The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุลสาร ฉบับที่ 1
CSB mini-journal no.I
ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับเดือนสิงหาคม 2563 - พฤษภาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orawin.l, 2021-04-30 06:33:12

CSB mini journal no.1 จุลสารศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา ม.รังสิต

จุลสาร ฉบับที่ 1
CSB mini-journal no.I
ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับเดือนสิงหาคม 2563 - พฤษภาคม 2564

Keywords: จุลสาร ศูนย์สุวรรณภูม,booklet,Ebook,CSB Booklet1,RSU,สุวรรณภูมิ,mini journal,journal,CSB mini booklet no1,CSB Journal No.1,csb booklet 1,rsu,ศูนย์สุวรรณภูม,จุลสาร

ศนู ยส์ ุวรรณภูมศิ กึ ษา

มหาวิทยาลัยรังสิต

จลุ สาร ฉบบั ท่ี 1
(สงิ หาคม พ.ศ. 2563 - พฤษภาคม พ.ศ. 2564)

วงมโหรี สุสานฮั่นหมายเลข 1
สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ราว 2000 ปี

WOODEN FIGURINS OF MUSICIANS
ท่ีมาภาพ HUNAN MUSEUM

ส า ร จ า ก ท่ า น อ ธิ ก า ร บ ดี

พวกเรามีความช่ืมชม ในความเป็น สุวรรณภูมิมานาน
เราเปรียบเทียบประเทศของเราว่าเป็น แหลมทอง ขวานทอง
แม้อาจจะยังไม่แน่ชัด ถึงความหมายท่ีลึกซ้ึง กว้างขวาง

แต่ “สุวรรณภูมิ” ก็คงมิใช่เพียงแค่ดินแดนทอง ท่ีอุดมสมบูรณ์ ที่ในน้ำ มีปลา ในนามีข้าว คนอยู่ดี
กินดีเพียงอย่างเดียว แต่ยังแฝงไปด้วยความหมายท่ีลึกซ้ึง ความย่ิงใหญ่และความเจริญทางวัฒนธรรม
เป็นอารยธรรมเก่าแก่ที่มีมานาน มีขอบเขตกว้างขวาง เป็นท่ีหลอมรวมของชนเผ่า และชาติพันธุ์อันหลาก
หลาย มีความละม้ายคล้ายคลึงกัน มีความรุ่งเรืองทางอารยธรรมร่วมกันในสุวรรณภูมิ

ซ่ึงถ้าหากเราจะกล่าวถึงดินแดน “สุวรรณภูมิ” ว่าครอบคลุมพ้ืนท่ีถึงขนาดไหน ก็อาจตั้งแต่ ตอนใต้
ของจีน เร่ือยลงมาจน พม่า มอญ ไทย (ไท) ลาว เวียดนาม เขมร ลงไปจรดทางใต้ และมลายู ฯลฯ
อิทธิพล อารยธรรม ความใกล้เคียง ของความรู้สึกนึกคิด ของความเป็นสุวรรณภูมิ มีมานาน เคยย่ิงใหญ่
และอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรและเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในอดีต ครอบคลุมอาณาเขต และความหลาก
หลายมากทางชาติพันธุ์ แต่กระนั้นก็มีความใกล้เคียงกันในเรื่องของความละเอียดอ่อน สะท้อนความเป็น
ตะวันออก ที่มีความสุขุม นุ่มนวล

สิ่งเหล่าน้ีจึงเป็นเหตุหน่ึงที่เราต้องมาคำนึงถึง การศึกษาถึงวิวัฒนาการของอารยธรรมในอดีต จน
เข้าสู่ยุคปัจจุบัน หากเราจะปล่อยให้สูญหาย ไปในประวัติศาสตร์ โดยที่ไม่ได้คำนึงรากเหง้า คำนึงถึง
อารยธรรมด้ังเดิม ก็จะเป็นเร่ืองท่ีน่าเสียดาย

ฉะนั้นนี่ จึงเป็นเหตุท่ีทำให้ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้คิดว่า “เรามีส่ิงที่มีคุณค่าอยู่ เราก็อยากจะตั้งศูนย์
ศึกษาเร่ือง “สุวรรณภูมิ” ข้ึนมา เรามีคำอีกหลายคำ ท่ีใช้เรียกดินแดนน้ีด้วยความยกย่อง เช่น เมืองทอง
สุพรรณบุรี ฯลฯ อะไรท่ีเป็นดินแดนทอง เป็นเมืองทอง เราถือเป็นสิ่งดีงาม เป็นเอกลักษณ์ของเรา และ
บัดน้ีมันกำลังจะเลือนลางหายไป ทำไมเราถึงไม่พยายามจะอนุรักษ์ รื้อฟื้น ศึกษา ให้อารยธรรมเดิมน้ัน
กลับมายิ่งใหญ่ แทนท่ีจะมุ่งคิดแต่เรื่องการแข่งขัน และผลประโยชน์ในเชิงสู้รบกันเพียงอย่างเดียว
เรามาร่วมกันพัฒนาวัฒนธรรม พัฒนาความเจริญรุ่งเรืองของวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ผู้คน ที่รวมอยู่ใน
ดินแดนสุวรรณภูมินี้ ด้วยมาตรการ และมิติต่างๆ เช่น พัฒนาการศึกษา ให้ความช่วยเหลือ ช่วยกันสร้าง
ความเป็นอยู่ให้ดีขึ้นร่วมกัน น่ีก็เป็นเป้าหมายของการตั้งศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา ด้วย

น่าเสียดายที่ก่อนน้ี เรื่องน้ี ไม่เป็นท่ีสนใจ ท้ังๆ ท่ีรากเหง้า ท่ีมา มันกินความหมายลึกซึ้ง กว้างขวาง
แต่เรากลับไม่ค่อยนึกถึงกัน ดังนั้นศูนย์สุวรรณภูมิ ก็อยากท่ีจะศึกษาถึงอารยธรรมดั้งเดิมท่ีย่ิงใหญ่
สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดขึ้น ด้วยความร่วมมือร่วมใจ แทนที่จะคิดถึงในเชิงความขัดแย้ง การหักล้าง
กัน เรามาช่วยกันสร้างความเป็นพ่ีน้อง ความเป็นหน่ึงเดียวกัน ให้อารยธรรมนั้นได้เจริญงอกงาม

ไม่ดีกว่าหรือ และนี่คือ เป้าหมายหลัก ของศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต

เสาธรรมจกั ร (Dharmachakra) ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์
late 3rd century A.D. อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต
Krishna District, Andhra Pradesh
ทม่ี าภาพ : The Metropolitan Museum of Art

เปิดบ้านสุวรรณภูมิ

ศูนย์สุวรรณภูมิศกึ ษา มหาวิทยาลยั รังสิต
ได้จดั ตง้ั ข้ึนภายใตก้ ารดำรขิ องทา่ นอธิการบดี
ดร.อาทติ ย์ อุไรรัตน์ เมือ่ วันท่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 โดยมี
วัตถุประสงคแ์ ละพนั ธกจิ ในการศึกษา รวบรวมองคค์ วามรู้แบบ
บูรณาการในหลากหลายสาขาวชิ า
มีการเชอ่ื มโยงท้ังประวตั ศิ าสตร์ อารยธรรมและนวัตกรรมเขา้ ไว้
ด้วยกนั มงุ่ ผลกั ดันใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื น ตอ่ ยอดทง้ั แนวคดิ และ
ภมู ิปญั ญา เชื่อมโยงและเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั อย่างเป็น
เครือข่าย ทง้ั ภาคสังคมและสถาบันการศึกษา

มหาวทิ ยาลยั รงั สิต เปน็ พืน้ ท่ีแห่งการสง่ เสริมการเรยี นรู้ มุ่งให้เกดิ การอนรุ ักษ์มรดกภมู ิปญั ญาแหง่ สุวรรณภมู ิ ซึ่งมี
ทงั้ ความหลากหลายและความใกลช้ ดิ กนั ทางเครอื ญาติ ทั้งภาษา ชาติพันธ์ุ วฒั นธรรม หวงั กระตุ้นใหเ้ กิดความเข้าใจ ความ
เชื่อมโยง และพฒั นาแนวความคดิ ซ่งึ สบื ทอดมาจากอดีต สู่การนำมาปรบั ใชเ้ พือ่ ผลประโยชนท์ ี่จับตอ้ งไดต้ ่อไป

ดว้ ยเจตนาว่า “ศนู ยส์ วุ รรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลยั รังสิต” จะสามารถทำหนา้ ทีเ่ ป็น ฐานทีเ่ ชือ่ มโยงทงั้ “ผู้คน ความรู้
ความคิด สรา้ งคนรุ่นใหม”่ ทส่ี นใจสบื ทอดรากแห่งอารยธรรมสุวรรณภมู ิ ใหก้ ว้างขวาง ผลกิ ง่ิ กา้ น และแตกแขนงผลผลิต
รวมถึงมมุ มองสำหรบั สรา้ งสรรค์งานวิชาการใหม่ๆ ใหก้ ับสงั คมและประชาคมโลกได้ในอนาคต

จึงอยากให้มองว่า น่ีคอื โอกาสและจงั หวะเวลาทส่ี ำคญั แห่งการเรมิ่ ตน้ ร้อื ฟนื้ ประวัติศาสตร์ รากเหงา้ ตัวตนของผ้คู น
ในดินแดนสุวรรณภูมิ - สวุ รรณทวปี ทีเ่ ลอื นรางใหม้ ีชีวติ และสามารถสรา้ งคุณคา่ ใหเ้ กิดขน้ึ ในประเทศไดอ้ ยา่ งสมภาคภูมิ

ชนิ้ สว่ นธรรมจกั ร 3 นายอานันท์ หาญพาณิชย์พันธ์
ศลิ ปะทวารวดี ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 13 - 14 ประธานศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
พบท่ี อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ไชยา มหาวิทยาลัยรังสิต

คำนำ

มหาวทิ ยาลยั รงั สิต เป็นสถาบันการศึกษาทีส่ มบูรณ์แบบ กล่าวคือ ประกอบด้วย “คณะ” ต่างๆ ทั้งหมดดา้ น
วิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ โดยแตล่ ะ “คณะ” กม็ ชี ่อื เสยี งเรียงนามตามภารกจิ เนื้อเร่อื ง (Functions) แต่มไิ ด้มี “คณะ” ท่ี
เก่ยี วกับพน้ื ท่ี หรอื ภมู ิศาสตร์ (Geographical Areas) เปน็ พ้นื ท่ศี ึกษา (Area Studies)

ดว้ ยวสิ ยั ทัศน์ ดำริ และความมงุ่ ม่ันในการขบั เคลือ่ นของ ดร. อาทติ ย์ อไุ รรตั น์ อธกิ ารบดี ก็นำไปสู่การจดั ต้งั ศนู ย์
สุวรรณภูมิศกึ ษา เพอ่ื การเรยี นรู้อารยธรรมแตอ่ ดีต เพือ่ รูร้ ากเหง้าของมวลมนุษย์

ณ วันนี้ เพ่อื จักได้มีบทเรยี นและเปน็ “วตั ถ”ุ (Materials) ในการเสริมสร้างมติ รไมตรี การยอมรับ และเผือ่ แผ่ซึง่ กัน
และกัน รวมทั้งการร่วมมอื เพื่อความผาสุก และความเปน็ สมานฉนั ทต์ ่อกนั

ศูนย์สุวรรณภมู ศิ กึ ษา มเี ป้าหมายทจ่ี ะเข้าไปร่วมกนั ใฝห่ าความรู้ ความเขา้ ใจสวุ รรณภูมิแต่อดตี และในขณะเดียวกนั
กจ็ ะเป็นสถานที่ เพือ่ ความร่วมมือกนั ในเรอ่ื งปจั จุบัน ท่ีไม่มพี รมแดนและความเปน็ รฐั ชาติมาขวางกน้ั

โดยหวงั วา่ “สวุ รรณภูม”ิ ท่ีไร้พรมแดนแตอ่ ดตี จะได้เกิดขึ้นในปจั จบุ ัน โดยจะมศี ูนย์สุวรรณภมู ินี้เป็นจดุ เชื่อมตอ่ ได้
ก็หวงั วา่ จลุ สารฉบบั นี้จะเป็นกลไกอนั หน่งึ ในการกา้ วไปขา้ งหน้าของศูนย์สวุ รรณภูมิศึกษา

TYMPANUM OF A PEJENG-TYPE DRUM, INDONESIA (SUMBA) นายกษิต ภิรมย์
CA.500 B.C.- A.D.300 (อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ)
ภาพจาก ; METMUSEUM.ORG ท่ีปรึกษาศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต

4

คำนำ

ทกุ พนื้ ที่บนโลกของเราต่างมีบทบาทต่อเหตุการณ์สำคัญในประวตั ิศาสตร์ไม่มากก็นอ้ ย แต่พื้นทส่ี ำคญั ทสี่ ง่ อิทธพิ ล
ต่ออารยธรรมของโลกในลักษณะของ “ตัวเช่ือม” ระหว่างอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่อย่างจีนด้านตะวันออก ท่ีติดอินเดียกับ
เปอร์เซียและยุโรปทางฟากตะวันตกมาแต่โบราณน้ัน กลับเป็นพ้ืนท่ีซ่ึงครอบคลุมอาณาเขตมากกว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หรอื ตามจารึกโบราณ เรียกวา่ “สุวรรณทวปี ” (Suvarnadvipa) และ “สวุ รรณภมู ”ิ (Suvarnabhumi)

หากเรามองพื้นท่ีทางบก สว่ นท่ีเคยถูกเรยี กขานวา่ “สุวรรณภูม”ิ หรือแผ่นดนิ ทองน้ี รวม กมั พชู า ลาว เมียนมา
เวียดนาม และไทย บวกกบั มาเลเซีย สงิ คโปร์ และตอนใตข้ องจีน อยา่ งมณฑลยนู นานและเขตปกครองตนเองกวางสีจว้ งด้วย
อนั ถือเปน็ ดนิ แดนท่ีมีความสำคญั อย่างใหญ่หลวง เพราะเป็นเส้นทางสายไหม ทีเ่ ผยแผอ่ ารยธรรมและการค้าในอดีต

เมอ่ื พจิ ารณารวมเอา “สุวรรณทวีป” ซ่งึ มีอนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี และสว่ นบอร์เนยี ว บรูไน และติมอร-์ เลสเต จนไปถึง
ฟลิ ปิ ปินส์ด้วย เราจะเห็นขนาดพื้นที่ ที่ใหญโ่ ตมากซึ่งถูกขนานนามว่าเปน็ “เส้นทางสายไหมทางทะเล” ทีม่ ีความสำคญั ตอ่
โลกตัง้ แต่ครั้งอดีตกาลจนถึงปจั จบุ ัน

ท่ีผ่านมาการมอง “แผ่นดินทอง” ทเี่ ป็นพืน้ ทตี่ ะวนั ออกเฉยี งใต้ วา่ เป็นทางผ่านของอารยธรรมนนั้ อาจไม่เพยี งพอ
เพราะมหี ลกั ฐานทางโบราณคดีใหม่ ๆ ผนวกกบั การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งภาพถา่ ยดาวเทียมเพอ่ื ทำการสำรวจระยะไกล (remote
sensing) และการนำเอาองค์ความรู้เร่ืองภาษาไตเดิม (Proto-Tai) มาผสานกับความรู้เร่ือง DNA รวมกับแนวคิดทาง
มานุษยวิทยาซึ่งแสดงท่ีมา หรือสาแหรกของชนเผ่าไท ลาว และออสโตรเอเชียติก และการวิจัยข้ามศาสตร์อย่างเป็น
สหวิทยาการเขา้ ดว้ ยกนั ท่ดี ำเนนิ การอยู่ในระดับอาเซียนและระดับนานาชาตแิ ล้ว ทำใหช้ วนคดิ วา่ ดินแดน “สวุ รรณภูมิ” นี้
อาจมิใช่เพยี งทางผา่ นของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตกเท่านัน้ แตก่ ลับมีองค์ประกอบของอารยธรรมดั้งเดิมอยา่ งเพยี ง
พอทีจ่ ะกล่าวไดว้ า่ เป็นหนึ่งในอารยธรรมสำคัญของโลกเลยทเี ดยี ว

ศนู ย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรงั สติ ไดถ้ ูกกอ่ ตัง้ ขน้ึ เพอ่ื ส่งเสริมให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจท่ีลึกซงึ้ ในดินแดนทมี่ ี
ความสำคัญยิ่งน้ี โดยจะระดมความร่วมมอื หลากหลายมิติ ทงั้ ภายในมหาวทิ ยาลัยเอง กับระหว่างสถาบนั การศกึ ษาทง้ั ในและ
ต่างประเทศ ตลอดจนองค์กรอน่ื ทเี่ ก่ยี วข้องเพอื่ ขยายขอบเขตความรทู้ เี่ กยี่ วกับดนิ แดนสวุ รรรภูมิอันน่าภาคภมู ใิ จของเรา และ
มีพันธกจิ สำคญั เพื่อส่งมอบความรใู้ หม่นี้ไปยังคนรุ่นตอ่ ไปด้วย

ตราดินเผารูปสัญลักษณ์และจารึกแปลได้ว่า “พระศิวะผู้ย่ิงใหญ่” ดร.พิชยพันธ์ุ ชาญภูมิดล
ศิลปะทวารวดี พบบริเวณเมืองอู่ทอง
จัดแสดง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี รองประธานศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต
5

คำนำ

“อารยธรรมสุวรรณภูม”ิ มไิ ดเ้ ปน็ เพียงอนพุ นั ธ์ทางวฒั นธรรม ทถ่ี กู สร้างขึน้ ด้วยการหยิบยมื หรือรบั อทิ ธิพลมา
จากฐานท่ยี ง่ิ ใหญ่ของอนิ เดยี จีน และฟากตะวันตกเทา่ นน้ั แตล่ ้วนถกู สร้างสรรค์ ผสมผสาน นอ้ มรับ ปรับเปลี่ยน และคลี่คลาย
กระทั่งเกิดเป็นการหล่อหลอมสายธารแห่งภูมิปัญญาและความรู้ เป็นอู่แห่งศิลปวิทยาการที่เคยฟุ้งเฟื่องมานานนับพันปี เปรียบ
เหมอื นเสาท่ีคำ้ จุนวถิ แี หง่ ความคดิ ความเชอื่ ซึ่งถกู ออกแบบและสบื ทอดพฒั นาการ จนเกิดอตั ลกั ษณ์เฉพาะทป่ี ฏเิ สธได้ยากยิ่งใน
ความเปน็ ตวั ของตัวเอง

หากวิเคราะห์ และพิจารณาจากหลักฐานใหม่ๆ ทค่ี น้ พบมากข้นึ ท้ังในประเทศไทย รวมถึงภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
เลยไปไกลถึงทางตะวันออกของอินเดยี หรอื ตอนใตข้ องจีน ในระยะหลังมาน้ี จะเห็นว่า “องคค์ วามร้ใู หม่ๆ โดยเฉพาะงานการศึกษา
ทางด้านโบราณคด”ี ไดเ้ จือจางความชดั เจนของเสน้ แบง่ เขตประเทศ แผข่ ยายความเชอื่ มโยงแบบไรพ้ รมแดน เขยา่ ฐานความรู้ และ
กรอบความเช่อื ยุใหเ้ กิดการคน้ ควา้ แตกแขนงฐานสมมุติ และแนวคดิ งานวิจัยเร่ืองสุวรรณภมู ิ ในมิตใิ หม่ๆ นบั เปน็ ความท้าทายและ
เพ่ิมความมชี วี ติ ชีวาใหก้ บั วงวชิ าการไทย และจดุ ประกายความสนใจใหเ้ กดิ ขน้ึ ในวงวิชาการต่างประเทศไดเ้ ป็นอย่างดี

ทัง้ นี้การรอื้ ฟื้นวิถแี ละอารยธรรมแหง่ สวุ รรณภูมิ การสบื หาสาแหรกความเป็นเครอื ญาติ และการเชอื่ มโยงทางวฒั นธรรม
และชาตพิ ันธุน์ น้ั เหนือจากประโยชน์ ในมิตขิ องการขยายขอบเขตความรู้ การตอ่ ยอดทางการศกึ ษา การพัฒนาเส้นทางทอ่ งเท่ยี ว
ท่ีอาจเกิดขึ้นได้จากความรู้ใหม่ในอนาคตที่สามารถเช่ือมผู้คนในภูมิอารยธรรมสุวรรณภูมิให้ใกล้ชิดกันได้มากขึ้น ซ่ึงเชื่อว่าล้วนก่อ
ใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ทง้ั ในประเทศและระดับภูมภิ าคแลว้ น้ัน

ผลลพั ธ์ทสี่ ำคัญยิง่ คอื การเปน็ อิสรภาพจากความขัดแยง้ และถูกปลดเปลอื้ งพันธนาการแหง่ ความคดิ ความเชื่อจาก
บรรทดั ฐานของโลกยุคเก่า (อาณานคิ ม) เข้าสกู่ ารเรมิ่ ตน้ ของยุคใหม่ หนา้ ประวัตศิ าสตร์ใหม่ทม่ี ุ่งเกื้อกูล เช่อื มโยงทั้งภายใน
ประเทศ ระดับภมู ิภาคและทวปี เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ขับเคล่ือนโลกด้วยการประสานประโยชน์ หลอมรวมอารยธรรมและผคู้ น ร่วมพ้นื คืน
สวุ รรณภูมดิ ว้ ยจติ วิญญาณแหง่ ความเป็นพ่นี อ้ งทร่ี ่วมรากบรรพบุรษุ มาแตอ่ ดีต

เพอื่ รกั ษาไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมที่ตกทอดให้ร่งุ เรอื ง เกบ็ เป็นคลังแห่งความทรงจำ แบง่ ปันความเป็นเจ้าของ สมกบั ท่ี
เคยรว่ มรังสรรค์ เพราะนีค่ อื ตัวตนทเี่ ราสร้างไว้ดว้ ยกนั “สุวรรณภมู ”ิ

อรวินท์ ลิขิตวิเศษกุล
ผู้อำนวยการศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
6 มหาวิทยาลัยรังสิต

สารบญั หน้า

หน้าปก 3
สารจากทา่ นอธกิ ารบดี 4
เปิดบ้านสุวรรณภูมิ คำนำจากประธานศนู ยส์ ุวรรณภมู ิศึกษา มหาวิทยาลัยรงั สติ 5
คำนำ จากทปี่ รึกษาศนู ยฯ์ 6
คำนำ จากรองประธานศนู ย์ฯ 7
คำนำ จากผ้อู ำนวยการศนู ย์ฯ
สารบญั 8 - 12
บทความจากภาคีเครอื ข่าย 13 - 17
18 - 23
เรอื่ ง “สวุ รรณภมู ิในเอกสารโบราณและจารกึ ”
เรอื่ ง “วงแหวนแห่งโมรยิ ะ หนง่ึ เดียวนอกอนิ เดยี ท่ีคอคอดกระ กบั ขอ้ ค้นพบใหมข่ องโลกท่ี 24 - 55
56 - 65
สนับสนนุ การมอี ย่ขู องสุวรรณภมู ”ิ
เร่ือง “สู่ สุวรรณภมู ิ จากพระสถูปแหง่ ปิปราหว์ า กรุงกบิลพสั ด์ุ ถึงหลักฐานทางโบราณคดที ่ี 66 - 68
69 - 71
คอคอดกระ”

เปิดบ้านสวุ รรณภูมิ
ถอดความรูจ้ ากเวทเี สวนาวชิ าการครงั้ ท่ี 1 - ครง้ั ท่ี 5
บทส่งทา้ ย บทความ เร่ือง “ผองชนชาวมโหระทึก กบั ดินแดนสุวรรณภูมิ”
ปกณิ กะ

เก็บขา่ ว ประชาสมั พันธ์ งานเสวนาของศนู ย์ฯ
เกบ็ ภาพ ประสานความร่วมมอื กบั หน่วยงานภายนอก และภาคเี ครอื ข่าย

MAMALLAPURAM TEMPLE IN TAMIL NADU 7
7TH CENTURY

บทความจากภาคเี ครือขา่ ย สุวรรณภูมิ

ในเอกสารโบราณและจารึก
รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดคี ำ
ภาคีสมาชิก สำนักศลิ ปกรรม
ราชบณั ฑิตยสภา

สวุ รรณภูมิ เป็นดินแดนทมี่ ีความเปน็ มาที่ยาวนาน ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี แสดงให้เห็นถึงการต้งั ถิ่นฐาน
ของมนษุ ย์มาตั้งแตส่ มยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ดังทพ่ี บหลักฐานทง้ั ท่ีเปน็ โครงกระดูกมนุษย์สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ รวมถึง
เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชต้ า่ งๆ เชน่ ขวานหนิ ภาชนะเคร่ืองปนั้ ดนิ เผา ตั้งแต่ยคุ หนิ เกา่ ยุคหินกลาง ยุคหนิ ใหม่ เช่น แหล่ง
โบราณคดที ่บี า้ นเกา่ จังหวดั กาญจนบรุ ี สำโรงแสน ในประเทศกมั พูชา เปน็ ตน้

จนกระท่ังถึงยุคโลหะ มีหลักฐานการถลุงโลหะท่ีปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ต่อมาในช่วงท่ีร่วมสมัยกับยุค
โลหะตอนปลาย มนุษยใ์ นดินแดนสุวรรณภูมไิ ดร้ ับเทคโนโลยี วฒั นธรรม รวมทงั้ รูปแบบตวั อักษรจากดนิ แดนภายนอก ก่อให้
เกิดการพัฒนาทางสังคมมากข้ึน จนเขา้ สยู่ คุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์

ดงั น้ันก่อนหนา้ ทด่ี นิ แดนสวุ รรณภมู ิ จะได้รับอทิ ธิพลจากดนิ แดนภายนอก ไม่ว่าจะเป็นอนิ เดยี อาหรับ ยโุ รป และจนี
ดินแดนแห่งน้ีได้มีการพัฒนาของสังคมมาตามลำดับ มีความเช่ือท่ีปรากฏให้เห็นได้ เช่น ความเช่ือหลังความตาย ดังที่
ปรากฏใหเ้ หน็ ในหลมุ ศพสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ วัฒนธรรมและความเชอื่ ดง้ั เดมิ เหลา่ น้ี จะผสมผสานกับวฒั นธรรมจากดิน
แดนภายนอกจนทำใหเ้ กดิ เอกลกั ษณ์ของตนเองข้ึนมาในแตล่ ะท้องถน่ิ ของสวุ รรณภูมิ

“สุวรรณภมู ิ” ปรากฏหลกั ฐานการรบั รู้ในเอกสารโบราณและจารึกตง้ั แตช่ มพูทวจี นถงึ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เปน็
เวลานานมาแลว้ ดังปรากฏในหลักฐานเอกสารโบราณและจารกึ ต่างๆ ดังจะได้สรปุ มานำเสนอในท่ีน้ี

“สุวรรณภูมิ” ในเอกสารโบราณ
สุวรรณภูมิ มที ี่มาจากภาษาสันสกฤต “สุวรฺณภูม”ิ แปลว่า “ดนิ แดนทองคำ” ตรงกับคำภาษาบาลีวา่ “สุวณณฺ ภูมิ”
ซง่ึ ปรากฏหลกั ฐานการกลา่ วถงึ ในวรรณกรรมพระพทุ ธศาสนาภาษาบาลี นอกจากน้ีบางครง้ั ยังเรยี กว่า “สุวรรณทวีป”
หรือ “เกาะทองคำ” อกี ดว้ ย
ดินแดน “สุวรรณภมู ิ” เป็นที่รับร้ใู นดนิ แดนชมพูทวปี มาเป็นเวลานานแลว้ เชน่ คัมภรี ์อรรถศาสตร์ ของพราหมณ์
เกาฑิณยะ ซ่ึงแต่งเป็นภาษาสันสกฤต เมือ่ ศตวรรษที่ ๗ – ๘ ไดก้ ล่าวถงึ ดนิ แดนสุวรรณภมู ิ

8

ในคัมภีร์ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น คัมภีรม์ ิลนิ ทปญั หา รจนาขน้ึ เม่อื
พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ – ๗ ก็ได้มกี ารกล่าวถงึ “สุวรรณภูม”ิ ซง่ึ แสกงให้
เห็นว่า “สวุ รรณภมู ิ” เป็นดินแดนที่รจู้ ักกันโดยท่ัวไปในเวลาน้นั และ
พบหลักฐานทง้ั ในเอกสารภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี

นอกจากนี้ในคัมภีร์ชาฏกัฏฐกถา หรือ อรรถกถานิบาตชาดก ซ่ึง

พระพทุ ธโฆษจารย์ รจนาข้ึนในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๐ เพ่อื อธิบาย

“นิบาตชาดก” ในขุททกนิกาย สุตตันตปิฎก ก็ได้มีการกล่าวถึง

“สวุ รรณภูม”ิ ในอรรถถาชาดก ๓ เรื่อง ไดแ้ ก่ สุสันธีชาดก ซ่ึงเปน็

ชาดกเรื่องท่ี ๓๖๐ สังขพราหมณชาดก ซึง่ เป็นชาดกเรื่องที่ ๔๔๒

และมหาชนกชาดก ซ่ึงเป็นชาดกเรอื่ งที่ ๕๓

สุสนั ธีชาดก  เป็นชาดกลำดับท่ ี ๓๖๐ อยู่ในมณีกุณฑล พระภิกษุอุ้มบาตร
วรรค  ปญั จกนิบาต  ชาดก ขทุ ทกนกิ าย  สุตตันตปิฎก  สำหรับเนือ้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

ภาพจาก : WWW.SAC.OR.TH

เรื่องของสสุ นั ธชี าดกท่ีปรากฏในชาตกัฏฐกถาน้ัน พระอรรถกถา จากหลักฐานทก่ี ล่าวมา แสดงวา่ “สวุ รรณภมู ”ิ เปน็

จารย์ได้อธิบายมีใจความโดยย่อว่า พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็น ดินแดนทม่ี กี ารรับรกู้ ันในชมพทู วีป (อินเดีย) มาเป็นเวลานาน
พญาครุฑมาเล่นสกากับพระเจ้าตัมพราชและได้ลักเอานางสุสันธีไป
สมสู่ ณ วมิ านฉมิ พลีบนเกาะเสรุมะ พระเจา้ ตมั พราชใช้ให้คนธรรพ์ แล้ว ดงั นน้ั เมอ่ื มีการกล่าวถงึ การเดนิ ทางไปค้าขายทางทะเลจึง

ตามหานาง คนธรรพ์ตามหานางตั้งแต่หมู่บ้านริมประตูพระนคร มกี ารกล่าวถึงจดุ หมายของการเดนิ ทางวา่ คือ “สุวรรณภูมิ”
นอกจากน้ี “สุวรรณภูม”ิ ยังปรากฏหลกั ฐานการกล่าว
จนถึงท่าเรือภารุกัจฉะ แล้วขออาศัยพ่อค้าซ่ึงจะเดินทางไปยัง
“สวุ รรณภมู ”ิ เดินทางไป ระหว่างทางเรอื เกดิ อบั ปาง คนธรรพ์เกาะ ถึงในคัมภีรม์ หาวงศ์ พงศาวดารลังกา ผลงานของพระมหา
แผ่นกระดานลอยไปถึงเกาะเสรุมะได้ร่วมสมสู่กับนางสุสันธี แล้วจึง นามะ ซงึ่ แตง่ ขึ้นราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ เนื้อความทป่ี รากฏใน
กลับมาดีดพิณขับเพลงให้พญาครุฑทราบความจริงแล้วจึงนำนางมา ภาคท่ี ๓ ซ่งึ กล่าวถงึ พระเจา้ อโศกมหาราช แหง่ อนิ เดยี ไดส้ ง่
คืนทา้ วตมั พราช ชาดกเร่ืองนี้เปน็ ทีม่ าของวรรณคดีไทยเรือ่ งกากีคำ พระภิกษุ คอื พระโสณเถระ และพระอตุ ตรเถระ มาเผยแผ่พระ
ศาสนายัง “สุวรรณภูม”ิ ในพุทธศตวรรษท่ี ๓ ดังน้ี
กลอน และกากีคำฉนั ท์ เปน็ ต้น

สังขพราหมณชาดก เป็นชาดกเรอ่ื งที่ ๔๔๒ ในนบิ าตชาดก สทธฺ ึ อตุ ฺตรเถเรน โสณตฺเถโร มหทิ ฺธโิ ก
ขทุ ทกานิกาย สตุ ตนั ตปิฎก ในอรรถกถาของชาดกเรอ่ื งน้ีกลา่ ววา่ สุวณฺณภูมึ อคมาสิ ตสฺมึ สมเย ปน  แปลวา่
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาตเิ ปน็ สงั ขพราหมณ์ ไดถ้ วายร่มและรองเท้า
แก่พระปัจเจกโพธิ อานิสงส์น้ันได้เป็นท่ีพ่ึงในกาลเมื่อลงสำเภาไปยัง “พระโสณเถรกบั พระอตุ ตรเถระผมู้ ฤี ทธิ
“สุวรรณภมู ”ิ แล้วเรือสำเภาไดแ้ ตกในมหาสมุทร ได้พากันไปสูส่ วุ รรณภูมิ...”

มหาชนกชาดก เปน็ ชาดกเรอื่ งท่ี ๕๓๙ ในมหานิบาตชาดก หลักฐานการกล่าวถงึ ชอ่ื ดนิ แดน “สวุ รรณภมู ิ”

ขุททกนิกาย สุตตันตปิฎก ในอรรถกถาชาดกได้กล่าวว่า พระ น อ ก จ า ก ป ร า ก ฏ ห ลั ก ฐ า น ใ น เ อ ก ส า ร โ บ ร า ณ ท า ง

โพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระชนกราชกุมาร เป็นผู้มีความเพียร พระพทุ ธศาสนา ท้ังคมั ภีรช์ าฏกฏั ฐกถา (อรรถกถาชาดก) และ
มน่ั คง ไดเ้ ดนิ ทางไปคา้ ขายยัง “สวุ รรณภมู ิ” เมือ่ เรอื แตกตอ้ งวา่ ยนำ้ คมั ภรี ม์ หาวงศ์ (พงศาวดารลงั กา) แลว้   ยังปรากฏหลกั ฐาน
อยู่กลางมหาสมุทร นางมณีเมขลามาชว่ ยใหพ้ ้นจากมหาสมทุ ร แล้ว การใชช้ ื่อน้สี บื เนอื่ งต่อมาในคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาอนื่ ๆ ที่รจนา
ได้เป็นพระเจ้าชนกราช ครองเมืองมิถิลาแคว้นวิเทหะ ต่อมาได้ออก ขึ้นภายหลัง

ผนวชเป็นราชฤษี 9

สุวรรณภูมิ เช่น สังคีตยิ วงศ์ ผลงานของสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม
ในเอกสารโบราณและจารึก ซ่งึ รจนาขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๓๒ ก็มกี ารกล่าวถงึ เร่อื งการสง่ สมณทูตมายงั ดนิ แดน
สุวรรณภมู ิด้วย

รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ สุวรรณภูมใิ นจารกึ
ภาคสี มาชิก สำนกั ศลิ ปกรรม นอกจากนี้ปัจจุบันยังพบหลักฐานในศิลาจารึกของพระเจ้าอีศานวรมันที่ ๑
ราชบัณฑิตยสภา Title

กษตั รยิ ์แหง่ เจินละ ท่ีจงั หวดั กำพงสพือ ประเทศกมั พูชา ใน พ.ศ. ๑๑๗๖ มีการ

กล่าวถึง “พระเจ้าอีศานวรมันผู้ปกครองเหนือสุวรรณภูมิจนถึงมหาสมุทร” ซ่ึง

แสดงใหเ้ ห็นว่าชอ่ื น้ีเปน็ ท่รี จู้ กั ในกมั พูชามาตั้งแต่พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ นอกจาก

นี้ยังพบว่า มีการอ้างอิงถึงช่ือ “สุวรรณภูมิ” ในการนำมาต้ังเป็นช่ือดินแดนใน

ประเทศไทยมาตั้งแตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๑๘ เชน่ การกล่าวถึง เมอื งสวุ รรรณปรุ ะ ใน

ศิลาจารกึ ปราสาทพระขรรค์ ของพระเจา้ ชัยวรมนั ท่ี ๗ ดงั นี้

“Suvarnฺabhum” (๑๑๕) ศฺรีชยราชธานี ศรี- ชยนตฺ นครี ตถา
Inscription from Baset district ชยสึหวตี จ ศฺร-ี ชยวรี วตี ปนุ ะ
Sanskrit, (633 CE.) ปุรํ ศมฺวกู ปฏฏฺ นมฺ
Kampong Speu province, Phnom Penh, (๑๑๖) ลโวทยปุรํ สฺวรณฺ - ชยสหึ ปุรี ตถา
Cambodia. ชยราชปรุ ี จ ศฺร-ี ชยสตฺ มภฺ ปรุ ี ปนุ ะ
ชยวรี ปรุ ี ตถา
ขอขอบคณุ ภาพถา่ ยจากคณุ คณนิ พงศ์ บวั ชาติ (๑๑๗) ศฺรีชยวชรฺ ปรุ ี ศรฺ ี-
ศรชี ยราชคริ ิศฺ ศรฺ -ี
ปัจจุบันเก็บรักษาที่ : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุง
พนมเปญ คำแปล

บทท่ี ๑๑๕ ศรชี ยราชธานี ศรีชยนั ตนคร ชยสิงหวตี ศรีชยวีรวต ี
บทที่ ๑๑๖
ลโวทยปรุ ะ สวุ รรณปุระ ศมั วกู ปฏฏฺ นะ ชยราชปุระ
บทท่ี ๑๑๗ และศรชี ยสิงหปรุ ะ
ศรีชยวัชรปรุ ะ ศรีชยสตัมภปรุ ะ ศรชี ยราชคริ ิ ศรชี ยวรี ปรุ ะ

สุวรรณปรุ ะ ทีป่ รากฏในจารึกหลกั นีน้ ่าจะหมายถึง เมืองโบราณท่มี โี บราณ
สถาน “เนินทางพระ” ในอำเภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบรุ ี ซ่ึงพบรอ่ งรอยหลกั ฐาน
ทร่ี ่วมสมัยศิลปะบายน ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งสอดคล้องกบั หลักฐานในศิลา
จารึกที่ปรากฏในเวลาต่อมา

10

เช่น ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ซึ่งกล่าวถึงอาณาจักรของพ่อขุน
รามคำแหงมหาราชวา่ มอี ำนาจปกครองมาถึงเมือง “สุพรรณภมู ิ
(สุพรรณบุรี)” ซง่ึ แสดงถึงการอ้างถงึ ความเป็น “สวุ รรณภูม”ิ ท่ี
สืบเนอ่ื งตอ่ มาจนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ดงั ความในจารึกวา่

“...มีเมอื งกวา้ งชา้ งหลาย ปราบเบ้อื งตะวันออกรอดสรลวง

สองแคว ลุมบาจาย สคา เทา้ ฝง่ั ของ เถงี เวยี งจนั ทนเ์ วยี งคำเป็นท่ี

แล้ว เบอ้ื งหัวนอนรอดคนที พระบาง แพรก สพุ รรณภมู ิ ราชบรุ ี

เพชรบรุ ี ศรธี รรมราชฝัง่ ทะเลสมุทรเปน็ ท่แี ลว้ เบอ้ื งตะวันตกรอด สุวรรณภมู ิ
เมอื งฉอด เมอื ง...น หงสาวดี สมทุ รหาเป็นแดน ๐ เบื้องตนี นอน จากเอกสารโบราณและจารึก ส่หู ลักฐานโบราณคดี
รอดเมอื งแพร่ เมืองม่าน เมืองน..เมืองพลัว พน้ ฝ่งั ของเมอื งชวา

เป็นที่แล้ว...”

หลกั ฐานทป่ี รากฏในเอกสารโบราณของอนิ เดยี ทั้งหลกั

หลกั ฐานเกี่ยวกบั การกล่าวถงึ เมอื งสุพรรณภมู ิ ปรากฏ ฐานเอกสารภาษาสันสกฤต เอกสารภาษาบาลีในคัมภีร์พระพุทธ

หลกั ฐานสบื เน่อื งต่อมาในพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ โดยเฉพาะท่ปี รากฏ ศาสนา และหลักฐานที่เป็นศิลาจารึก แสดงให้เห็นถึงความ
ในจารึกวดั ส่องคบ ๑ จารข้นึ เมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๑ กล่าวถงึ ขนุ สอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดี ท่ีแสดงถึงอิทธิพลการ
เพชญสาร เจ้าเมืองไชยสถานนาม ทำบุญสร้างกุฏิวิหารใน ติดต่อระหว่างดินแดนในอาเซียนกับโลกภายนอกเกิดขึ้นในราว
“สุพรรณภมู ”ิ ดังข้อความทวี่ า่  
พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ สาเหตุทน่ี ำไปสกู่ ารติดตอ่ กันเนอ่ื งมาจากความ

“...เจ้าเมืองกระทำกุศลมาแต่คร้ังกระโน้นในสุพรรณภูมิ ตอ้ งการทองคำ ซงึ่ เปน็ ทต่ี อ้ งการมากโดยเฉพาะในประเทศอินเดีย

ธ ให้ทานเรือนอนั ธ กระทำกฏุ ิพหิ ารในศรีอโยธยา...ชอี ้ายผา้ ขาว เนอื่ งจากต้ังแต่พุทธศตวรรษท่ี ๔ เปน็ ต้นมา เนอ่ื งจากอนิ เดียถกู

ผู้หนึ่งท่านให้บำเรอแด่พระศรีรัตนธาตุแห่งนครพระรามโสด ผ้า ตดั ขาดจากการคมนาคมในภาคกลางของเอเชยี ทำให้ไม่สามารถ

ขาวครัวหน่ึงช่ือย่ีช้างท่านให้บำเรอแด่พระมหาเถรธรรมบุตรแห่ง ซือ้ ทองจากแคว้นไซบเี รียได้ 
ศรสี พุ รรณภมู ิมาแล้ว...”
นอกจากน้ีการที่พระจักรพรรดิโรมันในต้นพุทธศตวรรษ

ข้อความในจารึกนี้ระบุถึงเมืองสำคัญของอยุธยาในเวลา ท่ี ๗ ทรงหา้ มไมใ่ หเ้ หรียญทองโรมนั ร่วั ไหลออกมานอกอาณาจกั ร
นั้น คอื ศรีอโยธยา (กรงุ ศรีอยธุ ยา) นครพระราม (ลพบุร)ี และ ชาวอินเดียจึงต้องแสวงหาแหล่งทองแหล่งใหม่ ซ่ึงน่าจะได้แก่ดิน

ศรีสพุ รรณภูมิ (สพุ รรณบุร)ี แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ดงั นั้นชาวอนิ เดยี จงึ เรียกขานดนิ แดน

แห่งน้ีวา่ “สุวรรณภมู ”ิ อนั หมายถึงดนิ แดนทองคำ “สุวรรณทวีป”
จากหลกั ฐานในจารกึ ต่างๆ ที่กล่าวมา แสดงใหเ้ ห็นว่าชื่อ หมายถงึ เกาะหรอื ทวีปทองคำ
“สุวรรณภูมิ” เป็นช่ือท่ีที่มีการนำมาใช้ในศิลาจารึกสืบมาจนถึง

พุทธศตวรรษที่ ๒๐ แมว้ ่าจะใชใ้ นหมายถึงเมอื งสุพรรณบุรีโบราณ
เทา่ น้ันก็ตาม

11

สุวรรณภูมิ
ในเอกสารโบราณและจารึก

นอกจากทองคำแล้ว เครื่องเทศ เช่น เครือ่ งเทศท่ีมผี ูน้ ำจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปขายมีราคาสงู
และซ้ือขายแลกเปล่ียนกันด้วยทองคำ เคร่ืองเทศจึงเป็นผลผลิตของเอเชีย
พรกิ ไทย กานพลู กระวาน ฯลฯ ตะวันออกเฉียงใต้ท่ีดึงดูดพ่อค้าต่างถิ่นให้เดินทางเข้ามาค้าขายในเอเชีย
ยังเป็นผลผลิตท่ีสำคัญของเอเชียตะวันออก ตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลให้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม โดยเฉพาะ
เฉยี งใตน้ บั ตั้งแต่สมัยโบราณ และเป็นทีต่ ้องการ วัฒนธรรมอินเดียท่ีเข้ามาพร้อมกับพ่อค้าอินเดีย นำไปสู่การเข้ามาของ
ของทว่ั โลก ไมว่ ่าจะเป็นจีน อินเดีย อาหรบั และ ศาสนาและวัฒนธรรมจากชมพูทวีป ไม่ว่าจะเป็นศาสนาพุทธ ศาสนา
ยโุ รป เน่ืองจากตอ้ งการเครอ่ื งเทศไปใชป้ ระกอบ พราหมณ์ รวมท้งั วัฒนธรรมต่างๆ เช่น การปกครอง ประเพณที ่มี าพร้อม
อาหาร และถนอมอาหาร เครื่องเทศจึงเป็น กบั ความเช่ือทางศาสนา ภาษา ตัวอักษรอินเดยี รวมท้งั วัฒนธรรมจากดนิ
สนิ คา้ ทพี่ ลิกโฉมประวตั ศิ าสตร์สวุ รรณภมู ิ จาก แดนไกลโพ้นอนื่ ๆ เช่น จีน ตะวนั ออกกลาง รวมทงั้ ยุโรปในยคุ โบราณอกี
สังคมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ไปเป็นสังคมใน ด้วย
ยุคประวตั ศิ าสตร์

ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงเป็นแหล่งผลิตสินค้าท่ีมีมูลค่า
มหาศาลให้กับพ่อค้าต่างถ่ิน พ่อค้าอินเดียได้ขนานนามดินแดนแห่งนี้ว่า
“สุวรรณภูมิ” ซึ่งหมายถึงดินแดนทองคำ ซึ่งนอกจากดินแดนแห่งน้ีจะมี
ทองคำแล้ว “เครื่องเทศ” ก็เป็นสินค้าสำคัญอีกอย่างหน่ึงท่ีเปล่ียน
ประวตั ศิ าสตร์ “สวุ รรณภมู ”ิ ในยุคโบราณ

นอกจากน้ี “สุวรรณภูมิ” ยังเป็นชอื่ ท่ไี ดร้ ับความนิยมและนำมาใช้
เปน็ ช่อื เมอื งโบราณอื่นๆ อีกดว้ ย ซึง่ ควรมีการศึกษาในรายละเอียดตอ่ ไป

KAMPONG SPEU PROVINCE, PHNOM PENH, รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ
CAMBODIA. ภาคสี มาชกิ สำนกั ศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสภา
ศิลาจารึก พบที่ จ. กำปงสพือ พ.ศ. 1176
ขอขอบคณุ ภาพถ่ายจากคณุ คณินพงศ์ บัวชาติ
ปัจจบุ ันเก็บรักษาที่ : พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ
กรงุ พนมเปญ

12

บทความจากภาคีเครอื ขา่ ย

วงแหวนแห่งโมริยะ หน่ึงเดียวนอกอินเดีย ท่ีคอคอดกระ
กับข้อค้นพบใหม่ของโลก ท่ีสนับสนุนการมีอยู่ของ
สุวรรณภูมิ

บัญชา พงษ์พานชิ – เร่ือง
ไพโรจน์ สิงบัน – ภาพ

บทความนี้ เป็นบทคัดย่อมาจาก เรื่อง “สุวรรณภูมิ วงแหวนแห่งโมริยะ
หนึ่งเดียวนอกอินเดียกับข้อค้นพบใหม่ของโลก” ตีพิมพ์แล้วใน วารสาร
เมืองโบราณ ปีที่ 46 ฉบับที่ 2, เดือนมิถุนายน 2020.

น่หี รือ คอื วงแหวนแห่งโมรยิ ะ ?

“น้คี ือวงแหวนแห่งโมรยิ ะ สมัยพทุ ธศตวรษที่ ๓ พบใน เพือ่ หาความรู้เพิม่ เติมจากแวดวงผรู้ ู้ ทั้งอนิ เดียและทว่ั

หลายแหล่งโบราณคดีของอินเดียสมัยโมริยะ ทั้งที่ ตักสิลา โลกที่มาชุมนุมกันพร้อมหน้า ขณะที่ Dr. Madan Singh

โกสมั พี ไวสาลี ปตั นะ มาจนถึง Rajghat ในพาราณสี สว่ นใหญ่ Chouhan จากกรมสำรวจโบราณคดีแห่งอินเดียท่ีเอารังคบัด

เก็บรักษาอย่ทู ่พี ิพิธภัณฑเ์ มืองปตั นะ คุณต้องไปดูทำการศึกษา เขา้ มาบอกนอกเวทวี า่ “วงแหวนนที้ ่มี ี Nagapushpa นับเปน็

จากท่ีนั่น ”ศาสตราจารย์ R.S.Bisht อดีตอธิบดีกรมสำรวจ หลักฐานอนิ เดียสมยั โบราณแรก ๆ ที่พบในเอเชียตะวนั ออก

โบราณคดแี ห่งอินเดีย (Archaeological Survey of India) ลุกข้ึน เฉียงใต้ที่ทรงคุณค่าต่อการศึกษามาก” และพร้อมกันนั้น

บอกผมทันทีที่ผมนำเสนอหัวข้อ “ลูกปัดหินโบราณ กับความ ศาสตราจารย์ ดร. J.M.Kenoyer จากมหาวิทยาลัย

เชอื่ มโยงระหวา่ งเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้กับอินเดีย” วิสคอนซนิ ทีเ่ มดสิ นั สหรัฐอเมริกา ซ่ึงร่วมในท่ีประชุม เปิด

ในท่ีประชุมว่าด้วย Stone Beads of South and ประเด็นวา่ “อาจเป็นไดท้ ี่วงแหวนนีจ้ ะเป็นเบ้าสำหรับงานทอง
Southeast Asia : Archaeology, Ethnography and Global ที่ประณีต”

Connections ทีส่ ถาบนั เทคโนโลยีแห่งอนิ เดยี ทีค่ านธีนคร แคว้น วงแหวนนี้ถูกพบทีบ่ ริเวณ ลำคลองทา่ ตะเภา ตีนเขา

คุชราช สาธารณรัฐอนิ เดีย เมือ่ วนั ท่ี ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ส า ม แ ก้ ว อ ำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด ชุ ม พ ร ป ร ะ ม า ณ ปี

ท่ผี มถูกเชญิ ไปรว่ มนำเสนอ และได้นำภาพวงแหวนดังกล่าวร่วม พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗

นำเสนอ เน่ืองจากเพ่ิงพบและได้รับมารักษาไว้ในคลังของ

สธุ รี ัตนามลู นธิ ิ เมือ่ เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗

RING STONE WITH GODDESSES AND AQUACTaICptPioLnANTS
MAURYAN : 3RD-LATE 2ND CENTURY B.C.

1 3 THEMETMUSEUM.ORG

จากการดูดทรายจากท้องคลองขึ้นมาบนลาน วงแหวนศลิ า สมยั โมรยิ ะ-ศงุ คะ พบในคลองทา่ ตะเภา เขา
ทรายริมตลิ่ง แต่ไม่ผ่านตะแกรงเหล็กกรอง จึงกระดอน สามแกว้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชมุ พร ขนาด 5.9 ซม. x 2.2 ซม.
ตกลงมารว่ มกบั ก้อนกรวดหนิ อืน่ ๆ ตามท่มี ีรอยกระทบ
กระเทาะท่ีบังเอิญเกิดเพียงเล็กน้อย แล้วมีชาวบ้านใต้ ทมี่ า : มลู นธิ สิ ธุ รี ตั นา
ตะแกรงเก็บไว้ด้วยเห็นเป็นของแปลก ก่อนที่เจ้าของบ่อ
ทรายทราบข่าว จึงตามไปเกบ็ เอามาไวใ้ นบา้ น กระทัง่ มีคน
ตามให้ผมลงไปขอดู และได้อธิบายจนได้รับส่งมอบมา
รักษาไว้ในคลังของสุธีรัตนามูลนิธิในที่สุด โดยเท่าท่ี
ค้นคว้าเอง มหี ลายสมมตุ ิฐานมากวา่ คืออะไรแน่ ? และเป็น
มาอย่างไรบา้ ง ? การมาพบทีบ่ ริเวณเขาสามแก้ว จงั หวัด
ชุมพร ซึ่งเป็นแหลง่ โบราณคดีสำคญั จึงอาจชว่ ยไขหรือไม่
ก็คล่ีคลายบางประเด็นที่ยังไม่ชัดเจนได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับ
อินเดียโบราณ หรือถึงสมัยราชวงศ์โมริยะ กระท่ัง
สุวรรณภูมทิ ่ีเป็นปรศิ นาตลอดมา

คอื หนึ่งในรากฐานสำคญั ของศิลปอนิ เดยี !!!

หลังสน้ิ สดุ การประชุมทคี่ านธีนคร แล้วผมเหมารถบกุ ฝ่ารว่ ม ๒๐ ช่ัวโมงไปคนเดียวจนถงึ Dholovira ทางตะวันตก
เฉียงเหนือสุดของอินเดียใกล้ชายแดนปากีสถาน ทเ่ี ป็นเมืองสำคญั ของอารยธรรมฮารปั ปา-โมเหนโชฑะโรแหง่ ลุม่ นำ้ สินธุ ท่ี
ถือเปน็ การต้งั เมืองระยะแรก (first urbanization) โดยไดร้ ับจดหมายนอ้ ยจากศาสตราจารย์ R.S.Bisht ซึง่ เปน็ หนง่ึ ในหวั หน้า
คณะขุดค้นทน่ี ่ันเมอ่ื หลายสบิ ปีก่อน ฝากถึงเจ้าหน้าทท่ี ี่น่นั ให้ดแู ลและนำชมจนทวั่ จนเมื่อกลับมาถึงเมอื งไทยไม่ก่ีวนั กไ็ ดร้ บั
ต้นฉบบั หนังสอื The Roots of Indian Art : A Detailed Study of the Formative Period of Indian Art and Architecture
– Third and Second centuries B.C. – Mauryan and Late Mauryan โดย S.P.Gupta ฉบบั ตพี ิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี
1980/๒๕๒๓ จากศาสตราจารย์ R.S.Bisht

แป้นศิลา สมัยโมริยะ ศุงคะ
พบท่ีแหล่งโบราณคดีขะเมาย้ี ตอนใต้ของเมียนมา
ภาพจากหนังสือ SUVARNABHUMI, LAND OF GOLD IN THE GOLDEN LAND SUVARNABHUMI, 2019. (P.256)

14

S.P.Gupta จดั ให้วงแหวน - Ringstones น้ี อยูอ่ นั ดับสองรอง จากนัน้ จงึ มีการขดุ พบที่ Vaisali โดย Bloch ที่ Bhir
จากเสาศิลาแห่งพระเจ้าอโศก ในสมัยโมริยะซ่ึงถือเป็นการตั้ง
เมอื งในระยะทส่ี อง (second urbanization) พรอ้ มกับระบวุ ่า Mound ใน Taxila โดย Marshall ท่ี Mathura แลว้ จงึ มปี รากฏ
หากเสาศิลาของพระเจ้าอโศกมีความสำคัญในฐานะรากฐาน
ของศิลปอินเดียเพียงไรสำหรับประดิษฐกรรมขนาดใหญ่ ในอีกหลายรายงานในฐานะ Masterpieces of Oriental
วงแหวนศิลานี้ก็มีความสำคัญพอกันสำหรับประดิษฐกรรม
ขนาดเล็ก ก่อนทีก่ ลา่ วถึงงานศิลปะและสถาปตั ยกรรมอ่นื ๆ Art : Late Mauryan or Early Sunga Ring-stones ซ่ึง
ต่อไป ประกอบด้วย ประติมากรรมและรูปสัญญลักษณ์
เ ค รื่ อ ง ปั้ น ดิ น เ ผ า ก า ร ขุ ด เ จ า ะ ถ้ ำ หิ น สิ่ ง ส ร้ า ง ท า ง S.P.Gupta สรุปว่าเท่าท่พี บจำนวน ๖๔ ชิน้ นนั้ แบ่งเปน็ ๓
สถาปัตยกรรม และ ข้ออภิปรายถึงความเก่ียวเนอ่ื งกบั เอเชยี
ตะวนั ตก กรีกและอยี ปิ ต์ จำพวก คอื วงแหวนศลิ า แผน่ แปน้ ศิลา และ ที่ลักษณะใกล้

โดยเขาเร่มิ ตน้ วา่ “วงแหวนศิลานี้ ทำนองเดยี วกนั กับ เคียงอื่น โดย ๒๓ ช้นิ พบท่ปี ัตนะ บรเิ วณ Murtaziganj และ
เสาหินขนาดใหญ่ ท่ีถือเป็นอีกงานศิลปะแห่งโมริยะท่ีแตกต่าง
ชัดเจนเป็นเอกลักษณ์จำเพาะมาจนถึงสมัยโมริยะตอนปลาย ใกลเ้ คยี ง ๑๒ ชนิ้ พบทีโ่ กสัมพี ๗ ชิ้นพบทตี่ กั สิลา ๖ ช้ินที่
เมอ่ื ประมาณศตวรรษท่ี ๓ ถึงที่ ๒ กอ่ นครสิ ตกาล โดยอาจจะ
มีบางชิน้ ทีล่ ่าลงมา แต่ก็ประมาณสักศตวรรษ ”หนึง่ ” พร้อม Rajghat ใกล้พาราณสี ๖ ชนิ้ ท่ีมถุรา และที่ Vaisali, Chirand,
กบั ยกที่ Sir John Marshall ระบุวา่ “เปรยี บเสมือนอญั มณีท่ี
มนุษย์สร้างขึ้นและไม่มีงานสร้างจากหินใดอื่นในอินเดียโบราณ Bhita ใน Allahabad, Jhusi ใกล้ Allahabad, Sahgaura ใน
จะทัดเทียมได้” นับเป็นงานศิลปะประดิษฐ์แรกสุดของอินเดีย
โบราณในการรังสรรค์องค์ประกอบภาพท่ีสมดุลย์ลงตัวอย่าง Gorakhpur, Sankisa, Ropar, Haryana และ Purana Qila ในนิ
สมมาตรอย่างสัมพันธ์กับช่องรูและมีภาพประกอบรอบ ที่
เพยี งเห็น ใคร ๆ ก็ยอ่ มนกึ ถงึ รูปแบบศิลปะอย่างภารหตุ พุทธ วเดลี แห่งละ ๑ ชนิ้
คยาและสาญจีในทันที กับยังอาจจะเป็นงานศิลปะแรกสุดท่ีมี
การนำภาพคน ต้นไม้และสัตว์มาอยู่ร่วมกันในกรอบขอบเขต โดยเฉพาะในกลุ่มท่ีพบมากท่ีสุดที่ Murtaziganj ท่ี
ทางเรขาคณิต ปัตนะซึง่ พบเปน็ แผ่นแป้นศลิ า ๒๑ ชิ้น Shere ไดจ้ ำแนกไวใ้ นปี
1951 วา่ มแี ต่รูปสัตว์กบั นก ๙ ชิ้น มรี ปู พระแม่ (mother
รายงานการค้นพบวงแหวนน้ี มีมาต้ังแต่ปลาย goddess) คน สัตวแ์ ละนก ๕ ชิ้น มแี ตร่ ปู ดอกบวั ๕ ชน้ิ กับอีก
คริสตศตวรรษที่ ๑๙ จากการขดุ คน้ ของ Cunningham ท่เี มอื ง ๒ ชิน้ ๆ หนงึ่ เป็นลายเรขาคณิต อกี ชนิ้ เกล้ยี งไมม่ ีรปู อะไร โดย
สงั กัสสะ และมรี ายงานใน Archaeological Survey Reports ๕ ชน้ิ ท่มี รี ปู พระแมแ่ ละรปู สตั วน์ น้ั มสี ิงโตมปี ีก สิงโต ชา้ ง ม้า
(1862-1887) ละม่ัง (antelope) กวางตวั ผู้ (stag) กวาง (deer) แกะ ห่าน
นกยูง และนกแกว้ สามในห้าของชดุ น้ีไมม่ ีดอกบัว และมีเพยี ง
ชิ้นเดียวท่ีมีรปู สตั ว์มใี บหน้าอยา่ งมนษุ ย์ ส่วนอกี ๙ แผ่นแปน้
ศลิ าทม่ี รี ูปสัตว์และนกนัน้ มีรูป สงิ โต แรด ช้าง ม้า วัว หมปู ่า
กวาง (deer) กวางตวั ผู้ (stag) สุนขั แพะ แมว นกยงู หา่ น
นกกระเรียน (crane) นกกระสา (heron) ไก่ และ นกฮูก โดย
จากรูปต่าง ๆ ที่ปรากฏ โดยเฉพาะรปู พระแม่ เหลา่ สัตว์ตา่ ง ๆ
ตน้ ไมค้ ลา้ ยปาลม์ ดอกบัว และรปู ทน่ี ยิ มเรยี กว่า nagapushpa
หรอื honeysuckle นี้ S.P.Gupta

สันนิษฐานว่า วงแหวนศิลานี้ย่อมมีความพิเศษไม่
เหมือนอะไรอ่ืนรวมทั้งมีคุณค่าเฉพาะเกี่ยวกับศาสนาและคุณ
วเิ ศษลีล้ บั ท่ีอาจเกีย่ วกบั ชวี ติ ความตายและการกลับมาเกิดอกี
ทว่าไม่มกี ารรบั รู้มาถงึ พุทธศตวรรษท่ี ๔ หรอื ๕

15

S.P.Gupta สรุปส่งท้ายว่าบทบาทเชิงพิธีกรรมของ แผน่ ทองคำกดดนุ เปน็ ลวดลายดอกบวั บาน และสตั วต์ า่ งๆ
วงแหวนและแป้นศิลาเหล่านี้ยังคลุมเครือ อาจสันนิษฐาน พบทเ่ี ขาสามแกว้ อ.เมอื ง จ.ชมุ พร
ว่าอาจเป็นอุปกรณ์ประกอบพิธีในท่ีห่างไกล ตามเส้นทาง
อุตรบทซึ่งเป็นเส้นทางการค้าสำคัญระหว่างตักสิลาและ
ปาฏลีบุตร โดยใช้นกและสัตว์เป็นเคร่ืองสังเวย ที่อาจรับ
และผสมผสานบางสัญลักษณ์จากต่างแดน เช่น รูป
สญั ลักษณ์คล้ายใบปาลม์ (palmette motif) และเครื่อง
แต่งกายกระโปรงสั้นของบุคคล ขณะที่รูปแสดงการบูชา
ตน้ ไม้และทคี่ ล้ายปาล์มน้นั นา่ จะมาจากในถ่นิ แต่ทแี่ นช่ ัดคอื
ทำข้ึนในอินเดีย และเป็นไปได้มากว่า แป้นรูปศิลาวงกลม
ตามร้ัวท่ีสถูปแห่งภารหุตและโพธิคยาน้ันน่าจะรับรูปแบบ
จากแผน่ แป้นศลิ าทม่ี ดี อกบวั ตรงกลางนี้

การค้นพบท่ี ชมุ พร จึงมีความสำคญั มาก

วงแหวนศิลาพบที่เขาสามแกว้ นี้แกะจากหนิ แปรของหนิ ดนิ ดานเน้อื ละเอียดอดั แนน่ แขง็ จากโคลน สีนำ้ ตาลอมชมพู
มขี นาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง ๕.๘ ซม. หนา ๒ ซม. ดา้ นหลังแบนเรยี บ หน้าตัดดา้ นหน้าเวา้ ลงไปเปน็ ช่องกลมตรงกลางทม่ี ี
เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง ๑.๘ ซม.ท่ีด้านเรยี บขา้ งหลัง โดยชอ่ งด้านหนา้ เรมิ่ ราบลงทเี่ สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ๓ ซม. มกี ารแกะสลัก
อย่างละเอยี ดประณตี มากเห็นคล้ายเกลียวเสน้ เชือกสองเสน้ วางเปน็ วงซอ้ นสองชั้น ระหวา่ งสองวงมีรปู สัตว์และนก ๑๑
ชนิดล้วนหันหนา้ ไปทางขวามอื ประกอบด้วย สิงหโ์ ต นกกระเรยี น แพะibex ละมั่ง ห่าน แพะmarkhor มา้ กวาง ละม่งั
ห่าน และ แกะ โดยมรี ูปแกะลกั ษณะดอกไม้ใบไม้คัน่ ระหว่างอีก ๔ ช่อ และยังมรี ปู ตรรี ตั นะอยู่รปู หน่งึ ดว้ ยท่หี น้าของรปู ม้า
ขณะที่บริเวณช่องกลมท่ีทะลุหลัง แกะเป็นรูปผู้หญงิ ๔ รูป ทีต่ ีความกันว่าคอื รูปของพระแมแ่ หง่ ความมงั่ ค่ังและการ
เจรญิ พนั ธุ์ (Mother Goddess, Fertility Goddess) ยืนหันหน้าเปลอื ยกาย หนั ปลายเทา้ ออกไปเช่อื มตอ่ กับอกี ๔ ช่อ
ดอกไม้ใบไมท้ ่แี กะสลบั กนั ไว้ เป็นรปู เรยี กกันว่า Nagapuspa หรือ Indian Honeysuckle ทีบ่ างแหง่ ถือวา่ คือต้นกลั ปพฤกษ์
หรือต้นไม้แหง่ ชวี ติ มงคลและโชคลาภ เฉพาะรูปผู้หญิง ๔ รูปทเ่ี หมือนกนั น้นั มหี น้าอกโต เอวคอด สะโพกผาย เปดิ เผย
เครื่องเพศ ทิ้งแขนสองข้างลงขา้ งลำตวั สวมกำไลข้อมอื สายพาดสะเอว มีเคร่อื งประดับหูกลมโต แตง่ ผมคลา้ ยสวมวิก
ซ่ึงทัง้ หมดนไ้ี มว่ ่าจะเป็นรูปผ้หู ญิง ตน้ กัลปพฤกษ์ สตั ว์ ตรรี ัตนะ ตลอดจนเส้นเกลยี วเชือก มคี วามเหมอื นและขนาดก็
สอดคลอ้ งกนั มากกับท่ีพบและปรากฏบนวงแหวนศิลาตลอดจนแผ่นแปน้ ศิลาอ่ืน ๆ ทีพ่ บแล้วในอินเดยี รวมทงั้ ท่ีพบมีจัด
แสดงในพิพิธภัณฑช์ ั้นนำนอกอินเดยี ในฐานะประดษิ ฐกรรมอันประณตี และมอี งคป์ ระกอบเรน้ ลับ ไมว่ า่ จะท่ี Victoria and
Albert Museum และท่ี British Museum ในลอนดอน, Museum of Asian Art นครเบอรล์ นิ และ Metropolitan Museum
of At ในนิวยอรค์ รวมทง้ั ใน Los Angeles County Museum, Cleveland Museum of Art กบั ท่เี คยนำออกแสดงใน
Exhibited Asia Week New York อกี ๒ ครง้ั ในปี 2014 และ 2016 โดยที่ทง้ั หมดลว้ นพบในอนิ เดียและไม่ทราบแหลง่ ทม่ี า
ยกเว้นวงแหวนเดียวท่ี Victoria and Albert Museum ซ่งึ พบที่ตักสลิ า

16

นอกจากน้ีบนด้านหลังของวงแหวนพบที่เขาสามแก้วท่ีคล้ายว่าราบเรียบ
ไมม่ ีอะไรน้ัน
พบมีรอยขูดขีดที่อาจเกิดจากการลับคมเคร่ืองมือ แต่ท่ีสำคัญคือมีรอยคล้าย
เขียนเป็นอักขระท่ีมใิ ช่การขดี ขดู เฉย ๆ แต่ยังไมส่ ามารถอา่ นออกได้ ท้งั นม้ี ีการพบ
รอยจารึกบนดา้ นหลงั วงแหวนและแผน่ แปน้ ศิลาในอนิ เดยี อกี ๒ ชิน้

ช้ินหนึ่งพบท่ี Purana Qila มีอักษรพราหมี ทุกวันน้ีเก็บรักษาท่ี
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตนิ ิวเดลี อีกชิ้นพบที่ปัตนะ เป็นอักขระสมัยพุทธศตวรรษ
ที่ ๓

กลา่ วโดยสรปุ วงแหวนศลิ าพบทีเ่ ขาสามแก้วน้ี เปน็ ๑ ใน ๓๒ วงแหวน
ศิลาลล้ี ับทพ่ี บแลว้ ในโลกน้ี ร่วมกบั อกี ๓๖ วง แผ่นแป้นศลิ าที่ยังเป็นท่ีเร้นลบั เช่น
กันว่าคืออะไรกันแน่? แต่เก่าแก่ถึงในสมัยโมริยะ-สุงคะของอินเดียโบราณเม่ือกว่า
๒,๐๐๐ ปีที่แล้ว พบกระจายอยู่ในเขตลมุ่ แมน่ ำ้ คงคา ยมนุ าตามเส้นทางอุตตรบท
จากพาราณสขี ้นึ ไปถงึ ตักสลิ า พบมากทสี่ ดุ ทีป่ าฏลบี ตุ ร

ถอื เปน็ หลักฐานศลิ ปะสำคญั ทั้งของอนิ เดียและสากล โดยวงแหวนศิลาพบ
ท่เี ขาสามแก้วน้ี เป็นเพยี งหนงึ่ เดยี วทพี่ บนอกดนิ แดนชมพูทวีปหรือเอเชียใต้

อ้างอิง
สามารถอ่านเพ่ิมเติมได้ใน หนังสือ SUVARNABHUMI, LAND OF GOLD

IN THE GOLDEN LAND SUVARNABHUMI, BANGKOK : GISTDA, 2019.
(P.256)

บทความนี้ เป็นบทคัดย่อมาจาก เรื่อง “สุวรรณภูมิ วงแหวนแห่งโมริยะ
หนึ่งเดียวนอกอินเดียกับข้อค้นพบใหม่ของโลก” ตีพิมพ์แล้วใน วารสารเมือง
โบราณ ปีท่ี 46 ฉบับที่ 2, เดือนมิถุนายน 2020. (HTTP://
MUANGBORANJOURNAL.COM/BOOKPOST/175)

17

บทความจากภาคเี ครือขา่ ย

สู่ ‘สวุ รรณภมู ’ิ จากพระสถปู แห่งปปิ ราหว์ า [PIPRAHWA]
กรงุ กบลิ พสั ด์ุถึงหลกั ฐานทางโบราณคดที ีค่ อคอดกระ

วลยั ลกั ษณ์ ทรงศริ ิ
มูลนิธเิ ลก็ -ประไพ วิริยะพนั ธ์ุ

http://www.piprahwa.com/original-
credit to Peppe Family

รับพระบรมสารีริกธาตุจากปิปราห์วา อินเดีย 

เหตุการณ์สำคัญในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ทมี่ าภาพ : http://www.piprahwa.com/
original-photos

credit to Peppe Family

วิลเลยี ม แคลกตนั ซ์ เปปเป [William Claxton Peppe] ชาวองั กฤษอาณานิคม อำนวยการขุดคน้ ทางโบราณคดี
บรเิ วณเนินดินขนาดใหญ่ในพื้นที่ของเขาทีเ่ รยี กว่าเบิร์ดปรู [Birdpur] ใน ‘ปิปราหว์ ะ’  [Piparahawa] ทางทศิ ตะวันออกเฉยี ง
เหนอื ของอำเภอบสั ติ รัฐอตุ ตรประเทศ อนิ เดีย ซึ่งติดพรมแดนเนปาล เม่ือเดือนมกราคม ค.ศ. ๑๘๙๗ (ราว พ.ศ. ๒๔๔๐)
ในชว่ งท่ีเซอรอ์ เล็กซานเดอร์ คนั นงิ แฮมและคณะ พบเสาศลิ าจารกึ พระเจา้ อโศก ก่อนหน้าน้นั ราว ๑ ปี ที่ ‘สวนลุมพนิ ’ี

ในเนปาลซึ่งแถบนี้มีหลายแห่งจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของกบิลพัสด์ุไปถึงลุมพินีทางตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงอยู่ในเขต
เนปาล และต่อเนื่องอีกนับหลายไมล์เข้ามาทางฝั่งอินเดียของอังกฤษ ในทศวรรษนี้จึงมีการขุดค้นทางโบราณคดีแล้วพบ
ซากสถปู กวา่ ๕๐ องค์ วิหารอาราม มีอายุตั้งแตส่ มยั ราชวงศโ์ มรยิ ะ ราชวงศ์ศุงคะ ราชวงศก์ ษุ าณะและจนถึงสมัยคปุ ตะ

จารกึ อักษรพราหมีที่เสาพระเจา้ อโศก ระบวุ า่ เปน็ สถานที่ประสตู ขิ องเจา้ ชายสิทธัตถะ  กระตุ้นใหเ้ ปปเปสงสัยเนนิ ดนิ
ขนาดใหญ่ในท่ีดินของเขาซึ่งอยู่ใกล้พรมแดนเนปาล นำไปสู่การขุดค้นทางโบราณคดีซึ่งเป็นท่ีโจษขานครั้งใหญ่ ต่อมาเขา
รายงานสรปุ การขุดค้นในวารสาร Journal of the Royal Asiatic Society, July 1898 ได้พบโครงสรา้ งหลงั คาโดมใหญเ่ ส้น
ผา่ นศูนย์กลางราว ๑๓๐ ฟุต ทำด้วยอฐิ แดง เม่อื ขดุ ลกึ ลงไป ๑๘ ฟุต เขาพบแผน่ หนิ ขนาดใหญท่ ีเ่ ป็นฝาปดิ หีบทำจาก
หินทรายขนาดใหญ่ ๑ ใบ ในหบี หินทรายน้นั พบภาชนะทำจากหนิ สบู่ ๕ ช้ิน ประกอบด้วย ผอบหิน ๒ ชนิ้ , ตลับหนิ ๒ ชิ้น,
หม้อทำจากหนิ ๑ ชิ้น, และชามแก้วมฝี าเปน็ รปู ปลาที่จุกจบั ๑ ชนิ้ แตล่ ะใบขนาดความสงู ไม่เกิน ๗ น้วิ ภายในภาชนะเหล่า
น้ันมี “อฐั ิหลายทอ่ น” แผน่ ทองคำทำเปน็ รูปดาวและส่เี หลี่ยมสญั ลกั ษณ์ทางพุทธศาสนา ไขม่ ุกหลายขนาดท่ที ำเป็นชดุ หนิ
กึ่งรัตนชาติท่ีทำจากคาร์นีเลียน [Carnelian]และอเมทิสต์ [Amethyst] ทำเป็นกลีบดอกไม้ บุษราคัม [Topaz] โกเมน
[Garnet] ปะการงั [Coral] คริสตัล [Crystal] ทสี่ ำคัญคือตามรอบของขอบผอบใบหน่ึง มีคำจารึกเป็นอกั ษรพราหมี

18

ทม่ี าภาพ : http://www.piprahwa.com/original-photos
credit to Peppe Family

อย่างไรก็ตาม มีการถกเถียงเร่ืองเป็นพระบรมธาตุท้ังหมดจริงหรือไม่ในเวลาต่อมาและร่ำลือว่าอาจจะมีเพียง
พระบรมสารีริกธาตุเพียงส่วนน้อย ส่วนท่ีเหลือเป็นของเหล่าเจ้าในวงศ์ศากยะ อันเน่ืองมาจากข้อความในจารึก

! * 2

[ สุกิติภตินํ สภคนิกนํ สปุตทลนํ อิยํ สลิลนิธเน พุธส ภควเต สกิยนํ ]

‘น่ีเป็นทบี่ รรจุพระสรีรธาตแุ ห่งพระพทุ ธเจา้ พระผมู้ ีพระภาค ของเหล่าพี่นอ้ งชายสกุ ิติตระกูลศากยะ พร้อมทั้งพ่ี
น้อง หญงิ พรอ้ มทั้งบตุ รและภรรยา’  (อา้ งจาก ‘พระสถปู แหง่ กบลิ พัสด์ุและพระบรมสารรี ิกธาต’ุ โ ด ย S ã i B ả n
Mường : https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=836297520232092&id=100015555556981)

แม้หลกั ฐานและที่ตั้งของแหลง่ โบราณคดีคอ่ นข้างตรงกบั ข้อมูลจากพระไตรปิฎกกล่าวถงึ วา่ หลังพระพทุ ธเจ้า
ปรนิ พิ พานแลว้ พระบรมสารีรกิ ธาตุถกู แบ่งออกเปน็ ๘ สว่ นไปยังเมอื งตา่ งๆ หนงึ่ ในจำนวนนั้นถูกแบ่งให้เหลา่ เจา้ ศากยวงศ์
ท่ีเมืองกบิลพัสดุ์ แต่ก็ยังมีความสงสัยต่อการค้นพบคร้ังใหญ่ที่ปิปราห์วาที่บางกระแสถูกเชื่อว่าเป็นเร่ืองหลอกลวงในช่วง
เวลานน้ั เริ่มตงั้ ราว ค.ศ. ๑๙๐๐ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวก็ทรงต้ังข้อสังเกตเช่นเดยี วกันในการประชุม
เสนาบดสี ยามกอ่ นหนา้ นั้นเล็กนอ้ ยวา่ อัฐใิ นภาชนะทัง้ ๕ ใบ ทเี่ ปปเปขดุ พบเปน็ ของพระพุทธองค์ทง้ั หมดหรือเฉพาะอัฐทิ อี่ ยู่
ในผอบใบทมี่ ีอกั ษรโบราณจารกึ อยู่ อนั เนอ่ื งมาจากรัฐบาลอนิ เดยี ในสมยั อาณานิคมของอังกฤษนน้ั ได้รบั ‘บันทกึ ขอ้ ความ’
จาก ‘พระชนิ วรวงศ์’ คือ ‘พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าปฤษฎางค’์ ในขณะผนวชเปน็ พระภิกษุได้เดินทางออกจากศรีลงั กาไป
ยงั อินเดยี เหนอื พรอ้ มกับคณะสงฆ์ศรลี ังกาจากขา่ วทม่ี กี ารขดุ คน้ ท่ปี ปิ ราห์วาเพยี ง ๑ อาทิตยภ์ ายหลังเรม่ิ ขุดค้นและพบพระ
บรมสารีริกธาตุ

จึงอยากขอแบ่งมาให้กับคณะสงฆ์ลังกาและถวายพระบาทสมเด็จพระ ที่มาภาพ : http://www.piprahwa.com/
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นการถวายผ่านผู้สำเร็จราชการของอังกฤษ ทาง original-photos
ราชสำนักและเสนาบดีสยามประชุมกันอย่างคร่ำเคร่ง เนื่องจากความไม่ม่ันใจ
ใน ‘พระชินวรวงศ์’ ส่วนหนึ่ง และการค้นพบที่มีความไม่แน่ใจว่าจะใช่พระบรม credit to Peppe Family
ธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์เดียวหรือไม่ส่วนหน่ึง อีกส่วนคงเป็นคติความเช่ือ
ชาวพุทธในสยามมีความคุ้นเคยว่าพระบรมสารีริกธาตุที่ไม่แตกกระจายนั้นควร
จะอยู่ในรูปผลึกแก้วเม็ดเล็กๆ มากกว่าเป็นชิ้นส่วนกระดูกและเถ้า  แ ต่ เ มื่ อ ไ ด้
ข้อสรุปจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุขุมนัยพินิจ (ปั้น สุขุม) ซ่ึงเป็นข้าหลวง
เทศาภิบาลมณฑลนครศรีธรรมราชและคณะรวม ๒๓ ท่าน เดินทางไปรับมอบที่
อุตตรประเทศในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน

19

คณะเดินทางกลับมาขึ้นฝั่งที่เมืองตรังมีการแห่เฉลิมฉลองทั่วคาบสมุทร แล้ว
เดินทางต่อมาประดิษฐานท่ีพระสมุทรเจดีย์ ปากน้ำเป็นการชั่วคราว จากน้ันจึงแห่
พระบรมสารีริกธาตุพร้อมด้วยอัญมณีบางส่วนถูกประดิษฐานในเจดีย์ภูเขาทอง วัด
สระเกศฯ เมื่อวันอาทิตย์ท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ (เพ็ญนภา หงษ์ทอง. ตาม
รอยพิสูจน์พระบรมสารีริกธาตุ จากกบิลพัสดุ์สู่บรมบรรพต. กรุงเทพธุรกิจ HTTPS://
WWW.SCRIBD.COM/DOC/155287508/ตามรอยพิสูจน-พระบรมสารีริกธาตุ-จาก
กบิลพัสดุ-สู-บรมบรรพต)

จากเงื่อนไขการถวายท่ีจะต้องแบ่งพระบรมสารีริกธาตุให้ชาวพุทธในพม่าและ
ลังกาด้วย จึงมีการแบ่งพระบรมธาตุท่ีเป็นกระดูกและเถ้าจากกรุงเทพฯไปยังมัณฑะเลย์
และย่างกุ้งในพม่า รวมท้ังอนุราธปุระ แคนด้ี และโคลอมโบในศรีลังกา ส่วนหีบหินทราย
ขนาดใหญ่และโกศภาชนะทั้ง ๕ ใบ ถูกนำไปเก็บรักษาท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่
กัลกัตตา ส่วนอัญมณีและแผ่นทอง ‘เปบเป’ ได้รับอนุญาตให้เก็บรักษาและตกอยู่กับ
ครอบครัวรุ่นต่อมาในอังกฤษ จนปัจจุบันน้ีมีการเขียนเป็นนิทรรศการ จัดทำสารคดี
ทางช่องเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิค [BONES OF THE BUDDHA] และถูกนำไปจัดแสดงยัง
พิพิธภัณฑ์สำคัญๆ หลายแห่ง ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะนครนิวยอร์ค
[MET] และมีโครงการจะนำมาจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์อารยธรรมเอเชีย [ASIAN
C I V I L I Z AT I O N S M U S E U M ] ที่ สิ ง ค โ ป ร์ ใ น อี ก ๒ ปี ห น้ า ( H T T P : / /
WWW.PIPRAHWA.COM/HOME)

‘ปิปราห์วาสถูป’ จากการขุดค้นทางโบราณคดี 

การขุดค้นทางโบราณคดีท่ีพระสถูปปิปราห์วา เป็นหลักฐานยืนยันการมีตัวตน
ของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นการขุดค้นทางโบราณคดีสำคัญในยุคอาณานิคม  ต่อมาใน
ช่วง พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๑๖ มีการทำงานศึกษาทางโบราณคดีที่สถูปปิปราห์วาอีกครั้ง
โดยนักโบราณคดีชาวอินเดีย เค.เอ็ม. ศรีวาสตวะ [K.M. SRIVASTAVA] ได้ขุดค้นสถูปปิ
ปราห์วาและกันวาเรีย [PIPRAHWA AND GANWARIA] ท่ีเป็นชุมชนเมืองห่างจากกันราว
๑ กิโลเมตร ซึ่งมีรูปแบบคล้ายคลึงกันในทุกแห่งที่มีการสร้างศาสนสถานโดยมีชุมชน
อยู่ห่างออกไปพอประมาณเพ่ือไม่ให้รบกวนต่อกัน การขุดค้นท่ีสถูปปิปราห์วาต่อจากระ
ดับที่เปปเปเคยค้นพบหีบหินขนาดใหญ่ในระดับลึกลงไปอีกราว ๑ เมตร ก็พบห้องกรุ
ขนาดเล็ก ๒ ห้อง พบผอบหินสบู่ห้องละ ๑ ใบ ซ่ึงมีรูปแบบเดียวกันกับการขุดค้นโดย
เปบเป ผอบท้ังสองใบบรรจุช้ินส่วนกระดูกท่ีถูกเผามาก่อนแตกหักเพราะรับน้ำหนัก
มาก และสันนิษฐานว่าช้ันดินที่พบผอบน้ีร่วมสมัยกับช้ันดินที่พบเศษภาชนะดินเผาแบบ
สีดำขัดมันทางเหนือยุคแรก [NORTHERN BLACK POLISHED WARE-NBPW] อายุราว
๔-๕ B.C. ซึ่งเป็นช่วงเวลาอาจจะใกล้เคียงหลังการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า น่าจะ
เป็นการก่อพูนดินโดยเหล่าศากยวงศ์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว ๓๘.๙ เมตรและสูง
๐.๙ เมตร และมีการบรรจุผอบที่มีจารึกซึ่งพบในหีบหินซ่ึงเปบเปค้นพบในคร้ังแรก

20

ต่อมาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช คาดว่าพระเจ้าอโศกฯ
ทรงนำพระบรมสารีริกธาตุออกมาจากสถูปเดิมเพื่อแจกจ่ายไปยังสถูปแห่งอ่ืนๆ
และปฏิสังขรณ์พระสถูปเก่าน้ีพร้อมบรรจุพระสารีริกธาตุส่วนหน่ึงกลับเข้าไป
และพบว่าสถูปท่ีปิปราห์วามีการบูรณะด้วยการเติมดินเหนียวหนา สร้างทับเป็น
สองชั้นด้วยอิฐดินเผาจนกลายเป็นสถูปขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๓
เมตร สูงราว ๔.๕๕ เมตร

ยุคต่อมาคือสมัยกุษาณะ
พระสถูปได้รับการบูรณะขยายใหญ่จนกระท่ังสูงถึง ๖.๓๕ เมตร พร้อมท้ังทำฐาน
ส่ีเหลี่ยม โดยรอบพระสถูปยังมีอารามทิศตะวันออกกว้างใหญ่ ประกอบด้วยลาน
กลางภายในพร้อมห้องกุฏิเล็กรายรอบกว่า ๓๐ ห้อง มีการสร้างอารามด้านตะวัน
ตก เหนือ และใต้ด้วย ในพระอารามแห่งปิปราห์วาพบตราประทับดินเผายุค
กุษาณะมีจารึกอักษรพราหมีอายุราว ๑-๒ A.D. ความว่า ‘OM, DEVAPUTRA
VIHARE, KAPLIAVASTU, BHIKHU, SANGHAS ‘ท่ีน้ี, วิหารเทวบุตรของคณะสงฆ์
แห่งกบิลพัสดุ์’ จำนวนมาก

ยิ่งเป็นการยืนยันว่าท่ีน่ีคือเมืองกบิลพัสด์ุโดยแท้ (อน่ึง มีการหาค่าอายุจาก C 14
ท่ีได้จากยุคแรกอายุราว ๔๑๐ B.C., ๓๗๐ BC. และ ๒๘๐ B.C.)

สำหรับการขุดค้นท่ีกันวาเรีย [GANWARIA] เพื่อตรวจหารูปแบบการอยู่
อาศัยจากชั้นดินพบว่าน่าจะมีอยู่ ๔ สมัยคือ

ยุคแรก พบเศษภาชนะแบบสีดำสีแดงขัดมัน จานชามแบบขัดมันสีแดง
ลูกปัดแก้วและเคร่ืองประดับกำไลสันนิษฐานว่าอายุราว ๖๐๐-๘๐๐ B.C. ซ่ึงอยู่ใน
ช่วงก่อนสมัยของพระพุทธเจ้า,

ยุคท่ีสอง พบเคร่ืองป้ันดินเผาแบบสีดำขัดมันทางเหนืออย่างชัดเจนและมี
รูปแบบภาชนะท่ีเก่ียวเน่ืองกัน น่าจะอายุราว ๖๐๐-๒๐๐ B.C.,

ยุคที่สาม สมัยราชวงศ์สุงคะราว ๒๐๐ B.C. - ๑๐๐ A.D. พบเศษภาชนะใน
รุ่นนี้และชิ้นส่วนของตุ๊กตาดินเผาจำนวนมาก

ยุคที่ส่ี สมัยราชวงศ์กุษาณะ ราว ๑๐๐ A.D. - ๓๐๐ A.D. พบเศียร
พระพุทธรูปและตุ๊กตาดินเผาจำนวนมาก เหรียญแบบ PUNCHED MARK COINS
ในราชวงศ์กุษาณะ  ลูกปัดดินเผา ลูกปัดหินกึ่งรัตนชาติ ตราประทับดินเผา
จำนวนมาก ซ่ึงก็สอดคล้องกับช่วงอายุสมัยท่ีสันนิษฐานได้จากการขุดค้นท่ีสถูป
ปิปราห์วา

Coin of kanishka (C.A.130) (อ้างอิง : SRIVASTAVA, K.M. EXCAVATIONS AT PIPRAHWA AND
ANCIENT REGION OF GANDHARA GANWARIA, HTTPS://INDIANCULTURE.GOV.IN/EBOOKS/EXCAVATIONS-
ท่ีมาภาพ : Themetmuseum.org P I PRA H WA -AND -G ANWARI A?F B CL I D= IWAR1 A BU RQ DH D-
TKTTNE2TJ0VJY1B9B8N-TY2VCHCP6QYNTRVLL4KOK2L1NUU)

21

เครื่องประดับอุทิศเป็นพุทธบูชาควร คือ บรเิ วณเขาสามแก้ว จงั หวัดชมุ พร ไปจนถงึ ทา่ ชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ค่าเมือง จากปิปราห์วาสู่คาบสมุทร ทางฝั่งอ่าวไทย, บริเวณแม่น้ำกระ และบางกล้วย, ภูเขาทองใน

สยามประเทศที่คอคอดกระ จังหวัดระนองทางฝ่ังอันดามันท่ีปรากฎว่าเป็นแหล่งผลิตลูกปัดจากหินก่ึง
รัตนชาติขนาดใหญ่มากแหง่ หนึง่ ท่อี ยูน่ อกอนทุ วปี อนิ เดีย
ห ลั ง จ า ก ก า ร ขุ ด ค้ น พ บ โ บ ร า ณ วั ต ถุ
สำคัญทีเ่ ป็นหบี หินทรายขนาดใหญ่ พบภาชนะ และมีหลักฐานแวดล้อมว่าน่าจะมีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษท่ี ๓-๘
ทำจากหินสบู่ท่ีมีการบรรจุพระบรมธาตุภายใน หรือราว ๒๐๐ B.C.-๓๐๐ A.D. ซงึ่ นา่ จะเปน็ ขว่ งเวลารว่ มสมัยกนั ในช่วงหลัง
แล้วมีการแจกจ่ายกันออกไปในประเทศที่นับถือ การครองราชย์ของพระเจ้าอโศกฯ แหง่ ราชวงศ์โมริยะไปแล้ว
พุทธศาสนาเป็นหลัก โดยเฉพาะประเทศไทย
เปบเปผู้ขุดค้นได้รับอนุญาตให้นำเครื่องประดับ โดยเฉพาะนกั ประวตั ศิ าสตร์อัญมณีโบราณ ดร. แจค็ ออกเดน
เพ่ืออุทิศเป็นพุทธบูชาส่วนหนึ่งกลับไปเป็น
สมบัติส่วนตัวท่ีอังกฤษเมื่อย้ายกลับไป และ [DR. JACK OGDEN] (JACK OGDEN. REPORT ON THE BEADS AND RELATED OBJECTS
ปัจจุบันตกเป็นกรรมสิทธิ์ของทายาทรุ่นปัจจุบัน
ที่สนใจในการศึกษาอีกคร้ังหนึ่งจึงอนุญาตให้ FROM THE PIPRAHWA STUPA. 2018. HTTPS://STATIC1.SQUARESPACE.COM/STATIC/
นักวิชาการหลากหลายเข้ามาศึกษาและนำไปจัด
แสดงยังพพิ ธิ ภณั ฑ์ต่างๆ ในหลายประเทศ 561B7E62E4B0B66177BC2043/T/5D4BFE1F1B41860001EC86E1/1565261412774/

สง่ิ ทน่ี ่าพิศวงก็คือ PIPRAHWA+REPORT-JO.PDF)
เคร่ืองประดับทำจากหินกึ่งรัตนชาติ
เหล่าน้ี ทั้งวัตถุดิบจากหินชนิดต่างๆ รูปแบบ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๙ มีบทความสำคัญในการวิเคราะห์เครื่อง
การผลิตและฝีมือช่างนั้นปรากฎว่ามีแหล่งผลิต ประดับเพอ่ื อุทศิ เปน็ พทุ ธบชู าเหล่านใี้ นปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ระบวุ ่า
ใหญ่อยู่บรเิ วณคอคอดกระทง้ั สองฝัง่ ทะเล
พวกดอกไม้ท่ีรวมกันเป็นช้ิน เครื่องทองแผ่นบางทำเป็นกลีบ
ดอกไม้และบางช้ินมีรอยประทับเป็นรูปสิงห์ก็มี หินก่ึงรัตนชาติท่ียังไม่ได้
เจยี ระไน ไขม่ กุ และปะการงั วตั ถุดบิ และฝมี ือชา่ งทีผ่ ลติ เครอื่ งประดับพบทีป่ ิ
ปราห์วานี้ มีคุณภาพดีมากและผลิตโดยช่างที่ฝีมือขั้นสูงมากเมื่อเปรียบ
เทียบจากวัตถทุ พี่ บจากสถปู อื่นๆ ทพี่ บจากแถบบังคลาเทศ อฟั กานิสถาน
ปากีสถานและอนิ เดีย ซ่งึ ต้ังเป็นข้อสังเกตได้วา่ เปน็ ส่ิงของพทุ ธบชู าในกลุ่ม
“ชนช้ันสูง” ทางศาสนาหรือในกลุ่มผู้ปกครอง ซึ่งน่าจะมีอายุอยู่ในราวไม่
เกิน ๑๐๐ B.C.- ๒๐๐ หรือ ๒๐๐ B.C. ซ่ึงอายขุ องจารกึ ทถี่ กู วเิ คราะหก์ อ็ ยู่ใน
ช่วงครึง่ แรกของคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๒ (๑๐๐ B.C.- ๑๕๐ B.C.)

เคร่ืองประดับ รูปดอกไม้ พบที่เขาสามแก้ว จ.ชุมพร เหมือนมากกับท่ีพบในหีบศิลา
บรรจุผอบประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าในความครอบครองของ
เจ้าแห่งศากยะพบที่ปิปราห์วะ (พ.ศ. 295) แต่เน่ืองจากในอินเดียพบน้อยมาก หรือ
เป็นไปได้ว่า ”ดอกไม้รูปดาวน่าจะแรกผลิตในอินเดีย ก่อนท่ีจะมีการเคลื่อนย้ายเทคนิค
และการผลิตมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีเขาสามแก้ว..” (อ้างจาก นพ.บัญชา พงษ์
พานิช, “สุวรรณภูมิ มีจริง? อยู่ที่ไหน? อย่างไร? บทสรุปเบื้องต้นจากการทบทวน
ประมวลความรู้” จากหนังสือ : SUVARNABHUMI, LAND OF GOLD IN THE GOLDEN
LAND SUVARNABHUMI, 2019. (P.244)

22

นอกจากพระบรมสารีริกธาตุจากปริปาห์วาและเครื่องประดับท่ีเป็น

พุทธบูชาบางส่วนจะถูกนำมาประดิษฐานไว้ในประเทศสยามในคร้ังรัชกาลที่

๕ แล้ว ทกุ วนั น้มี กี ารศึกษาและคน้ พบและตระหนกั ว่า ‘บ้านเมืองของเราเปน็

แหล่งผลติ เครื่องประดับจากหินก่ึงรตั นชาตทิ ี่สำคัญ’ เพือ่ ใช้เป็นพุทธบชู าใน

อนุทวีปเองหรืออุทิศให้กับชนช้ันสูงตามความเช่ือหลังความตายของผู้คนที่

อาจจะไมไ่ ด้นบั ถอื พทุ ธศาสนาในครั้งนัน้

ขอบคุณภาพจาก คุณเนาวรัตน์ สิบพลาง พบที่เขาสาม

แก้ว จังหวัดชุมพร เช่นท่ีพบในหลุมศพสุสานสมัยราชวงศฮ์ ัน่ HUANGNIGANG TOMB
M1, เมอื งเหอผู่ มณฑลกวางสี อายใุ นราว ๑๐๐ B.C.– ๑๐๐ A.D. ซึ่งสงิ่ ของ
วัตถุดิบท่ีนำมาใช้ทำลูกปัดทำจากลูกปัด
ทำจากวัสดุหลายชนิด ได้แก่ อเมทิสต์ (ควอทซ์
สีม่วง), อะความารีน (เบริลสีฟ้า), คาร์เนเลียน ท่ีพบจำพวกเครื่องประดับจากหินกึ่งรัตนชาติที่พบทั้งประเภทและรูปลักษณ์
(และคาร์นีเลียนเซาะร่องสีขาว), ซิทริน (ควอทซ์
สีเหลือง), ปะการัง, โกเมน, แก้ว, โมราเขียว, จนถึงฝีมือช่างช้ันสูงมีความคล้ายคลึงกับแหล่งผลิตลูกปัดท่ีพบในแถบ
ไอโอไลต์ มุก, คริสตัลและเปลือกหอย  คอคอดกระของประเทศไทย อย่างยิง่

ลู ก ปั ด ค า ร์ เ น เ ลี ย น ข น า ด เ ล็ ก ที่ ท ำ ขึ้ น แต่ยังไม่มีความชัดเจน หรือสามารถอธิบายถึงรายละเอียดใน
อย่างประณีต โดยมีช้ันสีขาวที่เป็นสีธรรมชาติ
และชั้นสีแดงในเม็ดเดียวกันที่น่าจะถูกการหุง การเป็นแหล่งผลิตงานฝีมือช้ันสูงท่ีช่างฝีมืออันน่าจะมีต้นกำเนิดจาก
หรือปรุงแต่ง น่าจะเป็นเม็ดกระดุมและกลีบ
ดอกไม้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นดอกไม้ ๘ กลีบ รูป อินเดีย เลือกพ้ืนที่ ‘บริเวณคอคอดกระ’ เพ่ือใช้ผลิตและกระจายงาน
ลักษณ์เช่นน้ีพบที่ตักศิลา และ ‘วารี-เบตาชวาร์
WARI-BATESHWAR’ ในบังคลาเทศ (ซ่ึงเป็น ช่างช้ันเย่ียมเหล่าน้ีด้วยเหตุใด หรือมีข้อมูลสนับสนุนใดบ้างในการ
แ ห ล่ ง โ บ ร า ณ ค ดี ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า ข น า ด ใ ห ญ่
และแหล่งการค้าอายุเริ่มแรกใกล้เคียงกัน)  กล่าวถึงความสำคัญของพื้นที่นี้อย่างชัดเจนมากไปกว่าสิ่งท่ีค้นพบ

น อ ก จ า ก นี้ ที่ น่ า ส น ใ จ คื อ โ ก เ ม น รู ป ต รี แล้วน้ี
รั ต น ะ สี ส ว ย เ นี ย น แ ล ะ รู ป ท ร ง ชั ด เ จ น ด้ ว ย ช่ า ง
ฝี มื อ เ จี ย ร ะ ไ น ช้ั น สู ง ซ่ึ ง พ บ ท่ี ตั ก ศิ ล า เ ช่ น ขอบคุณภาพจาก คุณเนาวรัตน์
เ ดี ย ว กั น ( ท่ี ส ถู ป ธ ร ร ม ม ห า ร า ชิ ก า สิบพลาง พบที่เขาสามแก้ว จังหวัด
DHARMARAJIKA STUPA)  ชุมพร

คาร์นีเลียนหุงสองสีคือขาวและแดงใน การเริ่มปฎิบัติการศึกษาอย่างจริงจัง โดยจบประเด็นข้อถกเถียง
ช้ินเดียวและต่างชิ้นกันเหล่าน้ีปรากฎพบท่ีเขา
สามแก้ว จังหวัดชุมพร ทำเป็นรูปดอกไม้ชิ้น ท่ีมีมานานนับศตวรรษถึง ของความเป็นพ้ืนที่ ‘สุวรรณภูมิ’ ตามคัมภีร์
เดียวมี ๕ กลีบ และกลีบดอกช้ินเดียวท่ีประกอบ
เป็นกลุ่มได้ เช่นเดียวกับที่พบใน สถูป มหาวงศ์ที่เขียนขึ้นในพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ โดยถูกปฏิเสธความน่าเช่ือ
“ปอราห์วา” ถือว่าผลิตโดยช่างฝีมือช้ันเย่ียม 
ถือและมองเห็นภาพสุวรรณภูมิว่าเป็นเพียงจินตนาการของนักวิชาการ

ท้องถิ่นเท่าน้ัน วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
มูลนิธิเลก็ -ประไพ วริ ิยะพนั ธ์ุ

23

เปิดศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา เปิดบ้านสุวรรณภูมิ
และงานเสวนาวิชาการ คร้ังท่ี 1
เรื่อง “สุวรรณภูมิ พื้นท่ี เวลา ผู้คน วิถีชีวิต” วันพุธท่ี 6 พฤศจิกายน 2562
CSB TALKS คร้ังท่ี I ณ ห้องออดิทอเรียม อาคาร 6

มหาวิทยาลัยรังสิต

ท่านรกั ษาการอธิการบดี
ดร.อรรถวทิ อไุ รรตั น์
กล่าวเปิดงาน

“สวุ รรณภูม”ิ ดนิ แดนแหง่ ความอดุ มสมบรู ณ์ พืน้ ท่ีซึ่งในน้ำมปี ลา ในนามีข้าว เปน็ พ้ืนทีแ่ หง่ ความภาคภูมิใจของ
ผู้คน มีนยั และความหมายที่ลกึ ซึ้ง เปน็ แผ่นดินทองแห่งพหุวฒั นธรรมอนั หลากหลาย มีความเจรญิ รุง่ เรอื ง ความเป็นพ่ี
เป็นนอ้ งร่วมรากกนั มาแตใ่ นอดตี ผมเชื่อวา่ “สวุ รรณภมู ิ และสุวรรณทวปี ” เปน็ ดนิ แดนทเ่ี คยมอี ารยธรรมอนั เก่าแกเ่ จรญิ
รุ่งเรอื ง และสืบทอดมานานนบั พันปี มีอิทธพิ ลทางความคิด มีความละเอยี ดอ่อน ความลึกซึง้ สัง่ สมอยใู๋ นเช้อื ชาติ ในวิถี
ชิวี ิต แห่งปรัชญาแบบตะวันออก สิ่งเหล่านี้ผ่านการวิวัฒนาการมาอย่างยาว จนเป็นมรดกตกทอดทางวฒั นธรรม

ซงึ่ เราเองไมอ่ าจปล่อยใหส้ ญู หายไปจากประวตั ศิ าสตร์ โดยมไิ ดค้ ำนงึ ถึงคุณค่า และรากเหงา้ ด้งั เดมิ ท่มี รี ว่ มกนั มา
หากปลอ่ ยให้เลือนรางหายไป กค็ งถอื เป็นเรื่องนา่ เสียดายเปน็ อยา่ งยิ่ง

วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องออดิทอเรียม อาคาร 6 มหาวิทยาลัยรังสิต

24

ทา่ นรกั ษาการอธิการบดี
กลา่ วเปดิ ศนู ยส์ วุ รรณภมู ศิ ึกษา มหาวิทยาลยั รังสติ

ด้วยมหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงคุณค่าท่ีเรา และน่ีคือเจตนา และเป้าหมายของศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
ต่างมีอยู่ จึงเป็นเหตุให้มีการดำเนินการจัดต้ังศูนย์ มหาวิทยาลยั รังสิต
สุวรรณภมู ขิ ้นึ มา เพอ่ื ศึกษา และรักษาเอกลกั ษณ์อนั งดงาม
คืนอารยธรรมอนั ย่ิงใหญ่ ใหก้ ลบั มามชี วี ิต ต่อยอดและสืบต่อ บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ผมขอเปิดศูนย์
ไปยังคนรุง่ หลัง สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต อย่างเป็นทางการ
ณ บัดน้ีครับ
และในวันน้ี เรามาร่วมกันพัฒนาความเจริญรุ่งเรือง
สรา้ งให้เกิดความสมานฉนั ท์ของผู้คน ในพืน้ ท่ี ซึง่ รวมเรียก
วา่ “สวุ รรณภูม”ิ ดว้ ยมาตรการตา่ งๆ เช่น เรอ่ื งของการ
ศึกษา การสร้างคุณภาพชีวิต และการช่วยเหลือให้มีความ
เปน็ อยูท่ ่ดี ขี น้ึ รว่ มกัน

ดังนนั้ แล้ว ขอให้ศูนยส์ ุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัย ตราดินเผารูปเรือสำเภา พบท่ีเมืองนครปฐม
รงั สติ เป็นตัวแทนแห่งการฟน้ื คนื และเชื่อมโยงอารยธรรมที่ จัดแสดงอยู่ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ทรงคา่ ภายในกรอบแห่งความรว่ มมอื ร่วมใจ ความเปน็ พเ่ี ปน็ พระนคร
น้องร่วมวัฒนธรรมเดียวกัน ให้ได้มีความเจริญงอกงาม
สืบไป

25

ทา่ นประธานในพิธีกล่าวเปดิ ศนู ย์สวุ รรณภมู ิศกึ ษา ดร.จิตริยา ปิน่ ทอง อดีตประธานฯ ศูนยส์ วุ รรณภูมศิ ึกษา
มหาวทิ ยาลยั รงั สิต

คณะผูบ้ ริหาร รว่ มฟงั เสวนา เวทเี สวนา “สวุ รรณภูมิ พ้นื ที่ เวลา ผู้คน วิถีชวี ิต”

บรรยากาศภายในงานเสวนา วงดนตรีโหมโรงก่อนเร่มิ งานเสวนา

26

ดร.อรรถวทิ อุไรรัตน์ ถา่ ยภาพร่วมกนั บนเวทเี สวนา
รกั ษาการอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยรังสติ

ประติมากรรม ปูนป้ันวงมโหรี ประดับฐานเจดีย์ พบที่เมืองคูบัว อ.เมือง ฯ จ.ราชบุรี ศิลปะทวารวดี

บรรยากาศบนเวทีเสวนาวิชาการคร้ังท่ี 1
เรือ่ ง สุวรรณภูมิ พ้นื ที่ เวลา ผูค้ น วถิ ีชีวติ ณ มหาวทิ ยาลยั รงั สิต

27

ดร.จติ ริยา ปิ่นทอง

อดตี ประธานกรรมการบริหารศนู ยส์ ุวรรณภูมิศึกษา

ศนู ย์สวุ รรณภมู ศิ กึ ษา มหาวิทยาลัยรังสิต ดำเนนิ การจัดตั้งขน้ึ เมื่อวันท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ภายใตก้ ารดาํ รขิ องทา่ น
อธกิ ารบดี (ดร.อาทติ ย์ อุไรรตั น)์ เพอ่ื มุ่งศึกษา รวบรวมองคค์ วามรู้แบบบูรณาการ เป็นหนว่ ยงานท่ีสง่ เสริม ผลกั ดันใหเ้ กดิ การตอ่
ยอด เผยแพร่ และนำภูมปิ ญั ญา รวมถึงมรดกทางวฒั นธรรมอันทรงคณุ คา่ ท้งั ท่ีจับต้องไดแ้ ละจับตอ้ งไมไ่ ด้ ไปสูก่ ารพัฒนาและเช่อื ม
โยงนวตั กรรมในโลกอนาคต 

ทั้งนมี้ พี นั ธกิจหลักในการส่งเสรมิ ให้เหน็ ถงึ คุณคา่ ท่แี ทจ้ รงิ ของ “อารยธรรมสุวรรณภมู ิ” ในฐานะวฒั นธรรมรว่ มซ่ึงเคยยงิ่
ใหญ่ มีอาณาเขตกวา้ งขวางและสำคัญมากในยคุ โบราณ  โดยศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา เนน้ การทำงานอยา่ งเปน็ เครอื ข่าย หลากหลาย
ภาคส่วน โดยเปิดพื้นท่ีส่ือกลางในการกระจายองค์ความรู้ และจัดกิจกรรมในด้านท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาและ
อนรุ ักษม์ รดกทางวฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย รังสรรคป์ ระโยชน์ในเชิงวชิ าการ เชิงเศรษกจิ และความสมั พนั ธ์กบั ต่างประเทศ เป็นส่วน
หนึง่ ท่ีช่วยสร้างความสมานฉนั ทใ์ หเ้ กิดขึน้ ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละพัฒนาอารยธรรมสวุ รรณภมู ิ ให้มน่ั คง ยัง่ ยนื เจรญิ
รุ่งเรืองสบื ไป

HEAD OF A MALE BUDDHIST DEVOTEE 7TH - 8TH CENTURY PHRA PATHOM CHEDI NATIONAL MUSEUM,
NAKHON PATHOM, THAILAND (ท่ีมา : THE METROPOLITAN MUSEUM OF ART)

บทเพลงประจำศนู ยส์ วุ รรณภมู ิศกึ ษา “แตกตา่ ง หลากหลาย รวมไว้เป็นเรา
มหาวทิ ยาลัยรงั สติ
ประพันธ์คำร้อง และทำนองโดย ถักทอเขา้ เปน็ สาย เช่ือมโลกไวถ้ งึ กนั
ผศ.บุญรัตน์ ศิรริ ัตนพันธ
ในแดนดินงดงาม ลึกล้ำ สมั พันธ”์

เป็นพี่น้องกัน “สุวรรณภูมิ”

เป็นพนี่ ้องกัน “สุวรรณภูม”ิ

28

ถอดความรู้จากเวทีเสวนา

เสวนาวิชาการ ครั้งที่ 2

เรื่อง “เลียบโขงสู่ เจนละ นคราที่สาบสูญ” เจนละ คอื ใคร? อย่ทู ไี่ หน แล้วเรม่ิ ต้นเม่อื ไหร่ ?
CSB TALKS II

รศ.ดร.ศานติ ภักดีคำ

เจนละ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของอาณาจักรเขมร
โบราณ ถ้ามองบรบิ ทของประวัตศิ าสตร์กมั พชู า จะ
แบ่งเปน็ ออกเปน็ ยุค เช่น กัมพูชาก่อนพระนคร สมยั
เมอื งพระนคร และกัมพชู ายคุ หลังพระนคร

ยคุ กอ่ นพระนคร (ก่อนย้ายเมืองไปเสยี มราฐ)

มีตำนาน กล่าวขาน เล่าร่ือง พระทองนางนาค
ปรากฏ ในเอกสารจีนโบราณ สืบเน่ืองเรื่อยมาจน
พุทธศตวรรษท่ี 25 ถอื เป็นตำนาน เกา่ แกข่ องอษุ าค
เนย์สะท้อนสัญลักษณ์ การเข้ามาของกลุ่มคน
ภายนอก ท่ีนำเข้าวัฒนธรรมมาผสมผสาน กับ
ดงั้ เดมิ คนอษุ าคเนย์ คนด้ังเดิม เปรยี บคือ ธิดานาค

หากย้อนกลับไปดูใน เอกสารจีนระบุว่า เมื่อ
พราหมณ์เดินทางจากอินเดียเข้ามาพบกับนางนาค
(ธดิ าพญานาค) ช่ือนาง ใบมะพร้าว “ลิวเย”่

ก็เป็นต้นกำเนิดของ ฟูนัน หรือ ฝูหนาน
 (Fúnán) ท่ปี รากฏในเอกสารเปน็ บนั ทึกของจนี

“ฟูนัน” เป็นรากเหง้ารากนงึ ของเจนละ เกดิ ทป่ี าก
แมน่ ำ้ โขง เกดิ เปน็ เมอื งท่า และเมืองท่าเหลา่ นั้นกเ็ จรญิ
ขนึ้ และ ขยายอิทธพิ ลเข้าสภู่ าคพ้ืนทวปี ก่อตัวขึ้นมา
เปน็ รัฐใหม่ๆ ซ่ึงรัฐเหลา่ นก้ี ม็ หี นา้ ท่ี ควบคุมเรือ่ งของ
สินค้า ของปา่ และสง่ ของกลับมา ยงั เมืองท่า

29

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า C S B T A L K S I I

ยคุ แรก เจนละถูกระบุไว้ในจารึกเขมรโบราณ (กัมพูชาสมัยก่อนเมืองพระนคร) ระบุถึงเช้อื สาย “ฟูนนั ” ไปเปน็ ผู้
สถาปนาต้ังเจนละ ตามกลุ่มจารกึ “ศรมี เหนทรวรมนั ” อารยธรรมแถบลมุ่ แม่น้ำชี และลุ่มแมน่ ำ้ มูล กษตั ริย์แหง่ อาณาจักรเจน
ละ เจา้ ชายจิตรเสน ครองราชย์ ฉลองพระนามเปน็ พระเจ้ามเหนทรวรมนั (ราว พ.ศ. 1150 - 1159) (ตง้ั แต่เมืองกระแจะ (ทาง
ตะวันออกกัมพชู า) ไปจนถึงปราสาทหินวัดพู จำปาสกั (หรือจำปาศักด์ิ) ในลาว (สู่ภาคอีสาน ของประเทศไทย) กลับมาท่ี
คำถามว่า “แล้วเจนละ อยไู่ หน ? ตอบวา่ “กอ็ ยแู่ ถวนแ้ี หละครบั ”

หลักฐานทีส่ ำคญั และเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร มี 2 อย่าง เวลาทพี่ ูดเรอื่ ง “เจนละ” คอื (1) เอกสารจนี (2) ในจารึกของ
กษัตริย์ (จารกึ แบบจารตี ) เขมรโบราณ ในเอกสารจนี เรียก “ฝูหนาน” หรือ “ฟนู นั ” มีการศึกษาและแปลความ ว่า ฝู
หนาน คือ พนม ผมมองวา่ จรงิ ๆ เรายังต้องศึกษาให้ดวี ่า จรงิ หรือเปลา่ ? คำว่า เจนละ หมายถึงอาณาจักรโบราณ เปน็ การ
กำเนดิ ยคุ พระนคร คือ เราบอกวา่ มนั คือชว่ งเจนละ ประมาณ พุทธศตวรรษท่ี 12 - 14 (อาจก่อนและหลงั กวา่ นั้นเลก็ นอ้ ย) ซ่งึ
ภายหลงั แบ่งเปน็ เจนละบก และเจนละนำ้ ช่วงแตกแยก หลงั จากน้ันพอ ชยั วรมันท่ี 2 สถาปนาเมืองใหม่ ท่เี สียมราฐ เรา ก็เลิก
เรียกพ้ืนท่ี ประวัติศาสตร์โบราณว่า เจนละ

ในเอกสารจนี ใช้คำวา่ “เจนละ” ถึงเม่ือไหร่ และ “คืออะไร” ?

เจนละ ในเอกสารจนี เวลาศึกษาเร่อื งเจนละในเอกสารจนี เรามกั ไดย้ นิ ชือ่ “โจวต้ากวน” (Zhou Daguan) อนั นีต้ อ้ งระวัง
เพราะ โจวตา้ กวน เข้ามา ร่นุ พอ่ ขุนราม พ.ศ. 1839 ทกุ วนั นเ้ี ราเอาเอกสารจากโจวตา้ กวน ไปอธิบาย ยุคเมอื งพระนคร นน้ั ไม่
ได้ เพราะเอกสารชดุ น้ี รว่ มสมัยสโุ ขทัยแล้ว ฉะนน้ั ต้องระวังในการศึกษาให้มากครบั

“เจนิ ล่า” เปน็ สำเนียง จนี กลางปรากฏอย่ใู นเอกสารพงศาวดารราชวงศส์ ุย (Sui) (สุยซ)ู วา่ จักรพรรดิส์ ยุ หยาง (Suí
Yáng Dì) ให้ขดุ ทางเช่ือมแมน่ ้ำฮวงโห และแมน่ ้ำแยงซีเกียง ทำใหเ้ กดิ ศึกลำนำ้ เลอื ด มบี ันทกึ ไว้ในพงศาวดารจกั รวรรดติ า้ เยว่ ์ (ปี
2) ระบุ “วา่ ราชทูต จากเจนละ ไปถวายบรรณาการ เม่อื ประมาณ ค.ศ. 606” (ในสมยั นั้น ราว พ.ศ. 1149) ปรากฏมี เจนละ
แล้ว เอกสารราชวงศส์ ยุ (สยุ ซ)ู (พงศาวดาร) เป็นเอกสารท่ีเก่า ปรากฏคำวา่ “เจนละ” บอกวา่ ประเทศเจินลา่ อยทู่ างทศิ
ตะวันตกเฉยี งใตข้ องอาณาจักรหลนิ ยี่ (Lin - Yi อาณาจกั รจามปา)

30 CSB TA L K S II

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

จดหมายเหตุ ราชวงศส์ ุย เขียนวา่ “เจนิ ล่าก๋วั ” อยทู่ างตะวันตกเฉียงใตข้ องหลนิ ย่ี คอื จามปา จีนเดินทางเข้าทางทะเล
ฉะนัน้ เจนิ ล่า ก็น่าจะอยูท่ างตะวันตกเฉยี งใต้ ของหลนิ ย่ี ปัจจุบนั กต็ รงกับเวยี ดนามกลาง (ดานัง) ตรงนน้ั มี
ปราสาทหมีเซิน (อาณาจักรจามปา ติดกับทะเล ไปเจอกบั เมอื งวัดพู จำปาศกั ด์ิ)

มรี อ่ งรอย จารึกจาม ฉะน้ัน จีนตอนใต้ ตง้ั แตเ่ มืองจำปาศักด์ไิ ลล่ ง
ไป จนกัมพชู าในปัจจบุ ัน เดิมเปน็ เมืองขึน้ ของ “ฟูนัน” ถา้ เดนิ ทางเรอื ใช้
เวลา 60 วนั (อยูท่ างใต้)

“เจนละ” อยตู่ ะวนั ตกเฉยี งใต้ ของหลนิ ย่ี (จามปา) มีปฐมกษตั ริย์ สถาปนาจนเขม้ แข็ง
(พระเจ้าจิตรเสน) เดิมคอื ฟนู ัน ทโี่ ดนเจนละกลนื ในสมัยพระเจา้ อีศานวรมัน

บันทึกจีน ตอ่ มาถงึ สมยั ราชวงศ์ ถัง เรียก “เจนละ ว่า “เจิน้ ล่ากว๋ั ” หรอื อีกคำหนึง่ คือ “จี๋
เมีย่ ” หรอื “เตอ๋ เมย่ี ” ใกลเ้ คียงกบั จารึกในกอ่ นพระนคร คอื คำวา่ “เขมร” กมั พูชา เรียก ขแมร์ แต่
เราเรยี ก ”เขมร” (สนั นิษฐานวา่ เรยี กจากจารกึ พระเจ้าชยั วรมันท่ี 7 ซง่ึ พบในภาคอสี าน)

ประติมากรรมดินเผารูปบุคคลร่ายรำ พบที่เมืองอู่ทอง จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

ฉะนัน ตัวนีเ้ อง ยนื ยันวา่ เจ้นิ ล่า คอื เต๋อเมี่ย และช่อื ประเทศ คอื เจนละ น่นั เอง ?

ประวัติศาสตร์จีนบอกว่า อาณาจักรเจ้ินล่าก๋ัว (สมัยจักรพรรดิถังไท่จง) เจนละได้ส่ง
บรรณาการไปถวายพร้อมกับอาณาจักรหลินยี่ (จามปา) และทางจนี กต็ อบแทนอยา่ งดี ดว้ ยเห็น
ว่าเดนิ ทางมาไกล ความเป็น “เจนละ” ในเอกสารจนี (ต่างกับชุดความคดิ และวิธีมองของนกั ประวัตศิ าสตร์รนุ่ หลัง หากศกึ ษาต้องดู
ยคุ และแปลความให้ด)ี

พอเขา้ สู่ยุคพระนคร ช่อื เจนละก็หายไปจากหน้าประวตั ศิ าสตรก์ มั พูชา ในชดุ ความคิดของนักวิชาการตะวันตก ความเปน็ เจนละก็
จบลง แต่ในจนี นนั้ แมเ้ ขา้ สยู่ คุ พระนครแลว้ จนี ก็ยงั เรยี กว่า อาณาจักรเจนละอยู่ เชน่ ในสมยั “ราชวงศซ์ ่ง” เอย่ ถึง “เจนละ” (ที่
เข้าสู่ยคุ พระนครแลว้ ) วา่ “ถกู รุกราน มสี งครามกบั จามปา ตลอดเวลา” จวบจนเข้าสรู่ าชวงศห์ ยวน (ซึ่งรว่ มสมัยสุโขทัยแลว้ ) ก็ยังมี
บันทกึ พูดถึง เจนละ อยู่ ฉะนนั้ กต็ ้องพจิ ารณาให้ดวี ่า เอกสารจนี หมายถงึ “เจนละ” หรือ เจน้ิ ล่า ในยุคไหน?

มาถงึ บนั ทกึ เขมรเองบ้าง “เจนละ” พบหลักฐาน ทเี่ ชือ่ มโยง กบั ภาคอสี าน ในกล่มุ จารกึ ของพระเจา้ จติ รเสน เยอะในพื้นท่ดี งั
กล่าว สามารถพูดแบบน้ีได้ไหมวา่ ? เจนละ กต็ ้งั อยู่ในภาคอีสานของไทยด้วย? แน่นอนว่า เจนละ “บางส่วนตงั้ อยู่ในภาคอีสาน ของ
ไทยในปัจจุบนั ” แตเ่ ปน็ จดุ กำเนิดของเจนละ หรอื เปล่า? อนั น้เี ปน็ คำถามที่ตอ้ งตัง้ และหาคำตอบกันตอ่ ไป

31 CSB TA L K S II

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

ทีเ่ ราตั้งประเดน็ คำถามวา่

“เจนละ คือ นคราท่สี ูญหายหรอื ไม่ ?”

จริงๆ แล้ว ไมไ่ ดห้ ายไปไหน ยงิ่
ดูในเอกสารจนี ยงิ่ เห็นวา่ ไมห่ ายเลย

“เพราะ “เจนละ” คือ ทม่ี า ของ
กัมพชู า สมยั พระนคร เปน็ ทม่ี า ของ
กัมพูชา หลงั พระนคร เป็นตน้ กำเนดิ

ทมี่ า ของกมั พชู า ในปัจจบุ ัน”

รับชมเสวนายอ้ นหลงั

https://www.csbrsu.com/

บนั ทึกเทปรายการโดย

wisdom media

32 CSB TA L K S II

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

ถอดความรู้จากเวทเี สวนา

เสวนาวิชาการ คร้ังที่ 3

เร่ือง “สุวรรณภูมิ ร่องรอยท่ีไม่เลื่อนลอย”
CSB TALKS III

แขกรบั เชญิ วันพฤหสั บดีท่ี 12 มีนาคม 2563 ณ วสิ ดอม สตดู ิโอ
ศ.(พเิ ศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทศั น์ จัดโดยศูนย์สุวรรณภมู ิศกึ ษา
นพ.บัญชา พงษพ์ านชิ มหาวทิ ยาลัยรังสติ

ดำเนนิ รายการเสวนาโดย ถ่ายทอดสดผ่านทาง (Facebook : Live)
ผศ.ปาริสทุ ธ์ิ เลิศคชาธาร https://www.facebook.com/rangsituniversity/videos/
267151147607645

วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม 2563 มหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง สุวรรณภูมิ ร่องรอยที่ไม่เล่ือนลอย

33

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า C S B T A L K S I I I

ถอดความรจู้ ากเวทีเสวนา

ทำไมถงึ สนใจสวุ รรณภูมิ และทำไมสวุ รรณภมู ิ จงึ สำคัญ ? หลายขอ้ เชน่ ประเด็นความสำคัญเชิงพนื้ ที่ ว่าสุวรรณภมู ิ
อยู่ในจุดท่ีต้ังสำคัญ หากจะใช้มาพัฒนาประเทศเพ่ือเกิด
นพ.บญั ชา พงษพ์ านชิ ประโยชน์ได้หรอื ไม่ อยา่ งไร? ทางจิสด้าก็ติดต่อมาให้ช่วย
ทำการศกึ ษาค้นควา้ เพอื่ ถวายแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระมหา-
เพราะเป็นคนไทย เกิดที่นครศรีธรรมราช สนใจ ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี 9)
สงสัยในแผน่ ดิน ว่าย้อนไกลไปกว่าสโุ ขทยั ได้ไหม? พระพุทธ จวบจนเสรจ็ และกไ็ ดร้ บั พระบรมราชานุญาต จากพระบาท
ศาสนาเรารับมาจากพระเจ้าอโศกมหาราชนั่น จริงหรือไม่? สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯ รัชกาลที่ 10 จึงไดจ้ ัดพิมพ์ออกมา
หลักฐานบอกว่ามีปรากฏในคัมภีร์ มหาวงศ์ จริงหรอื เปล่า? เป็นหนงั สอื ชดุ “สุวรรณภมู ิ ภมู ิอารยธรรมเชอ่ื มโยงโลก”

หรอื ทางพมา่ ก็มจี ารึก กัลยาณี จริงไหม? แล้วที่เจอจารกึ
สุวรรณภมู ิในเขมร กระทง่ั ในจารึกพ่อขมุ รามฯ เรยี กว่าแผน่
ดนิ สพุ รรณภมู ิ ต่างๆ เหล่านี้ กท็ ำใหเ้ กิดเปน็ ข้อสงสยั และ
สนใจศึกษา

แต่แรกน้ันเป็นโครงการท่ีเร่ิมมาจาก GIS TDA แผ่นทองกดดุนนูน พบท่ีเขาสามแก้ว จ.ชุมพร
(สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ท่ีมาจากหนังสือ : SUVARNABHUMI THE GOLDEN LAND,
มหาชน) โดยทา่ น ดร.สมเจตน์ ทณิ พงษ์ ท่านก็มีวิสัยทศั น์
กว้างและมองภาพใหญ่เกี่ยวกับสุวรรณภูมิ ท่านต้ังโจทย์ไว้ THE NEW FINDING FOR SUVARNABHUMI TERRA
INCOGNITA, (GISTDA : 2019), P. 256.

(BUNCHAR PONGPANICH AND SOMCHET
THINAPONG,EDITORS)

34 CSB TA L K S III

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า





























ถอดความรู้จากเวทเี สวนา

เสวนาวิชาการ คร้ังท่ี 5

เรื่อง “สืบสายสัมพันธ์แห่งเสียง ดนตรีสุวรรณภูมิ วันพุธท่ี 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
3000 ปี” ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
CSB TALKS V

ชมย้อนหลังได้ท่ี

https://www.youtube.com/watch?v=Vyx9H1IbbPk

มโหรทึก คอื อะไร ใช้

อยา่ งไร? เก่ยี วข้องกับ

สุวรรณภมู ิอย่างไร?

อ.ศิรพิ จน์ เหล่ามานะเจรญิ ใต้รวมพ้ืนท่ีทางตอนใต้ของ
นกั วิชาการอสิ ระ แม่น้ำแยงซีเกียงของจีน
ผู้ ค น ใ น พื้ น ที่ นั้ น เ ป็ น ค น
เมือ่ พดู ถงึ ดนตรี 3000 ปี สุวรรณภูมิ เขาเป็นคน
จะเก่ียวข้องกับยุคเหล็ก เอเซียตะวันออกเฉยี งใต้ เป็น
กลองมโหรทึก แตเ่ มอื่ ดจู าก คนสุวรรณภมู ิดว้ ย พวกเขา
หลักฐานท่ีเก็บได้แล้วจะอยู่ เพิ่งเป็นส่วนหนึ่งของจีน
ประมาณ 2000 – 2500 ปี เมือ่ ไม่นาน นบั จากราชวงศ์
เมื่อพูดถึงสุวรรณภูมิ จะ ถัง ของจีนลงมายึดพื้นที่
หมายถึง เอเซียตะวันออก ดังกล่าว

เฉียงใต้ในปัจจุบัน แต่ถ้า และได้ผนวกรวมกันเป็นส่วน
ยอ้ นไป 2500 ถึง 3000 ปี หน่งึ ของอารยธรรมจนี
ทแี่ ล้ว เอเซยี ตะวันออกเฉยี ง

49

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า C S B T A L K S V

50 CSB TA L K S V

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า


Click to View FlipBook Version