The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by coop.sbc, 2019-11-20 03:32:54

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

1. บทคัดย่อประเภทให้ข้อมูลความรู้ (Informative Abstract) เขียนเพื่อรายงานผลการศึกษาหรือบทสรุปที่
ผู้ใช้ตอ้ งการอยา่ งเพียงพอ เพ่อื หลกี เล่ียงความจําเปน็ ในการอา่ นเอกสารต้นฉบับ

2. บทคดั ยอ่ ประเภทพรรณนา (Indicative of Descriptive Abstract) เขียนเพ่อื ชี้แนะข้อเท็จจริงท่ีสําคัญที่สุด
ในเอกสาร โดยปราศจากรายงานถึงผลการศึกษา ค้นควา้ หรือสรุป เพ่ือใหผ้ อู้ ่านใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจว่าจะตอ้ ง
อ่านหรือศึกษาเอกสารต้นฉบับหรือไม่ โดยทั่วไปนิยมใช้เขียนเพื่อสรุปเอกสารท่ีนําเสนอหรือทัศนคติท่ีกว้างขวาง
เช่น เอกสารดา้ นมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรอื บทวิจารณ์ เปน็ ตน้

การเขยี นบทคดั ย่อมหี ลักสําคัญ 3 ประการ ดงั น้ี
1. มีความสั้น กระทัดรัด และกระชับ คือ เลือกเฉพาะสาระที่เป็นประเด็นใจความสําคัญของเอกสาร โดย

ใช้สํานวนที่กระทัดรัด มีความกระชับ หลีกเลี่ยงการใช้คําหรือประโยคที่มีความยาว หรือมีความซํ้าซ้อน ความยาว
ของบทคัดย่อไม่มีกําหนดไว้ตายตัว ขึ้นอยู่กับชนิดของเอกสารและเนื้อหาสาระของเอกสารน้ัน ๆ ว่ามีความสําคัญ
มากนอ้ ยเพียงใด โดยทวั่ ไปบทคัดย่อจะมเี พียง 1 ย่อหน้า แตส่ าํ หรับเอกสารงานวิจยั มไี ด้มากกวา่

2. มีความถูกต้อง คอื สามารถถ่ายทอดประเด็นสําคัญของเอกสารได้อย่างถูกต้องตามความหมายเดิมของ
เอกสารตน้ ฉบับ ไม่ควรมีการตีความหรอื แสดงความคดิ เห็นใดอนั ทําให้ผอู้ ่านเข้าใจสาระของเอกสารต้นฉบับผิดไป

3. มีความชัดเจน การเรียบเรียงถ้อยคําเพื่อเสนอในบทคดั ย่อจะต้องส่ือความหมายให้เข้าใจชัดเจนโดยใช้
รูปประโยคท่ีสมบูรณ์ ไม่ใช่เขียนกระท่อนกระแท่นเป็นคําการเขียนบทคัดย่อสําหรับงานสหกิจศึกษาการเขียน
บทคดั ย่อสาํ หรับงานสหกจิ ศึกษา เปน็ การเขียนบทคัดยอ่ ประเภทใหค้ วามรู้ (Informative Abstract) ควรมีเนื้อหา
ท่ปี ระกอบด้วยส่วนสําคัญ ดังต่อไปน้ี คือ

 จุดประสงค์ เป็นการอธิบายให้ทราบถึงจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติงานว่ามุ่งในเรื่องใดบ้างและหาก
จาํ เปน็ ตอ้ งกล่าวถึงปญั หาสําคัญของการศึกษาวิจัยหรืองานทเี่ กีย่ วขอ้ งก็อาจกล่าวไว้โดยยอ่

 วิธกี าร เปน็ การอธิบายขน้ั ตอน เทคนคิ อุปกรณ์ เครอื่ งมือ สารเคมีที่สาํ คญั ทใ่ี ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านโดยยอ่

37 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 ผลและบทสรปุ เปน็ การกล่าวถึงผลการปฏิบัติงานโดยการเขียนอย่างกระทัดรัด และให้ความรู้ความเข้าใจ
มากที่สุด หากกล่าวถึงสิ่งทีเ่ ป็นผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน นอกจากน้ี อาจมีข้อเสนอแนะการประเมินผล
และแนวทางการใชป้ ระโยชนส์ าํ คญั

7.4 รปู แบบการเขียนอ้างองิ และบรรณานุกรม
การอา้ งองิ หมายถงึ การบอกแหล่งท่มี าของขอ้ ความทใ่ี ชอ้ า้ งองิ เน้อื หาทนี่ ํามาเขยี นเรยี บเรยี งปจั จุบนั ใน

การอา้ งองิ แบบแทรกปนเน้ือหา ซง่ึ มี 2 ระบบ คอื
1. ระบบนาม – ปี เปน็ ระบบทม่ี ชี อื่ ผแู้ ต่ง , ปที ่พี มิ พ์ และเลขหน้าทีอ่ า้ งอิงอยู่ ภายในวงเล็บ ดงั ตวั อย่าง
(ชือ่ ผแู้ ต่ง. ปีทพ่ี ิมพ์ : เลขหน้าอ้างองิ )
2. ระบบหมายเลข เปน็ ระบบทค่ึ ลา้ ยคลึงกับระบบนาม – ปี แตล่ ะระบบนี้จะใช้หมายเลขแทนชอื่ ผแู้ ต่ง
เอกสารอ้างอิง มอี ยู่ 2 วิธี คอื
2.1 ใหห้ มายเลขตามลําดับของการอา้ งองิ
2.2 ให้หมายเลขตามลาํ ดบั อกั ษรผู้แต่ง
บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายการของเอกสารต่าง ๆ รวมไปถึงทรัพยากรสารสนเทศ

ทั้งหมดท่ีผู้ทํารายงานได้ใช้ประกอบการเขียนรายงาน ท้ังท่ีปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนที่ไม่ปรากฏ
ชัดเจน แตอ่ าจเป็นเพยี งการรวบรวมความคดิ หลายแนว แล้วนํามาเรยี บเรียงใหม่

38 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

7.5 การสง่ งานหลงั เสรจ็ ส้นิ การปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา

หมายเหตุ เอกสารทุกอย่างให้นักศึกษาส่งได้ท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษา ประกอบด้วย 1. เล่มรายงาน
การปฏิบัติงาน 2 เล่ม หรือตามท่ีสาขากําหนด 2.บทความ 3.CD แบบประเมินจากสถานประกอบการหลังจาก
เสร็จสิน้ การปฏิบัตงิ านสหกจิ ศึกษา นาํ สง่ ทศ่ี ูนยป์ ระสานงานและส่งเสรมิ สหกจิ ศึกษา

39 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

บทท่ี 8

มาตรฐานสหกจิ ศกึ ษา

  บทที่ 8 มาตรฐานการศกึ ษาและหลกั สตู ร สหกจิ ศึกษา

 

8.1 มาตรฐานการศกึ ษา หลกั สตู ร และการเรยี นการสอน
8.1.1 มาตรฐานการศึกษา และหลกั สตู ร หลักสตู รสําหรบั สหกิจศกึ ษาท่ีกาํ หนดโดยสถานศึกษาและอนุมัติโดยสภา

มหาวิทยาลัยของสถานศึกษาต้องสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีพ.ศ.2548 ของสํานักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ซึง่ มีสาระสําคญั ดงั นี้

1) ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรสหกิจศึกษา มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษาและมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ
ของสาขาวิชานั้น ๆ โดยมุ่งเนน้ การผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนําไปประยุกต์ใช้
ได้อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบหม่ันแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
และสามารถตดิ ต่อสอื่ สารกับผู้อนื่ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี รวมทัง้ ใหเ้ ป็นผู้มคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม

2) การนบั หน่วยกติ รายวิชาภาคทฤษฎภี าคปฏิบัตกิ ารฝึกงานและโครงงานให้เทียบกับเวลาท่ีใช้ในการเรียนการ
สอน
8.2 มาตรฐานการเรียนการสอน

มาตรฐานขัน้ ตาํ่
1) สถานศกึ ษาตอ้ งจัดใหม้ ีการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา เพอ่ื ชี้แจงใหน้ ักศกึ ษาไดร้ บั ขอ้ มลู และมีความรู้
ความเข้าใจเก่ยี วกับสหกจิ ศกึ ษา
2) สถานศึกษาต้องมกี ระบวนการเตรียมความพรอ้ มนกั ศึกษาก่อนไปปฏิบัตสิ หกิจศึกษาโดยใชเ้ วลาไม่น้อย
กว่า 30 ช่วั โมง
3) สถานศกึ ษาตอ้ งกาํ หนดคุณสมบัตแิ ละเง่ือนไขทางวิชาการของนกั ศกึ ษาที่สามารถไปปฏบิ ัติสหกจิ ศึกษา
4) สถานศึกษาต้องกาํ หนดช่วงเวลาทีน่ ักศึกษาปฏบิ ตั ิสหกจิ ศึกษาไม่ต่ํากวา่ 16 สัปดาหอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยตอ้ ง
เป็นการปฏบิ ัตงิ านเต็มเวลา และไมส่ ามารถลงทะเบียนเรยี นรายวิชาอ่ืนใดได้ในชว่ งปฏิบัติสหกิจศกึ ษา
5) สถานศึกษาต้องจัดหางานท่ีมีลักษณะเป็นโครงงานหรืองานประจําที่ตรงกับสาขาวิชาชีพและเน้นประสบการณ์
การทาํ งาน
6) สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสใหส้ ถานประกอบการได้คัดเลอื กนกั ศกึ ษา
7) สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสใหน้ กั ศึกษาเลือกสถานประกอบการตามความสมคั รใจ

40 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8) สถานศึกษาต้องทําความตกลงกับสถานประกอบการให้ทุกตําแหน่งงานมีค่าตอบแทนและสวัสดิการต่าง ๆ ตาม
ความเหมาะสมและจาํ เป็นตามลกั ษณะงาน

9) สถานศกึ ษาต้องจัดใหม้ กี ารนเิ ทศของคณาจารย์นิเทศ
10) สถานศึกษาต้องจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษาคณาจารย์นิเทศและคณาจารย์
สาขาวิชา
11) กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาต้องถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบการประเมินและวัดผล
และเปน็ ไปตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาน้ัน ๆ
มาตรฐานส่งเสรมิ

1) สถานศึกษาควรใหข้ อ้ มลู ลักษณะงานเพือ่ ประกอบการตัดสินใจของนกั ศกึ ษาในการเลือกสถานประกอบการ
2) จํานวนตาํ แหน่งงานควรมากกว่าจาํ นวนนกั ศกึ ษาในแตล่ ะสาขาวิชาอย่างนอ้ ย รอ้ ยละ 10
3) สถานศึกษาควรจดั ใหม้ กี ารพบกันระหวา่ งนักศึกษา สถานประกอบการ และคณาจารย์นเิ ทศ
4) สถานศึกษาควรจัดให้มีสัมภาษณ์นักศึกษาสหกิจศึกษา โดยคณาจารย์นิเทศ และคณาจารย์สาขาวิชา
ภายหลังการปฏบิ ตั ิสหกิจศึกษาเพอ่ื นาํ ข้อมูลประกอบการพัฒนา /ปรบั ปรงุ การดาํ เนินงานสหกิจศึกษา
5) สถานศึกษาควรจัดให้มีการสัมมนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์
สาขาวชิ า และผู้นเิ ทศงาน
6) สถานศกึ ษาควรจดั ทํา และปรับปรงุ ฐานข้อมูลสถานประกอบการ

8.3 มาตรฐานการนเิ ทศ
มาตรฐานขั้นต่าํ
1) คณาจารยน์ ิเทศตอ้ งมีประสบการณ์การสอนไม่นอ้ ยกวา่ 1 ภาคการศกึ ษา และผา่ นการอบรมการ
นเิ ทศงานโดยหน่วยงานที่ได้รบั การรับรองจาก สกอ.
2) สถานศึกษาตอ้ งจดั ระบบพี่เลยี้ งใหแ้ ก่คณาจารยน์ ิเทศทยี่ ังไมม่ ปี ระสบการณก์ ารนเิ ทศท้ังน้ี ตามที่
สถานศกึ ษากาํ หนด
3) คณาจารย์นเิ ทศตอ้ งเป็นคณาจารย์ประจาํ สาขาวชิ าที่นักศกึ ษาสังกดั อยู่
4) สถานศึกษาต้องนดั หมายสถานประกอบการเพือ่ ให้คณาจารย์นเิ ทศเข้ามานิเทศนักศกึ ษา
ณ สถานประกอบการ

41 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5) คณาจารย์นิเทศตอ้ งได้รับเอกสารประกอบการนเิ ทศ อาทิ ลักษณะงาน ประวัตินกั ศึกษาฯลฯ ไม่
น้อยกว่า 7 วนั ก่อนกาํ หนดการนิเทศ

6) คณาจารย์นเิ ทศตอ้ งมแี ผนการนิเทศนักศึกษา
7) สถานศกึ ษาต้องจดั ให้คณาจารยใ์ นสาขาวิชาไปนเิ ทศงานขณะนักศกึ ษาปฏบิ ตั ิงานอยา่ งน้อย 1 ครั้ง
โดยเปน็ การไปพบนักศกึ ษา ณ สถานประกอบการ
8) ในการนิเทศตอ้ งจัดใหม้ ีการประชมุ (พบปะ - หารือ) ระหว่างผู้นเิ ทศงานกับคณาจารย์นิเทศ
นักศึกษากบั คณาจารย์นิเทศ และประชุมร่วมทัง้ สามฝ่าย
9) คณาจารย์นิเทศต้องใชเ้ วลาในการนเิ ทศไมน่ ้อยกวา่ 1 ช่วั โมงตอ่ ครั้ง
10) คณาจารย์นิเทศต้องตดิ ตามความก้าวหนา้ ของนกั ศกึ ษา ประเมนิ ผล และให้ขอ้ เสนอแนะแก่
นกั ศึกษาตามความจําเปน็ ของแตล่ ะสาขาวิชา
มาตรฐานส่งเสริม
1) คณาจารย์นิเทศควรตรวจรปู แบบการนําเสนอผลงาน และใหข้ ้อเสนอแนะแกน่ กั ศึกษา
2) ในช่วงระยะก่ึงกลางของสหกิจศึกษาคณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนําเสนอความก้าวหน้าของโครงงาน
หรอื งานที่ปฏบิ ตั ขิ องนกั ศึกษารว่ มกบั ผู้นเิ ทศงานและให้ข้อเสนอแนะ
3) ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของสหกิจศึกษา คณาจารย์นิเทศควรเข้ารับฟังการนําเสนอผลการปฏิบัติงานของ
นกั ศกึ ษารว่ มกับผนู้ ิเทศงาน และผู้บริหารองค์กร และประเมนิ ผลงานพร้อมใหข้ อ้ เสนอแนะ
8.4 มาตรฐานนกั ศกึ ษา
8.4.1 คุณสมบัตพิ ืน้ ฐานของนกั ศึกษากอ่ นไปสหกิจศึกษา
มาตรฐานข้ันตํ่า
1) นกั ศกึ ษาตอ้ งผา่ นเงอ่ื นไขรายวชิ าตามทส่ี ถานศึกษากําหนด
2) นกั ศึกษาตอ้ งมคี ุณสมบตั ทิ ่ีจะสําเร็จการศกึ ษาและไมอ่ ยู่ระหว่างการถกู ลงโทษทางวนิ ัยโดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจ
ของสถานศึกษา
3) นกั ศกึ ษาตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมเตรยี มความพร้อมนกั ศึกษาก่อนไปปฏบิ ตั สิ หกิจศกึ ษา
8.4.2 กจิ กรรมต่าง ๆ ระหวา่ งปฏบิ ตั งิ าน
มาตรฐานขนั้ ตาํ่
1) นักศึกษาตอ้ งบันทึกรายงานการปฏิบตั งิ านประจําวัน หรอื ประจาํ สปั ดาห์

42 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

2) นักศกึ ษาตอ้ งส่งรายงานความกา้ วหนา้ ตอ่ ผนู้ เิ ทศงาน และคณาจารย์นเิ ทศไมช่ า้ กวา่ สปั ดาหท์ ี่ 10 ของการ
ปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา

3) นกั ศึกษาตอ้ งส่ง (ร่าง) รายงานฉบบั สมบูรณใ์ ห้คณาจารย์นิเทศและผูน้ ิเทศงานกอ่ นเสร็จส้นิ การปฏิบตั ิงาน
และตอ้ งแกไ้ ขตามทีค่ ณาจารย์นิเทศและผนู้ เิ ทศงานแนะนาํ ให้เรียบรอ้ ย

4) นกั ศกึ ษาตอ้ งสง่ รายงานฉบับสมบรู ณ์ทไี่ ด้รบั อนุญาตใหเ้ ผยแพรไ่ ดจ้ ากสถานประกอบการใหค้ ณาจารย์นเิ ทศ
และผูน้ เิ ทศงาน
มาตรฐานส่งเสริม

1) ในชว่ งสปั ดาห์สดุ ทา้ ยของสหกจิ ศึกษา นักศกึ ษาควรนาํ เสนอผลการปฏิบตั ิงานต่อผนู้ ิเทศงานและผู้บริหาร
สถานประกอบการ
8.4.3 คุณภาพรายงานทางวิชาการ

มาตรฐานขัน้ ตา่ํ
1) รายงานตอ้ งมีมาตรฐานเชน่ เดยี วกบั รายงานทางวิชาการท่ัวไป

8.4.4 การร่วมสมั มนาแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นระหวา่ งนกั ศกึ ษา
มาตรฐานข้นั ตาํ่
1) นกั ศึกษาตอ้ งนาํ เสนอผลการปฏิบตั สิ หกจิ ศกึ ษาในการสัมมนาสหกิจศึกษาระหว่างคณาจารย์
นเิ ทศ นกั ศกึ ษาสหกิจศึกษาและนกั ศกึ ษาของแต่ละสาขาวิชาหลงั กลบั จากปฏบิ ัติสหกจิ ศึกษา

8.5 มาตรฐานการวดั และประเมินผล
มาตรฐานข้นั ตา่ํ
1) กระบวนการเตรียมความพรอ้ มให้นกั ศกึ ษาก่อนไปสหกจิ ศึกษานักศึกษา
- เวลาเข้ารบั การอบรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
- ผ่านเกณฑต์ ามท่สี ถานศึกษากําหนด เชน่ การสอบการทาํ รายงานการดําเนินงาน
- ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาที่เขา้ รบั การอบรม
- การอบรมมเี นือ้ หาทจี่ าํ เป็นตอ่ การพัฒนาทักษะอาชพี

43 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

2) กระบวนการจดั หางานที่มลี ักษณะเปน็ โครงงานหรืองานประจาํ ท่ีเน้นประสบการณก์ ารทํางาน และตรงกับ
สาขาวิชา

 การดาํ เนินงาน
- จาํ นวนงานพอเพียงกบั จาํ นวนนักศกึ ษา
- ความพึงพอใจของนักศึกษาตอ่ สถานประกอบการ

3) กระบวนการรบั รองคณุ ภาพงาน
 การดาํ เนนิ งาน
- คณาจารย์ประจําสาขาวชิ าพิจารณารับรองงานก่อนให้นักศึกษาเลือก
- คณาจารยป์ ระเมินคณุ ค่าทางวชิ าการของงาน
- งานทน่ี ักศกึ ษาทํามีประโยชนต์ อ่ สถานประกอบการ

4) กระบวนการคัดเลอื กและจบั คูร่ ะหว่างนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษาและสถานประกอบการ
 การดําเนินงาน
- นกั ศึกษาเลือกสถานประกอบการโดยความสมคั รใจ
- สถานประกอบการมีโอกาสคดั เลอื กนกั ศึกษา
- ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาตอ่ กระบวนการคัดเลอื กและจบั คู่
- ความพึงพอใจของสถานประกอบการตอ่ กระบวนการคัดเลอื กและจบั คู่
- เมื่อสนิ้ สุดการปฏิบตั ิสหกจิ ศึกษาสถานศึกษาตอ้ งประเมนิ ความพรอ้ มของสถานประกอบการ

5) กระบวนการนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษา
 นกั ศกึ ษา
- ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ และการประยุกต์ใช้
- การปรบั ตัวและปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบของสถานประกอบการ
- ความกา้ วหน้าของงานเปน็ ไปตามแผน
- การสอื่ สารและการนาํ เสนอผลงาน
- ความคิดสร้างสรรคแ์ ละความสามารถในการทาํ งานดว้ ยตนเอง
- การนเิ ทศงานตอ้ งเป็นสว่ นหนึง่ ของการวดั และประเมนิ ผลรายวชิ าสหกิจศึกษาการดาํ เนินงาน
- ระยะเวลาทค่ี ณาจารยน์ เิ ทศไดร้ บั เอกสารประกอบการนเิ ทศ

44 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

- มีการตดิ ตามการนเิ ทศงาน
- ความพึงพอใจของสถานประกอบการตอ่ กระบวนการตดิ ตอ่ และประสานงานการนิเทศ
คุณภาพการนเิ ทศงานของคณาจารย์นเิ ทศ
- เวลาที่คณาจารย์นเิ ทศใช้เพยี งพอตามความจําเปน็ ของนกั ศกึ ษา
- การนเิ ทศของคณาจารยน์ ิเทศมปี ระโยชนต์ อ่ การปฏิบตั สิ หกิจศกึ ษาของนกั ศึกษา
- การนเิ ทศของคณาจารย์นเิ ทศมปี ระโยชนต์ อ่ สถานประกอบการ
6) กระบวนการ จัดสมั มนาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
 นักศึกษา
- คณุ ภาพของการนาํ เสนอผลงาน : ความรู้ทางวชิ าการ ทักษะการนําเสนอการตอบคําถาม
- การสัมมนาแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ตอ้ งเป็นส่วนหนงึ่ ของการวดั และประเมินผลรายวชิ าสหกิจศึกษา
 การดําเนินงาน
- ร้อยละของคณาจารยท์ เ่ี ข้าร่วมการสมั มนาแลกเปล่ียนความคดิ เห็น
7) กระบวนการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานสหกิจศกึ ษา
 นักศึกษา
- ต้องประเมินผลการปฏิบัติงานจากความสามารถในการทาํ งานโดยสถานศึกษาตอ้ งชแี้ จงรายละเอียด
และเกณฑ์ใหน้ กั ศึกษาทราบ
- ต้องมสี ัดสว่ นการประเมินผลของสถานประกอบการไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50
- ผูน้ ิเทศงานควรให้ความคิดเห็นตอ่ จดุ เด่นและขอ้ ควรปรบั ปรงุ ของนกั ศึกษา
- นกั ศึกษาควรประเมนิ พฒั นาการของตนเองแต่การประเมนิ นไี้ ม่เปน็ ส่วนหนึ่งของระบบการวัดและ
ประเมนิ ผลของรายวิชาสหกิจศึกษา
 การดําเนินงาน
- คณาจารย์นเิ ทศตอ้ งแจ้งขอ้ มูลการวัดและประเมินผลใหน้ กั ศึกษาทราบ
- สถานประกอบการประเมินการประสานงานกบั สถานศึกษาในภาพรวม

45 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6 หลกั สูตรและรายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา

 คณะบัญชแี ละวทิ ยาการจดั การ

8.6.1 หลักสตู รบัญชบี ัณฑติ สาขาวิชาการบัญชี

รหัสวชิ า ช่อื วชิ า คําอธิบายรายวิชา

101465 สหกิจศกึ ษา การศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพบัญชีในสถาน

6(450) วชิ าบงั คบั ก่อน : วชิ าเอก ประกอบการ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

บังคับและหรือวชิ าเอก ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

เลือกไม่นอ้ ยกว่า 12 พนักงานของหน่วยงานนั้น โดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน

หนอ่ ยกติ หรอื อยู่ในดุลย ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงาน

พนิ จิ ของอาจารยท์ ่ปี รึกษา ของนักศึกษา มีกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

นักศึกษา นักศึกษาจะต้องจัดทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการ

ปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื การประเมนิ ผลการศึกษา

101466 การเตรยี มสหกิจศึกษา การจัดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเพื่อนําไปสู่การ

1(0-2-2) วิชาบังคบั กอ่ น : ไม่มี ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาด้านการบัญชี ไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง

ประกอบด้วย การเลือกสถานประกอบการ หลักการเขียนจดหมาย

สมัครงาน การสัมภาษณ์งาน การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนา

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฏหมายแรงงาน และการ

ประกันสังคม การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารเบื้องต้น การเขียน

รายงานและการนําเสนอผลงาน การวางแผนการทํางาน ทักษะใน

การติดสินใจและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การใช้เครื่องใช้

สํานักงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ท่ีจําเป็น

สําหรับการทํางานในองค์กร และความรู้เฉพาะด้านท่ีจําเป็นสําหรับ

นกั บญั ชี

46 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6.2 หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ สาขาวิชาการตลาด

รหัสวิชา ช่อื วชิ า คําอธิบายรายวชิ า

102319 การเตรยี มสหกิจศกึ ษา การจัดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเพ่ือนําไปสู่การ

1(0-30-0) วิชาบังคับก่อน : ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาด้านการบัญชี ไม่น้อยกว่า 30 ช่ัวโมง

102201 หลักการตลาด ประกอบด้วย การเลือกสถานประกอบการ หลักการเขียนจดหมาย

สมคั รงาน การสัมภาษณ์งาน การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนา

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฏหมายแรงงาน และการ

ประกันสังคม การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารเบ้ืองต้น การเขียน

รายงานและการนําเสนอผลงาน การวางแผนการทํางาน ทักษะใน

การติดสินใจและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การใช้เครื่องใช้

สํานักงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ที่จําเป็น

สําหรับการทํางานในองค์กร และความรู้เฉพาะด้านที่จําเป็นสําหรับ

นักการตลาด

102413 สหกิจศกึ ษา การศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพบัญชีในสถาน

5(0-540-0) วิชาบังคับก่อน : 102319 ประกอบการ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

การเตรียมสหกิจศึกษา ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

วิชาเอกบังคับและ/หรือ พนักงานของหน่วยงานน้ัน โดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน

วิชาเอกเลือกไม่น้อยกว่า ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าท่ี ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงาน

12 หน่วยกิต หรืออยู่ใน ของนักศึกษา มีกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

ดุลพินิจของอาจารย์ท่ี นักศึกษา นักศึกษาจะต้องจัดทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการ

ปรกึ ษา ปฏบิ ตั ิงานเพือ่ การประเมนิ ผลการศกึ ษา

47 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6.3 หลกั สตู รการจดั การบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการ

รหัสวิชา ชื่อวชิ า คําอธบิ ายรายวิชา

104314 การเตรียมสหกจิ ศกึ ษา การจัดกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเพื่อนําไปสู่การ

1(0-30-0) วิชาบังคับก่อน : 104101 ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาด้านการบัญชี ไม่น้อยกว่า 30 ช่ัวโมง

องค์การและการจัดการ ประกอบด้วย การเลือกสถานประกอบการ หลักการเขียนจดหมาย

สมยั ใหม่ สมคั รงาน การสัมภาษณ์งาน การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนา

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฏหมายแรงงาน และการ

ประกันสังคม การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารเบื้องต้น การเขียน

รายงานและการนําเสนอผลงาน การวางแผนการทํางาน ทักษะใน

การติดสินใจและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การใช้เครื่องใช้

สํานักงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ที่จําเป็น

สําหรับการทํางานในองค์กร และความรู้เฉพาะด้านท่ีจําเป็นสําหรับ

นักการจดั การธรุ กิจ

104411 สหกจิ ศึกษา การศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพบัญชีในสถาน

5(450) วิชาบังคับก่อน : วิชาเอก ประกอบการ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

บังคับและ/หรือวิชาเอก ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

เ ลื อ ก ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 1 2 พนักงานของหน่วยงานนั้น โดยมีพนักงานที่ปรึกษาท่ีสถาน

ห น่ ว ย กิ ต ห รื อ อ ยู่ ใ น ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงาน

ดุลพินิจของอาจารย์ที่ ของนักศึกษา มีกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

ปรกึ ษา นักศึกษา นักศึกษาจะต้องจัดทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการ

ปฏิบตั ิงานเพอ่ื การประเมินผลการศกึ ษา

48 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6.4 หลกั สตู รบริหารธุรกิจบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การการทอ่ งเทยี่ วและการโรงแรม

รหัสวชิ า ช่ือวชิ า คําอธบิ ายรายวชิ า

106446 สหกจิ ศึกษา การฝึกงานวิชาชีพและเป็นระบบการศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติด้าน

6(540ชม.) วิชาบงั คบั ก่อน : ไมม่ ี วิชาชีพในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ โดยความร่วมมือของสถาน

ประกอบการและสถานศึกษาร่วมกันคัดเลือกนักศึกษาปฏิบัติงานจริง ณ

สถานประกอบการเพ่ือเรียนรู้ประสบการณ์ปฏิบัติงานจริง คุณสมบัติของ

บัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ซ่ึงก่อให้เกิดประโยชน์

สูงสดุ แก่ทกุ ๆ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วข้อง มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานไม่ตํ่ากว่า 15

สัปดาห์ (1 ภาคการศึกษาปกติ) มีการประเมินผลสหกิจศึกษา และมีการ

นําเสนอรายงานสหกจิ ศึกษา

 คณะโลจสิ ตกิ สแ์ ละเทคโนโลยกี ารบนิ

8.6.5 หลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การโลจิสตกิ ส์

รหัสวชิ า ช่อื วชิ า คําอธิบายรายวิชา

105418 สหกิจศกึ ษา การศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพบัญชีในสถาน

5(450) วิชาบังคับก่อน : วิชาเอก ประกอบการ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

บังคับและ/หรือวิชาเอก ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

เ ลื อ ก ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 1 2 พนักงานของหน่วยงานนั้น โดยมีพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน

ห น่ ว ย กิ ต ห รื อ อ ยู่ ใ น ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงาน

ดุลพินิจของอาจารย์ท่ี ของนักศึกษา มีกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

ปรกึ ษา นักศึกษา นักศึกษาจะต้องจัดทํารายงานภายหลังเสร็จส้ินการ

ปฏบิ ตั งิ านเพื่อการประเมินผลการศกึ ษา

 

 

 

49 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

รหสั วชิ า ช่ือวชิ า คาํ อธิบายรายวิชา
105421 การเตรยี มสหกจิ ศกึ ษา การจัดเตรียมกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเพื่อนําไปสู่การ
1(0-2-2) วิชาบงั คับก่อน : ไม่มี ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาด้านการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
ประกอบด้วย การเลือกสถานประกอบการ หลักการเขียนจดหมาย
สมัครงาน การสัมภาษณ์งาน การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนา
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ กฎหมายแรงงานและการ
ประกันสังคม การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารเบ้ืองต้น การเขียน
รายงานและการนําเสนอผลงาน การวางแผนการทํางานทักษะในการ
ตดิ สินใจ

 คณะศิลปศาสตร์

8.6.6 หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธรุ กจิ

รหัสวิชา ช่อื วชิ า คาํ อธบิ ายรายวิชา

201426 สหกจิ ศึกษา โครงการน้ีเน้นการปฏิบัติงานโดยส่งเสริมให้นักศึกษาใช้

6(540ชม.) ภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษธุรกิจร่วมกันระหว่างสถาบันกับสถาน

ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

พนักงานของหน่วยงานนั้น โดยมีพนักงานท่ีปรึกษาท่ีสถาน

ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ดูแล รับผิดชอบการปฏิบัติงาน

ของนักศึกษามีการกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

นักศึกษา นักศึกษาจะต้องทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน

เพือ่ การประเมนิ ผลการศกึ ษา

50 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

8.6.7 หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ

รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า คําอธิบายรายวิชา

103301 การเตรยี มสหกจิ ศึกษา เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ก่ อ น ก า ร อ อ ก ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ส ถ า น

1(0-30-0) ประกอบการ หลักการแนวคิดและปรัชญาสหกิจศคกษากระบวนการ

และระเบียบข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ความรู้พ้ืนฐานใน

การปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ การพัฒนาตนเองตามมาตรฐาน

วิชาชีพแต่ละสาขาวิชา เช่น การปรับตัวในสังคม การพัฒนา

บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลนีสารสนเทศ การส่ือสาร มนุษย

สมั พนั ธ์ การทํางานเป็นทีมโครงสร้างการทํางานในองค์กร งานธุรการ

ในสํานักงาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายแรงงาน และระบบ

บริหารคุณภาพในสถานประกอบการ การเสริมทักษะและจริยธรรม

ในวิชาชีพเฉพาะสาขาวิชา การจัดทําโครงงาน การรายงานผลการ

ปฏบิ ัติงาน การเขียนรายงานโครงงาน และการนําเสนอผลงาน

103403 สหกิจศึกษา การปฏิบั ติงานด้ านวิ ชาชี พตามสาขาวิชาในสถาน

5(0-540-0) วชิ าบังคบั : การเตรยี ม ประกอบการหรือองคก์ รผู้ใช้บณั ฑิตเป็นเวลา 16 สัปดาห์ หรือไม่น้อย

สหกจิ ศกึ ษา กว่า 560 ช่ัวโมง โดยบูรณาการความรู้ท่ีได้จากการศึกษาในหลักสูตร

การศึกษากับการปฏิบัติงานจริงเสมือนหน่ึงเป็นพนักงาน การจัดทํา

โครงงาน การรายงานผลการปฏิบัติงานการเขียนรายงานโครงงาน

และการนําเสนอโครงงานตามคําแนะนําของพนักงานพ่ีเลี้ยง อาจารย์

ท่ีปรึกษาหรืออาจารย์นิเทศ เพื่อให้เกิดทักษะ องค์ความรู้ในวิชาชีพ

และคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ มีลักษณะนิสัยหรือบุคลิกภาพท่ี

จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน และเป็นบัณฑิตท่ีมีคุณสมบัติตรงตามความ

ต้องการของตลาดแรงงานท่ีพร้อมจะทํางานได้ทันทีเมื่อสําเร็จ

การศึกษา

51 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6.8 หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ

รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า คําอธบิ ายรายวชิ า

401408 สหกจิ ศกึ ษา การปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิบัติงานใน

1(0-3-2) วิชาบังคับก่อน : อยู่ใน สถานประกอบการโดยให้มีองค์ความรู้ เร่ืองหลักแนวคิดเกี่ยวกับสห

ดุลพินิจของอาจารย์ที่ กิจศึกษา กระบวนการข้ันตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับ

ปรกึ ษา เกี่ยวกับสหกิจศึกษา ความรู้พ้ืนฐานเทคนิคการเขียนจดหมายในการ

สมัครงาน การสอบสัมภาษณ์ บุคลิกภาพ และการเลือกสถาน

ประกอบการ ตลอดจนความรู้พ้ืนฐานท่ีจําเป็นสําหรับการไป

ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การเสริมสร้างทักษะและจริยธรรม

ในวิชาชีพเฉพาะสาขาวิชา ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานสากล มาตรฐาน

ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ การเขียน

รายงานทางวิชาการและการนาํ เสนอผลงาน

401426 การเตรียมสหกจิ ศกึ ษา เน้นการปฏิบัติงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถาน

5(0-540-0) วิ ช า บั ง คั บ ก่ อ น : ประกอบการโดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

401408 เตรียมสหกิจ ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

ศกึ ษา พนักงานของหน่วยงานน้ัน เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดห์ โดยมี

พนักงานท่ีปรึกษาท่ีสถานประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าท่ีดูแล

รับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา มีการกําหนดลักษณะงาน

แผนการปฏิบัติงานกับนักศึกษา นักศึกษาจะต้องทํารายงานภายหลัง

เสรจ็ สน้ิ การปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื การประเมินผลการศึกษา

52 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

8.6.9 หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์(ตอ่ เนื่อง)

รหสั วิชา ชื่อวชิ า คาํ อธบิ ายรายวิชา

404119 สหกจิ ศกึ ษา การจัดเตรียมกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงานสห

1(0-30-0) วิชาบงั คับก่อน : ไม่มี กิจศกึ ษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 ชวั่ โมง

404219 สหกิจศกึ ษา การศึกษาท่ีเน้นการปฏิบัติงานทางด้านวิชาชีพบัญชีในสถาน

5(0-540-0) วชิ าบังคับ : 404119 ประกอบการ โดยมีการวางแผนร่วมกันระหว่างวิทยาลัยกับสถาน

การเตรยี มสหกจิ ศึกษา ประกอบการ นักศึกษาจะต้องเข้าไปปฏิบัติงานเต็มเวลาเสมือนเป็น

พนักงานของหน่วยงานนั้น โดยมีพนักงานท่ีปรึกษาท่ีสถาน

ประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าท่ี ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงาน

ของนักศึกษา มีกําหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงานให้กับ

นักศึกษา นักศึกษาจะต้องจัดทํารายงานภายหลังเสร็จสิ้นการ

ปฏิบตั งิ านเพือ่ การประเมนิ ผลการศกึ ษา

8.6.10 หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยมี ัลตมิ ีเดียและแอนิเมชัน

รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า คําอธบิ ายรายวชิ า

403312 การเตรียมสหกิจศกึ ษา การจัดเตรียมกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติงานสห

1(0-30-0) วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี กจิ ศกึ ษาดา้ นเทคโนโลยีมลั ติมเี ดยี และแอนิเมชนั 30 ช่วั โมง

403406 สหกิจศกึ ษา การจัดการศึกษาซ่ึงให้นักศึกษาได้ไปปฏิบัติงานในสถาน

5(0-540-0) วชิ าบงั คับกอ่ น : ประกอบการ ในระหว่างท่ีกําลังศึกษาอยู่ เพื่อให้นักศกึ ษาได้เช่ือมโยง

403312 การเตรยี ม การเรียนรู้ในห้องเรียนกับประสบการณ์จากการปฏิบัติงานจริงใน

สหกิจศึกษา สถานประกอบการเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราว โดยปฏิบัติงานเต็ม

เวลาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ และประเมินผลจากการ

ปฏบิ ัตงิ านของนกั ศกึ ษาโดยสถานประกอบการรว่ มกับคณะ

53 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

รปู แบบ
การทาํ เลม่ รายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 1

การทาํ รายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา

คู่มือการทํารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาฉบับนี้ ได้ทําการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับรูปเล่ม
รายงานการปฎบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษาของนกั ศึกษาท่อี อกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ส่วน คอื

ส่วนที่ 1 ส่วนประกอบของรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา โดยในส่วนนี้จะระบุถึงส่วนประกอบของ
เลม่ รายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา ซ่ึงประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื สว่ นนํา สว่ นเนอ้ื หา และ สว่ นท้าย

ส่วนที่ 2 การพิมพ์รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ในส่วนนี้จะอธิบายถึงข้อกําหนดต่างๆ ในการจัดทํา
รายงานการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา อาทิ การตั้งค่าหน้ากระดาษ รูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร การอ้างอิง ฯลฯ
เป็นต้น

โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. ส่วนประกอบของรายงานการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา

ประกอบด้วย 3 สว่ น คือ ส่วนนํา สว่ นเนอื้ หา และ สว่ นท้าย โดยมรี ายละเอียดดังนี้
1.1 ส่วนนํา ประกอบสว่ นตา่ ง ๆ เรยี งตามลาํ ดบั ดงั ตอ่ ไปนี้

1.1.1 ปกนอก เป็นปกแข็งสมี ่วงอ่อน
1.1.2 ปกใน อยู่ถัดจากกระดาษเปล่า ตามด้วยปกใน ในกรณีที่ผู้แต่งมากกว่า 1 คน ให้เว้น 1
บรรทัดระหว่างช่ือผแู้ ตง่
1.1.3 ใบขอสง่ รายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศึกษา อยถู่ ดั จากปกใน
1.1.4 ใบอนุมัติรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา อยู่ถัดจาก ใบขอส่งรายงานการปฏิบัติงานสหกิจ
ศกึ ษา ประกอบดว้ ย

1.1.4.1 ชื่อเรื่อง
1.1.4.2 ชอ่ื ผู้จดั ทํารายงานการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา
1.1.4.3 สาขาวชิ า
1.1.4.4 คณะ
1.1.4.5 อาจารย์ที่ปรกึ ษา
1.1.4.6 ปีการศกึ ษาทจี่ บ
1.1.4.7 ลายมือชื่อจริงของอาจารย์ท่ีปรึกษา/พนักงานท่ีปรึกษา รวมถึงลายมือชื่อคณบดี
ของแตล่ ะคณะ (กรณมี พี นักงานที่ปรกึ ษามากกว่า 1 คน ให้ใสช่ อื่ คนใดคนหนง่ึ )
1.1.4.8 ระบคุ ําว่า ลิขสิทธข์ิ องสาขาวชิ า/คณะของตนเอง วทิ ยาลยั เซาธ์อีสท์บางกอก

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 2

1.1.5 บทคัดย่อ จัดทําเป็นบทคัดย่อภาษาไทย อยู่ถัดจากหน้าอนุมัติรายงาน โดยเนื้อหาของ
บทคัดย่อเป็นการย่อเน้ือหาท้ังหมดของโครงงานหรือการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา ต้องสรุปให้สั้น
กระชับ ชัดเจน ควรประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ขอบเขตของโครงงาน/การปฏิบัติงาน วิธีการดําเนินงาน ผลการ
ดาํ เนนิ งาน รวมถึงขอ้ เสนอแนะ ท้ังนีใ้ หเ้ ขียนเปน็ ความเรยี งตอ่ เนอื่ ง

1.1.6 กิตติกรรมประกาศ อยู่ถัดจากบทคัดย่อ เป็นข้อความกล่าวขอบคุณผู้ท่ีให้ความช่วยเหลือและ
ความร่วมมือจนโครงงานและการปฏิบัติงานในสถานประกอบการสําเร็จลุล่วงด้วยดี และหากโครงงานใดได้รับ
ทุนอุดหนุนในการดําเนนิ งาน ควรระบุแหล่งที่มาของทุนอดุ หนนุ ด้วย

1.1.7 สารบัญ อยู่ถัดจากกิตติกรรมประกาศ เป็นรายการท่ีแสดงส่วนประกอบท่ีสําคัญท้ังหมดของ
รายงาน หากสารบญั ไมจ่ บในหนง่ึ หนา้ ใหพ้ มิ พค์ าํ ว่า “สารบัญ (ตอ่ )” กลางหนา้ กระดาษถัดไป

1.1.8 สารบญั ตาราง เปน็ ส่วนท่ีแจ้งหมายเลขหน้าของตารางทั้งหมดท่ีมีอยู่ในรายงานโดยจะอยู่ถัดจาก
สารบัญ หากสารบัญตารางไม่จบในหน่งึ หนา้ ใหพ้ มิ พ์คาํ วา่ “สารบญั ตาราง (ตอ่ )” กลางหน้ากระดาษถัดไป

1.1.9 สารบัญภาพ เป็นส่วนที่แจ้งหมายเลขหน้าของภาพท้ังหมดที่มีอยู่ในรายงานโดยจะอยู่ถัดจาก
สารบัญตาราง หากสารบัญภาพไม่จบในหน่ึงหน้าใหพ้ ิมพ์ “สารบญั ภาพ (ตอ่ )” กลางหน้ากระดาษถัดไป

1.1.10 คําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ (ถ้ามี) อยู่ถัดจากสารบัญภาพ เป็นส่วนท่ีอธิบายถึงสัญลักษณ์
และคาํ ย่อต่าง ๆ ที่ใชใ้ นรายงานการปฏิบัตงิ าน ทงั้ นสี้ ัญลักษณ์และคาํ ย่อมคี วามหมายเดยี วกนั ตลอดทั้งเลม่ และให้
พิมพ์เรยี งตามลําดับตวั อกั ษร

1.2 สว่ นเนื้อหา ประกอบด้วย
1.2.1 บทนาํ เปน็ บทแรกของรายงานการปฏบิ ตั ิงาน ประกอบดว้ ยรายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี
1.2.1.1 หลักการและเหตผุ ล
1.2.1.2 วัตถุประสงค์การปฏิบัติงาน/โครงงาน โดยจัดลําดับความสําคัญของวัตถุประสงค์ที่

สาํ คัญทีส่ ุดไวก้ ่อน
1.2.1.3 ขอบเขตของการปฏบิ ัตงิ าน/โครงงาน โดยเป็นการระบุว่างานที่ปฏิบัติหรือโครงงาน

นนั้ ครอบคลมุ เนือ้ หาเปา้ หมาย ระยะเวลาในการดําเนนิ งานอย่างไร
1.2.1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานประกอบการและงานท่นี ักศึกษาไดร้ บั มอบหมาย อาทิ
- ชื่อและทต่ี ง้ั ของสถานประกอบการ
- ลกั ษณะการประกอบการ ผลติ ภณั ฑ์ หรอื การให้บรกิ าร
- รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน
- ตาํ แหนง่ และลกั ษณะงานที่นักศกึ ษาไดร้ บั มอบหมายให้รบั ผดิ ชอบ
- พนกั งานทป่ี รึกษา และตาํ แหน่งงานของพนกั งานทป่ี รึกษา

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 3

- ระยะเวลาทปี่ ฏบิ ัติงาน
1.2.1.5 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1.2.2 รายละเอียดการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นการเขียนอธิบายรายละเอียดข้ันตอนการทํา
โครงงาน หรอื ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ านทีน่ กั ศกึ ษาไดร้ ับมอบหมาย โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้
- ตาํ แหน่ง หน้าท่ีงานท่ีได้รับมอบหมาย โดยอาจจะระบุรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับตําแหน่ง
นั้น เช่น สังกัดในฝ่ายหรือแผนกใด หน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายหรือแผนกต่อสถานประกอบการ หน้าที่ความ
รับผดิ ชอบในตําแหนง่ ของนกั ศึกษา เปน็ ต้น
- รายละเอยี ดของงานหรือโครงงานที่ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏิบัติ
- ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ในส่วนขั้นตอนการปฏิบัติงานควรมีการอธิบายถึงรายละเอียดของ
การปฏิบัติงาน แผนการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน รวมถึงมีการแสดงภาพ แผนภูมิ ตาราง หรือการคํานวณ การ
ทดลองปฏบิ ตั ิการต่างๆ เพ่ือประกอบการอธิบายอยา่ งชัดเจน ถกู ต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ
- ผลการปฏิบัติงาน ควรแสดงให้เห็นถึงผลสําเร็จของการปฏิบัติงานหรือผลความสําเร็จของ
โครงงานอย่างชัดเจน อาจมีการแสดงข้อมูลประกอบ หรือมีการเปรียบเทียบผลท่ีได้รับกับวัตถุประสงค์ของงาน
ปฏบิ ัตงิ านหรือโครงงานที่กําหนดไว้ใหเ้ ห็นอย่างเปน็ รปู ธรรม
1.2.3 สรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ าน นําเสนอผลการปฏบิ ัตงิ านโดยสรุป โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้
- สรปุ ผลการปฏิบัติงาน
- ประโยชน์ที่สถานประกอบการไดร้ บั จากการปฏิบัตงิ าน/โครงงาน
- ประโยชน์ท่ีนักศึกษาได้รับจากการปฏิบัติงาน/โครงงาน (อาจนําเสนอแนวคิดหรือทฤษฎีที่
นกั ศึกษาไดน้ าํ มาประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัตงิ านประกอบ)
1.2.4 ปัญหาและข้อเสนอแนะ ควรมีการระบุประเด็นปัญหาที่พบในระหว่างปฏิบัติงาน/โครงงาน
และแนวทางการแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงงาน การนําไปใช้
ประโยชนข์ องสถานประกอบการ และการพฒั นาทางดา้ นวชิ าการของวิทยาลัย ทงั้ นีอ้ าจมหี ัวขอ้ ตา่ งๆ ดังนี้
- ปัญหาในการปฏบิ ัตแิ ละแนวทางการแก้ไขปัญหา
- ข้อเสนอแนะสําหรบั สถานประกอบการ
- ขอ้ เสนอแนะสาํ หรบั วทิ ยาลัย (ดา้ นการพฒั นาการเรยี นการสอน ดา้ นสหกิจศึกษา)
- ข้อเสนอแนะสําหรับนักศกึ ษา
ท้ังน้ี ข้อมูลในส่วนเน้ือหาควรได้รับการตรวจสอบจากผู้นิเทศงานสหกิจศึกษา (พนักงานพ่ีเล้ียง) ก่อนเพ่ือ
ป้องกันไม่ให้มีการนําเสนอข้อมูลส่วนท่ีเป็นความลับของสถานประกอบการท้ัง และในกรณีที่ข้อมูลที่เป็นความลับ
นักศึกษาควรทํารายงานขั้นมาสองฉบับ โดยฉบับแรกเป็นรายงานจริงสําหรับเก็บไว้ใช้ประโยชน์ ณ สถาน

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 4

ประกอบการ ส่วนอีกฉบับมีเป็นรายงานที่มีเฉพาะข้อมูลในส่วนที่สามารถเปิดเผยได้เท่าน้ัน เพ่ือนําส่งต่อวิทยาลัย
ต่อไป

1.3 สว่ นทา้ ย ประกอบด้วย
1.3.1 เอกสารอา้ งองิ เป็นสว่ นทแ่ี สดงรายชอื่ หนังสอื หรอื สิ่งพมิ พ์อน่ื ๆ ที่ใช้สาํ หรบั การคน้ คว้าอ้างอิง

ประกอบการเขียนรายงาน โดยจะอยูถ่ ัดจากส่วนเนื้อหาและกอ่ นภาคผนวก
1.3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) เป็นส่วนที่เพ่ิมเติมข้ึนเพ่ือช่วยเสริมความเข้าใจในเน้ือหาสาระของรายงาน

ให้มากขนึ้ ซ่ึงอาจมีหรือไมม่ ีกไ็ ดต้ ามความเหมาะสมและความจําเปน็
1.3.3 ประวัตินักศึกษา เป็นส่วนแสดงข้อมูลของนักศึกษาผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา กรณีท่ีมีมากกว่า

1 คน ในพมิ พป์ ระวัตทิ กุ คนในส่วนนี้

2. การพมิ พ์รายงานการปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษา

2.1 กระดาษทีใ่ ชพ้ มิ พ์
กระดาษที่ใช้พิมพ์จะต้องเป็นกระดาษปอนด์สีขาวพิเศษ ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 (กว้าง

210 ม.ม. และยาว 297 ม.ม.) นํ้าหนกั 80 กรัมต่อตารางเมตร ใช้พมิ พ์เพยี งหน้าเดียวตลอดทั้งเลม่
2.2 การตงั้ ขอบกระดาษ เว้นขอบระยะห่างจากริมกระดาษดังน้ี
2.2.1 ขอบกระดาษดา้ นบนให้เวน้ 3.81 เซนติเมตร (1.5 นวิ้ ) ยกเวน้ หน้าท่ขี ้ึนบทใหม่ของแต่ละบท

ให้เว้น 5.08 เซนตเิ มตร (2 นวิ้ )
2.2.2 ขอบกระดาษด้านล่างและดา้ นขวามือ ให้เว้น 2.54 เซนติเมตร (1 นวิ้ )
2.2.3 ขอบกระดาษดา้ นซา้ ยมอื ใหเ้ วน้ 3.81 เซนตเิ มตร (1.5 นว้ิ )

2.3 การลาํ ดบั หน้าและเลขหนา้
2.3.1 การลําดบั หน้าในสว่ นนํา ตั้งแต่ “ใบขอส่งรายงานการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา” ถึง “คาํ อธิบาย

สัญลักษณ์และคําย่อ” (ถ้ามี) ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตามลําดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ค, . . . โดยให้พิมพ์ไว้
ด้านบนขวามือ ระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน 1.27 เซนติเมตร (0.5 นิ้ว) ใช้ตัวอักษร TH Sarabun New
ขนาด 16 พอยท์ ตัวปกติ

2.3.2 การลําดับหน้าในส่วนเน้ือหาและส่วนท้าย ให้ใช้ตัวเลขอารบิค 1, 2, 3, . . . กํากับหน้า
เรียงลําดับตลอดท้ังเล่ม โดยใหพ้ ิมพ์ไว้ด้านบนขวามือ ระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน 1.27 เซนติเมตร (0.5
นิ้ว) ใช้ตัวอักษร TH Sarabun New ขนาด 16 พอยท์ ตัวปกติ ยกเว้น หน้าแรกของบทท่ีขึ้นบทใหม่ และหน้า
แรกของภาคผนวกแต่ละภาค ไม่ตอ้ งใส่เลขหนา้ กาํ กบั แตใ่ ห้นบั จํานวนหนา้ รวมไปดว้ ย

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 5

2.4 การพมิ พ์
2.4.1 การพิมพ์ปกนอกรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ให้พิมพ์โดยใช้ตัวอักษรสีดํา แบบอักษร

TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 18 พอยท์ ตัวหนา ด้านบนมีตราวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ขนาด ยาว 3.15
cm (1.24 นวิ้ ) กวา้ ง 3.12 cm (1.23 นิ้ว)

3.15

3.12

2.4.2 การพิมพ์ปกใน ให้ใช้สี แบบอักษร ขนาดอักษรเช่นเดียวกับปกนอก แต่ไม่ต้องมีตราวิทยาลัย
เซาธ์อีสทบ์ างกอก

2.4.3 การพิมพ์ในส่วนเนื้อหาตลอดทั้งเล่ม ให้ใช้อักษรสีดํา แบบอักษร TH Sarabun New ขนาด
ตวั อกั ษร 16 พอยท์ โดยให้จัดบรรทัดเปน็ แบบการกระจายแบบไทย (Thai Distributed)
ยกเว้นในส่วนของการพิมพ์หัวห้อสําคัญ ส่วนการอ้างอิง ข้อมูลหรือรายละเอียดภายในตาราง คําอธิบายรูปภาพ
และสว่ นอนื่ ๆ ทไ่ี ด้มีการระบุรูปแบบการพมิ พ์ และการจดั ชิดขอบไวเ้ ป็นอย่างอื่น

2.4.4 การพิมพ์บทท่ี เม่ือขึ้นบทใหม่ให้ข้ึนหน้าใหม่เสมอและมีเลขประจําบทโดยให้ใช้เลขอารบิค
เทา่ นน้ั เชน่ การพมิ พบ์ ทท่ี 1 ใหพ้ มิ พ์คาํ วา่ “บทที่ 1” ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ ส่วนช่ือบทใหพ้ มิ พ์
ไว้กลางหน้ากระดาษในบรรทัดถัดไปโดยไม่ต้องเว้นบรรทัด การพิมพ์บทท่ีและช่ือบทให้ใช้ดํา แบบอักษร TH
Sarabun New ขนาดตัวอักษร 20 พอยท์ ตัวหนา สําหรับบรรทัดถัดไปใหเ้ วน้ 1 บรรทัดปกติจากชื่อบท (ขนาด 16
พอยท)์

2.4.5 หัวข้อใหญ่ คือ หัวข้อที่จัดแบ่งเนื้อเรื่องภายในบทน้ันออกเป็นส่วนๆ โดยให้พิมพ์เว้นจาก
บรรทัดด้านบน 1 บรรทัดปกติ (ขนาด 16 พอยท์) พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้ายมือ ให้ใช้หมายเลขประจําบทตาม
ดว้ ยเคร่อื งหมายมหพั ภาค (.) และตามดว้ ยหมายเลขลําดับของหัวข้อใหญ่ แล้วเว้น 2 ตัวอักษร พิมพ์ชื่อหัวขอ้ โดย
ใช้แบบอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา สําหรับบรรทัดถัดไปให้เว้น 1/2 บรรทัดปกติ
(ขนาด 8 พอยท)์

2.4.6 หัวข้อย่อย คือ หัวข้อท่ีแบ่งย่อยจากหัวข้อใหญ่ โดยให้พิมพ์เว้นจากบรรทัดด้านบน 1/2
บรรทัดปกติ (ขนาด 8 พอยท์) พิมพ์ย่อหน้าโดยเว้นระยะให้ตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อหัวข้อใหญ่น้ัน ๆ ให้ใช้

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 6

หมายเลขของหัวข้อใหญ่ตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยหมายเลขลําดับของหัวข้อย่อยน้ันๆ พิมพ์
ด้วยแบบอักษร TH Sarabun New ขนาดตวั อกั ษร 16 พอยต์ ตัวปกติ บรรทดั ต่อไปใหพ้ ิมพโ์ ดยไมต่ อ้ งเวน้ บรรทดั

2.4.7 คําศัพท์ภาษาต่างประเทศ ให้พิมพ์เป็นภาษาไทยและวงเล็บเป็นภาษาต่างประเทศในครั้งแรก
ที่กล่าวถึง หลังจากนั้นไม่ต้องวงเล็บอีก สําหรับการพิมพ์เป็นภาษาไทยอาจยึดตามการบัญญัติศัพท์ที่ทําไว้แล้วโดย
ราชบณั ฑิตยสถาน หรอื ตามความเหมาะสม แต่ให้ใชเ้ หมอื นกนั ตลอดทงั้ เลม่

ตัวอย่างการพมิ พบ์ ทที่ หัวขอ้ ใหญ่ และหว้ ขอ้ ยอ่ ย

บทท่ี 2
รายละเอยี ดการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา

1.1 ตาํ แหนง่ หนา้ ท่ีงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

1.1.1 ตาํ แหนง่ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

2.5 การพมิ พต์ าราง ภาพประกอบ และสมการ
การพิมพ์ตาราง ภาพประกอบ และสมการ ให้พิมพ์โดยใช้ TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16

พอยต์ สดี ํา โดยมรี ายละเอยี ดเพม่ิ เติมดงั นี้
2.5.1 ตาราง ให้พิมพ์กํากับไว้ด้านบนของตารางนั้น พิมพ์แทรกเข้าไปในส่วนของเน้ือเรื่องที่มีการ

กลา่ วถงึ โดยเว้น 1 บรรทัดจากบรรทัดบน พิมพ์คาํ ว่า “ตารางที่” ชิดริมขอบกระดาษซ้ายมือ ตามด้วยเลขท่ีลําดับ
ของตาราง หมายเลขลําดับของตารางให้ใช้หมายเลขบทนําหน้า แล้วตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และ
หมายเลขลําดับของตารางนั้น โดยคําว่าตารางที่และหมายเลขลําดับของตารางให้พิมพ์ด้วยตัวหนา เช่น ตารางที่
1-1 (ตารางที่ 1 ในบทท่ี 1), ตารางท่ี 2-5 (ตารางที่ 5 ในบทที่ 2), ตาราง ก-1 (ตารางที่ 1 ในภาคผนวก ก) เป็น
ต้น ส่วนชื่อตารางให้พิมพ์ต่อจากหมายเลขลําดับตาราง โดยเว้นวรรค 2 ตัวอักษร พิมพ์ด้วยตัวปกติ ถ้าชื่อตาราง
ความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์ตัวอักษรแรกของบรรทัดถัดไปตรงกับตัวอักษรแรกของช่ือตารางในบรรทัดที่
1 โดยไม่ตอ้ งเว้นบรรทัด ตวั อยา่ งเชน่

ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงานโครงงานพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการคลังสินค้าของ
บริษัทฯ

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 7

ถ้าหากตารางมีความยาวมากจนไม่สามารถบรรจุไว้ในหน้าเดียว ให้พิมพ์ตารางต่อในหน้าถัดไป โดย
พิมพ์คําว่า (ต่อ) แบบตัวหนา ไว้ท้ายหมายเลขลําดับตาราง โดยเว้นวรรคก่อน 2 ตัวอักษร และไม่ต้องพิมพ์ชื่อ
ตารางอกี ดังตัวอยา่ ง

ตารางท่ี 1.1 (ต่อ)

ขนาดของตารางจะต้องอยู่ภายในระยะห่างจากขอบกระดาษตามท่ีกําหนดในข้อ 2.2 คือ ขนาด
เดยี วกับส่วนท่ีพิมพ์เนอ้ื เรือ่ ง ถ้าหากตารางมีความกว้างมากให้ย่อส่วนลงแต่ต้องสามารถอ่านได้ชัดเจน หรืออาจจะ
พมิ พต์ ามแนวขวางของกระดาษกไ็ ด้

2.5.2 ภาพ ให้พิมพ์ลําดับที่ของภาพและช่ือภาพเหมือนกับการพิมพ์ตาราง เช่น ภาพท่ี 1-1 (ภาพที่
1 ในบทที่ 1), ภาพที่ 1-3 (ภาพท่ี 3 ในบทท่ี 1) เป็นต้น แต่ให้กํากับไว้ใต้ภาพประกอบกลางหน้ากระดาษโดยภาพ
ใด ๆ กต็ าม จะต้องทาํ เป็นภาพอัดสําเนาบนกระดาษใหช้ ัดเจน หา้ มใช้วธิ กี ารติดภาพ ตวั อยา่ งการพมิ พเ์ ชน่

ภาพท่ี 1-1 โครงสรา้ งองค์กร

2.5.3 สมการให้พิมพ์เรียงลําดับหมายเลขของสมการตามบทจาก 1 ไปจนจบบทอยู่ภายในวงเล็บ
โดยให้พิมพ์เป็นตัวอักษรธรรมดาและอยู่ชิดกรอบกระดาษด้านขวามือ เช่น สมการที่ 4 ในบทท่ี 2 ให้พิมพ์ (2-4),
สมการท่ี 3 ในภาคผนวก ข ใหพ้ มิ พ์ (ข-3)

2.6 การพิมพส์ ารบญั สารบัญตาราง สารบัญภาพ
ให้พิมพ์คําว่า “สารบัญ” “สารบัญตาราง” “สารบัญภาพ” ไว้กลางหน้ากระดาษ โดยใช้แบบอักษร

TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 20 พอยท์ ตัวหนา แล้วเว้น 1 บรรทัดปกติ (ขนาด 16 พอยท์) แล้วจัดพิมพ์
ดังตอ่ ไปนี้

ในส่วน “สารบัญ” ในบรรทัดถัดมาให้พิมพ์คําว่า “หน้า” โดยให้จัดตําแหน่งชิดขวา ใช้แบบอักษร
TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยท์ ตัวหนา แล้วในบรรทัดต่อมาให้พิมพ์ช่ือแต่ละหัวข้อตั้งแต่บทคัดย่อ
ไปจนถึงประวัตผิ ้วู จิ ัย ในตาํ แหน่งชิดซ้าย โดยใช้แบบอกั ษร TH Sarabun New ขนาดตัวอกั ษร 16 พอยท์ ตัวปกติ
โดยในส่วนของแต่ละบทให้แสดงเฉพาะหวั ข้อใหญ่ สว่ นเลขหนา้ ของแต่ละหวั ขอ้ ให้จัดตําแหน่งหลักหน่วยไว้ตรงกัน
ในแนวขอบดา้ นขวา

ในส่วน “สารบัญตาราง” ในบรรทัดถัดมาให้พิมพ์คําว่า “ตารางที่” โดยให้จัดตําแหน่งชิดซ้าย คําว่า
“หน้า” โดยให้จัดตําแหน่งชิดขวา ใช้แบบอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยท์ ตัวหนา แล้วใน
บรรทัดต่อมาให้พิมพ์ลําดับเลขท่ีตาราง และชื่อตาราง ในตําแหน่งชิดซ้าย โดยใช้แบบอักษร TH Sarabun New

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 8

ขนาดตัวอักษร 16 พอยท์ ตัวปกติ ส่วนเลขหน้าของแต่ละตารางให้จัดตําแหน่งหลักหน่วยไว้ตรงกันในแนวขอบ
ดา้ นขวา

ในส่วน “สารบัญภาพ” ในบรรทัดถัดมาให้พิมพ์คําว่า “ภาพที่” โดยให้จัดตําแหน่งชิดซ้าย คําว่า
“หน้า” โดยให้จัดตําแหน่งชิดขวา ใช้แบบอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 พอยท์ ตัวหนา แล้วใน
บรรทัดต่อมาให้พิมพ์เลขลําดับภาพ และช่ือภาพ ในตําแหน่งชิดซ้าย โดยใช้แบบอักษร TH Sarabun New ขนาด
ตัวอักษร 16 พอยท์ ตวั ปกติ ส่วนเลขหน้าของแต่ละภาพให้จดั ตําแหนง่ หลกั หน่วยไวต้ รงกันในแนวขอบด้านขวา

ท้งั นี้ ระหว่างบทตา่ งๆ เอกสารอ้างองิ ภาคผนวก ประวตั ผิ ู้วิจัย ใหเ้ วน้ 1 บรรทัด
2.7 การพิมพ์เอกสารอ้างอิง อยู่ต่อจากส่วนเน้ือหา และก่อนภาคผนวก ใหพ้ ิมพ์คําว่า “เอกสารอ้างอิง”
กลางหนา้ กระดาษ โดยเวน้ ขอบกระดาษพมิ พ์เช่นเดียวกบั การเรม่ิ บทใหม่ และใหเ้ วน้ 1 บรรทดั จึงเรมิ่ พิมพ์รายการ
ของเอกสารอ้างอิง สําหรับรายการของเอกสารอ้างอิงให้เรียงตามลําดับหมายเลขท่ีได้กํากับไว้ภายในเครื่องหมาย
วงเล็บส่ีเหล่ียม “[ ]” ที่ได้อ้างถึงในเนื้อหาของรายงาน โดยไม่ต้องเรียงตามตัวอักษร และพิมพ์หมายเลขของทุก
เอกสารให้ชิดกบั ของกระดาษด้านซ้าย ถา้ ข้อความในเอกสารอ้างอิงข้อใดขอ้ หน่ึงมีความยาวมากกว่า 1 บรรทัด ให้
พิมพบ์ รรทดั ถัดไปโดยย่อหน้าเว้นระยะ 1.5 เซนตเิ มตร (0.59 น้ิว)
2.8 การพิมพ์ภาคผนวก อยู่ถัดจากเอกสารอ้างอิง โดยให้จัดตําแหน่งอยู่ก่ึงกลางของหน้ากระดาษ และ
เว้น 1 บรรทัด จึงพิมพ์ชื่อของภาคผนวก ถ้าภาคผนวกมีภาคเดียว ให้ใช้เป็น “ภาคผนวก ก” แต่ถ้ามีหลายภาคให้
ใช้เป็น “ภาคผนวก ก”, “ภาคผนวก ข” ฯลฯ และให้ขึ้นหน้าใหม่เม่ือข้ึนภาคผนวกใหม่ ใช้แบบอักษร TH
Sarabun New ขนาดตวั อักษร 20 พอยท์ ตัวหนา
2.9 การพิมพป์ ระวัตผิ ้แู ตง่ จะอยู่อยู่ถดั จากภาคผนวก ประกอบด้วยช่ือโครงาน ชื่ออาจารย์ทปี่ รึกษา ช่ือ-
นามสกลุ นักศึกษาผู้ทํารายงานการปฏิบัตงิ าน คณะ สาขา ท่อี ยู่ และประวตั กิ ารศกึ ษา (ดูจากตัวอย่างประกอบ)
2.10 การทําสําเนา จะต้องมีความชัดเจนและถูกต้องเช่นเดียวกันกับต้นฉบับ และทุกเล่มต้องมีลายมือช่ือ
จรงิ ของคณะกรรมการสอบทกุ คน

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 9

TH Sarabun New #20 หนา

ภาคผนวก ก
ตัวอยา่ งการพิมพร์ ายงานการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 10

(การพิมพข์ ้อความปกนอก)

รายงานการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา

(ชอ่ื หวั ขอ้ รายงาน)
_________________________________________________

______________________________________
_________________________

(ชื่อผู้แตง่ ภาษาไทย)
ชอ่ื **นามสกลุ รหสั นกั ศกึ ษา

รายงานนีเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวชิ าสหกจิ ศึกษา

สาขาวชิ า คณะ

วทิ ยาลยั เซาธ์อีสทบ์ างกอก

ปกี ารศกึ ษา

(TH Sarabun New #18 หนาทงั้ หน้า)

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 11

(การพิมพข์ อ้ ความปกใน)

รายงานการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษา

(ช่ือหวั ขอ้ รายงาน)
_________________________________________________

______________________________________
_________________________

(ชื่อผู้แต่งภาษาไทย)
ชอื่ **นามสกลุ รหสั นักศึกษา

ปฏิบัตงิ าน ณ

ช่อื บรษิ ทั
ที่อย่บู ริษัท

(TH Sarabun New #18 หนาท้ังหน้า)

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 12

การพมิ พห์ น้าจดหมายนาํ สง่ รายงานการปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา

วนั ท่.ี .........เดือน.............พ.ศ................
เรื่อง ขอสง่ รายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา
เรยี น .......(ช่ืออาจารยท์ ปี่ รึกษา).......................

อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกิจศกึ ษา สาขาวชิ าการ.........................

ตามท่ขี า้ พเจ้า นาย/นางสาว......................................................นกั ศึกษาสาขาวชิ าการ................................
คณะ.........................วิทยาลยั เซาธ์อสี ท์บางกอกไดป้ ฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษาระหว่างวันท.่ี ........เดอื น...........พ.ศ..........
ถึงวนั ท่.ี .......เดอื น...........พ.ศ......... ในตําแหนง่ ...........ณ สถานประกอบการ บรษิ ทั .................................................
และไดร้ บั มอบหมายจากพนักงานท่ีปรึกษาให้นกั ศึกษาจัดทาํ ....................................................................................

บัดนี้การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได้ส้ินสุดลงแล้วข้าพเจ้าจึงใคร่ขอส่งรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
ดงั กล่าวมาพร้อมน้จี ํานวน.........เลม่ เพ่อื ขอรบั คาํ ปรึกษาต่อไป

จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดพิจารณา

ขอแสดงความนับถอื
..................(ลายเซ็น)..............................
(นางสาว/นาย.........................................)
..................(ลายเซน็ )..............................
(นางสาว/นาย.........................................)

**กรณที ํารายงานการปฏบิ ัติงาน 2 คน/1 เล่ม ลงช่ือท้งั 2 คน**

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 13

การพมิ พ์ข้อความในหนา้ อนมุ ัติรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา

ชื่อโครงงาน TH Sarabun New #16 หนา
ช่อื นกั ศกึ ษา

สาขาวชิ า
คณะ
อาจารย์ท่ีปรกึ ษา

ปีการศึกษา TH Sarabun New #16 ธรรมดา

อนุมัติให้โครงงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา วิทยาลัยเซาธ์อีสท์
บางกอก ประจําภาคเรยี นที.่ ..........ปกี ารศึกษา.................

รายชอ่ื ผอู้ นุมตั ริ ายงาน ลายมือชอื่

อาจารย์..........................................
อาจารย์ทีป่ รกึ ษา

พนักงานท่ีปรกึ ษา.............................
พนกั งานทปี่ รึกษา

( )
คณบดคี ณะ
ลิขสทิ ธ์ขิ องสาขาวชิ า
คณะ

วิทยาลัยเซาธอ์ สี ท์บางกอก

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 14

การพมิ พบ์ ทคดั ย่อ TH Sarabun New #20 หนา

บทคดั ยอ่

<เว้น 1 บรรทดั >
(ให้เว้นย่อหน้า 1 เซนตเิ มตร)__________________________________________________

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 15

การพมิ พ์กิตติกรรมประกาศ

กติ ตกิ รรมประกาศ

(TH Sarabun New #20 หนา)

<เวน้ 1 บรรทัด>
(ใหเ้ วน้ ย่อหนา้ 1 เซนตเิ มตร)__________________________________________________

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
<เว้น 2 บรรทดั >

ชือ่ -นามสกุล ผู้จดั ทาํ รายงาน (ไมต่ ้องใสค่ ํานาํ หน้าชอ่ื )

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 16

ตัวอย่างการพมิ พส์ ารบญั

สารบัญ

(TH Sarabun New #20 หนา

จดหมายนาํ ส่งรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา หน้า
หน้าอนมุ ตั ริ ายงานการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
บทคดั ย่อ ค
สารบัญ ง
สารบญั ตาราง จ
สารบัญภาพ ฉ


บทที*่ 1.**บทนํา 1
1.1**หวั ขอ้ สาํ คัญ 2
1.2 หวั ข้อสาํ คัญ 3
5
บทท่ี 2. รายละเอียดการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศึกษา 8
2.1 หวั ข้อสาํ คญั 10
2.2 หัวข้อสําคญั 12
12
บทท่ี 3. สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา 15
3.1 หัวขอ้ สําคัญ 17
3.2 หัวข้อสาํ คัญ 17
22
บทท่ี 4. ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ
4.1 หัวข้อสาํ คัญ
4.2 หวั ข้อสําคัญ

เอกสารอ้างอิง 25
ภาคผนวก ก 26
ประวัติผู้แต่ง 30

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 17

ตวั อยา่ งการพมิ พ์สารบญั ตาราง หนา้
4
สารบัญตาราง 7
11
(TH Sarabun New #20 หนา) 12
_
<เวน้ 1 บรรทดั > _
ตารางท่ี _
_
1-1 _________________________________________________________ _
1-2 _________________________________________________________ _
2-1 _________________________________________________________ _
2-2 _________________________________________________________ _
2-3 _________________________________________________________ _
2-4 _________________________________________________________ _
3-1 _________________________________________________________
3-2 _________________________________________________________
3-3 _________________________________________________________
4-1 _________________________________________________________
4-2 _________________________________________________________
ก-1 _________________________________________________________
ก-2 _________________________________________________________
ข-1 _________________________________________________________

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 18

ตัวอย่างการพมิ พ์สารบัญภาพ หน้า
6
สารบัญภาพ 9
11
(TH Sarabun New #20 หนา) 15
_
<เวน้ 1 บรรทัด> _
ภาพท่ี _
_
1-1 _________________________________________________________ _
1-2 _________________________________________________________ _
2-1 _________________________________________________________ _
2-2 _________________________________________________________ _
2-3 _________________________________________________________ _
2-4 _________________________________________________________ _
3-1 _________________________________________________________
3-2 _________________________________________________________
3-3 _________________________________________________________
4-1 _________________________________________________________
4-2 _________________________________________________________
ก-1 _________________________________________________________
ก-2 _________________________________________________________
ข-1 _________________________________________________________

(TH Sarabun New #16)

3.81 ซม. ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 19
2.54 ซม.
ตวั อยา่ งการตงั้ คา่ หน้ากระดาษ
ค่าหน้ากระดาษ
3.81 ซม.

ลาํ ดับเลขหนา้

2.54 ซม.

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 23

TH Sarabun New #16 หนา ตวั อยา่ ง(กTHารSใaสr่เaลbขunตาNรeาwงแ#ล1ะ6)เลขภาพ
ตัวอยา่ งใสเ่ ลขตาราง

ตารางที่ 1.1 ตารางแสดงรายรบั รายจ่าย TH Sarabun New #16 ปกติ

ตวั อยา่ งใสเ่ ลขภาพ

TH Sarabun New #16 หนา ภาพท่ี 2-2 ส่งแฟกซ์หาลูกค้า

TH Sarabun New #16 ปกติ

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 20

ตัวอยา่ งการแบง่ บทและหวั ขอ้ ในบท

TH Sarabun New #16 หนา บทท่ี 1 TH Sarabun New #20 หนา

บทนาํ

<เว้น 1 บรรทดั >

1.1 ประเทศไทย (ขนาดตวั อกั ษร 16 พอยตต์ ัวหนา)

<เว้น 1/2 บรรทัด>

1.1.1 ภาคเหนอื ………………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………………………………………….

1.1.2 ภาคใต้ …….……………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………………………………………….

1.1.2.1 ชมุ พร ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………….

1.1.2.2 ตรัง ……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………….

1.1.3 ภาคตะวันออก …………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………………………………………….

<เวน้ 1 บรรทัดเมื่อข้นึ หวั ข้อสาํ คญั ใหม่>

1.2 ประเทศลาว

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทาํ ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 21

ตัวอย่างการพมิ พ์เอกสารอ้างองิ

เอกสารอ้างอิง

(TH Sarabun New #20 หนา)

[1] บณั ฑติ วทิ ยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ค่มู อื การทําวิทยานิพนธ.์
กรุงเทพฯ : 21 เซน็ จูร,่ี 2544. (กรณีผแู้ ต่งเป็นนิติบุคคล)

[2] วชั รพงศ์ ยะไวทย.์ E-Commerce และกลยุทธ์การทําเงนิ บนอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : ซเี อ็ด
ยเู คชน่ั , 2542. (กรณผี แู้ ตง่ 1 คน)

[3] Hughes, D. E. P. and M. J. Maloney. Advanced theoretical chemistry. London :
Chatto & Windus, c1999. (กรณีผ้แู ตง่ 2 คน)

[4] วฒั นา วริ ิยะดนตรมี สุปกิต ประตมิ ากรณ์ และ ศิรชิ ยั มงคลสทิ ธิ.์ คูม่ ือการเรียนรู้โปรแกรม
Photoshop 5 technic. กรงุ เทพฯ : Imagination, 2542. (กรณีผู้แตง่ 3 คน)

[5] Coffee, Peter, et al. How to program JavaBeans. Emeryville, Calif. : Ziff-Davis
Press, c1997. (กรณีผแู้ ต่งมากกว่า 3 คน)

[6] H. P. Blom. et al., Journal of Applied Polymer Science. 58, (1995) : 995-1006.
[7] สุขเกษม มานพพงศ์. “สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิชาชีพเลือก สาขาวิชาพณิชยการของ

สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาบณั ฑิต สาขาวิชาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิยาลัย สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2541.

(TH Sarabun New #16)

ก า ร ทํา ร า ย ง า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ส ห กิ จ ศึ ก ษ า | 22

ตวั อย่างการพมิ พ์ประวัตผิ ู้จดั ทาํ รายงาน

ประวัติผจู้ ดั ทํารายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศึกษา

(TH Sarabun New #20 หนา)

รูปนกั ศกึ ษาที่เป็น
ทางการ

<เวน้ 1 บรรทัด> นางสาว/นาย
ชือ่ โครงงาน สาขา
คณะ
อาจารยท์ ี่ปรึกษา
นางสาว/นาย
ชือ่ สาขา
กําลังศกึ ษา คณะ

ชือ่
กาํ ลงั ศกึ ษา

รูปแบบการเขียนบทความ

TH SarabunNew # 16 29 mm
(จากขอบกระดาษ)

รปู แบบและตวั อยา่ งของบทความสาหรบั
การประกวดแขง่ ขันโครงงาน/งานสหกิจศกึ ษาดีเด่น
Manuscript Preparation Guidelines for the Papers Submitted to COOP Contest

วัชรี อตุ ตะมะ 1, สมชาย สุคนธส์ วัสดิ์2, ดร.กติ ติวณั ณ์ นิม่ เกดิ ผล3
สาขาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

39 หมู่ 1 ถนนรังสิต – นครนายก อ.ธญั บุรี จ.ปทมุ ธานี 12110

สถานที่ปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา : ศูนย์วิทยาศาสตร-์ รงั สติ อ.ธัญบรุ ี จ.ปทุมธานี 12110

TH SarabunNew # 14

บทคดั ยอ่ TH SarabunNew # 12 2. คาแนะนาการเขยี นและพมิ พ์

บทความน้ีกล่าวเก่ียวกับรูปแบบและวิธีการส่งบทความ เพื่อ 2.1 คาแนะนาทว่ั ไป

เสนอต่อคณะกรรมการตัดสินผลงานการประกวดแข่งขันโครงงาน/งาน บทความที่เสนอจะต้องพิมพ์เป็นภาษาไทย หรือ

สหกิจศึกษาดีเด่น ผู้ส่งบทความจะต้องยึดรูปแบบตามบทความน้ีอย่าง ภาษาอังกฤษ ตามรูปแบบท่ีกาหนด ซึ่งพร้อมที่จะนาไปถ่ายเพลท เพ่ือ
เคร่งครัด บทความใดที่รูปแบบไม่ถูกต้อง จะถูกส่งคืนและไม่รับพิจารณา พมิ พ์ออฟเซ็ตได้ทนั ที ความยาวไม่เกิน 6 หน้า
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ (ภาษาอังกฤษเฉพาะผลงานประเภท
การพิมพ์ให้พิมพ์ลงบนกระดาษ A4 โดยพิมพ์เป็น
นานาชาต)ิ ควรมีเพียงยอ่ หนา้ เดยี ว และความยาวไมเ่ กิน 25 บรรทดั
2 คอลัมน์ ตามรูปแบบบทความนี้ ขนาดของคอลัมน์เป็นไปตามท่ี
81 mm 6 mm กาหนด จะต้องพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์ท่ีมีความละเอียดไม่
21 mm คาสาคญั : รูปแบบบทความ, ขนาดตวั อักษร, รปู แบบตัวอกั ษร
(จากขอบ นอ้ ยกวา่ 300 dpi
กระดาษ) ดังนี้ ให้พิมพ์โดยไม่เว้นบรรทัด เม่ือจะขึ้นหัวข้อใหม่ให้เว้น

1 บรรทัด และจะต้องพมิ พใ์ หเ้ ตม็ คอลัมน์ก่อนท่ีจะข้ึนคอลัมน์ใหม่หรือ

Abstract (มีเฉพาะผลงานสหกิจศึกษาประเภทนานาชาติ) ข้นึ หน้าใหม่ หา้ มเว้นทเ่ี หลอื ไว้วา่ งเปลา่
การลาดับหัวข้อในส่วนของเนื้อเร่ือง ให้ใส่เลขกากับ โดย
This article describes a submission procedure and a
format of the manuscript for the COOP RT’56. Authors are ให้บทนาเป็นหัวข้อหมายเลข 1 และหากมีการแบ่งหัวข้อย่อย ก็ให้ใช้
required to strictly follow the guidelines provided here: เลขระบบทศนิยมกากับหัวข้อย่อย เชน่ 2.1 เป็นต้น

otherwise, the manuscript will be rejected immediately and 81 mm 21 mm
not be considered again. A good abstract should have only (จากขอบ
one paragraph. Both Thai and English abstracts are required; 2.2 ขนาดตัวอักษรและการเวน้ ระยะ กระดาษ)
the length of each should not exceed 25 lines.
พมิ พบ์ ทความภาษาไทยดว้ ยตวั อักษรรูปแบบ “TH Sarabun
Keywords: submission procedure, manuscript format, font PSK/ TH SarabunNew” หรอื ใกลเ้ คยี ง
size, font style, blank line
ช่ือเร่ืองบทความ ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 16 พอยต์
ช่ือผู้เขียน สถาบัน ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 12 พอยต์
ชื่อหัวข้อย่อย ใช้ตัวอักษรแบบหนาขนาด 14 พอยต์

เวน้ ระยะ 1 บรรทดั เมือ่ ขึน้ หวั ข้อใหม่ บทคัดย่อและเน้ือความต่างๆ ใช้ตัวอักษรขนาด 12 พอยต์
สมการต่างๆ ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 14 พอยน์ ตัวอักษร
1. คานา TH Sarabun PSK/ TH SarabunNew ขนาด 14 พอยต์

การเขียนบทความจะต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ตามลาดับ การเว้นระยะบรรทัดห่างในแนวต้ัง ให้เลือกแบบ Exactly

ต่อไปนี้คือ ชื่อเรื่องภาษาไทย ช่ือผู้เขียนบทความ สถาบัน ท่ีอยู่สถาบัน 16 พอยต์ เนื้อเรื่องในแต่ละบรรทัดให้จัดเรียงชิดซ้ายและขวาอย่าง

อย่างละเอียด บทคัดย่อภาษาไทย ในกรณีเป็นผลงานสหกิจศึกษา สวยงาม

นานาชาติ ต้องมี Abstract เป็นภาษาอังกฤษด้วย เนื้อเรื่องแบ่งเป็น

บทนา หลักการ/เหตุผล วิธีการหรือทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ผลที่ได้รับหรือ

ผลจากการทดสอบไดป้ ระโยชน์อยา่ งไร

1. (ระบรุ ายละเอียดเกีย่ วกับ นักศึกษาทีป่ ฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา ประกอบดว้ ย ช่ือ สกลุ สาขาวชิ า และมหาวิทยาลัย)
2. (ระบุรายละเอียดเกย่ี วกบั ผนู้ เิ ทศงานของสถานประกอบการ ประกอบดว้ ย ชอ่ื สกลุ ตาแหน่ง หนว่ ยงานท่สี ังกดั และชอ่ื สถานประกอบการ)
3. (ระบุรายละเอยี ดเกย่ี วกับ อาจารยน์ เิ ทศงาน ประกอบด้วย ชื่อ สกลุ ตาแหน่งทางวชิ าการ หน่วยงานทสี่ ังกัด/สาขาวิชา และมหาวทิ ยาลัย)

2.3 ชอื่ เรือ่ ง ช่ือผู้แตง่ และชอ่ื หัวข้อ 2.7 การอ้างองิ และเอกสารอา้ งอิง

การพิมพ์ช่ือเร่ือง ให้วางไว้ตาแหน่งกลางหน้ากระดาษ แบบ การอ้างองิ ในบทความ ให้ใช้เคร่อื งหมายวงเล็บเหล่ียม เช่น
คอลัมน์เดี่ยว เริ่มจากชื่อเรื่องภาษาไทย ขึ้นบรรทัดใหม่เป็นชื่อเรื่อง [2] จะต้องเรียงลาดบั หมายเลขอ้างอิงจากหมายเลขน้อยไปสู่หมายเลข
ภาษาอังกฤษ มากให้ถูกต้อง การอ้างอิงหมายเลขที่มีลาดับติดต่อกับให้ใช้รูปแบบ
ดังน้ี [1-5] โดยต้องระบุช่ือบทความท่ีอ้างอิงให้ชัดเจน ให้จดั รายการ
ชื่อผู้เขียนและสถาบันให้พิมพ์ไว้ใต้ชื่อเรื่องและอยู่กลาง อ้างอิงให้อยู่ในแนวตรง โดยเว้นระยะจากขอบซ้ายให้ตรงกันทุก
หน้ากระดาษ แบบคอลัมน์เด่ียว ระบุที่อยู่ของที่ทางานอย่างละเอียด ระบุ รายการ
หมายเลขโทรศัพท์ ระบหุ มายเลขโทรสาร (ถา้ มี) ระบุ E-mail (ถ้าม)ี
2.8 ความยาวของบทความ
ไม่ต้องระบุตาแหน่งทางวิชาการหรือสถานะของนักศึกษาใดๆ
ท้ังสน้ิ เมื่อรวมทุกส่วนแล้ว แต่ละบทความมีความยาวดังน้ี
บทความท่ัวไปมคี วามยาวไม่เกิน 6 หน้ากระดาษ A4
ช่อื หัวข้อยอ่ ยตา่ งๆ ใหว้ างตาแหน่งชดิ ขอบซา้ ย

2.4 การจดั ทารปู ภาพ 3. กรณบี ทความภาษาองั กฤษ

รูปภาพจะต้องมีความกว้างไม่เกิน 81 มิลลิเมตร เพ่ือให้ลงใน ใช้รปู แบบเดียวกับบทความภาษาไทย
หนงึ่ คอลมั นไ์ ด้ หรอื ในกรณจี าเป็นจริงๆ เพ่ือรักษารายละเอียดในภาพอาจ
ยอมให้มคี วามกวา้ งได้เต็มหน้ากระดาษ (กวา้ ง 168 มิลลิเมตร) 4. สรุป

ตัวอักษรท้ังหมดในรูปภาพ จะต้องมีขนาดใหญ่สามารถอ่านได้ ผู้เขียนบทความกรุณาตรวจบทความอย่างรอบคอบโดยใช้
สะดวก และต้องไมเ่ ลก็ กว่าตัวอกั ษรในเนอื้ เร่อื ง เวลาอย่างพอเพยี ง ก่อนส่งใหก้ รรมการพจิ ารณา จะทาใหบ้ ทความของ
ทา่ นมคี ณุ ภาพสงู และผ่านการพจิ ารณาได้ง่ายขึ้น
รู ป ภ า พ ทุ ก รู ป จ ะ ต้ อ ง มี ห ม า ย เ ล ข แ ล ะ ค า บ ร ร ย า ย ไ ต้ ภ า พ
หมายเลขและคาบรรยายรวมกันแล้วควรจะมคี วามยาวไมเ่ กนิ 2 บรรทดั 5. กิตตกิ รรมประกาศ

คาบรรยายใต้ภาพ ห้ามใช้คาว่า “แสดง” เช่น ห้ามเขียนว่า” ขอขอบคุณผเู้ ขยี นบทความทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือรกั ษา
รปู ที่ 1 แสดงความสัมพนั ธ.์ ..” ระเบยี บการเขียนบทความอย่างเคร่งครัด

ที่ถูกต้องควรเป็น “รปู ท่ี 1 ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง...”
รูปลายเส้นจะต้องเป็นเส้นหมึกดา ส่วนรูปถ่ายควรจะเป็นรูป
ขาวดาทม่ี คี วามคมชัด รูปสีอนุโลมใหไ้ ด้ รูปภาพควรจะมีรายละเอียดเท่าท่ี
จาเป็นเท่าน้ัน เช่น ภาพถ่ายรูปคล่ืนจากออสซิลโลสโคปท่ีปรากฏให้เห็น
เฉพาะจอภาพ เป็นต้น และเพื่อความสวยงามให้เว้นบรรทัดเหนือรูปภาพ
1 บรรทัด และเว้นใต้คาบรรยายรปู ภาพ 1 บรรทัด

2.5 การเขียนสมการ เอกสารอา้ งอิง [1] S. Hiranvarodom, “Modeling of

สมการทุกสมการจะต้องมีหมายเลขกากับอยู่ภายในวงเล็บ สแกนรูปถ่าย Strategy for Photovoltaic
และเรียงลาดับที่ถูกต้อง ตาแหน่งของหมายเลขสมการจะต้องอยู่ชิดขอบ 2 cm x 2 cm
ดา้ นขวาของคอลมั น์ ดงั ตวั อยา่ งน้ี Development and Dissemination in
Thailand”, 3rd World Conference on
abc (1)
Photovoltaic Energy Conversion,

Osaka, Japan, May 11-18, 2003.

เริ่มเขียนคาอธบิ ายตง้ั แต่บรรทัดน้ี ประวตั ิผเู้ ขยี นบทความ ใหผ้ ู้เขยี นบทความทุกท่านเขยี นชอื่ ประวัติ
โดยยอ่ และงานวจิ ยั ที่สนใจพร้อมทั้งสแกนรูปถา่ ย
2.6 การจัดทาตาราง
ชือ่ – สกุล
ตัวอักษรในตารางจะต้องไม่เล็กกว่าตัวอักษรในเน้ือเร่ือง ควรตี สาขาวิชา
เสน้ กรอบตารางด้วยหมึกดาใหช้ ัดเจน มหาวิทยาลัย
ที่อยู่
ตารางทุกตารางจะต้องมีหมายเลขและคาบรรยายกากับเหนือ เบอรโ์ ทรศัพท์
ตาราง หมายเลขกากบั และคาบรรยายนี้รวมกันแลว้ ควรมีความยาวไม่เกิน E-mail
2 บรรทัด ในคาบรรยายเหนือตารางห้ามใช้คาว่า “แสดง” เช่นเดียวกับ
กรณีรูปภาพ

เพื่อความสวยงาม ให้เว้นบรรทัดเหนือคาบรรยายตาราง 1
บรรทดั และเว้นบรรทดั ใต้ตาราง 1 บรรทัด

:1

Noti ng Hill Jatuj ak Interchang e I
Market Communication to focus on t arget cu stom ers and increase sa l es
I
for Notin g Hill Jatujak Int erchang e
I
ft't1~111'W 1 L'\l~qja\))'i i'l5i11.1~<1~11 2, '\l~u1 f'1~'1~'1J 3
I
ut1'!11LLnt'.1 ,
I
ft1'!!1i'U1fl1'i\))n1i11 l')(\JtUqj~LLntiYIU1nw~'i11rn'i iYIU1ftUL'!l1GfaW1'U1~ntin

298 ()tJtJ<l'i'i"r1115 LL'U 1~'U 1 ~tJ1 L'!Jl))'lJ1~tJ1 n1~LYl'W1J\.11tJl'l'i 10260

<1mt1~t15~il"1ii'1Pln-cn : 'U~~YI titi~~tJ 'W~ti"r1L'Wtii~ '1'1ni11 (1.1m'!Jt1)

496 ...,~ 9 1Ji1"U111Hrn"1\iti ci1L11milti~ftljY1'itl'i1rn'i ftljY1'itl'i1fl1'i 10270 LYl'i .020-300-000

fl1'i'\li"1'1Yol1CL\' l'l'i~fl1'i..ttJ,.1.Jv11))~..ut'itft~l'l' L '..W#tJ\v))tJ~fl1'i11~ LL~tlfl1'i L!u'1'LJ.~...Ln4'U'i1'U'i11J~ nl'lv1Y..l.11.J. n1'li1ll'UC\11J LL<ltftll'UC\11JL..nJ t11 n"''U'~1tl

'1viv11~tiYI1~n1'i\))111vi LL<l t L~ 1.1 uti i11'!J1 u1 ~ tl'U Ll'l'i ~ n 1 'i -h11ii'~'Ul.11'\l1n'lill~Yl1~1vi LYltitl1'!'Jti1.111~1vi'-r'U\l1n11nl'1'11.11v11n1'i I
Noting Hill Jatujak Interchange 1.11n~t1 Li11U'\l1nrn'i~1r;\\,J11tl Ll'l'i'~fl1'i ' I
t15i.r~~1t11t1 'UWYI titi~~t1 'W~ti'WL'Wtii~ '1'1nvi (1.1"11'!Jt1l Li'Jt1 ~'IJtJ1~ll'!Ji'lmTt1~ti1tl<i1"1fo Noting Jatujak
Hill I
'itUtL1'11 1 f111'ln1'iPln-e11 hi'~'U1JtJ'U"11J1UL~tl5u~~1tJLtJ I
Interchange
111111\IU~ ~iht1e'.l11.Jn1'il))'1WI iim.J1~ii1n'\l~LL'ti~-UtJttJ'U~L1 (\J I
tLi11 tl'ill'UtLl'l'i~ fl1'iL '.W.ll.L.n'U'i1tl<ltLllU"111''U"lll;J't1 Ll'l'i~n1'il)')1~v'l '\1111"11 1. U'Vltl1 I
\'1()1\JmtJ n 1'i '1111 ii'\l n'i'i1J'l11~n1'il))"1i11 ~\))~tJtl'i t ft 1tJ~1tJt tJ n1 'i 'UWYI llll~~tJ 'WfaYH'Wti{~ '1'1n111 (1J"11iJtJ) rill~~~tJLtJ
~~l))~llYl1~ n 1 'il))'11111 'W~ll1J~~ tl 'itft 1tJ~ 1\Jtl'U~I!) LL<l\'1()1\J~ I
'W.f'l. 2552 Lvllltl'itnll'U~'iii\l~g)JtJ1llft~m~1.1Y1~'WV lviuY11~
ll ll n\! 5 ii '\l n'i'i1J ~111\))11J~M1'i~1Li'lt1~1t1 'i11J1t! Ci~ n1 wi'U I
'U'-i"ev!Yl '1 lj' ~'Wv'IJ'LJ1ll')!1j'~°'11'-i1JYl 'vi'W U'.u1'itiflYll'llltJtLi11-1JLt.l..t11J 'UtJ'WJ'tJY.I.Y.I.
'i1 'lJ 'i11.1'!'Jvl;Jn ~ n l'1'1'!Jll~'l11~'U~~YI Lvllli11tl'i1u~1t1-X1"1\J1e'.J1 v I
t ~1'1111Jftti111n1tJn1'iL~tJ'l11~0tJ11ii'LL ri vl1L'11))11J LLtJ1ft()1U'UtJci~
I
1.11'1iJtJ 'it'U 'lJ 'i 1~LtJ L'!JI)) n 1~ LYl'W1J"11tJl'l'i LL'1ttl~1J '1J'1'1 LL<lt vl1Lil
I
1n'1Y11~~1t1 \))ntJ111 'it ut L1111 rn'i~1Ltit1~ 1t1~~1t11.11 lm~ n1'i
I
fl1'il))'11i11 l'llltJl111fauu1.1vinLl'l'i~fl1'i ii LLt11i'i1111tJ fl1'itltlnLL'U'ULL<ltfl1'il))nLL~~ I

'\l1n rn 'itlD~~ 1t111ii'iirn'i11~ LL~tJ nw1h~ll'l11~ fl1'il))'11111 llth~ihllnftn"elru 'i1l.11i~ n 1'i '1111il'i'i~t1~H<1llu1~i111.11'inH

'till~ Ll'l'i~fl1'i Noting Hill Jatujak Interchange Li11Ufl1'i"11 tl'itLuiJt111ii'mh~~lJfl1 LL<lt'1~~1 ftlli11~'U tl'Ui fi~i l))'!Jll~ l'ltJLiJv~

i!lll;Jnlm~rn'i~LL'ti~'llt1l111ui5n1'ilYl'i~'WvlL~·1<1ll'Um1.1 rn'iL'!'J11ti f\111L~llnt-ti'1ii vi ~iil'l rufl 1'W ii~ 1'1'1.1fl11'1'1.1'i1 m 'i11.1Ci~ii 'i t'U'U 'ill~ ~'U
' " ''
'
ilti'UC\11.1Li11Ul))'i~ LLntn1'im'!'Jlll;Jn'\l1nY11~L1'U1'!1iri '\l1n~LL'ti~-Ut1 n1'i1~'U~n 1 'i"1ft~nw1nutiu1~~m~ll~ l'l'i'U1~'\l'i <1tli'llt1f11\iu1.1

'U~L1 ru'iti'U" '\11 mTt1tl1i!ti1.1n'Ull~Ll'l'i~ n1'ifl LL'ti~'!'Jt1~v11 n1'i At1"11 'Ull~'U~~Yl '1 ~~ ~L\Jt11Jll'U~~l))Jl'1J'1~iif)'1Jl11'W Ltl'i11'11~\J'Uil1ll~
I' '
'\l1ni5~1~ 'l 1.11ut1YinMttJl tl'i LLm1.1 Microsoft Excel Lyjll .11ii't~n'U1'1ni'1'1'Ull~'UWY1'1 Y1nvht1
l111urn'itln<1"1ii\l'tlll~Un~ n"el111ii'1iJ1~11.1tl n <1"1ii'\l., tl'U'/11~
vl1n1'iLtl~U 'ULViU'U LLntiLl'l'i1t\1fi~~i11LL~~ ~111cltltJ'UtJ~Ll'l'i~fl1'i

Lvl ti tl 11.111-ITT tJ n 1'i11~LL~tJn1'i1-tl~ ti YI 1 ~ n1 'i\))111i1I~1 ~ 'l 'U~~'ll llti~~tJ 'Wfa'WL'Wlli~ '1'1n111 (1.1"11iit1l ;~iitl'it<1'Un1'iru

vtlt1 n1'i~111u1ul'1"elru1 n1'iLL'\ln1'Ut1~1 n1'illlln\!5 LUt1111't1 LLn tii'Wun ~ 1t1~iim 11.1ii11.11 'intt1 n1'i'li1 utln<1 lltJL~un Pl n"e11

l111mL~ntiG'\lt1-ti'C:hurn'i\))'111111t1n1'i~1Li'lt1~1t1vin~tJl))lltJ Lfill i111.11'inv11 ~ 1t1~1t1rn'i\))n 111111ii'llu 1 ~iitl'it ~'115~11

n ~1.1~nA1Lu1"11.11U'W'U L-:1 t1 ~ ti '!Ji'J111 ~1~ 'l Lii1111'1111.1<1t11'11 tJ

lm~rn'i LiJ11.11<1ti"Um1.1ffim~ n 1 'i\l 1 n'Wun~1t1'!!1u "1~llLYl'iL'!'J1

1. fttJ~J11'W U'LJ'!l1Unt'-1 unP!n"el1ft1'!J1iiJ1fl1'i\))'11\)) l')(\JtU11J~LL<lti'llU1fl1'i'1111rn'i i'llU1ftUL'!l1GBftvl 'U1~nlln

2. L'\l~(lJQl))'i tiGil1J~ft~'1 Marketin~ Officer 'UWYI tlll~~tJ 'W~ll'WL'Wti{~ '1'1tli11 (1J\.11iJtJ)

3. \l~u1 f'1~'1~11J ll1\l1'iUtl'it'1'1<11'!!1iii1rn'il))n1111 1'1'1JtU11J~Unti'llu1rn'i'1i11rn'i i'llU1ftUL'!l1GB<lvl 'U1~ntin

2

\l 'J~uuiiuniiin ,J1mu1.11n~n1'1~ 'Jt '11i~'Jn1'i iiin~1 mit fi~'11'1~'1'i'i flL '\J n 1'ill1'1~ L\1~n1'i cUoW Li'l~L ~ Cl~~\1l~e.Jl1Vl 1~
n11 ~~illl11Jvi1~11.J ii~ nu~iiuniiin~1,J1u1u1.11n~u~'tm1 n1'i!llll1~-X~tuli1u'Ue:i~~ul'i'1 'U~nl'i ....,~e:ie:i~flni'i

.\J'it'11.mrnu1'\Jn1'ivi1~1u ~~-r11i'.Ju~'Jtlli'e:i~1v1fo ni'iL~1J'W1 iLnt 3.1.3 n1'i~ml1'in1'il'1~1~

rlne.J1.J1~e:i~'J1nhlifl1J\J5~~1'\J'J~~1.11rie:iu LUlti~e:i1iXuniiin~1~ [SJ zj'W~lllii iL'1~L'J'Wn!ll nli1111 ni'i~e:J'11'in1'i!llll1~ Me:i

n1'1~'Jt'11 1~'Jni'iPin~11v1iim11.11111.11w1uni'i\J5'U~~1u 11-.,,n'J . . .'iULi'U'U'Uv~n1'i~v'11'i~iitJ'li~~11'11'i ~e:i tJ'e.i~lll~'WA1\1~e:in1'i

iiin~1~~L'li'11.111i'.Ju~1-d11Jhw~~~1tJ'u1iXuniiin~11'1i'11uu5~~1u 'U~nl'i ~,)~,J1-.,,tJ11J~'Wl'i'1 e:J11JL'IJ~ru1'Uv~'U~~Vl 'U~~Vl~1LLV\'\J
1u11cnu\J'i:rne:i'Un1'i'J~~ L~e:i1W.v1vt~irn~nwii1~1\J'J~~ 1v1e:i tj
L'IJ~ru1 YiUn~1'\J'U11J"lll"I
. . .~11.1n'U'UflflMn1Jue:in~hiLfl1l1''1nnu1.11rie:iu LLntL~1Ju1~'JtL~n
[6) Lll~ 1~1S1.1ru'fl1 nli1111 mt'U1un1'i'Uv~nw.~''1Ju1
Vi'n~tb'\Jnl'i Lirll'UD(\1\11~1~ 'l v111J!ll'\JLCl~ L~e:i11Xlll'i~tl'Uf\111J
LLeJ'\J~1'\Jn1'i~Cl'11'in1'i!llll1~~1J\e:i~1-ifni'i~Clll1'iL~Cln1'i~~L'J-.,,ll11J
!vlle:J~ n 1'i'Ue:J~'1 '11'\J ·u'·rn n e:J'U n 1'i,l'\J.'u1 'J ~'Uu'\J LY..i e:J..VJl'Jt'1' ~eJ n Ill' e:i ~\Jii'U'Un'Untj1.1i\J1-.,,1.111Je:iu1~~m~e:i~ 1\J1-.,,1.111J'Uv~ IMC ~e:ini'i
~'Jt ~ ~ '11'1 ~Yi ~ ~ n'i'il.l'Ue:J~ n tj1.1Lu1\11.111!1iXi1e:i~ fllle:J~ n'Uf\111.1
l'1n1Jf11Yi1un1'ivi1~1'\J'Uv~uniii n~1~ ri1'1~ 'Jt rl1i~'Jn 1'iiiin~11iXii Ille:i~ n1'i'Ue:J~ nl'i!llll 1~ l~ !Jn 15-W 'J1'iru1i5ni'i~Cl'11'i!ll'i1~'\JA1

~ ruJ11Yi Ill 'i ~Ill 11.1m11.1Ilvle:i~n1'i'Ue:i~11n1u·u' 'it n e:i 'Un1'l e:i 1J' 1~~...w1..JJ1J . . .(Brand Contacts) L~Cl11XtJ''U~1Jiflnli1.1LU1\11J11J'Jt1M'1n~ul'i'1 ~

l~ 1J u n iii n ~11v11'Ii'11.11\J 5U'~ nu ll\1 n 'J iii n ~1 ru . . .'Jtt!11\Jli f\111.11' f\111.il'i''WLfl 1J LLlit f\111.ILzjmrut '\J~'Wl'i'1~1Xe:it~~iXe:i

'U~~Vl 1)1)~~'\J Yi~Cl'r'ii'r'ie:J{~ ,J1n~ (1J\11'U'\J) IJ\' 1 11mJ~ un 3.2 m'i~1bu'Um'i
iiin~1ll\1n'J 11e.iunn1'i!lln1~ LLnt1v1'~'U1Jv'U\11J11J\1u1~1uii1u

'Uv~ tJ'nPin~111-.,,n'J~~11Je'.J11Jni'i!lln1~ Lint'1~vi1lfl'i~~1u nl'i Lfl'i~nl'i Notting Hill Jatujak Interchange 'U'\J1i;t

. . .11~1.1.e.iuni'i~e:il11'ln1'lllln1~ L~mJ~Luunli1.1n nA1i\J1-.,,1.111J Lint lfl'i~n1'iL~1J\J'it1.11ru 1 15 92 lll1'i1~L1Jlll'i 1i'.Jufle:iuli;ifaifo1.1

L~1J1Je:l~'U11J lm~n1'i Notting Hill Jatujak Interchange ~ULL'U'U Low Rise \1~v flv'\JL~fai11J1JV\'i~L~1J,J1u1u 8 ~'\J 'U'\J1~

3. 'Vl'J~q!Jc'iiVldbm.1 1'UIIt1·rn~ :mTH•mo'U'"'Un1'i 156 ~tilll L\Jufle:iul~fai11J1.11'ie:iu'li'1~iifl111.1Li'.Juli1u~1~~ 1~1l

q,d .d II 1v1~'U\1tJ1~1un1'i11~ LLeJ'Wn 1'i~e:Jll1'iVl1~ n1'i !llll1~l~ 1J r11-.,,u~
3.1 'VICJ~!)'VlbnEJT'tJD'l LU1\11J11J L~ e:i1iXntj1.1~ nl'i'11\11-.,,1.111!Mfo~Ci~i'!ll~\J 'itll~fl~~'Ue:i~

3.1.1 n1'i11ll~N1

[1) Arens, F. William. nli1111 n1'iL'IJ~ru1 'U~~Vl LLlltli~ e.i" ~ e:iJ11Yi ii'n~ru'Uv~'U~~Vl1~ 1J'i 11Jllt Lii 1J~ n1'i
u5~~1u ii~~d
. .(Advertising) LU'\Jn1'i~Cl'11'i'li'e:i1.1n~hl1'1i''Uflf1n (H'~e:i) 1~1Jii
3.2.1 i 1111 1 "' LIQ
. .l\l\ClU'it MflL~Cl LL'1~'ii11ll1'i 'J~h LLntL5lv'Wf\111JV\'l~-r1LM1J1n'U 'U'Ul'ltl'Un1'iu!JUl'l'l1'U

~'\JA1 (Goods) LLllt'U~n1'i (Services) \1~Clfl111Jfi~ (Ideas) zj~ 3.2.1.1 n"l'iA'W\.11,j'e:i\Jn ni'll'i'um'li'e:il;Jn'11-.,,r'Ulfl'l~ni'l

ll11J1'iCl'it'U,'t\JIe,:i\Jn1.11h11J n 1'l (tJeJ~\1\\1~ e:itJ',J1-.,,tl11J~'\J !')1~ Noting Hill Jatujak Interchange iii5ni'i ~~d
\j '\I

l'll-1~ru1J 1v11~ 1J~~un1.11h11Jn 1'illi'e:i~L~ 1Jl'i11-ifrj11J'11-.,,~'U~ e:i 1.1 n1'1L'l'l'H1Yi°t1fle:i'U1111.1 LU'\Jn1'l~~~Cllle:J'U'111J

1'1J~ru1 . . .'!i'v1JllV\1~1Vl'l1'1YivlLMm n'U'!i'v1Jn'Ue:l~lfl'l~nl'iflLLoLJ~'tJ'\J L~Cl~ 'Jt
tJ11J1LU~1J'ULYl1J'U iLlltiLm1t1'1fl111JLL!lln~Wit\.1l1~Lf\'i~n1'j LL~
[2) e:i~i1li1 Yi~l'l~w11 nli1111 ni'iL'IJ~ru1 LU'Wn1'iL'1'Wv
-X~d'!i'e:il;Jnffiv1'1.11'J1nni'i'1v'UC111JV\1~lvt'il'1Yiv\ e:i1'Jiini'iil~Yill1~
. .-U11'11'in1'i'U11J ....,~mL'1~-U11'11'i11X'Uflf1n~L i'.Junli1.1L \11-.,,1.111!
\.1~Cl11Jfl'i'Ucl1'\Jlli'v~iin1'i\.11'lJCll;Jllv1'11JiGn1'i~'\J'l L~1JL~1J '11"1~'\J
.vt'il'UiM1J1n'U~1.Jl'i'1 'U~n1'i ....,~mLu1m11.1fi~ l~m'11'Ue:i~....,~e:itJ'
'Uv e:ll;Jllr1i;!1Jnl'jrI ~' ... t ~u~'J\Jt
~\Jn1.1fiLU~ieJ1J\ll'\JLCl~ iini'irj1m~'\JL ~Cln1'i1-ii~e:i iLllt iU'\Jn1'i V\'ir1YiV\'1Cl'UC111J 1J'U'\J\lle:J'\J
.#u!llv'W~ 1 l'i'u-,.,11J\'1LL\.1tl~~~~'Ue:i~lm~n1'il'i
. .L'1ue:i'li'e:i1.1i1~ijt~Li'.Ju n15li~'Uflfll1b'1!11\J~~~e:il~!Jlll'i~ LL'•U~u'U'W'J1n Google Map LY.iie.:.JiYl'JtL.n.e:inr1fl'i~n1'iYI.C.J~i1,',\JJYi''.\.JYJ1
[3) oW\jll Vl\Jt\J1i1 nli 1111 n1'iL'IJ~ru1 (Advertising)
'1'U~'iL1ru,1nnvLfl...1J~ r1~1JYiJ't\JV..ilY..1i1, '~!h'\Jn1'ir1Yl'ir~1YiVl' '1Cl'UC111J 'Jte:J~ u
lll11JU1J11J'Ue:l~'11J1fl1Jn1'illlll1~LL"1~'1\1~~m1.1~ni (AMA) \11J11JCi~
'U~nru s-10 n1nL1.1\ll'i m1J1u~l'liimfl'j~n1'i~~e:itj
nwJ1i'1'WmLi1tni'ili~111~1.1!luiMmn'Um11.1fi~ ~ul'i'1 ....,~e:i'U~n1'i
1~m.hu~e:ini11~~1~'l ffi1.11~~1~flflll -X~d1~1Jii~~\Jn1.1J11un1'i .#u!llv'\J~ 2 rl1"1'\J~flv'\Jl~ijL;:j1J1JflLL'ii~'tJ'W~

e:ie:inl'i1t-ifrj11JtiX lli'e:i~ n15'1v'U'111.1'1i'vl;Jnl~m~ e:i nflv'Wl~faiJ1J1.1~LL'ii~'tJu~e:i ~"ln'1

3.1.2 ih1 n'i'iiin1'i\il~1~ 1r1fl'i~n1'i1J1n.v.Jt~~LiJ" '\J•ll1u~'ULL'in LLlltfle:J'\J ~1~JL'.\.JJ1J1J..JV\Cl'~\'.11~ve:in~1.uI

[4) Cl~llli1 Vi~l'l~-.,,'11 nli1111 n'Jn'i'i1JV\1~n1'i!llll1~ 'i11JLLll1.x~....,1J~ 12 lfl'i~nl'j

-.,,1.111J1i~ n1'i'1~n'Jm'i1.1~i1e:i~fl'1e:i~n'U'1cnun1'iru'l~1Je:i11'11Jni'i

1.2 n1 'ii Ll'l'i1 :: 'vl SWOT L~Bh1Yl'i1'Uii~.LJB 4
'llii'Lu5vu LL'1::-ti'm~mmvu'UB~1m~n1'i .rru111Bu ~~d
.rr'LJlllB'LJ~ 4 ~Ill~ B e:l 1 vf1'i1YIYiflLM VI nu f11'i
..rru111B'LJ~ 1 oJ1-ti'BlJmnn1111'i1~ Excel mvhm'i BB f1LL'U'UU1V1111lJ'tl'LJ111l~n1'\11'LJl1l L~ Bt '1ll.'LJf11'i~~1-..ln'UVl1~~1'LJ

LU5V'ULYiV'UoLJBh'hu5vu-ti'm~mu5v'U'UB~LL~'1::Lfmn1'i LL'11 ~fo~~111u1v'llii'iii1Luum'i~~111~B'lu

n1'\11'LJl1lLlJ'LJ SWOT .rr'LJlllB'LJ~ 5 Ill 'i I \I '1 B 'lJ in I B VH U 1 V l 1 ii

..rru111B'LJ~ 2 t11-ti' BlJ'1~11ii'mvh n1'i'\11115n1'i . .'i1V'1::LBVl1l'1f1tJlB~lll1lJ~iifB~f11'i'\115B'liJ n1mn'1niifB~ \J::iim'i
. .LVl'il'i'W-.1°.~'LJEJ'LJf11'i~~llltl'U~~~lll LL~n1'\111n'liJC1niii'B~ n\1::1-..I
'iB~1'untjlJLU1'\11lJ1V'tlB~ Lfl'i~n1'i Noting Hill Jatujak
iii1LU'LJf11'iLLnL'tltlB'LJiii1LU'LJf11'i~~lll
Inte rchange
. ..rr'LJlllB'LJ~ 6 f11'i~l1l~~ Vl1~~fo~~lll\J::LtJ'LJ~~l1l~~
Strengths .U1!J L~B~1f11'iiii1LU'LJf11'i~l1l~~L'1~\JL5V'U~BV Vl1~~~~111\J::

>11 Fl1'1J1tJ ~1ffl1 ~ LL'!fotumil1 G\ L\l~tJ 120,000 lJ ,/ G\UJ. t Vl'i l'i'w-.1 LL '1~ n '1ulJ 1L~B1-..le:J 1vn1'illl'1111lLoLJ1111'i1 \1'1 B'U nu
> :i1u1ur.iilmlilt1 u.Fi 156 r.iilm i'.im 1 ml'.Ju~1 u~1~~
> uf1ilil n'l.6i°'lolil 1m i:fuV11 ~ iFiH ni 1tn1itl'lJ 4 l'ln1ilrn'l.vlvh ii~fl11lJL5vt1fav LL'1::'i1V'1::LBVl1l~Wl mlii'~~m'iH

6 P:ll T M B ~(:;,.. ·:

> tnriLL'lolli~'!filtlU~ifo6"~ ~ti~ 3 ~(itil~U1!J Billboard

~ ~ ~alpl at;.4 a 1.1.2 U1!J~ '\11"it1U1!Jf1'il~L\J'i LlJ'LJf11'i~l1lU1V1'LJ

- ..i - .. - - - - ~'LJ~~1iJ11ii'fot1uni1111t1tlwH'111L\J'LJ u1v~'liJ'llii'1't1B'LJiJ'~1-..1~111~~
~U'l'l 2 ~(itbb'IJ~(Strength)
..·~ '
3.2.1.3 n1'i11~LL~un1'i~t1il1'i \11n-ti'm;J'1~'llii'iLfl'i1::'vl
L~'il LV1f'lt11'1wt1 \1::'1ntt1'1B'LJ1uVluYi LL~ L'\111'11~ L~ Bn ~111 ~~i'.11 v'Uti111
SWOT t11iJ11'1ll.umn1~LL~'LJf11'i~B'11'l1fl'i~f11'i 1111v\J::L~Bn1-ff
d L~B~\1 1 n'liJli1LtJ'LJiifB~L~Vfl1L'ti1~'LJ~~l1lU1V
1 1 ....'1.. BV...l'11l.J1'im't1v1Cd N LL'1::.LtBB·'u'i:: V'!l'~LJbv'\v11n'U-'U'vi~VllJ1nV.l..~l1l 11lV'1B
,r'LJlllB'LJ~ 1 fl 'LJ '\111'll B V ti~ LI CU 1 f1 '1 L~ V ~ n ti
~L~Bn1-ffii ~~d Lfl'i~f11'i L~B'\11111l1LL'\11tJ~MU1Vf1B~h'i LlllVL~BMBV~ii

1.1 n1'i~(itth!J LlJ'LJm'i~l1l~Bt~~ru11u~u~1l'i~ 'imoLJ1-BBf1 111'1Bl1lL1'11
'liJii~~1111iJ1u~Vlf'ltivmw1um-rnB~ L~'LJ'tlB~ntjlJ~nfi'1 LtJ1.,,,mvtu
u~nru~iim'i'1'Cl/\J'i~1u'lum n1'i~111u1mLu~BBn 2 \J'i::LilVI ,r\JlllB'LJ~ 2 ~Ill~ Be:l 1vf)'j1vlYi fl LM VI tltl f11'i
~B u1v Billboard LL'1::u1v~ ii'i1v'1::LBv111 ~~d t1Bf1 LLtltlU1V1111lJ'tl'LJ111l~n1'\11'LJ111 L~Bt '1ll.'LJf11'i~~1-..lnt1V11~~1'LJ
~1't1~ ~ 111u1 vhi'iii1 Ltiun1'i ~~ 111 u1 vn B~hH::ii'tl'LJ111lB tj~
1.1.1 U1!J Billboard LtJuu1vt~~ru1'tl'LJ111l1'\11(\j
100xl20 L'll'LJ~LlJlll'i
~l'LJ1'\11(\j\J::UVlJ"rhLtJ'LJU1Vn'11~LL'1~ ~11llll1lJ'1'LJ'LJ '11V'\11'1n ,,,5B
.rr'LJlllB'LJ~ 3 Ill 'i I \I '1 B ti in I B V1 ~ U 1 V l 1 ii
~11llll1lJ~11l.;1r)CI!
. .'i 1 V'1::LBVl1l'1f1iifB~lll1lJ~iifB~f11'i'\11"itJLiJ n1mf1'1f1tJlB~ \J::iin1'i
.rr'LJlllB'LJ~ 1 fi'um~'LJ~'U~LIC\JLl1lV'iB'ULFl'i~n1'i~ . .Lml'i'w-.1°~'LJEJ'LJf11'i~~llltltl~~~lll LL~n1'\111f11iJ'1f1tJlB~ n \1::1-..1

Iifl 111111\J::ii 1m 'LJ'tl B~ ntjlJ~ nfi'1LU1'\11lJ1 V"'CI/ \J'i ~1 'LJlll'1Bl1li''LJ iii1Lu\Jm'i LLm'tlrlei\Jiii1 Lu\Jf11'i~~111
L-ti'LJ Vl1~~'LJ-'1~Vl1~vll'LJ 'U~LIC\J~LLVf1LYILLl1l~ LL'1::~111~ii'i'1~11l
. ..rr'LJlllB'LJ~ 4 f11'i~l1l~~ Vl1~~1't1~~11i\J::LtJ'LJ~~l1l~~
.rr'LJlllB'LJ~ 2 BBf1,;1'il\J~'LJ~\J~~t'LJn1'i~l1l~~U1V
l1U1V~\J::tl1lJ1~11l'11lJ1WlJB~L~'LJ'llii'\11f1'i:: v::Lf1'1 LL'1::'liJii~~ U1V L~Biii1LU'LJf11'i~l1l~~L'1~\JL5V'U~BV Vl1~~~~111\J::t Vl'il'i'W-.1°LL'1~
~umu~Vlf'luvil 1wtum wB~ L~\Jlll1lJ~~~ LtJ1,,,m v1n\J,r\J111ei\J n'1t1lJ1L~el1-..le:J1 Vf11'i111'1111lLoLJ1111'il \1'1B'U~1'LJ n~fl11lJL5Vtl~BV
LL'1::'i1V'1::LBVl1l~Wl ~'llii'i~m'iH
LL'if1

.rr'LJlllB'LJ~ 3 ~11l~B'1B'U'11lJL'11'tlB~U1mMv1n'U
'i1V'1::LBVl1lL~B~'i1fl1 'tl'LJ111l LL'1::'i::v::n'111un1'iL-d1 'L11L'1'LJB
oLJBl;J'11-..lnu'11'\11U1e:l1Vf11'i111'1111l L~B~\11'iC\J1 n1L~'LJl1L'\11lJ1::'1lJ

\J::vJ1f11'i~l1l~ B't1BvJ1"'Cl/Cl/1 L-ti1U1!J LL~n1'liJ L'\11l.J1::'1lJ B1 \!\!::ii
f11'iiii1LU'LJf11'i~~1~tl'LJBBn1u L-d'LJ f1'irulJ1\11nL1ei\J1'tl 'i1fl1

f11'i~l1l~~ B1\Jiii1LU'LJf11'i111lV"11~'LJ~~l1l~~1,,,iJ

5

.fftJ\Jlti'U~ 1 l'i'tJ'Vl1~1~'1'i'iyjt;tJ1'11 'Vl~ti rl1tl'n~1'U

~1~1 'U~nru'lnii'L~v~11'1'i~n1'i Lvlt1~\l:;'l.LJ'l'Um'i'1in\!5n\lm'il.J

h-M • 111ol-~ .ff'U\Jltl'U~ 2 ~i;J~eJ'1tl'U'11l.J~1~'1'i'i'l'jt;'lJl'i'1 "'~CJ

p ............."...."... .n.:1'U.,n~1'U .J ., ... ,f .J ' '1'111.J.JVl~ln.VJI.~,~
Ln£J1n'U'i11.J'1:;Ltll.Jinyj1.JVIL'tl1tleln\J5
..
r+ - ·~ 'tJ'U11n 'i11'11 LL'1:;'i:;ti::L1'11L'Un1'iL'tl1

l:>U • IOO¥' t ..J 3 'tJtl LI. U'U .J')" ~ '1'vi1~yj~'lJV.l.\Jlvln\J ti
'tJ'U\Jltl'UVI
Ll.e.J'UVI 11'1'i

'tJt1~~1~'1'i'i'l'jt;'lJ1'11 'Vl~tirl1tl'rn1'U

at1~ 4 ~i;i'1~u1vm1~1'>'l .ff'U\Jltl'U~ 4 U1L'1'Utl'i11.J'1tLBl.JlnL~tlU~1'VIU1il11.J

1.2 n1'ibb'>n1ut1~1 LU'Un1'iL-V'yjtl'nrnJ L~'\JbL\ln n1'i\J\'111n Lvlt1W\l1'i'1J1 '11L~'U11L'Vll.J1t'1l.J\l::'\'l1m'i~~~tl'Ut1'1'11

1utl~11ll1l.J~tl tjml'lvu~ L1ru'l!t1v1nii'L~v~ n'U1fl'i~ m 'i 1invn1'itl1 «qiqi1L'tl1t1t1n\!ti LL~li'11lJL'Vll.J1:;'1l.J t11\l\l:;iln1'i~1Lu'Un1'i~

.'l'Ut1~11t1'1t1~Hml.Jtl'i::\JliJ1tJ il.ff'U\Jlt1'U ~~d ~1~n'Utitin11J L'ti'U n'irul.J1'11m~ti'UL'tJ 'i11'11 n 1 'i~in~~ ti1\l
.ff'U\Jltl'U~ 1 R'U'V11'llt11.J'U~L1ru1nii'L~l.J~11'1'i~ n 1'i
ln• 1L-'U'Un1'i~1inl.J\.1,1fyj'l.JJVltltln\Jti,1'Vll.J'
\l1n Google
t ..I 5 \Jl n '1 ~ 0 1 v qi 1 v VI 1~
LUT\lll.J11.J 'tJ'U\Jltl'UVI
VI '1 qi n 'lJ

~1~'1'i'iyj~1.JR1 'Vl~t1rl1tl'n~1'U LLnd''UVl'i1Un!J'i:;Ltivu1tJnrn-U1

'1in\!5n\lm'il.J

.fftJ\Jltl'U~ 3 ~in~ t1e:J1vn'i1~ ~ mM v1n'Un1 'i at1~ 6 at111urn1e<'Umfl'i~a;1~

tltlnLL'U'U1'lJ ti '-11 LL'1tL,'Uf tl\.11il1tJ1'U1Uti'-11 .. • .,Lyjtl'lJ1L'1'Utl'tJtl~nVl.Jl...J. 3.2.1.4 ilqJ'Vl1ijtlanflL'Un1'i°l'i1~1\J LL'1 ::15n1'iLLtil'!J
m1l.Jrl1~qi \l1n'tJ\J11n~L~n'tlt1~'l'Utl~1~~bJG11l.J1'in'l~'i11.J'1::LB1.Jln
'1~1u1mlJl.J1ntl'n ~~lli't1~t1t1mLu'U'l~~~~in '11'1'UL'l LL'1:;~~e<'1~t1 ilqJ"'1

n1'i~ln~'UL\l'tltl~'j nl'i'1LUT\lll.J11.J 1.1 ilqJ,,,1ijtla'i'iflL\Jn1'i~1Lilu~1u

.ff'U\Jltl'U~ 4 ~ln~tl'l'jtl'n~1'ULL\lnL'Utl~11in1.JLLU~ 1.1.1 fl1L-V'~11.Jrl1'Vlfon1'i'1'11~tl n1'iLUnL~'ULYlti
'VIU1~tl'Ut1t1n1t11'ULL~n:;fl'U L'tl'U 1 1'11.J I 1 'lltltl LL'1:; 'tl1'i::f111-V'~1v~1~1 ~~~n'UVl1~~e.J~\Jltl1\!LlJL~L~'U\J\1l.Jl'UL1'11~il

. .1 'llt11.J I 200 'l'U \J\1l.Jl'111l.JL'Vll.J1:;'1l.J 1inv'l::il~11'11~1'1t11.Jlnn1'i n1'iuin't11'i::L~\J

'1'11~ 1'Ut1tj'vi1~ 11inl.J'i11.J'1:; LBl.Jln'tJ t1~'\'jtl'n~1'ULL\lnL'Utl~1 \!:; LU'U 1.1.2 bl'tl1\J1qJL'U~1u~'l'11 L~ti~\l1n~1u~1~'i''U

~l'll'1'1il11.J'Ut1n~~in~moLJ1l.J1'tJtl~1l.J~1'U yj1{VI1VllJ "'~t1'1'11 ~1'U'l'U .LU'U~~~ LL1J'1nt ,,,l] 1lJL1'11.J'l'11LL'1:;1lJLl'll.J1~L~l.J\J~l.J1 ntl'U
L1'1111~ 'U1~~1tJ\l:;l.J1'11n~~Ll'lt1LL\ln1'U1J~11~nu11'1'i~n1'i~'U1 i. u m1l.J~i;J'\'jn1intum'i1J5m~1'U L~ti~\l1n
'tlt1~'U~~V1t1tjut1v11invf11'11~\l::t1tj~300 u1V1/l'U
1lJLfll.JL~t15'U°in1'i'1'11~1'U1'U~1\J\'1~~ ~~LU'UL~ti~v1n~\l::'l'111~nTi
, 1J5m~1'U~1~fol.Jt1U'Vll.J11.Jt 'Ul'l~~LL'inrl1L~\)1v)'(i;il.J1lJiltlqimtin 1

ai.J~ 5 WUn~1'1JLL'>nLUtl~1 1.2 n1'iLLtil'!JUqJ'Vl1

1.3 n1'ititin\j5 LU'Unw~'inn\ln'i'il.J'Uein11'1'i~n1'i 1.2. l iln1'irl1'itl~L~'UL'Un1'i't11'i:;f111-ff~11.J~1~ 1
tltln1tlci1~'VIU1 L'l'j'j1:;L'Un1'iLun'tl1'i:;L~'lJ\):;lii'ti~'itl~1'VIU1il1 l.J
1in vH~1~'1'i'iyjt;'lJl'i'1 'Vl~ti rl1tl'n~1'U'l'U ni'i'1inn '1 n'i'il.JV11~ m'i uqi~'l'11n1'itl'L~~ ~~'>:;'11l.J1'imun~1'U1~ Llnl.J1iL~'U~1'Ull1'1'tJtl ~
e:J1vn1'i\J\'11int'Un1'irl1'it1~~1v
\J\'111n LvlmU'UnTiL-U1ii~ntjl.Jijnl'i'1LU1'Vll.J11.J~1lJilL1'11L'Un1'i1ti
'tll.Jn1'i'1inn'>n'i'il.J~1~ 1 u.'1:;LvlmL'1~-ti11'11'i 'Vl~ti1tl'i1l.JitJ1'U
tl'l~u'U il.ff'U\J\CJ'U ~~u

.1.2.2 VW1U1lJL~U\J~~1n~~~vh~u~'1!l\J Lbl1t 6

~!lV1 ~viNtl~11t!lV1~ ~l!lmfonllln1''ivl1~1\J'tl!l~~L~v~111\JbLlli n1'l\Jll11Vl b~!lLUUn~lJ~nl'i'1LU1VllJ1V LLl1tL~lJV!lV\'tl1V
11tb~!l~m1tlij1.J~!lv1~1.1 1~!l1,X'11lJ11'1v11~1\J1.~!lv1~111.J~\J
Ll'l'l~n1'l Noting Hill Jatujak Interchange btJ'itVtLb'lnij\JqiV11 •
1.2.3 ttJn11v11~1\JL~!l1.i.h'!J1h Vl~!lLlJVl'i11.J LLl1t'tlti'1'l'll'lbun11tliju~~1uiJ1~L~nU!lV ~1 nn1'iU~1.J~1bU
<i1tJtvi ~m ~d:i n1'l'1!l1.JmlJ~L~u~Ci~ni 1t1iju~~ 1\Jt\J~\J\)) !l\J
J\J1 L~!lt,X~1\JLnvi'!J!l~V!Yil11V!U!lV~~vi M11ViLb1V1'1!llJ~1lJ~u:S\JbLl1tVIU1~~v~1lJ11~~1 'l1lJ1tin~Vln~t

3.2. 1.5 .i1t1 ~rn -'1""Vl1~Vt\i1Un1'l\Jll11V\L""n' v1n1'°.' Jn1'l11~LLt.IU\JI l1~1 VI Vl'l1.JlJ!l1.JVllJ1V ~~~

n1'l11~LLt.l\Jn1'lvl1~!lVl1~n1'l\Jll11Vl~~VllJV\ ~tij~\J\Jl!l\J \v))!)~1.V"l'"l1.Jn1'l'IJ'1VLVl.l.1!l~1n'V.ii.,bU~wI 1LJn1'l\Jll11Vl LLl1t'.VJiLJl'1U~LVdi!l'IJ'1V

1\Jn1'lvl1b\J\Jli1~1.J 1viu~\J\Jl!l\JLL'in~tL\J\Jn1'lV11'!!!ll;Jl1lli1~ 1 ~1n '1!lU~1 \JbU~1U!Ji 1~1 LVi 'l 1 t '11UbVIqJn1 'l11~ LLt.I U n1'lvl1 ~ !l
Vl1~n1'l\Jll11V1 V11~e:J1un11\Jl111vi~tb\Ju~!l!lnbL1.J1.Jll'l'l~l'l~111
.'V11~l1mn1'i~LL~~-u\J L'li\J n1'lLVl'l~ViVib'!J11.ti'1!l1.J(11lJ n1'lL'!J11.t1 1,Xn1.JV11~~1vn11~~l'l L~m\JuumV11~1um1~vi~t!LL1.J1.J~!l't1\lvi
!Ji1~1 ~~1\J~1U'tl!l~ 'tJU1V1 ~ULL1.J1.J LLl1t'l1V11tLaVV!'tl!l~~!l!Ji1~1
'1!l1.J'11lJrbVlV\Jl'i~ n1'lVl1't"l!ll;jl1~1nL101.J'\.'i!ll'l L:u'1\J\J"l\J L"'Vi!l\•J1lJ1,1~'lll\J
.'1111,Xiii'!l~b'!JL11111um1rln~1L~vunU'lt Vt VI~~ L~!l~~t1,XL'!J1h
mt1.J1\Jn1'i'1'itl'!J!llJ11 lviv16ni1'11ti'!J!llJl1 ~ttl1'!J!llJ11~1.~~1n
," , \l \l LLl1tl1~D!ltlQ1.J~~5~!lV1~Dtl'it~Vl5Jl1Vi

n1'll'i'\JVl1 Vl~!lii1'l1 ~ lJ1vl1 n1'l Ltl~V1.JLVlV1.J'!J!) LL\Jl nlli1rnrn11~ '!i1~L~!lU~ 2 L~lJl1~D!ltlQU~~1UL!l~Yi~!llJ~~1~ijn1'l

Ll'l'l~n11~LL~~-U\J~~VllJV!'l1lJ 12 Ll'l'l~n11 n1.JLl'l'l~n11 v~vi~ uht \Jn 11v11~1u !l 1~ L~ lJ ~1 tu L~ !l ~'ti !l~ n 11 ~vi Ill !l

Noting Hill Jatujak Interchange L~!l1,XVl'l11.Jel~'!!!l~LLl1t'!!m~u t11t'11\J~1\Jn1.J~e.i~ \)) LL11tt11::'11\J~ 1\Jn1.J,X1~ '1'l'l'Vii;ul'i'1L~!l'll1
'tl!l~1m~ n1'l L~!lMt.111'11\.I n ~t L,j'1~~\J\)) !l\J n1'lvl1~!lVl1~ n1'l
L" "n1'l!l!l n\j5 V.JiL.ll1' U~L:u"IVlrb!ln1'1 Vl'11lJ1W\JlV1':1!lU,b~,1Un1'lLl.1.!ln'V,ifUV.JI
llll1!lV1 1viv~!l~L~!lnH~::tl1tn!l1.JLtl~1v ~!l Billboard ihv~
V.li ~tVl1•n1'l!l!ln\jll1.J'lb•1CIJ'l!l1.Jrb l'l'l~n1'l'\V."\ LV"'i!lb:u'1 Un1'lw"" n,bVlI:'I1V\"
Vl~m'.hun!l~h'l nrnL~n11.Jt1~1 Lbl1tn1'l!l!ln\jll V1'1~~1n~1~v11
L~ uui-i11'l1'lL~!lnntjlJ~nl'i'11U1VllJ1 uV1'1mtJu!'luntjlJ1vi 1vivt'!J
n1'i~V\U1V LL~n11.Jtl~1 bbl1t!l!ln\j5Lb'11 n1'lLn1.J'l11.J'l1lJ'!!!ll;Jl1
,X1~'1'l'l'Vi~Ul'i'1LLiA~J\JLtJ\J~1lV\ LV\Vl'\1V\LV\1l1 ,X1~'1'l'l'Vii;u1'11
L~!l'1'1tle.i11n1whL\l\Jn~mwii1V1~1.JLl'l'i~n 1 1 Noting Hill
..LLiA~d~tD LnlilJ11nl'i'1LU1VllJ1VlJ1 '!J1.J5m1 ~1\J1\JlJ1n
Jatujak Interchange
1viv'11t1~1nn11L'!J1~1lJtliju~~1u1u
. . .L~!l1.~'!J!llJl1~1n11nl'i'1LU1VllJ1VLL'11 ~tL'th'i~\J\Jl!lUn1'l
1.JNVI !l!l5iu Vi~!lVH'Vi!li~ ~1nV1 (lJV11'1JU) vl1L~~~1.J
.., .ii ..; .., d ..; 4 A'1 . . . . tl1t'11.Jm1ru1VllJ1 ~Vl11lJ1ffiu,X!l~L~vu ~~b\Ju~~tl'lt'11.Jnmu
~1nn1'l'1!l1.J'11lJ~nl'l1 '1!lVl~nl'l1Vi1.JLVIUlJ1nVl~vi l'l!l 1J1Ve.JVl'l!l n11v11~1u~5H1ntlH'11.Jn11ru'tl!l~~1 1tJ1.J5~VI

u1un!l~L~'l L~!lVl'l11.Jl1~!l LL1.J1.JU1U~Vl~!lU1Un!l~1~'l'11lJ1'l'1 . . .L\Juti'lt '11.Jn1 'l ru~ l'i'lJ ~1L\J\J!lV1~lJ1 n '1111,Xm'\.M~n~l'\U

L'!!1Ci~ ntjlJ~ nl'i'11U1VllJ1V1~~~~vi Vl1~1.J5~Vl~tij~~U1~!l1,Xij n tj lJLVI lJ i ~n n 1'ltiQU~~1UbULb!Ji11 t ~UIll !l U 'ti !l ~ 1.J 5 ~VI
'!! 1Vi L~ 1i~ n~hlJ 1n1 ~1~ ~1 lJnu n1.JVii1n~ 1uvi nl'l ut u
LU,!flVl1Vll.J'l'l!l1.Jl'l~lJ.:V. ~'.tl'JU Lbl1tn'lt~1V'1.!. l!l!ln'\1.J·I"V'l"n"11~V.:~. 't.lJ' U L'.V. i!l 1.JWVI !l!l5i\J Yi~!l'ViLYi!li~ ~1nvi (lJV11'1JU)

n1'i\Jl!l1.J~1.J~~'tl!l~ntjlJ~nl'i'1LU1VllJ1V 6. nli1 ~ n 'l'l ~tl 'l:: n11'1

4. ~1tlti·rnn1 'ltli)u~ ~1u n1'l~Vlvl1Ll'l'lH1\J "n.1111~LLt.1Un1'l~!l'11'ln1'l\Jll11Vl
1. irnrln~1'11lJ1WL'!J1~1lJ\.l'it'!llJLMu1 tl1.J~1\J1U~1U
v vL~ !l Luu n tj lJ ~ n l'i' 1Lu1VIlJ1 LL 11 t L~ lJ !l vi 'ti 1vLl'lHn11
n1'l\Jll11V11~ 1-du n1'l~Vl Event U'lt~1Ll'l'l~n1''i ~1u11lu ~1U
Noting Hill Jatujak Interchange" ~ttl'it'11.Jl'l11lJii1L~11lJ1~
1tlvi~11m~ni1 V11n1lJ1~fol'l11lJ'li1 VLVl~!l LLflt '1i11.J'1~\JbtlU!lV1~~ ~1 n\.jl'll'\11
V1111uvi1u !l1i1L'liu u1m~5(1JOlll'l \l5'1lJU~'1~'1 l'i1LLVIU~
2. 1.~L~u\Jin~~u\Jl!lu1un11t1iju~~1u1Mv1n1.Jnm1~ Marketing Officer v\'l,Xm1lJ'!i1mV1~!l lll'l1~'1!l1.JLLm'tlLLl1tL\J\J~

. "'bbe.JUn1'lVl1'1!lVl1~n1'l\Jll11Vl tl~n~1\Jll1!lV\~UL,Xf\'1 LLUttl11li1~ 1 ~~1UL~!l~n1'lvl1~1tJLLl1tn1'l

3. Dm1lJ~1.J~V1'tl!l1.Jlli!lV1U1~~1.~folJ !l1.JVllJ1V ~1 n~ ~Vlvl1Ll'l'l~n1'ldLLl1tLW!ln1'1lJ!l1.JVllJ1U~1\JL,x \J1U~U~i11Vi jj\J

4. n'11Avin'11LL'1Vl~!l!ln LLl1tn'11~~tL'1U!ll'l11lJAV\L~u 'i!1LL'1::-..1 i1nrln~1'1VIO ~rin~1'\.i;)\ \Ju~~1.J~V\'IJ!l1.J bbl1t~1L\lu

1uni1t15,.m~1un1.J~~1lJVilJ Ll'l 'l ~ n 1 'lll'l 'l~ n 11d1~ Ln V\ ~u ~5 ~ LLl1t ii1L~~~1'11~1~~1 v~
5. L~vuini1H;illl!ltjn1.J~~l'llJLUlVvl1~1U LL11tn1'i1'tl 'tl!l'tl!l1.JflruV1i.J1u~1u'1V1n~rln~1'tl!l~iV1v1'1m'll155'1Viu1~n!ln ~
1~~viv11Ll'l'l~ ni1'1V1n~rln~1~ut ,XLLrii1nrln~1 v111,Xi1nrln~11~
;i\Jl~1lJn1.J~ilu b~vuiLLl1t1~fotl'lt'11.Jn1 'l ru1\Jn1'lvl1~1Ui11 vtiii'M11Vi l'\11lJ L\Ju

1"""\Jll1!lV\'itVtL1111 4 L.V. !!lU V.il~"~"V!Vl•1brl'l'i~n11 viwn
t1iju~~1u~ 1.J5~VI !l!l5iu Vi~!l'ViL'Vi!li~ ~1nvi (lJV11'1Jul


Click to View FlipBook Version