯของ เป้าหมาย
โรงเรยี น
โครงการ
ปริมาณ
(จำนวน) คุณ

ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

ยทุ ธศาสตร์ ๑. โครงการ Parent Work Shop ๕๐ ยอด
ท่ี ๒ ๒๐ ยอด
๒. อาชีพท่นี า่ สนใจ ๓ ยอด
ด้านการบรหิ ารและการ
จดั การ ๓. โครงการพัฒนาครไู ทยไปเขา้ อบรม AMI ๒๓ ยอด
Classroom Assistants Certificate
Elementary (6-12) ๑ ยอด

๕. โครงการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดย
แอพพลเิ คช่นั Zoom

๖. โครงการพฒั นาหลักสตู ร Pitisuksa
Montessori Middle School Program

๑๘

ย ผลสำเรจ็ *** ***
สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับตัวชว้ี ดั
ณภาพ ปริมาณ คุณภาพ มาตรฐานการศึกษาของ ยุทธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม
(ร้อยละ) สถานศกึ ษา
ประเมินผลของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ดเยี่ยม ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ๑,๖,๘,๙
ดเยย่ี ม ๙๖ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ข้อ ๑
ดเยยี่ ม ๑๐๐ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ขอ้ ๑,๔,๘

ดเยี่ยม ๑๐๐ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานท่ี ๒ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ขอ้ ๑,๔,๘
ดเย่ียม ๑๐๐ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ข้อ ๑

ยทุ ธศาสตรต์ ามแผนฯของ โครงการ เป้าหมา
โรงเรียน
ปริมาณ
(จำนวน)

ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

ยทุ ธศาสตร์ ๑ โครงการ ทัศนศึกษาระดับประถมปลาย ๑๘ ย
ที่๓ ๒. โครงการทศั นศึกษาระดับประถมต้น ๓๕ ย
๓. โครงการเข้าคา่ ยลกู เสอื -เนตรนารี ๕๖ ย
การจดั ประสบการณ์ท่ี ๔.โครงการสัปดาห์หอ้ งสมุด ๕๖ ย
เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ๕๖ ย
๕๖ ย
๕.โครงการสัปดาหภ์ าษาไทยและวัฒนธรรมไทย
๗ย
๖.กจิ กรรมฮาโลวนี ลอยกระทง สงั สรรคก์ ่อน
ปดิ ภาคเรียนท่ี ๑ ๕๖ ย
๕๖ ย
๗.โครงการเตรียมความพร้อมสูก่ ารทดสอบ ๕๖ ย
ระดับชาติ O-NET
๑๘ ย
๘.โครงการวนั สำคัญ

๙. โครงการอาชพี ท่ีนา่ สนใจ

๑๐.กจิ กรรมกีฬาสสี ัมพันธต์ รีมคริสตม์ าส /
Christmas Sports Day

๑๑.โครงการเรยี นรูว้ ิถสี บั ปะรด หอ้ ง
ประถมศกึ ษาตอนปลาย

๑๙

าย ผลสำเร็จ *** ***
คณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกบั ตวั ชี้วดั
ปรมิ าณ คณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ สช. ประเดน็ การตดิ ตาม
(รอ้ ยละ) ของสถานศึกษา
ประเมินผลของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ยอดเยี่ยม ๙๔ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ ข้อท๑่ี
ยอดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ข้อท๗่ี
ยอดเยีย่ ม ๑๐๐ ยอดเย่ียม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ขอ้ ท๑่ี ,๒,๓,๕,๗
ยอดเย่ยี ม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อท่ี ๑,๒
ยอดเย่ยี ม ๙๒ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ขอ้ ท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๗ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ขอ้ ท๑่ี

ยอดเยย่ี ม ๗๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ขอ้ ท๑ี่

ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ที๑่
ยอดเย่ยี ม ๙๕ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ข้อท๑ี่
ยอดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ท๑ี่

ยอดเยย่ี ม ๙๔ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อท๑ี่ ,๒

ยทุ ธศาสตรต์ ามแผนฯของ โครงการ เป้าหมา
โรงเรยี น
ปรมิ าณ
ยทุ ธศาสตร์ ๑๒.กิจกรรม ชมรม Gardening ทำสวน (จำนวน)
ที๓่
๑๓. กจิ กรรม ชมรม Decoupage (เดคูพาจ ) ๕๖ ย
การจัดประสบการณท์ ี่ ๕๖ ย
เน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ๑๔.กิจกรรม ชมรม Thai dancing รำไทย ๕๖ ย
๕๖ ย
๑๕.กิจกรรม ชมรม Softball ๕๖ ย

๑๖.กจิ กรรมชมรมsharing craft งานฝมี ือเพ่อื ๕๖ ย
การแบ่งปัน
๕๖ ย
๑๗.กิจกรรม ชมรม Macrame Friendship ๕๖ ย
Bracelet

๑๘.กิจกรรม ชมรม Cooking ทำอาหาร

๑๙โครงการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดย
แอพพลิเคช่นั Zoom

๒๐

าย ผลสำเรจ็ *** ***
สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับตัวชว้ี ดั
คุณภาพ ปริมาณ คณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ สช. ประเด็นการตดิ ตาม
(รอ้ ยละ) ของสถานศกึ ษา
ยอดเยี่ยม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ประเมินผลของ
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ยอดเยยี่ ม ๙๕ ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑
ยอดเยี่ยม ๙๖ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ขอ้ ท๑ี่
ยอดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑
๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๑ ขอ้ ท๑่ี

ขอ้ ท๑่ี

ข้อท๑ี่

ขอ้ ท๑่ี

ยอดเยย่ี ม ๙๕ ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ข้อท๑่ี

ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี ๑ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ขอ้ ท๑่ี
ยอดเยี่ยม ๙๕ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ขอ้ ท๑ี่ ,๖,๘

๒๑

๘. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา (รอบปีทีผ่ า่ นมา)

๘.๑ ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๑) มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับคุณภาพ.....ยอดเย่ยี ม…….
๒) หลักฐานสนับสนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

มาตรฐานการจัดการ ระดับมาตรฐาน หลักฐาน
เรียนรู้ การประเมนิ
- แผนการสอน
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพ ตนเอง - Presentation Plan
ของเด็ก - ตารางการทาํ Circle Time ในแตล่ ะห้องเรียน
ยอดเยี่ยม - ตารางการทาํ Circle Time วิชาภาษาไทย
- กิจกรรมการเรยี นการสอนในห้องเรยี น
- ทะเบยี นส่อื มอนเตสซอรีภ่ าษาอังกฤษในห้องเรียน
- Playground Rules
- สิง่ แวดล้อมในห้องเรียน
- Classroom ground rules
- บันทกึ ารสอน
- สมุดบนั ทกึ ผลการเรยี นวชิ าพลศกึ ษา
- สมดุ บนั ทึกสุขภาพ
- แบบบันทกึ ารสังเกตรายบุคคล
- สมดุ บันทกึ ผลการเรยี น
- Progress report
- Checklist and record keeping
- คลปิ วดี โิ อการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ
- โครงการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยแอปพลเิ คช่นั Zoom
- โครงการพัฒนาทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทยตามแนวทางมอน
เตสซอรี
-โครงการสปั ดาห์ภาษาและวัฒนธรรมไทย
- โครงการอาชีพที่น่าสนใจ
- โครงการวันแม่
- โครงการกฬี าสีสมั พนั ธ์ ธีมครสิ ต์มาส
- โครงการฝึกซอ้ มดบั เพลิง
- โครงการสปั ดาห์หอ้ งสมุด
- โครงการวนั มอบใบประกาศนียบัตรนักเรยี น
- โครงการฮาโลวนี ลอยกระทง สงั สรรค์ก่อนปิดภาคเรียน
- มาตรการป้องกนั ควบคมุ การแพร่ ระบาดของโรคเชอื้ ไวรัสโคโรน่า
2019 (COVID-19)

๒๒

มาตรฐานการจัดการ ระดับมาตรฐาน หลักฐาน
เรียนรู้ การประเมิน
19) การวดั ไข้ , การใสห่ นา้ กาก , การเว้นระยะห่าง
ตนเอง - กิจกรรมการตรวจสุขภาพฟันประจําปี

มาตรฐานที่ ๒ ยอดเย่ยี ม - เล่มหลักสูตร
กระบวนการบริหารและ - แผนปฏิบัตกิ ารประจําปี
การจดั การ - เล่มแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปี
- รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR )
- แผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
- รายช่ือคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน
- รายชื่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา
- รปู เล่มโครงการจดั อบรมครูให มีความรู ความเข้าใจหลักสตู รมอน
เตสซอรี
- บัญชรี ายช่ือครบู คุ ลากร
- สัญญาจ้าง
- รายชอ่ื ครูผู้ทีไ่ ดร้ บั ใบประกอบวิชาชีพ
- รายช่ือครทู ก่ี าํ ลังศกึ ษาต่อ
- คมู่ ือครู
- รายงานการเขา้ รบั การอบรม
- แฟม้ สรปุ เนือ้ หาการเข้ารว่ มอบรมของครู
- Feedback จากครู
- ทะเบียนสอ่ื และครุภณั ฑ์
- แผนงบประมาณประจาํ ปี
- เครื่องเล่นสนาม
- ทะเบียนเคร่ืองเล่นสนาม
- หอ้ งสมุด
- ทะเบยี นหนังสือในห้องสมุด
- ทะเบียนคอมพวิ เตอร์
- Dropbox Pitisuksa
- หอ้ งเรียนมอนเตสซอรี่ระดบั เตรยี มอนบุ าลและระดับอนบุ าล
- สง่ิ แวดล้อมนอกห้องเรยี น
- การดําเนนิ กิจกรรม Parent Work Shop
- การดําเนินกจิ กรรม Parent observed
- การดําเนนิ กิจกรรม Parent Conference
- VDO การดําเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในโรงเรยี น
- Digital File : School Bulletin
-ภาพถา่ ยกจิ กรรมต่าง ๆ
- Youtube Pitisuksa school

๒๓

มาตรฐานการจัดการ ระดับมาตรฐาน หลักฐาน
เรียนรู้ การประเมนิ
- โครงการ Montessori Workspace
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ตนเอง - โครงการ Montessori for Toddler
ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็ก - โครงการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดยแอปพลเิ คช่นั Zoom
เป็นสำคัญ ยอดเยีย่ ม - โครงการอาชีพทน่ี ่าสนใจ
- แบบสํารวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง
- โครงการ Staff Retreat
- Classroom Observation
- Staff Evaluation
- Curriculum
- สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น
- สื่อการเรยี นการสอนในห องเรียน
- แผนการนาํ เสนอส่ือรายบุคล
- บันทกึ ารสอนรายบุคคล ( Record Keeping)
- แฟม้ นกั เรียนรายบุคคล
- แบบสังเกตรายบุคคล
- รายงานผลการเรียนรายบุคคล
- แบบสรปุ การสังเกตการณ์ และข้อเสนอแนะจากผู้อาํ นวยการ
- บันทึการพบปะผู้ปกครองรายบุคคล (Parent conference )
- แบบประเมินการสงั เกตการณ์หอ้ งเรียนจากผู้ปกครอง
-บนั ทึกการประชมุ
-โครงการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ โดยแอปพลเิ คชั่น Zoom
- โครงการแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู ตามแนวทางมอนเตส
ซอรรี ะดบั ชัน้ อนบุ าล

๒๔

๘.๒ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑) มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม
๒) หลักฐานสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ

มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระดับมาตรฐานการ หลักฐาน
ประเมินตนเอง
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพ
ของผ้เู รียน ยอดเยี่ยม -กิจกรรมการเรยี นในห้องเรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาตอนต้นและระดบั
๑) ด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรียน ชน้ั ประถมศึกษาตอนปลาย
๒) ด้านคุณลักษณะอนั พึง
ประสงค์ของผู้เรยี น -กจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย

-กจิ กรรมโปรแกรมส่งเสรมิ การอา่ นภาษาไทยReadingProgram

-กิจกรรมการเรยี นการสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์

-กจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ าพลศกึ ษา

-กิจกรรมการเรยี นการสอนวชิ าสังคมศึกษา

-กิจกรรมการเรยี นการสอนวชิ าศิลปะศกึ ษา

-ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐานOrdinary National

EducationalTest(O-NET)ป.6 ปการศกึ ษา2563

-ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน National Test(NT)ป.3

ปีการศึกษา 2563

-ผลการสอบการอ่านReadingTest(RT)ป.1ปการศึกษา 2563

-โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรยี นเตรียมความพร้อม

-นกั เรยี นสู่การทดสอบระดบั ชาติ O-NET/NT/RT

-มมุ คลงั ขอ้ สอบในห้องเรยี นชนั้ ประถมปลาย

-กิจกรรมการสอนเสริมวชิ าคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์เป็นภาษาไทย

-โครงการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดยแอปพลเิ คชน่ั Zoom

-กจิ กรรมสปั ดาห์ ภาษาและวัฒนธรรมไทย

-โครงการทัศนศึกษาการสาํ รวจวงจรชวี ติ ของเมลด็ โกโก้ และวธิ ีการทําช็อกโกแลต

-โครงการทัศนศกึ ษาศาสนสถานในชุมชน

-โครงการปลกู ตะไคร้หอมไล่ยงุ หอ้ งเรียนประถมศกึ ษาตอนตน้ หอ้ ง A

-โครงการปลกู และการทาํ ผลติ ภณั ฑ์จากว่านหางจระเข้ หอ้ งเรียนประถมศึกษา

ตอนต้นห้อง B

-โครงการเรียนรู้วิถีสับปะรดห้องประถมศกึ ษาตอนปลาย

-โครงการอาชีพท่นี ่าสนใจ

-กจิ กรรมเขา้ คา่ ยลูกเสือเนตรนารี

- กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ

-กิจกรรมสปั ดาห์ หอ้ งสมดุ Libraryweek

-กจิ กรรมกฬี าสสี มั พนั ธ์ ตรีมครสิ ตมาส/ChristmasSports Day

-กิจกรรมฮาโลวนี ลอยกระทงสังสรรค์ก่อนปิดภาคเรียนที่ 1

-กจิ กรรมมอบใบประกาศนยี บัตรปการศึกษา2563

-กิจกรรมชมรมSharingCraftงานฝีมอื เพือ่ การแบ่งปัน

-กจิ กรรมชมรมGardeningทําสวน

๒๕

มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระดับมาตรฐานการ หลักฐาน
ประเมินตนเอง
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการ
บริหารและการจัดการ - กิจกรรม ชมรม music ดนตรี

-กิจกรรมชมรมDecoupage (เดคพู าจ)

- กิจกรรม ชมรม Thai dancing รําไทย

- กิจกรรม ชมรม Softball

- กิจกรรม ชมรม Macrame Friendship Bracelet

- กิจกรรม ชมรม Cooking ทําอาหาร

-นโยบายการรบั นกั เรยี นทุกสญั ชาตเิ ชอื้ ชาติและศาสนา

-กิจกรรมการตรวจสขุ ภาพฟันประจาํ ปี

-การฉีดวัคซีนคอตบี บาดทะยกั ไอกรน

-โครงการเสรมิ ยาธาตุเหลก็

ยอดเยย่ี ม -ตราสารโรงเรยี น

-แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา

-รายชอ่ื คณะกรรมการสถานศึกษา

- บันทึการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

- แผนปฏิบัติการประจาํ ปี

- หลกั สูตรสถานศกึ ษา

- ตารางเปรียบเทียบเนอื้ หาสาระหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

และหลกั สตู รการศกึ ษามอนเตสซอรี่ระดบั ประถม อายุ 6-12 ปี

-แผนงบประมาณประจําปี

-งบดลุ ของสถานศกึ ษา

-รายชื่อนกั เรยี นรอรบั เข้าโรงเรียนปิตศิ กึ ษา

-ตารางกําหนดประเด็นพจิ ารณามาตรฐานการศกึ ษาชาติ

ปี พ.ศ. 2563 ฉบบั ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

- รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา( SAR)

- คําส่ังแตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

-Timeline การประเมนิ คุณภาพภายใน

-Benchmark ของแต่ละชว่ งช้นั

- แผนการจดั การเรยี นรู้ ในแต่ละชนั้ เรียน

- แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชา

- บนั ทกึ ารสอน

- บนั ทึการประชมุ ครู

- คมู่ ือครู

- ทะเบยี นสือ่ และครุภณั ฑ์

- โครงการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยแอปพลิเคชน่ั Zoom

- โครงการ Parent Work Shop

-โครงการอาชพี ทนี่ ่าสนใจ

- โครงการแนะนําหลักสูตร Pitisuksa Montessori

- Middle School Program

๒๖

มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระดับมาตรฐานการ หลักฐาน
ประเมนิ ตนเอง
มาตรฐานที่ ๓ การจัด
ประสบการณ์ท่เี น้นผู้เรียน - โครงการพฒั นาครูไทยไปเข้าอบรม AMI Classroom
เปน็ สำคัญ
- Assistants Certificate Elementary (6-12)

- โครงการพฒั นาครูอบรม Montessori for Toddler

- โครงการ Montessori Workspace

- ตาราง Conference

- ตาราง Parent Observed

- Classroom Observation

- บันทึกผลการสาํ รวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง

- Feedback the Observation record

- Evaluation and feedback

- รายงานการเขา้ รับการอบรม

- ทะเบยี นสื่อการเรยี น

- ทะเบยี นครุ ภุ ัณฑ์

- School Line Group

- Classroom Line Group

- Fanpage Facebook ของโรงเรยี น

- Digital Files: Progress Report

- ระบบการจัดทาํ บัญชี

- แบบประเมินกจิ กรรมออนไลน์

- Digital File: School Bulletin

- dropbox https://www.dropbox.com/home/pitisuksa

- Youtube Pitisuksa school

- Digital file: Learning Achievement

- โครงการ Staff Retreat

- โครงการ Staff Evaluation

ยอดเยี่ยม - แผนการจัดการเรยี นรู้ทุกรายวิชา

- รปู ภาพ การจดั การเรียนการสอนโดยใช้สื่อ

- ตารางประชมุ ครปู ระจาํ เดือน

- กฎระเบียบภายในห้องเรยี น

- ตารางแบง่ ความรบั ผิดชอบของผู้เรียน

- การจดั ห้องเรยี น

- Progress report

- แฟม้ รายงานผลการจัดกิจกรรมอบรมพัฒนาครู

- ทะเบยี นสื่อ

- การประเมินเด็กเป็นรายบุคคล

- แบบประเมิน

- แบบบนั ทกึ (Record Keeping )

- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาํ ผลมาพฒั นาจัดการเรียนรู้

๒๗

มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ระดับมาตรฐานการ หลักฐาน
ประเมินตนเอง

- โครงการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ โดยแอปพลิเคช่นั Zoom

- กจิ กรรมชมรม Sharing craft งานฝีมอื เพ่อื การแบ่งปัน

- กจิ กรรมชมรม Gardening ทําสวน

- กจิ กรรมชมรม music ดนตรี

- กิจกรรมชมรม Decoupage ( เดคพู าจ )

- กิจกรรมชมรม Thai dancing รําไทย

- กิจกรรมชมรม Softball

- กิจกรรมชมรม Macrame Friendship Bracelet

- กิจกรรมชมรม Cooking ทําอาหาร

- กจิ กรรมวันมอบใบประกาศนยี บัตรนกั เรยี นปีการศกึ ษา 2563

- สปั ดาห์ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย

- โครงการปลกู ตะไคร้หอมไล่ยุง หอ้ งเรียนประถมศกึ ษาตอนต้นห้อง A

- โครงการปลูกและการทําผลิตภัณฑ์ จากว่านหางจระเข้

- หอ้ งเรียนประถมศึกษาตอนต้นห้อง B

- โครงการเรยี นรู้วิถีสบั ปะรด ห้องประถมศึกษาตอนปลาย

๙. ประมาณการรายรบั ของโรงเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๒๘

รายการ จำนวนเงิน (บาท)
คา่ ธรรมเรยี นการเรยี น ระดับเตรียมอนบุ าล ๒,๒๐๕,๐๐๐
คา่ ธรรมเรยี นการเรยี น ระดับอนุบาล ๖,๕๗๗,๒๐๐
ค่าธรรมเรยี นการเรียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ๔,๑๗๖,๐๐๐
ค่าธรรมเรียนการเรียน ระดับประถมศึกษาตอนปลาย ๑,๕๒๙,๘๕๐
ค่าธรรมเรียนการเรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๗๔๐,๒๕๐

ค่าธรรมเนียมอื่น ๕๑๐,๐๐๐
ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ระดับเตรียมอนุบาล ๓๐๐,๐๐๐
ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ระดบั อนุบาล
ค่าธรรมเนยี มแรกเข้า ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ -
คา่ ธรรมเนยี มแรกเข้า ระดับประถมศึกษาตอนปลาย -

ค่าเล่อื นชัน้ ระดบั อนุบาล ๔๘๐,๐๐๐
คา่ เลือ่ นชัน้ ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น ๔๐๐,๐๐๐

คา่ ครุภณั ฑ์การศึกษา ๑,๘๘๕,๐๐๐
คา่ ประกันอบุ ตั เิ หตุ ๑๑๔,๙๕๐
คา่ อาหารกลางวนั และอาหารวา่ ง
๒,๑๓๙,๕๐๐
รวมเปน็ เงินทั้งสิ้น
๒๑,๐๕๗,๗๕๐

๒๙

ส่วนที่ ๒
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

โรงเรียนปิติศกึ ษาจดั การศึกษาตามรูปแบบการศึกษามอนเตสซอร่ี ซึ่งเปน็ กระบวนการศึกษาท่เี ดก็ เป็น
ผู้ปฏิบัตโิ ดยเริม่ กอ่ ร่างจากสิง่ เรา้ ภายในใจเด็ก โดยจะเรียนรู้ผ่านการสำรวจคน้ หา อนั เปน็ การสร้างนสิ ยั รักการเรยี น
ตลอดชวี ติ ให้ความสำคัญกับการจัดส่ิงแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ ทา้ ทายให้เด็ก ๆ เรียนรไู้ ปขา้ งหน้าอยา่ งเชื่อม่ันกับ
สอื่ การเรยี นซงึ่ จะยากขึ้นตามลำดบั สอดคล้องกบั ความพร้อมและพฒั นาการ การเคารพซงึ่ กนั และกัน ตลอดจนการ
เคารพในสภาวะแวดล้อม

๑. ปรชั ญา วิสยั ทัศน์

ปรัชญาของโรงเรียนปติ ศิ ึกษา
“ เรียนร้อู ยา่ งมีความสขุ ตลอดชีวติ Life-long join of learning ”

วสิ ยั ทัศน์
“ปิติศึกษาพฒั นาให้เดก็ เตบิ โตเปน็ พลเมืองโลกทม่ี ีเมตตากรณุ าและปัญญา”

คตพิ จน์
“เคารพตนเอง Self-Respect เคารพผอู้ ื่น Respect others เคารพสง่ิ แวดลอ้ ม Respect Environment”

๓๐

เคารพตนเอง Self-Respect หมายถึง การรู้จักตนเอง ชื่นชมและรักตนเอง ไม่นำตนเองไปสู่ความ
เสย่ี งทจี่ ะเกิดอนั ตราย ความสามารถในการตัดสินใจเลือกและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทีเ่ กดิ จาก ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของ
ตนเอง โดยไม่มกี ารใหร้ างวลั เพ่อื สรา้ งแรงจูงใจ หรือลงโทษ

เคารพผู้อื่น Respect Others หมายถึง การเคารพในสิทธิของผู้อื่น เป็นผู้ฟังที่ดี ยอมรับความ
แตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา ยอมรับความคิดเห็นทแี่ ตกต่าง ช่นื ชมในความสำเร็จของผ้อู นื่

เคารพสิ่งแวดลอ้ ม Respect Environment หมายถึง การเคารพกฎ กติกาของสังคม ที่ตนเอง
อยรู่ ่วม ปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสงั คม ความเคารพตอ่ สภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกห้องเรียน

๒. พนั ธกจิ

โรงเรียนปิติศึกษาได้ตระหนักและเคารพในความแตกต่างของเด็กแต่ละคน การเรียนการสอนจึงถู กปรับให้
สอดคล้องกับความต้องการของเด็กแต่ละคน ที่มีความแตกต่างของชนชาติและวฒั นธรรม ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมท่ีเอือ้ ตอ่
การเรียนรู้ให้สมบูรณ์มากขึ้น พันธกิจของเราคือบ่มเพาะความต้องการเรียนรู้ กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจจากภายใน
ฝึกฝนความรบั ผดิ ชอบเปน็ ตัวของตัวเอง และพัฒนาให้เด็กเป็นพลเมืองโลก ท่ีมปี ญั ญาและความเมตตากรณุ า ดังน้ี

๑. จัดการเรยี นการสอนโปรแกรมภาษาอังกฤษสง่ เสรมิ ให้เด็กรกั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ทีย่ ่งั ยนื โดยใช้วิธกี าร
แบบมอนเตสซอร่ีในระดบั ชัน้ เตรยี มอนุบาล ถงึ ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๒. สร้างนวัตกรรมทางการศึกษาแบบมอนเตสซอรที่ ี่เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว

๓. สรา้ งบรรยากาศชุมชนแห่งการเรียนรู้ สง่ เสริมใหม้ ีการพฒั นาตนเองอยา่ งเป็นองค์รวมและอยู่ร่วมกันอย่าง
สนั ติ

๔. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการอยา่ งต่อเนือ่ ง

๕. ขยายองคค์ วามรู้จากภายในส่ภู ายนอก

๓๑

๓. เป้าหมายการจดั การศกึ ษา

โรงเรียนปิติศึกษาพัฒนาเด็กเพื่อให้เป็นผู้ใหญ่ในอนาคต โรงเรียนส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ
และการสร้างทักษะที่จำเป็นเพื่อการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 และคาดหวังผลที่จะเกิดขึน้ กับตวั เด็ก ในมิติ
ตา่ งๆ ดังน้ี

Personal •Adaptable and resourceful
•Kind and generous
•Independence
•Self directed/self motivation
•Loving and Caring
•Confident/self esteem/self assured
•Problem solvers and decisive

Social •Empathy and desire to contribute

•Articulate at self expression
•Effective listener

•Relationships: good at making and
keeping friends

Academic •Solid fundamental, depth and
breadth of knowledge

•Critical thinking

•Ability to self-learning
•Ability to explore

๓.๑ มิติทางด้านสงั คม Social Outcomes

• มีความเห็นอกเห็นใจ และความปรารถนาที่จะมีส่วนร่วมสนับสนุน ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ Empathy and a
desire to contribute

• มีความสามารถในการแสดงความรู้สกึ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม Articulate at self-expression

• เปน็ ผ้ฟู งั ทีด่ มี ปี ระสิทธิภาพan effective listener

• มีมนุษย์สัมพันธ์ : สามารถสร้างความสัมพันธ์และรักษาความสัมพันธ์กับเพื่อน Relationships: good at
making and keeping friends

๓๒

๓.๒ มิตทิ างดา้ นวิชาการ Academic Outcomes

• สามารถใช้ภาษาอังกฤษในวิชาการและการสื่อสารในชีวิตประจำวันอย่างเป็นธรรมชาติตามช่วงวัยมีความรู้
พื้นฐาน มีองค์ความรู้ที่กว้างและลึกและมีทักษะเพียงพอสำหรับการศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น Solid
fundamentals, but also a depth and breadth of knowledge

• รู้จกั คดิ วิเคราะห์ คดิ และกระทำอย่างสรา้ งสรรค์ Critical thinking skills

• มีความสามารถที่เรียนรูด้ ว้ ยตนเองผ่านส่งิ แวดล้อมท่ีจดั เตรียมไวอ้ ย่างสมบรู ณ์ An ability to self-learn

• มีทักษะในการแสวงหาความรู้ผา่ นการสำรวจค้นหา To explore

๓.๓ มติ ิทางดา้ นคณุ ลกั ษณะส่วนบุคคล Personal Characteristics

• มีความสามารถในการปรบั ตวั และทำตนให้เป็นประโยชน์ Adaptable and Resourceful

• มีจติ ใจทด่ี ีและใจกวา้ งโอบอ้อมอารีKind and generous

• มีความเป็นอิสระทางรา่ งกายและคามคดิ Independent

• มีความสามรถในการควบคมุ ตนเอง และกระตนุ้ ใหก้ ำลงั ใจตนเอง self-directed, self-motivated

• สามารถแบง่ ปนั ความรกั รกั เปน็ และดแู ลตนเองได้ loving and caring

• มคี วามนบั ถือตนเอง และมคี วามเชือ่ มนั่ ในตนเอง Has self-esteem and self-confident

• มคี วามมั่นใจในตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาและสามารถตัดสินใจได้เด็ดขาด Self-assured and
Problem solvers and decisive

๔. เอกลกั ษณ์ “มอนเตสซอรีโ่ ปรแกรมภาษาอังกฤษ Montessori English Program “

๕. อัตลกั ษณ์ “ความเปน็ อิสรภาพ Independence”

๓๓

๖. กลยทุ ธ์ เป้าหมาย โครงการ กิจกรรม ตวั ชีว้ ดั ความสำเรจ็ ของโครงการ กิจกรรมและฝา่ ยท่รี ับผิดชอบ

โรงเรียนไดก้ ำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๓ ดา้ น ดังนี้

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาด้านผเู้ รียน
กลยทุ ธท์ ่ี ๑.๑ ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนใหไ้ ดเ้ รียนรู้อยา่ งมีความสุข มคี วามเมตตา กรุณาและปัญญา
กลยทุ ธท์ ี่ ๑.๒ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นใหส้ ามารถใชภ้ าษาอังกฤษในวชิ าการและการส่ือสาร ได้ตามวัยและมี
คุณภาพสอดคลอ้ งตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ตามมาตรฐานสากล
กลยุทธ์ที่ ๑.๓ พัฒนาทักษะการอ่าน-เขียนภาษาไทย ให้มีประสิทธิภาพทางด้านวิชาการและการ
สอ่ื สารสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และการศกึ ษาข้ันพื้นฐานด้วยวิธีการการจัดการศึกษาแบบมอนเตสซอรี่
กลยุทธ์ที่ ๑.๔. พัฒนาทักษะในการเรียนรู้สาระวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาไทย
สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานดว้ ยวธิ กี ารการจัดการศึกษาแบบมอนเตสซอร่ี

ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๒ พัฒนากระบวนการบริหารและจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาบรหิ าร โดยเน้นการ
การมีส่วนร่วม พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ในการจัดการศึกษาแบบมอนเตสซอรี่ เข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพ
และพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ นสถานศกึ ษาให้พียงพอและเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ตามหลกั การการศึกษามอนเตสซอรี่

กลยุทธท์ ี่ ๒.๑ การบรหิ ารจดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยการมสี ่วนร่วม เพ่ือให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้อย่าง
มีความสขุ มคี วามเมตตา กรุณาและปญั ญา

กลยุทธ์ที่ ๒.๒ พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความรใู้ นการจดั การศึกษาแบบมอนเตสซอรีเ่ ข้าสมู่ าตรฐาน
วิชาชพี

กลยทุ ธ์ท่ี ๒.๓ พัฒนาแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษาให้พียงพอและเอ้ือต่อการเรียนรู้ตามหลักการ
การศกึ ษามอนเตสซอร่ี ทีเ่ นน้ การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมใหเ้ ด็กและผู้เรียน ได้สำรวจค้นหาท้งั ภายในและภายนอก
ห้องเรียน

กลยุทธ์ที่ ๒.๔ ส่งเสริมการใช้digital platform ในการจัดการบรหิ ารอย่างเป็นระบบ

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ พัฒนาคุณภาพกระบวนการจัดการศึกษาทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
อยา่ งมคี วามสขุ

กลยุทธ์ที่ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดปฏิบัติจริงและสามารถประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจำวันได้

กลยทุ ธท์ ่ี ๓.๒ ส่งเสรมิ การใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ Digital Platform ในการจดั การเรียนรู้
กลยทุ ธท์ ี่ ๓.๓ สง่ เสรมิ การน้อมนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาบรู ณการการในการจัดการเรยี นรู้
กลยุทธ์ที่ ๓.๕ ส่งเสริมการประเมินอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินมาวางแผนเพื่อพัฒนา
ผ้เู รยี นอยา่ งต่อเนอ่ื ง
กลยทุ ธท์ ี่ ๓.๖ ส่งเสรมิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ
เรียนรู้

๓๔

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดา้ นผเู้ รียน

แผนกลยุทธ์ ประเดน็ พิจารณา กิจกรรม/โครงการ คา่ ผู้รับผดิ ชอบ
เปา้ หมาย
๑. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นให้ ๑. เด็กและผู้เรียนได้เรียนรู้ - กิจกรรมการเรียนใน - ครูผ้สู อนในแต่
๒๕๖๔ ละระดบั ชัน้ และ
๙๗ รายวชิ าท่ี
เก่ียวข้อง
ไดเ้ รยี นรู้อย่างมคี วามสุข อย่างมีความสุข มีเมตตา ห้องเรียนมอนเตสซอรี่ตั้งแต่ - ผู้บริหาร
- บุคลากร
มคี วามเมตตา กรณุ าและ กรุณา และปัญญา เคารพ ระดับเตรียมอนุบาล ระดับ ทางการศึกษา
- บคุ ลากร
ปญั ญา ตนเอง เคารพผู้อื่น และ อนุบาล ระดับประถม และ สนับสนุน

เคารพส่งิ แวดล้อม มัธยมศึกษาตอนต้นใน

๒. เด็กและผู้เรียน มีสุขภาพ ระหว่างการระบาดของเช้ือ

ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มี ไวรัสโคโรนา่ COVID -19

พัฒนาการที่เหมาะสมตาม - กิจกรรม Friday Clubs

วยั - กิจกรรมสปั ดาหห์ อ้ งสมดุ

๓. เด็กและผู้เรียนมีทักษะ - Research Works

เพียงพอสำหรับการศึกษา according to owns

ต่อในระดบั ชนั้ ท่สี งู ขึน้ interest

๔. เด็กและผู้เรียนทีทักษะ - Science Experiments in

ในการแสวงหาความรู้ มี the Class

ความเป็นอิสระทางด้าน - กิจกรรมสัปดาห์ภาษาและ

ความคิด รู้จักคิดวิเคราะห์ วฒั นธรรมไทย

ค ิ ด แ ล ะ ก ร ะ ท ำ อ ย ่ า ง - กิจกรรมทัศนศึกษา Field

สรา้ งสรรค์ Trips

๕. ผู้เรียนมีสุขอนามัยและ - กิจกรรมการประเมิน

โภชนาการท่ดี ี ศักยภาพร่างกาย

- กิจกรรมการตรวจ

สุขภาพฟนั

- กิจกรรมการเรียนวิชาพล

ศกึ ษา

- กิจกรรมการออกกำลัง

ตอนเช้า

- งานอาหารและ

โภชนาการ

- กิจกรรมวชิ าศลิ ปะ

- Computer Class

- Coding

๓๕

แผนกลยทุ ธ์ ประเด็นพจิ ารณา กจิ กรรม/โครงการ ค่า ผ้รู ับผิดชอบ
เป้าหมาย
- ครผู ูส้ อนในแต่
๒๕๖๔ ละระดับชั้นและ
รายวิชาท่ี
๒. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นให้ ๑. เด็กและผู้เรียน สามารถ - กจิ กรรมการเรยี นใน เกี่ยวขอ้ ง
- ผ้บู รหิ าร
สามารถใช้ภาษาองั กฤษ ใช้ภาษาอังกฤษในวิชาการ หอ้ งเรยี นมอนเตสซอรี่ - บุคลากร
ทางการศกึ ษา
ในวิชาการและการ และการสื่อสารในชีวิต ตง้ั แต่ระดับปฐมวยั - - บุคลากร
สนับสนุน
สือ่ สารได้ตามวัยและมี ป ร ะ จ ำ ว ั น อ ย ่ า ง เ ป็ น มธั ยมศึกษาตอนตน้

คุณภาพสอดคลอ้ งตาม ธรรมชาติ เหมาะสมตามวยั - โปรแกรมการอา่ น
มาตรฐานการศกึ ษา ๒. เด็กและผู้เรียน มีทักษะ ภาษาองั กฤษ
ปฐมวัยและการศึกษาขนั้ เพียงพอสำหรับการศึกษา - กิจกรรมสปั ดาห์หอ้ งสมุด
พ้ืนฐาน ตาม ตอ่ ในระดับชน้ั ทสี่ งู ขึ้น - กจิ กรรมค้นควา้ ตามความ

มาตรฐานสากล สนใจ

- กิจกรรมสปั ดาหภ์ าษาและ

วฒั นธรรมไทย

- ทัศนศกึ ษา Field Trips

- มุมอา่ นหนังสือใน

หอ้ งเรียน

๓. พัฒนาทักษะการอา่ น ๑. เด็กและผู้เรียนสามารถ - ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น - ครผู ู้สอนในแต่
ละระดบั ชั้นและ
เขยี นภาษาไทย ให้มี ใช้ภาษาไทยในวิชาการและ ภาษาไทยในห้องเรียน รายวิชาที่
เกี่ยวขอ้ ง
ประสิทธภิ าพทางด้าน การสื่อสารในชีวิต ประจำวนั มอนเตสซอรี่ตั้งแต่ระดับ - ผู้บรหิ าร
- บคุ ลากร
วิชาการและการสอ่ื สาร ได้อย่างเป็นธ รร มช า ติ ปฐมวัย-มัธยมศึกษา ทางการศกึ ษา
และ บคุ ลากร
สอดคล้องกบั มาตรฐาน เหมาะสมตามวยั ตอนต้น สนับสนุน

การศึกษาปฐมวัยและ ๒. เด็กและผู้เรียนมีทักษะ - กิจกรรม Friday Clubs
การศึกษาข้นั พืน้ ฐานด้วย ภาษาไทยเพียงพอสำหรับ - โ ป ร แ ก ร ม ก า ร อ ่ า น
วิธีการการจัดการศึกษา การศึกษาต่อในระดับชั้นที่ ภาษาไทย
แบบมอนเตสซอรี่ สงู ขึน้
- กจิ กรรมสปั ดาห์ห้องสมุด

- กจิ กรรมสัปดาหภ์ าษาและ

วฒั นธรรมไทย

แผนกลยุทธ์ ประเดน็ พจิ ารณา กิจกรรม/โครงการ คา่ ผู้รับผิดชอบ
เปา้ หมาย
- ครูผสู้ อนในแต่
๒๕๖๔ ละระดับช้ันและ
รายวิชาที่
๔. พัฒนาทักษะในการ ๑. เดก็ และผู้เรียนมที ักษะ - กิจกรรมการเรียนใน เกีย่ วขอ้ ง
- ผู้บรหิ าร
เ ร ี ย น ร ู ้ ส า ร ะ ว ิ ช า เพียงพอสำหรบั การศึกษา ห้องเรียนมอนเตสซอรี่ - บุคลากร
ทางการศกึ ษา
ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ต่อในระดบั ชนั้ ทส่ี งู ขึน้ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย-

ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ เ ป็ น ๒. เดก็ และผู้เรียนมีทักษะใน มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ภาษาไทยสอดคล้องกับ การแสวงหาความรู้ มีความ - การจัดมุมข้อสอบใน
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศ ึ ก ษ า เปน็ อสิ ระทางดา้ นความคิด หอ้ งเรยี น
ปฐมวัยและการศึกษาข้ัน

๓๖

พื้นฐานด้วยวิธีการการ รู้จกั คิดวิเคราะห์ คิดและ - ก า ร ส อ น เ ส ร ิ ม ว ิ ช า - บคุ ลากร

จัดการศึกษาแบบมอน กระทำอย่างสรา้ งสรรค์ คณิตศาสตร์ และ สนับสนุน

เตสซอร่ี ๓. โรงเรยี นมีผลการทดสอบ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ เ ป็ น

O-NET สูงขึน้ ภาษาไทย

- การพัฒนาหลักสูตรวิทย

ศาสตร์ STEM CODING

สำหรบั ระดับมธั ยมศกึ ษา

ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๒ พัฒนากระบวนการบรหิ ารและจดั การของผู้บริหารสถานศึกษาบริหาร โดยเนน้ การการมีสว่ นร่วม

พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ในการจดั การศึกษาแบบมอนเตสซอรี่ เข้าสู่มาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้

ในสถานศกึ ษาใหพ้ ยี งพอและเอ้ือต่อการเรยี นรู้ตามหลักการการศึกษามอนเตสซอร่ี

แผนกลยุทธ์ ประเด็นพจิ ารณา กจิ กรรม/โครงการ คา่ ผูร้ บั ผิดชอบ

เปา้ หมาย

๒๕๖๔

๑. ก า ร บ ร ิ ห า ร ดา้ นการบริหารจัดการ - จดั ตงั้ คณะกรรมการ มี - ผู้อำนวยการ

จ ั ด ก า ร อ ย ่ า ง มี ๑. โรงเรยี นมเี ปา้ หมาย สถานศึกษา - คณะกรรมการ

ประสิทธิภาพ โดยการมี วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจที่ - การประชุมครู ผู้บรหิ าร บรหิ าร

ส่วนร่วม เพื่อให้ผู้เรียน ชัดเจน และคณะกรรมการโรงเรียน สถานศกึ ษา

ได้เรียนรู้อยา่ งมคี วามสุข ๒. โรงเรียนมีระบบบรหิ าร เพอื่ วิเคราะห์สถานการณ์ - บคุ ลากร

มีความเมตตา กรุณา จดั การคณุ ภาพของ เพ่อื จดั ทำแผนการพฒั นา ทางการศึกษา

และปญั ญา สถานศึกษา คุณภาพการศึกษา - บุคลากร

๓. โรงเรยี นมีแผนการใช้ - การวางแผนและ สนับสนนุ
เงินงบประมาณสอดคล้อง งบประมาณ
กบั กลยทุ ธ(์ โปรง่ ใส/ - การกำกบั ติดตาม
ตรวจสอบได)้ ประเมินผลการบรหิ ารและ
๔. โรงเรยี นส่งเสริมการ การจัดการศึกษา
ทำงานเปน็ ทีมงานร่วมคิด/ - การตรวจสอบบญั ชแี ละ
ร่วมทำ/ร่วมรบั ผิดชอบ และ การเงินโดยผู้ตรวจสอบบัญชี
ส่งเสรมิ การสร้าง ภายนอก

ความสัมพนั ธภ์ ายในองค์กร

แผนกลยุทธ์ ประเด็นพจิ ารณา กิจกรรม/โครงการ ค่า ผู้รับผดิ ชอบ

เปา้ หมาย

๒๕๖๔

มคี า่ นิยมในการอยรู่ ่วมกัน - กิจกรรม Parenting

อยา่ งสนั ติ Workshop

๕. ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วม - กิจกรรม Parent
ของครู ผปู้ กครอง Observation

- กจิ กรรม Parent

Conference

๓๗

- การจัดปฐมนิเทศ มี
ผู้ปกครอง

๖. โรงเรียนดำเนนิ งาน - การจดั กิจกรรม Last Day
พฒั นาทางด้านวิชาการท่ี Activities
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน - การสำรวจความพงึ พอใจ
ตามหลกั สตู รสถานศึกษาที่ ของผปู้ กครอง ครู และผู้มี
จดั การเรียนร้แู บบมอนเตส ส่วนเก่ยี วขอ้ ง
ซอร่ี - ประเมนิ ตดิ ตาม พัฒนา

และรายงานผลการจัด
การศึกษาให้เปน็ ไปตาม
แผนการพฒั นาคณุ ภาพการ
จัดการศกึ ษา ทบทวนและ
แผนการจดั การศึกษาให้กับผู้
ทีม่ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง และ
บุคคลภายนอก

๒ พัฒนาครูและบคุ ลากร ๑. พฒั นาครใู ห้มคี วามรู้ - ปฐมนเิ ทศครูไทย และครู มี - ครูผสู้ อนในแต่
ละระดบั ช้ันและ
ใหม้ ีความร้ใู นการจัด และความเข้าใจในหลักการ ชาวต่างชาติ คา่ รายวิชาที่
เป้าหมาย เกี่ยวข้อง
การศึกษาแบบมอนเตส จัดการศกึ ษาแบบมอนเตส - อบรมมอนเตสซอรี่ ๒๕๖๔ - ผบู้ รหิ าร
- บคุ ลากร
ซอร่ีเข้าสู่มาตรฐาน -ซอรี่ - อบรมเร่ืองการส่ือสารเพื่อ มี ทางการศึกษา
- บุคลากร
วิชาชพี ๒. ส่งเสริม/พัฒนาครู และ สนั ติ Non- violence สนบั สนนุ
ผรู้ บั ผิดชอบ
บคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญ Communication
- ครผู ู้สอนในแต่
ทางวิชาชพี ละระดับชั้นและ
รายวชิ าที่
๓. ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วาม เก่ยี วข้อง
- ผู้บรหิ าร
ตระหนักและมีความ

แผนกลยทุ ธ์ ประเด็นพิจารณา กิจกรรม/โครงการ

รบั ผิดชอบ มคี วามสามัคคี -นิเทศตดิ ตามการสอน

ให้ความรว่ มมือในการ Observation and

ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี การใช้ feedback

ภาษาอังกฤษในการสอนใน - การประชมุ ครูประจำเดือน

หอ้ งเรยี นมอนเตสซอร่ี - การประชุมครรู ะดับช้นั

- การ Conference กบั ครู

๓ พัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ น ๑. จัดสภาพแวดล้อมทาง - แผนงบประมาณการจัด
สถานศึกษาใหพ้ ียงพอ
และเออื้ ต่อการเรยี นรู้ กายภาพและสังคม ภายใน ห้องเรียนแบบ มอนเตสซอร่ี
ตามหลักการการศึกษา
มอนเตสซอรี่ ที่เน้นการ ห้องเรียนที่เอื้อต่อการ ตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล-
จดั เตรยี มส่ิงแวดลอ้ มให้
จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ อ ย ่ า ง มี มัธยมศึกษาตอนตน้

คุณภาพ มีสื่อการเรียนรู้

เพียงพอ โดยคำนึงถึงความ

๓๘

เดก็ และผเู้ รียน ได้สำรวจ สะอาด ปลอดภยั พัฒนาการ - การจัดสรรงบประมาณ - บุคลากร
ทางการศึกษา
คน้ หาทงั้ ภายในและ ตามช่วงวัยของผู้เรียน และ สำหรับกิจกรรมส่งเสริมการ - บุคลากร
สนับสนนุ
ภายนอกหอ้ งเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ เรียน

๒. จัดสภาพแวดล้อมทาง - แผนงบประมาณการจัด

ก า ย ภ า พ แ ล ะ ส ั ง ค ม ห้องสมุดมีชีวติ Life Library

ภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อ - แผนการขยายห้องเรียน

การจัดการเรียนรู้อย่างมี และกอ่ สรา้ งอาคารระดบั ถม

คุณภาพ มีโดยคำนึงถงึ ความ ขยายห้องเรียนอนุบาลและ

สะอาด ปลอดภยั มธั ยมศึกษา

มีต้นไม้ และสิ่งแวดล้อมที่ - แผนการปรับปรุงระบบ

เป็นธรรมชาติ มีเครื่องเล่น ไฟฟา้

สนามที่ปลอดภัยโดย ใช้วสั ดุ -พัฒนาสื่อและสิ่งแวดล้อม

ธรรมชาติ ให้เอื้อต่อกระบวนการ

จดั การเรียนการสอน

งานซ่อมบำรุงเครื่องเล่น

สนาม และดูแลต้นไม้ให้ร่ม

ร่ืน

- บูรณาการกิจกรรมการ

เรียนโดยใช้ธรรมชาติและ

สง่ิ แวดลอ้ มภายใน

แผนกลยทุ ธ์ ประเดน็ พจิ ารณา กิจกรรม/โครงการ คา่ ผู้รบั ผิดชอบ

กลยุทธท์ ่ี ๔ สง่ เสริมการ เปา้ หมาย - ครผู ูส้ อนในแต่
ใช้digital platform ใน ละระดับชนั้ และ
การจดั การบรหิ ารอย่าง ๒๕๖๔ รายวชิ าที่
เปน็ ระบบ เกย่ี วขอ้ ง
-แผนการพัฒนาระบบ - ผูบ้ รหิ าร
- บุคลากร
สารสนเทศ ทางการศกึ ษา
- บคุ ลากร
๑. การจดั สรรงบประมาณ - จัดสรรงบประมาณ มี สนับสนนุ

ในเรอ่ื งการใช้ส่ือและ - แผนการพฒั นาระบบ

เทคโนโลยี ให้เพยี งพอ สารสนเทศระบบสารสนเทศ

สำหรับการบรหิ ารและการ ให้เปน็ ปจั จบุ นั

จัดการเรยี นรู้ - การใช้ Dropbox Goolgle

๒. จัดระบบการใช้ digital Drive ในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู

platform ในการบรหิ าร - การเกบ็ ข้อมูลผา่ น

และการจัดการเรียนรูใ้ ห้ Google Survey

เหมาะสมกบั สภาพของ - การใช้ Zoom meeting

สถานศึกษา - การจัดสรรงบประมาณ

๓. ใหบ้ ริการเทคโนโลยี และ และพัฒนาระบบเพือ่ การ

digital platform ในการ เข้าถึงระบบอินเตอรเ์ นต็

บริหารและการจัดการ อยา่ งทั่วถึง เพื่อการสอน

๓๙

เรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพ ผ่าน Zoom ในกรณีทค่ี รยู งั

ของสถานศกึ ษา เดินทางมาประเทศไทยไมไ่ ด้

๔. ตดิ ตามผลใช้บริการ - การบันทึกการเข้าออกของ

ระบบเทคโนโลยี และ ครูบุคลากรและการมาเรียน

digital platform ในการ ของนักเรียนผ่านระบบ

บริหารและการจัดการ Checker

เรยี นรูแ้ ละพัฒนาต่อเน่ืองให้

เหมาะสมกบั สภาพของ

สถานศกึ ษา

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ พฒั นาคณุ ภาพกระบวนการจดั การศึกษาทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้อย่างมคี วามสขุ

แผนกลยุทธ์ ประเด็นพจิ ารณา กจิ กรรม/โครงการ คา่ ผู้รบั ผิดชอบ

เป้าหมาย

๒๕๖๔

๑. ส่งเสรมิ การจัดการ ๑. โรงเรียนมหี ลกั สูตรแบบ - พัฒนาการกระบวนการ มี

เรยี นรู้ผ่านกระบวนการ มอนเตสซอรี่ ซ่ึงเปน็ จัดการเรียนการสอนแบบ

คดิ ปฏิบัติจรงิ และ เอกลักษณแ์ ละสอดคลอ้ งกบั มอนเตสซอรี่ ที่เน้นเด็กเป็น

สามารถประยุกตใ์ ชใ้ น หลักสูตรขนั้ พนื้ ฐาน ศูนย์กลางให้สอดคล้องกับ

ชวี ติ ประจำวันได้ ๒. ครูมแี ผนการจดั การ ห ล ั ก ส ู ต ร ก า ร ศ ึ ก ษ าข้ัน

เรยี นรูท้ ส่ี ามารถนำไปจดั พนื้ ฐาน

กิจกรรมได้จริงและผู้เรยี น - การพัฒนาหลักสูตรของ

สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ใน โรงเรียนตั้งแต่ระดับเตรียม

ชวี ิตประจำวนั อนุบาล-ระดับมัธยมศึกษา

๓. ครมู ีความรู้ความเข้าใจ ตอนต้น

ในเร่ืองการจดั การศึกษา - แผนการพัฒนาผู้เรียน

ตามมาตรฐานการศึกษา ทกั ษะวชิ าภาษาไทย

แหง่ ชาติ (ใหม่) - แผนการพัฒนาผู้เรียน

ทักษะการคิดคำนวณ ด้วย

ภาษาไทย

- จัดอบรมครูเรื่องการจัดทำ

รายงานคุณภาพการศึกษา

ระดับปฐมวัย และระดับ

การศึกษาขั้นพื้นฐานตาม

มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ

(ใหม)่

๒. ส่งเสรมิ การใช้ส่ือ ๑. ครูสามารถใชส้ ื่อ และ - Staff Meeting on มี

เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีในการจดั การ Zoom

Digital Platform ใน เรยี นรู้ - Staff Orientation on

การจัดการเรยี นรู้ Zoom


Click to View FlipBook Version