The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุลสาร ฉบับที่ 1
CSB mini-journal no.I
ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับเดือนสิงหาคม 2563 - พฤษภาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orawin.l, 2021-04-30 06:33:12

CSB mini journal no.1 จุลสารศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา ม.รังสิต

จุลสาร ฉบับที่ 1
CSB mini-journal no.I
ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับเดือนสิงหาคม 2563 - พฤษภาคม 2564

Keywords: จุลสาร ศูนย์สุวรรณภูม,booklet,Ebook,CSB Booklet1,RSU,สุวรรณภูมิ,mini journal,journal,CSB mini booklet no1,CSB Journal No.1,csb booklet 1,rsu,ศูนย์สุวรรณภูม,จุลสาร

ถ้าเทียบกับประเทศไทยเท่ากับประมาณช่วงเข้าสู่สมัย
ประวตั ศิ าสตรจ์ ะเขา้ ส่สู มัยทวารวดี ประมาณ พ.ศ. 1150 พอดี
ฉะน้ันถา้ ยอ้ นไป 2500 – 3500 ปีท่แี ล้ว ผคู้ นในพื้นทด่ี งั กลา่ วมี
วัฒนธรรมรว่ มกับเรามากมาย

อย่างภาพเขียนท่ี คนจว้ งเรยี กว่า “ผาลาย” อยู่ที่ผาหิน เราจะเหน็ ท่าทางทำนองนใ้ี นงานพธิ กี รรมต่างๆ เช่น งานบวช จะ
ฮวาซาน (Huashan Rock Art) ในมณฑลกวางสี ประเทศจีน ซงึ่ มีการรำ ยกมอื ในแบบคลา้ ยๆ กัน เชือ่ กันวา่ คนทว่ี าดภาพพวก
คนกลุ่มน้เี มือ่ ประมาณ 2500 ถงึ 3000 ปี เปน็ คนที่เกี่ยวขอ้ ง น้ีเป็นคนที่พูดภาษาตระกูลไทยในปัจจุบัน แต่ก่อนหน้าน้ียังไม่
กบั เอเซียตะวันออกเฉยี งใต้ ในภาพ ผาลาย ท่ีเป็นวงกลมๆ และ เปน็ ภาษาไทย เรามาเรียกกันทหี ลัง เราเรียกกนั วา่ กลมุ่ ชาติพนั ธ์
ข้างในวงกลมจะเปน็ แฉกๆ สันนิษฐานว่าเปน็ มโหรทึก ทำใมเขา ”จ้วง” คนกลุ่มนีจ้ ะมนี ทิ านทเ่ี กย่ี วข้องกับ “กบ” ค่อนขา้ งเยอะ
จึงข้ึนไปวาดภาพเหล่านี้บนผา จะเห็นว่าผาน้ันสูงมาก ฉะนั้น และมีพิธีกรรมบางอย่าง เช่น เขาจะเอามดี มาเขยี นตวั ให้ผิวหนัง
สนั นิษฐานว่าตวั ผาทำหนา้ ท่ีเป็น backdrop ทีใ่ หญ่มาก แปลว่า ขลุขละเพราะเขาจะใหเ้ ป็นกบ คางคก เพราะกบเรยี กฝนได้ เขา
แล้วตวั เวทีที่เอาไวท้ ำหน้าท่ี เช่น พธิ กี รรมต่างๆ นานาๆ น่าจะ เห็นตามธรรมชาติในเร่ืองความอุดมสมบูรณ์ มันจะร้องก่อน
ต้องอยู่อีกฝั่งหน่ึงของแม่น้ำ เน่ืองจากพ้ืนท่ีตรงหน้าผาแคบ ฝนตก
มากๆ ไม่นา่ จะทำอะไรไดม้ าก ฉะน้นั จะเห็นภาพวา่ พธิ กี รรมทที่ ำจะ
ใหญข่ นาดไหน พูดงา่ ยๆ ว่า ตัว backdrop ของผาลาย ตอ้ ง
เป็นตัวทำพิธีกรรมอะไรบางอย่างท่ีอยู่ในรูปท่ีเขาเขียนไว้ท่ี
หน้าผา จะเห็นภาพวาดของคนทชี่ แู ขนขน้ึ มาทัง้ สองขา้ ง เขา

สนั นิษฐานวา่ เปน็ ท่าเตน้ ทเี่ ลยี นแบบกบ

วันพุธท่ี 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
ขณะถ่ายรายการเสวนา CSB TALKS คร้ังที่ 5

51 51

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า C S B T A L K S V

สัญลักษณ์ที่อยู่บริเวณหน้ากลองมโหรทึก ส่วนใหญ่ตรงกลางของหน้ากลองจะทำเป็นรูปแฉกๆ ปรากฏว่าฝร่ัง
สนใจสญั ลักษณ์นต้ี ัง้ แตศ่ ษตวรรษท่ี 17 – 18 เรมิ่ มีการจดบนั ทกึ ชว่ งน้ันยคุ อาณานคิ ม ฝรง่ั เก็บของพวกนเ้ี ปน็ ของ
สะสม แตต่ วั แฉกตรงกลาง บอกว่าเป็นดาว เป็นพระอาทิตย์ แตค่ นเอเซยี ตะวันออกเฉียงใต้ หรอื แม้แต่คนจนี ดว้ ยกันก่อน
หน้ามฝี รง่ั เข้ามา (อาจารยศ์ ริ ิพจนไ์ ด้มโี อกาสสมั ภาษณผ์ เู้ ฒ่าผ้แู กใ่ นกวางสี เขาเห็นเป็นสัญลักษณ์ พรรคกกมินตั๋ง)
มนั เป็นรูปแฉกเหมือนดวงตะวันจรงิ สังเกตดูตวั มโหรทึก ตัวหจู บั ตา่ งๆ เป็นลายเครอื่ งจักรสานท้งั ส้ิน และตรงกลางของ
เคร่อื งจักรสานท่ีปัจจุบันเรยี กว่า “เฉลว” ซ่งึ เปน็ สัญลกั ษณ์ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ใชไ้ ลผ่ สี างเทวดาได้

ใชท้ ำน่นั ทำนไ่ี ด้ ป้องกันสง่ิ ทีไ่ ม่ดสี ิง่ ชั่วรา้ ยได้ หรอื เอามาปัก
ไวใ้ นยากินแลว้ จะดีขึ้น มันคือลายทส่ี านข้ึนมา เปน็ คร่อื งจกั ร
สาน เป็นชะลอม เป็นเขง่ ฯลฯ คนทศี่ ึกษาเรอื่ งเกยี่ วกับ
เรื่องคติ หรอื ระบบสญั ลักษณโ์ บราณ จะมคี วามเชอ่ื ทำนอง
น้ีท้ังโลก จะใช้เป็นภาษาท่ีเรียกรวมๆกัน ท้ังโลกว่าเป็น
“Endless Knot” คอื “ปมทไี่ มม่ ีทสี่ ิน้ สดุ ” เปน็ สง่ิ ทค่ี อ่ ยๆ ถกั
ขึน้ มาเปน็ จักรวาล เพราะฉะนน้ั สง่ิ นี้นา่ จะเป็น ความหมายที่
ถูกต้องมากกว่าสำหรับผม

ระบบสัญลกั ษณ์ข้างหน้าของตัวกลอง มีอะไรบ้าง ตวั อย่าง
หมอ้ เขยี นสีทไี่ ด้จาก บ้านเชยี ง จ.อดุ รธานี แตจ่ ริงๆ แลว้ หม้อทม่ี ีลาย
เขียนสีแดงแบบน้ี “เจอในหลุมฝั่งศพเท่าน้ัน” ถ้าเจอในบ้านที่อยู่
อาศัยธรรมดาจะไม่มีลายเขียนสีแดง มีความหมายเชิงพิธีกรรม สี
เปน็ ทำนองเดยี วกนั กับผาลาย เราไม่ร้สู ตู รในการผสมสี มภี าพลาย
เส้นของนักโบราณคดีที่มีลายเส้นรูปเดียวกันกับบนหน้ากลอง
มโหรทึก แสดงว่าเปน็ ชดุ (set) เดยี วกนั จะพฒั นาตอ่ ไปเปน็ กระดงึ ที่
เจอทบ่ี ้านเชียง ลายเป็นวน ๆ คือ พฒั นามาจากแฉก อะไรทเ่ี ป็น
ลาย วนๆ น้ี เราเรยี กวา่ “ขวัญ” (ท่อี ยบู่ นศรษี ะ) ขวญั มีอยู่ท้ังใน
คนและสตั ว์ต่างๆ เวลาเจบ็ ปวด เชน่ แขนหัก ยุคบ้านเชยี ง เขาจะ
เรยี กหมอขวัญมา คนโบราณบอกวา่ ขวญั ออกจากแขน เราตอ้ งเรยี ก
“ขวัญเอย๋ ขวัญมา”

52 CSB TA L K S V

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

เวลาคนตาย ขวญั ก็ออกจากร่างไปกเ็ ชน่ กัน เพราะฉะน้นั เวลาคนฝงั ในหลุมฝังศพ ก็จะมีลายเหมือนขวัญ เหมือนอยทู่ ่ี
หน้ากลองมโหรทึก แปลงา่ ยๆ ว่า ลายเฉลวและลายขวญั คือสิง่ เดียวกนั ? มนั คือพลังงานหรือส่ิงศกั ด์สิ ทิ ธิ์ ศูนย์กลางของสง่ิ
ศกั ดิ์สทิ ธิ์ ตอนน้ันน่าจะยงั ไม่มพี ทุ ธศาสนา

ฆอ้ งทเ่ี จอทแ่ี หล่งเรอื จมทีเ่ กาะปาลาวนั (Palawan) ฟลิ ิปปินส์ นักโบราณคดใี ต้นำ้ งมข้ึนมาได้ จะเห็นวา่ หนา้ ฆ้องวาดเป็น
รูปดาว อายุประมาณ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 18 ทุกวนั น้ยี ังมีหลักฐานคลา้ ยๆ แบบนี้ เกาะมนิ ดาเนา ฟิลิปปินส์ กม็ ี

ถาม อาจารยอ์ านนั ท์ นาคคง ถา้ ไมใ่ ชโ่ ลหะ หน้ากลองทำลายแบบนห้ี รือไม่?

ตอบ หนา้ กลองมีเขยี นบา้ ง โดยเฉพาะในล้านนา ซ่ึงจะมรี อ่ งรอยความเกีย่ วข้องกัน ตอนหลงั มาเปน็ ยันต์ โดยรปู
สัญลักษณม์ ีดาว เพราะฉะน้นั ความเชื่อไมไ่ ดห้ ายไปไหน คำอธิบายอาจเปลี่ยนไปความหมายยงั เหมอื นดง่ั เดิม

นอกเหนอื จากลาย เฉลว ขวัญ แลว้ ยังมีลานขบวนแห่ ขบวนตา่ งๆ นานา จรงิ ๆ มันเป็นเรอื่ ง
เดยี วกนั กับบนหน้า “ผาลาย” เราจะเห็น ในขบวน เหน็ รูปเรอื สัตว์ ตะกวด บา้ น ฯลฯ

ส่วนหน้ากลองมโหรทึกหลายอัน จะเห็นว่ามี “กบ” อยู่ เป็นสัญลักษณ์ของความ
สมบูรณ์ เปน็ เรือ่ งของการผลติ ซำ้ (การมลี ูก) ตัวกบข่กี ันอยวู่ ่าดว้ ยเร่อื ง “การขยายพันธ”์ุ
เป็นเรอื่ งความอุดมสมบูรณ์ (มโหรทึกในแรกนาขวัญ) (หลายชนิ้ ท่ีพบ ไมเ่ หน็ กบแลว้ รูปนจ้ี ะ
มหี ู เหมอื นกันทกุ ช้นิ เปน็ ลายเครือ่ งจักรสาน)

53 CSB TA L K S V

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

(อย่างรูปนี้) ดูตรงที่ไม่ใช่หน้ากลอง ด้านข้างจะเป็นรูปเรือ เป็นเทคโนโลยีการป้ันขี้ผ้ึงและเทน้ำสำริดลงไปท่ีหนัง
กลอง นับเปน็ เทคโนโลยขี ั้นสงู (ยากมาก) นักโบราณคดีจนี คน้ พบ และเหมือนกบั เรอื ทใ่ี ช้ในแมน่ ้ำแยงซเี กียง สรปุ คอื
ภาพบนมาจากภาพมโหรทกึ สว่ นขา้ งลา่ ง คอื ภาพเรือในปจั จบุ ัน ทำใมต้องทำรูปเรอื กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ใุ น “จนี ลาว
เวยี ดนาม รัฐฉาน” มหี ลายกลุ่มที่เวลาตาย เขาแกะสลักไม้เปน็ รปู เรอื แล้วให้กำไว้ บางคร้งั “โลงศพกท็ ำเปน็ รูปเรือ”
ความจรงิ คอื เกี่ยวขอ้ งกับความตาย การส่งวิญญาน ตัวขวัญและวิญญานเช่อื วา่ ตอ้ งเดินทางโดยเรอื ใหเ้ หน็ ภาพวา่
มีเรื่องของเรือและอีกโลกหนงึ่ ทเี่ ราไม่ร้แู ล้ววา่ ทไ่ี หน กลองมโหรทกึ เกย่ี วข้องกบั ความอุดมสมบรู ณแ์ ลว้ ยังเก่ียวข้อง
กบั ความตาย และ บนมโหรทึกมักจะมรี ูปนกอยดู่ ้วย “นก” เป็นสัตวท์ ่ีมคี วามสัมพันธก์ ับเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้มาก

นก หรือ หงส์ (คนจีนเรียก เฟิ่งหวง?) ที่เป็น
สัญลกั ษณ์ของพระจกั รพรรด์ิ ในสมัยราชวงศ์ฮ่นั นก
แดง ท่บี ินมาจากทางตอนใต้ ปจั จบุ ันมีคตทิ ีเ่ ก่ยี วกับ
นก ทเ่ี หน็ ชดั ๆ เลยคอื “นกหัสดลี ิงค์” ที่ใชใ้ นงานศพ
ในตำนาน เวลาจะทำนกหัสดลี งิ ค์ เขาตอ้ งไปปลกุ นก
ก่อน พอโดนเผานกจะหายวับ ขวัญของนกหัสดีลงิ ค์
จะกลับไปกลายเป็นก้อนหินก้อนใหญ่ๆ เวลาจะใช้นก
อกี ที ตอ้ งไปทำพิธเี รยี กขวัญ ก็จะกลายรา่ งจากหนิ มา
เป็นนก เวียนกันแบบนี้ เพราะฉะน้ัน ท้ังเรือและนก
เก่ียวข้องกับความตาย

54 CSB TA L K S V

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า

นอกจากนี้ยังมี เคร่อื งดนตรีที่เรียกวา่ “แคน” ด้วย มสี องแบบ อาจารยอ์ านันท์ นาคคง เจอในดองซอน บรวิ เณฝา
กลางและผนัง รปู ลักษณข์ องแคน หัวใจของมันคือ เอาไม้ไผข่ อ้ มาเสียบในนำ้ เตา้ และเรียงไล่ระดบั กนั จะไดเ้ สียงสงู ต่ำ นำ้ เตา้
ธรรมชาติ กับนำ้ เตา้ ประดษิ ฐ์ เปน็ ตน้ แบบแคนของทางอสี าน?

มีนกั โบราณคดี ชาวรสั เซีย ศึกษาลายของ “คนเป่าแคน” ไมไ้ ผท่ เี่ สยี บนำ้ เต้า ทะลุ กบั ไม่ทะลุ มันต่างกัน ได้ผลใน
เรื่องของความสะเทือนของเสียง พัฒนาไปใช้ในดนตรีราชสำนัก (นึกถึงดนตรีในราชสำนักถังเป็นต้นไป) และในเกาหลี
ญป่ี นุ่ มสี ายนเ้ี ป็นหลัก มีเรือ่ งของขวญั ความตาย เรือ นก และยงั มพี ิธเี ฉลิมฉลอง เวลาเราพดู ถงึ ขบวนแห่ ไมน่ า่ จะ
เกี่ยวขอ้ งกบั ความตาย แต่ในเอเซียตะวนั ออกเฉยี งใต้ งานศพ ต้องมี “มหรสพ” ความสนุกสนาน ในงานพระบรมราชพธิ ี
ต่างๆ งานพระบรมศพ ต้องมีเลน่ โขน ฯลฯ คอื ในความเปน็ เอเซียตะวนั ออกเฉียงใตก้ ่อนหนา้ ทีจ่ ะรับศาสนาพทุ ธ พราหม์
เข้ามา ความตายรวมกบั ความย่งิ ใหญ่ ความศักดิ์สทิ ธิท์ ใี่ หค้ ุณให้โทษเราได้ ในพธิ จี งึ ไมแ่ ปลกใจเลยวา่ มีท้งั แคน โขน และ
มโหรทกึ ครับ

“เสยี งเวลาทต่ี ีเมือ่ 2500 ปีท่ีแลว้ ไมใ่ ช่เฉพาะเสียงอยา่ งเดยี ว แต่สัญลักษณท์ อี่ ยู่หนา้ กลอง มันมีความ
ศักดิ์สิทธท์ิ ี่อยู่บนกลองทจี่ ะฟงุ้ ออกมา เป็นพลังงานบางอย่างที่ออกมาด้วย ดังนนั้ โดยตัวกลองมโหรทึกเอง จึงถือ

เป็นของศักดิสิทธิด์ ว้ ย”

ถอดความ (บางส่วน) จากเวทีเสวนา
เร่ือง “สืบสายสัมพันธ์แห่งเสียง ดนตรีสุวรรณภูมิ

3000 ปี”
CSB TALKS ครั้งที่ 5
ติดตามฟังต่อให้จบเสวนา ได้ท่ี HTTPS://
WWW.YOUTUBE.COM/WATCH?V=VYX9H1IBBPK

55

ถ อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก เ ว ที เ ส ว น า C S B T A L K S V

บทส่งท้าย ผองชนชาวมโหระทึกกับดินแดน
สุวรรณภูมิ
ผศ.บญุ รัตน์ ศิรริ ัตนพนั ธ
วทิ ยาลัยดนตรี มหาวทิ ยาลยั รงั สิต
กรรมการศนู ยส์ ุวรรณภมู ศิ กึ ษา

มโหระทึก หรอื กลองกบ คอื ?

“มโหระทึก” หรือ “กลองกบ” กลองทอง กลองบ้งั และ กลองดงเซิน (รปู ท่ี ๑ แบบ Heger II พบมากในจีนตอนใต้ และแบบ
Pejeng ซ่งึ พบมากในอินโดนีเซีย) เปน็ เครอ่ื งดนตรศี กั ดิส์ ทิ ธิข์ องผคู้ นตั้งแตจ่ ีนตอนใต้ ไปจนจรดอินโดนีเซยี และจากพมา่ ไปจนถึงติ
มอรเ์ ลส มีหนา้ ท่ีเปน็ ทั้งเครื่องดนตรี อปุ กรณใ์ นพธิ ีกรรม เคร่ืองรางของขลงั วตั ถุมงคล ภาชนะใส่เบี้ย ข้าว ของประดบั บ้าน และยัง
เป็นสิ่งบอกเล่าทางประวตั ิศาสตร์ สงั คมและวฒั นธรรมของผู้คนในขอบเขตท่ีกล่าวมาแลว้

กลองโลหะท่ีผสมระหว่างทองแดง ดีบุกและตะก่ัวนี้ เป็นเคร่ืองดนตรีเก่าแก่ท่ีมีความสำคัญต่อผู้คนในดินแดนท่ีเรียกว่า
สุวรรณภูมิ อย่างย่ิงยวด ตามหลักฐานทางโบราณคดีกำหนดอายุที่เกิดข้ึนในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ต่อเน่ืองถึงช่วงต้น
ประวตั ศิ าสตร์ (ประมาณ ๒,๐๐๐ ถงึ ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว) โดยงานวจิ ัยของ A.B. Meyer และ Franz Heger ยืนยนั วา่ กลอง
มโหระทึกแบบที่ ๑ (รปู ที่ ๒) มกี ำเนิดทต่ี อนเหนือของเวยี ดนาม ขณะท่ี F. Hirth กล่าวถงึ กำเนิดของกลองมโหระทึกวา่ เรมิ่ ข้ึนท่จี นี
สว่ น J.J.M. Degroot กลา่ วว่าผลติ ข้นึ ครั้งแรกโดยกลุ่มชนในเวยี ดนามตอนเหนอื และตอนใต้ของจนี ขอ้ มลู ครา่ ว ๆ เหล่านท้ี ำใหเ้ รา
เห็นขอบเขตของเวลาและพน้ื ท่ีตน้ กำเนดิ ของกลองชนดิ วา่ มคี วามเกา่ แกเ่ พียงใด


รูปที่ ๑ มโหระทกึ แบบ Heger II และแบบ Pejeng

บ ท ส่ ง ท้ า ย 56

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทสง่ ทา้ ย

ผศ.บุญรัตน์ ศิรริ ัตนพันธ
วิทยาลยั ดนตรี มหาวิทยาลัยรงั สติ
กรรมการศนู ยส์ ุวรรณภมู ิศึกษา

รปู ที่ ๒ มโหระทึก แบบ Heger I

Sylvia Fraser-Liu กลา่ วไวใ้ น Arts of Asia ฉบับเดอื นกนั ยายน-ตุลาคมปี ๑๙๘๓ วา่ “ตลอดคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙
เปน็ ทท่ี ราบกันวา่ กลองทอง (Bronze Drum) นี้หล่อขนึ้ โดยชา่ งชาวฉานท่เี มือง งเวดอง (Ngwedaung) หรือภเู งิน ในรฐั เก
ยาห์ พมา่ ขณะนั้น ...โดยนอกเหนือจากผู้คน ชาวกะเหรีย่ งแล้ว ยังมผี ้คู นจากลาว ไทยและกมั พชู า เดินทางมา
ซอ้ื กลองชนดิ น้ีชว่ งปลายฝนเดือนตลุ าคมถงึ พฤศจิกายน เพ่ือจะไปขายตอ่ ให้กบั ชนเผา่ ตา่ ง ๆ อย่าง ข่า ขมุ
เป็นต้น

...ยงั มีรายงานว่า อไู ซน์ (U Sein) จากเมอื งลอยเกา (Loikaw เมอื งหลวงของรฐั เกยาห์) คร้งั หนึ่งถึงกบั ตอ้ ง
เปดิ สาขาเป็นหนา้ รา้ นเพ่ือโฆษณาขายกลองนท้ี ่ถี นนเมอรแ์ ชนท์ในกรุงยา่ งกุง้ เลยทีเดียว” ขอ้ ความน้ีบง่ ชถ้ี ึงความ
สำคัญอันต่อเนื่องยาวนานของกลองชนิดน้ีในกลุ่มชนต่าง ๆ ของดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างมีนัยยะ
สำคญั โดยอาจมไิ ด้มกี ารขาดตอนไปเลยนบั แตก่ ารสร้างกลองนีข้ ึน้ เป็นครง้ั แรกเมือ่ ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว กลองที่
เป็นดังสัญลักษณ์สำคัญอันบันทึกความเชื่อของผู้คนในสุวรรณภูมิเอาไว้นี้ จากเดิมใช้เพ่ือพิธีกรรมในลัทธิไหว้ผี
บรรพชนและธรรมชาติ ผา่ นเข้าส่ยู ุคท่ีพุทธศาสนาแผม่ ามอี ิทธพิ ล จนถึงการขยายตัวของศาสนาอสิ ลาม ศาสนา
ครสิ ต์ จนถงึ ยคุ ล่าอาณานคิ ม และผ่านมาจวบจนปัจจบุ ันได้อย่างนา่ อศั จรรย์

มโหระทกึ พบท่ีใดบา้ ง และสรา้ งมาแตเ่ มือ่ ไร?

กลองมโหระทกึ หรอื กลองกบพบในพ้ืนทด่ี งั ท่ีกลา่ วไปในตอนต้น โดยพบมากทีส่ ุดในตอนใต้ของจีน ตั้งแต่มณฑลยู

นนานจนถึงเขตปกครองตนเองกวางสจี ว้ ง และตอนเหนือของเวยี ดนาม ถัดมาพบในเมียนมา ไทย ลาว กมั พชู า และส่วน

คาบสมทุ รทางตอนใตข้ องไทยจนถงึ แหลมมลายู สว่ นในหมูเ่ กาะนั้น พบในอนิ โดนีเซีย จนถงึ ตมิ อรเ์ ลสจาก Kenji

Immamura แบ่งยคุ ของการกระจายตวั ของมโหระทกึ ออกเป็น 4 ระยะคอื (ก) ระยะ ๐ หรอื ระยะแรกเริม่ (ราว

๔๐๐-๓๐๐ ปกี อ่ น ค.ศ.) ระยะน้ีไมส่ ามารถกำหนดอายแุ นช่ ัดของการกำเนิดกลองมโหระทึกได้ พบกลองระยะ ๐ น้ี

ในมณฑลยูนนาน เขตปกครองตนเองกวางสีจว้ งและทางตอนเหนอื ของเวียดนาม (ข) ระยะที่ ๑ (ราว ๓๐๐-๑๐๐ ปี

กอ่ น ค.ศ.) 57

บ ท ส่ ง ท้ า ย ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทส่งท้าย

พบการแพร่หลายของกลองขึ้นทางเหนือของจีนและแพร่ไปทางตะวันตกถึงเมียนมา พบทางตะวันออกมากข้ึนใน
เวียดนาม ลงมาในลาวและทางตอนใต้ของไทย Kenji Immamura กลา่ วว่าทง้ั กลุม่ วฒั นธรรมดงเซนิ (Dong Son) และวฒั น
ธรรมสือไจ้ซาน (Shizaishan) นน้ั เกิดข้ึนในเวลาไลเ่ ลีย่ กนั ค) ระยะท่ี ๒ (ราว ๑๐๐ ปี กอ่ น ค.ศ. – ค.ศ ๑๐๐) พบกลอง
มโหระทกึ ยคุ นี้เพยี ง ๔ ใบเท่านน้ั ในจีน ซึ่งดเู หมอื นวา่ พัฒนาการจะขาดช่วงไป อยา่ งไรกต็ าม ในเวียดนามยงั คงมีการผลิต
อย่างต่อเนอ่ื งแมว้ า่ จะลดลงกต็ าม ในภาพพบการกระจายตวั ลงไปยังหมู่เกาะทง้ั เขตประเทศอินโดนเี ซียและติมอร์เลสขนาน
ใหญ่ และขนาดของกลองก็ใหญข่ ึ้นดว้ ย ง) ระยะท่ี ๓ (ราว ค.ศ. ๒ - ?)

ปรากฏว่ามโหระทึกกลับไปผลิตในเขตปกครองตนเองกวางสีจ้วง และพบที่เขตภูเขา ตอนเหนือของ
เวียดนาม ซ่ึงเป็นเครอ่ื งบง่ ชวี้ า่ มโหระทึกระยะนก้ี ระจายไปอยู่ในประเพณีของชนเผ่าบนภเู ขามากกวา่ จะใช้โดยผ้ผู ลติ
ด้งั เดิม ส่วนทางตอนใต้ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พบเพียงแค่ ๓ ใบเทา่ นนั้ แตก่ ลบั พบการเปลี่ยนรูปไปเปน็ แบบ
Pejeng อย่างในอินโดนีเซีย

เครื่องดนตรีประกอบพธิ ีกรรม บอกเลา่ ประวตั ศิ าสตร์ และบนั ทกึ เร่ืองเครือ่ งดนตรอี ีกชนดิ สาวไปถงึ คนเผ่าไทและ
เผา่ อ่ืน

“...บ้างขับสรรพสำเนยี ง เสียงหมูน่ กั คุน จุนกันไปเดยี รดาษ
พืน้ กลองแตรสงั ข์ ระฆังกงั สดาล มหรทึก กกึ กอ้ งทำนุกด.ี ..”
(ใตรภูมพิ ระรว่ ง - สมยั สุโขทยั )

บ ท ส่ ง ท้ า ย 58

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทส่งท้าย

จากวรรณคดีไตรภูมิพระรว่ งสมัยสุโขทยั กล่าวถงึ “มหรทึก” พธิ ีกรรมระดับ “ราชพิธี” ทำให้เราทราบวา่ กลอง
มโหระทกึ เปน็ เคร่ืองดนตรปี ระกอบในพธิ กี รรมสำคญั ตามความเชือ่ ตา่ ง ๆ ของผูค้ นในดินแดนสวุ รรณภูมิ ซ่ึงเปน็ ผองชน
“ชาวกลองมโหระทกึ ” อยา่ งท่ี อาจารย์ชลธริ า สัตยาวฒั นา เรยี กไว้ใน “ด้ำ แถน กำเนดิ รัฐไท” อย่างไม่ต้องสงสยั แต่
ความเชื่อมโยงทางประเพณีต่าง ๆ ที่สืบทอดกันมายาวนานทำให้เห็นขอบเขตทางวัฒนธรรมในเชิงพ้ืนที่ไปด้วยในตัว
ความเชอื่ มโยงเหล่านัน้ ปรากฏอยู่บนลวดลายกลองมโหระทกึ และรูปโลหะท่ีสรา้ งขน้ึ บนตัวกลอง ท้ังดวงดาว ฟา้ ผ่า เรือ
เงือก นกกระสา ฯลฯ แต่ทนี่ า่ สนใจอย่างมากทีน่ ่ากล่าวถงึ กค็ อื ลวดลายคนฟอ้ น คนเปา่ แคน สว่ นรูปโลหะนนั้ มภี าพทำพิธี
บูชายัญเสาด้ำงูบนกลองมโหระทกึ ยนู นาน ซึง่ ใช้เปน็ ไหใสเ่ บ้ีย (Cowry Container) เปน็ ตัวอย่างอันดี

รปู คนฟ้อนและคนเปา่ แคน (รปู ที่ ๓ และ ๔) จากหนา้ กลองมโหระทกึ Ngoc Lu พบในเวียดนามเปน็ รูปทแี่ สดงใหเ้ หน็
ถึงพธิ ีกรรมของผองชน “ชาวกลองมโหระทึก” (ซ่ึงอาจเรียกวา่ ชาวสุวรรณภูมไิ ดห้ รอื ไม่?) เมื่อพจิ ารณาถงึ ลวดลายและยคุ
ของกลองมโหระทึกแบบ Heger I กเ็ ปน็ เครอ่ื งบง่ ชถ้ี ึงบทบาทของแคนใน นาฏพิธลี ำผฟี า้ ซงึ่ ประกอบดว้ ยหมอลำผฟี า้
หมอแคน ผู้ปว่ ย และเคร่ืองคาย ซ่งึ มีมานานถึงราว ๓๐๐-๑๐๐ ปี ก่อน ค.ศ. หรอื ราว ๒,๓๐๐ ปีมาแลว้ และทำใหเ้ กิด
คำถามว่า ไปได้หรอื ไม่ วา่ ลวดลายบนหน้ากลองในรูปน้ี กำลังหนา้ ทีเ่ ปน็ ภาพตำรา (อนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์) ถงึ การทำพิธดี ังกลา่ ว

รูปท่ี ๓ หน้ากลองของกลองมโหระทกึ Ngoc Lu จากเวียดนาม และลวดลายท่ีแกะออกมา รูปที่ ๓ หนา้ กลองของกลองมโหระทกึ Ngoc Lu จากเวยี ดนาม
และลวดลายทแี่ กะออกมา

บ ท ส่ ง ท้ า ย 59

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทส่งทา้ ย

ส่วนการฟ้อนในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์บนลายกลองซ่ึงพบท่ีกวางสีนั้น กลับพบภาพอันมีชีวิตยุคปัจจุบันในหมู่
เกาะอนั ห่างไกลอยา่ งบอร์เนียว ท้งั น้ี โปรดสงั เกตวา่ นกั ดนตรีท่ีตีประกอบการฟอ้ นน้ัน มิได้ตีมโหระทึกอีกแล้ว แตก่ ลบั ตี
ฆ้องแทน เป็นไปได้หรอื ไม่ว่า ฆ้องนค้ี อื พัฒนาการทส่ี บื เนื่องจากมโหระทกึ ?

รปู ท่ี ๔ ภาพคนฟอ้ นบนกลองมโหระทึกแบบดงเซินเปรยี บเทียบกบั พธิ กี รรมชาวอบิ านในบอรเ์ นยี ว

ภาพพธิ ีบูชายญั เสาด้ำงู จากมโหระทึกยนู นาน (รปู ท่ี ๕) เป็นภาพแสดงประวัตศิ าสตรท์ างสังคมและวัฒนธรรม
ของชนเผา่ กลองมโหระทึกอยา่ งชดั แจ้งท่ีสุดอนั หนึ่ง มที ั้งการสงั เวยมนษุ ย์ผู้ชายกับเสานาคเกย้ี ว (อย่างที่ไทยเราสังเวย
มนษุ ย์กับหลกั เมอื ง?) และการบรรเลงกลองมโหระทกึ ในฐานะเคร่ืองดนตรีศักดส์ิ ิทธ์ิ ๒ แบบ คือ แบบนั่งตมี โหระทึกแขวน
และตใี บเลก็ ๆ หลายใบ แบบแรกคล้ายฆ้องโหม่ง แบบหลังคลา้ ยกับฆ้องรางหรือฆอ้ งวง ลักษณะการบรรเลงมโหระทกึ และ
เสยี งดนตรที เี่ กดิ ขน้ึ การบรรเลงมโหระทกึ ทพี่ บนั้นมีรปู แบบหลัก ๆ ที่พบ ๓ แบบดว้ ยกนั คอื ก) ตีด้วยไม้นวมและไม้แข็ง
หรอื ดว้ ยฝ่ามอื อยา่ งละขา้ ง จะแขวนหรือตัง้ ตะแคงก็ได้ ข) ตีมโหระทึกทีแ่ ขวนไว้กบั ขอ่ื ดว้ ยไมน้ วมข้างเดยี ว ทง้ั สองแบบน้ีจะ
ตีดว้ ยกันหลาย ๆ ใบกไ็ ด้ ค) วางมโหระทึกโดยหนั หน้ากลองขึน้ แลว้ ตดี ้วยไมข้ นาดเล็ก บางครั้งจะตซี า้ ยขวาสลับกนั

การตใี นลกั ษณะ ก) นัน้ จะเกดิ เสียง 2 แบบ คือเสียงทุม้ จากไม้นวมและเสียงแหลมจากไมแ้ ข็งหรอื วัสดุอย่างอนื่ ข)
จะใหเ้ สียงทุ้มกังวาน โดยเฉพาะเมอื่ ตีดว้ ยไม้ขนาดใหญ่ แตจ่ ะให้เสยี งทุ้มสงู กว่าเมอ่ื ตีดว้ ยไม้ขนาดเลก็ แบบ ค) จะใหเ้ สียง
ทุ้มสงู แต่สามารถตดี ว้ ยสองมือได้

บ ท ส่ ง ท้ า ย 60

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทสง่ ท้าย

การตีในลักษณะ ก) และ ข) น้ันพบในวฒั นธรรมของจนี ตอนใต้ และชนกลมุ่ น้อยชาวกระเหรีย่ งทั้งในตอนใต้ของจีน
และทางตะวนั ออกของเมยี นมา (รปู ท่ี ๖) สว่ นในทอ่ี น่ื พบการประยกุ ต์เอาไปตกี บั กลอง อยา่ งกลองสะบัดชัยและกลองปูจา
ทางภาคเหนือของไทย และการตฆี อ้ งโหม่งท่มี ีการแขวนกับขื่อคา ท้ังเปน็ ลักษณะใบเดียวหรอื หลายใบพร้อมกนั (รปู ที่ ๗)
แบบ ค) นั้นในจนี ตอนใตพ้ บการประยุกต์จากลกั ษณะของภาพท่ี ๕ มาทำใหม่ แต่ในทีอ่ น่ื พบในพระราชพธิ ขี องไทยอยา่ ง
แรกนาขวญั และการตปี ระโคมกอ่ นการทำวตั รท่วี ัดบวรนเิ วศรวิหาร กรงุ เทพมหานคร ซ่งึ เป็นการตีสลบั กันสองมอื (รปู ท่ี
๘) และการตฆี อ้ งราง ฆ้องวง อย่าง Bonang ในวงกาเมลันอนิ โดนีเซยี (รปู ที่ ๙) เป็นตน้





รูปท่ี ๕ กลองมโหระทึกยูนนาน เป็นไห

ใส่เบี้ย แสดงภาพประรวปู ัตทิศ่ี า๕สกตลรอ์ทงามงโหระทึกยนู นาน เป็นไหใสเ่ บีย้ แสดงภาพประวัตศิ าสตรท์ างสงั คมและวัฒนธรรม

สังคมและวัฒนธรรม

บ ท ส่ ง ท้ า ย 61

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทสง่ ทา้ ย

ผศ.บญุ รตั น์ ศริ ิรัตนพันธ
กรรมการบริหารศนู ย์สุวรรณภูมิศกึ ษา

รปู ท่ี ๗ การตกี ลองสะบัดชยั กลองปูจาและการแห่ฆอ้ งไตใหญ่ทางภาค
เหนือของไทย

รูปท่ี ๖ วธิ กี ารตีกลองกบของชนเผ่ากระเหรี่ยงในพม่าและชาวจว้ งในจนี ตอนใต้
รปู ท่ี ๘ กลองมโหระทึกวัดบวรนเิ วศรวหิ ารและการบวงสรวงกลองมโหระทึกที่กรมสรรพาวธุ กรงุ เทพมหานคร

รูปที่ ๘ กลองมโหระทึกวัดบวรนิเวศฯ

และการบวงสรวงกลองมโหระทึกท่ีกรม
สรรพาวุธ กรุงเทพมหานคร

บ ท ส่ ง ท้ า ย 62

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทส่งท้าย

ท้ังหมดนบ้ี อกอะไรแกเ่ ราท่เี กยี่ วขอ้ งกบั สวุ รรณภูมิ ไดบ้ า้ ง?
เรอื่ งมโหระทกึ ท้งั หมดนี้ให้ข้อมูลกบั เราท่สี ำคัญอยู่ ๓ ประเด็นคอื
หน่งึ กลองมโหระทกึ หรือกลองกบน้ี มอี ิทธิพลในดนิ แดนต้ังแต่จีนตอนใต้จรดอนิ โดนีเซียและจากเมยี นมาไปจนถึง
ติมอร์เลสเต มาหลายพนั ปี เปน็ สิ่งของศักด์ิสิทธใิ์ นพ้ืนที่นี้จนกระทั่งปจั จุบนั
สอง กลองชนดิ นม้ี กี ารกลายรปู ไปเป็นเคร่ืองดนตรชี นิดอ่ืนท่ียงั มบี ทบาทในชีวิตประจำวันของผ้คู นนอกเหนือจาก
พิธกี รรม อยา่ งเช่นกลองสะบัดชัย กลองปจู า รวมถึงฆอ้ งชนดิ ต่าง ๆ
สาม ตัวกลองเองเป็นเครื่องมอื เล่าประวตั ศิ าสตร์ของ “ผองชนชาวมโหระทกึ ” หรือผองชนชาวกลองโลหะและฆ้อง
ซึ่งอาจทำใหเ้ ห็นขอบเขตของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ก่ี ว้างขวาง (Greater South East Asia) หรอื ดนิ แดนสวุ รรณภูมิ
“ในฐานะพนื้ ทีท่ ่มี ีความเจริญรงุ่ เรืองมาอยา่ งยาวนาน มีวฒั นธรรมรว่ มท่ีเป็นเอกภาพและมีเอกลักษณ์โดดเด่นแหง่
หนง่ึ ในโลก”

รูปที่ ๙ ฆ้องราง BONANG ในวงกาเมลันอินโดนีเซีย
และฆ้องราง มัณฑเลย์ เมียนมา โปรดดูเทียบกับรูปท่ี ๕

บ ท ส่ ง ท้ า ย 63

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทสง่ ทา้ ย

อ้างองิ ท่ีมาภาพ

รปู ที่ ๑
มโหระทกึ แบบ Heger II
https://line.17qq.com/articles/lkclnmlpv.html
มโหระทกึ แบบ Pejeng
https://www.wikiwand.com/en/Pejeng_drum
รูปที่ ๒
https://dongsonarchive.com/news/xk63xnnlks3jjn83can9zy5kxwsh9s
รปู ที่ ๓
https://en.wikipedia.org/wiki/Ngoc_Lu_drum
รูปท่ี ๔
ภาพคนฟ้อนบรกลองมโหระทกึ แบบดงเซนิ จากพิพิธภณั ฑเ์ ขตปกครองตนเองกวางสจี ว้ ง
https://m.visitourchina.com/nanning/attraction/guangxi-provincial-museum.html
พธิ ีกรรมชาวอิบานในบอร์เนยี ว
https://symbiosis-travel.com/malaysia/sports-adventure/182/upriver-adventures-with-the-iban/
รูปที่ ๕
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Western_Han_Dian_Bronze_Cowrie_Container_2b.jpg
รูปท่ี ๖
กลองกบกะเหรย่ี งในเมยี นมา
http://bharatkalyan97.blogspot.com/2015/05/dating-tin-bronze-culture-of-ancient_15.html
กลองกบในจีนตอนใต้ (แทน)
http://ethno.ihp.sinica.edu.tw/en/southwest/main_ZH-06.html
รปู ท่ี ๗
การตีกลองสะบัดชยั
https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/ewt_news.php?nid=3369&filename=index

บ ท ส่ ง ท้ า ย 64

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

บทส่งท้าย

ผศ.บญุ รตั น์ ศริ ิรตั นพนั ธ
วทิ ยาลัยดนตรี มหาวิทยาลยั รังสิต

กรรมการศูนยส์ วุ รรณภูมศิ กึ ษา

อา้ งอิงทมี่ าภาพ

รูปท่ี ๘
มโหระทึกวัดบวรนเิ วศวหิ าร
https://www.matichon.co.th/prachachuen/prachachuen-scoop/news_2196949

มโหระทกึ กรมสรรพาวุธ
https://www.matichon.co.th/court-news/news_1380524

รูปท่ี ๙
โบนงั อนิ โดนเี ซยี
https://en.wikipedia.org/wiki/Bonang
ฆ้องราง มณั ฑะเลย์
https://www.gotoknow.org/posts/233977

บ ท ส่ ง ท้ า ย 65

ผ อ ง ช น ช า ว ม โ ห ร ะ ทึ ก กั บ ดิ น แ ด น สุ ว ร ร ณ ภู มิ

ปกณิ กะ

เก็บข่าว ประชาสัมพันธง์ านเสวนาของศูนยส์ ุวรรณภูมิศึกษา

ป กิ ณ ก ะ ท้ า ย เ ล่ ม 66

: เ ก็ บ ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ง า น เ ส ว น า

ปกิณกะ

เกบ็ ข่าว ประชาสัมพนั ธ์งานเสวนาของศูนย์สุวรรณภูมศิ กึ ษา

ตราดินเผารูปเรือสำเภา พบที่เมืองนครปฐม จัดแสดงอยู่ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

67

ป กิ ณ ก ะ ท้ า ย เ ล่ ม : เ ก็ บ ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ง า น เ ส ว น า

ปกิณกะ

เก็บข่าว ประสานความรว่ มมอื กับหน่วยงานภายนอกและภาคเี ครือขา่ ย

ขา่ วการร่วมลงนามความร่วมมือกับ “จสิ ดา้ ”
(Gistda)

“ผนึกกำลังร่วมสร้างคุณค่า
อารยธรรมสุวรรณภูมิ” รว่ มกับ 10 หนว่ ย
งาน

ข่าวเสวนารว่ มจดั
“จากกะเหรี่ยงบางกลอย ถงึ อนาคต

กฎหมายคุ้มครองวิถชี าติพนั ธ”์ุ

ป กิ ณ ก ะ ท้ า ย เ ล่ ม 68

: เ ก็ บ ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ง า น เ ส ว น า

ปกณิ กะ

เกบ็ ภาพ ประสานความรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกและภาคีเครือข่าย

ศนู ยส์ วุ รรณภมู ศิ กึ ษา มหาวิทยาลยั รงั สิต

ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วม

มือทางวิชาการและการส่งเสริมขับเคล่ือนการ

สรา้ งคณุ คา่ ภูมิอารยธรรมสวุ รรณภูมิ ร่วมกัน

ทั้ง 10 หน่วยงานชัน้ นำ จิสดา องค์การบรหิ าร

พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเท่ียวอย่าง

ย่ังยืน (องค์การมหาชน) กรมศิลปากร

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม ห า ม กุ ฎ ร า ช วิ ท ย า ลั ย

มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฎ

พระนคร มหาวิทยาลยั บูรพา มหาวิทยาลัย

ราชภัฎราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลธัญบุรี และ มลู นิธสิ มั มาชพี

(ณ ห้อง BB 201) โรงแรมเซน็ ทารา บายเซ็นทา

รา ศูนย์ราชการ (คอนเวนชันเซ็นเตอร์

แจ้งวัฒนะ กทม.) เมือ่ วนั ศุกรท์ ี่ 21 สงิ หาคม

2563

โดย ดร.ปกรณ์ ผู้อำนวยการสำนกั งาน

พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

(องคก์ ารมหาชน) หรอื จสิ ด้า กลา่ วว่า “งานน้ี

ถื อ เ ป็ น จุ ด เ ร่ิ ม ต้ น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร

ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ภู มิ อ า ร ย ธ ร ร ม สุ ว ร ร ณ ภู มิ ใ น

อนาคต ด้วยองค์ความรู้ ข้อมูลทางวิชาการ

ทางด้านวฒั นธรรมและประวตั ศิ าสตร์ ร่วมกบั

การประยุกต์เทคโนโลยี ไปสู่การพัฒนาพ้ืนท่ี https://www.gistda.or.th/main/th/node/4038
และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนในประเทศ

และภมู ิภาคอาเซียนตอ่ ไป”

T-shaped painting on silk from Xin Zhui’s From han tomb No.1 Mawangdui, changsha city, hunan province, 1972.
ทม่ี าภาพ : http://www.hnmuseum.com (hunan museum)

“ตงุ เซน่ ศพนางพระยาเมอื งไท่ สตรสี งู ศกั ดชิ์ าวเยว่ แหง่ อาณาจกั รฉ”ู่ ขดุ พบท่ี ต.หมา่ หวงั ตยุ อ.ฉางซา มณฑลหหู นาน
สมยั ราชวงศฮ์ นั่ ตะวนั ตก (206 ปกี อ่ น ศ.ศ. - ค.ศ. 24)

อา้ งองิ : ชลธริ า สตั ยาวฒั นา. สบื สานประวตั ศิ าสตรส์ งั คมและวฒั นธรรม ไปเ่ ยว่ การศกึ ษาเชงิ มานษุ ยวทิ ยา.
กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สำนกั พมิ พส์ รา้ งสรรค์ ำกดั , 2544.

69

ป กิ ณ ก ะ ท้ า ย เ ล่ ม : เ ก็ บ ภ า พ ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย

ปกิณกะ

เกบ็ ภาพ ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานภายนอกและภาคเี ครอื ข่าย

ศูนย์สุวรรณภูมศิ กึ ษา มหาวิทยาลัยรังสิต

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเดินหน้าขับเคล่ือนการ
จดั ตง้ั “สถาบนั สุวรรณภมู ศิ ึกษา” ใน “ธชั ชา” (วิทย
สถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรม
ศาสตร์ หรือ Thailand Academy of Social Science
Humanities and Arts) โดย กระทรวงการอดุ มศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (อว.) ไดเ้ รง่ พัฒนา
งานวิจัยและนวัตกรรมทางสังคมระยะแรก ด้าน
สุวรรณภูมิศึกษา เศรษฐกิจพอเพียง โลกคดีศึกษา
พิพิธภัณฑ์ศิลปกรรมและช่างศิลป์ท้องถ่ิน หวัง
กระตุ้นให้ไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิปัญญาและสร้าง
องค์ความรเู้ พื่อการพฒั นาประเทศในศตวรรษที่ 21 ให้
ครบทกุ ศาสตร์อย่างย่งั ยืน

โดยมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่
25 กมุ ภาพันธ์ 2564 โดยรฐั มนตรวี ่าการกระทรวง
การอดุ มศึกษาฯ
ศ.(พเิ ศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์

ติดตามข่าว
https://www.mhesi.go.th/index.php/pr-executive-news/
3262-2021-02-26-14-07-46.html

70

ป กิ ณ ก ะ ท้ า ย เ ล่ ม : เ ก็ บ ภ า พ ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย

ปกิณกะ

เสวนารว่ มจัด
เวทสี าธารณะ หัวขอ้ “จากกะเหรีย่ งบางกลอย ถงึ อนาคตกฏหมายคมุ้ ครองชาติพนั ธ”์ุ

เมือ่ วนั ท่ี 21 มกราคม 2564 เวลา 10.00 - 12.00 น.
เวทีสาธารณะ หัวขอ้ “2 ทศวรรษ ปญั หากะเหรยี่ งบางกลอย ถงึ แนวทางแก้ปญั หาชาตพิ นั ธ์”ุ

เมื่อวนั ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 10.00 - 12.00 น.

The Active (LIVE) รว่ มกับ ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสิรินธร และองคก์ รภาคี
ศนู ยส์ ุวรรณภูมศิ ึกษา ม. รงั สติ
ชมรมนกั ขา่ วสิ่งแวดล้อม

ศูนย์ส่อื สารวาระทางสงั คมและนโยบายสาธารณะ Thai PBS

71

จุลสารของศูนย์สวุ รรณภูมศิ ึกษา มหาวทิ ยาลยั รงั สิต
ฉบบั ที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 - พฤษภาคม 2564
พมิ พ์ครง้ั แรก : พฤษภาคม 2564
จำนวนพิมพ์ 50 เล่ม
(แจกเปน็ ทีร่ ะลึก)
จัดทำโดย
ศูนยส์ ุวรรณภมู ศิ ึกษา มหาวทิ ยาลัยรังสิต
ตดิ ต่อ 02-997-2200 ตอ่ 6624,6625
https://www.facebook.com/CSBRSU
คณะท่ีปรกึ ษา
รองอธกิ ารบดีฝ่ายพฒั นาสังคม คณุ อานนั ท์ หาญพาณชิ ย์พันธ์
รองอธิการบดีฝา่ ยการตา่ งประเทศ ดร.พิชยพันธุ์ ชาญภมู ิดล
ผศ.บุญรตั น์ ศริ ิรัตนพันธ
เรยี บเรียง ออกแบบปก-รูปเลม่ พสิ จู นอ์ กั ษร
โดย อรวนิ ท์ ลิขิตวิเศษกลุ
ประสานงาน
โดย มยรุ ี วัฒนกุลจรสั

จดั พิมพท์ ี่
บริษัท เอส.เอส.พรนิ้ ตงิ้ แอนด์ ดีไซน์ จำกดั
200/12 หมู่ 6 ต.ไทรม้า อ.เมืองนนทบรุ ี จ.นนทบุรี 11000

ศูนย์สุวรรณภูมิศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต

ห้อง 206 อาคาร 19 คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต
ติดต่อ 02-997 2200 ต่อ 6624 - 6625
HTTPS://WWW.CSBRSU.COM
HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/CSBRSU


Click to View FlipBook Version