The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by coop.sbc, 2019-11-20 03:32:54

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

คู่มือสหกิจศึกษา 2563

Co-Op
SBC

HANDBOOK Wedside : สหกจิ ศึกษา วิทยาลยั เซาธอ สี ทบางกอก

Co-operative
Education

คมู อื สหกจิ ศึกษา

Southeast Bangkok College

02-7447356-65 µÍ‹ 181
[email protected]

www.southeast.ac.th

คำนำ

วิทยาลัยเซาธอ สี ทบางกอกเปน สถาบนั อดุ มศึกษาทม่ี ุงเนนการผลติ บัณฑิตทมี่ ีความเชียวชาญทง้ั ภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติควบคูกันเพื่อเพื่มขีดความสามารถของบัณฑิตนักปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นวิทยาลัยฯจึงไดจัดใหมีโครงการ
สหกจิ ศึกษาขนึ้ ตั้งแตป  พ.ศ. ๒๕๕๒ เปน ตนมาและปจ จุบันวิทยาลยั ฯมนี โยบายท่ีจะใหนักศกึ ษาตอ งผานสหกจิ ศึกษากอน
สำเรจ็ การศกึ ษา

สหกจิ ศึกษา (Cooperative Education)เปนระบบการศกึ ษาท่ีมงุ เนนการปฏบิ ตั งิ านอยา งเปน ระบบในสถาน
ประกอบการโดยจดั ใหมกี ารเรยี นการสอนในสถานศกึ ษารว มกับการจัดใหน ักศึกษาปฏบิ ตั งิ านจริง ณ สถานประกอบการ
ที่ใหรวมมือในฐานะเสมือนหนึ่งเปนพนักงานชั่วคราวทั้งยังเปนการเชื่อมโยงระหวางโลกของการศึกษาและโลกของการทำ
งานจริงนักศึกษาจะไดเรียนรูประสบการณจากการปฏิบัติงานและเปนการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตใหมีคุณภาพตรงตามที่
สถานประกอบการตองการมากท่สี ุดซ่ึงเปน ระบบการศึกษาทไ่ี ดร ับการยอมรับวา กอ ใหเกิดประโยชนรว มกันทัง้ สามฝา ย คือ
สถานประกอบการนักศกึ ษาและสถาบันการศกึ ษา

คูมอื สหกิจศกึ ษาเลม นี้ จัดทำข้นึ เพอ่ื เปนประโยชนใ นการประสานงานระหวา ง สถานประกอบการ นกั ศึกษา และ
อาจารยท ่ปี รกึ ษา โดยไดรวบรวมรายละเอียดเก่ยี วกบั แนวความคดิ กระบวนการของสหกิจศกึ ษาตลอดจนเอกสารประกอบ
การบริหารจัดการงานธุรการซึ่งเปนหัวใจสำคัญในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาไดอยางตอเนื่อง
กลุม งานมาตรฐานวชิ าการ วิทยาลัยเซาธอ สี ทบ างกอก ขอขอบคุณทกุ ทานท่มี ีสว นรวมในการจดั ทำจนสำเร็จเปนรูปเลม
สมบูรณและหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือสหกิจศึกษาเลมนี้จะเปนประโยชนตอสถานประกอบการนักศึกษาอาจารยที่ปรึกษา
สหกิจศกึ ษา และผูทเ่ี กย่ี วขอ งทกุ ทาน

สหกจิ ศึกษา วิทยาลยั เซาธอสี ทบ างกอก

สหกจิ ศึกษา

วิทยาลยั เซาธอ สี ทบางกอก

นโยบายสหกิจศึกษา วิทยาลัยเซาธอ ีสทบ างกอก

เพ่ือใหการดําเนินงานดานสหกิจศึกษาของวิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน
สามารถพัฒนาคุณภาพและความพรอมในการปฏิบัติงานของนักศึกษาเพื่อนําไปสูการเปนบัณฑิตที่มีคุณภาพอยาง
สมบรู ณ คอื มีความรคู วามเชย่ี วชาญในศาสตรส าขาทีศ่ ึกษาและสามารถลงมอื ปฏบิ ัตไิ ดจรงิ กลุมงานมาตรฐานวชิ าการ
วิทยาลยั เซาธอ สี ทบางกอกจึงไดกาํ หนดนโยบายการดาํ เนนิ งานดังนี้

1. เสริมสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนักในความสําคญั ของสหกิจศึกษา ใหแก นกั ศกึ ษาคณาจารย
และสถานประกอบการเพ่ือสรางทัศนคติและมุมมองท่ีดีตอสหกิจศึกษาเพื่อนําไปสูการทํางานรวมกันในการสรางบัณฑิต
ท่มี คี ุณภาพมที ักษะ และมีความพรอมในการปฏบิ ัตงิ าน

2. ดําเนินงานเชิงรุกดานการประชาสัมพนั ธ และการสื่อสารเพือ่ เพม่ิ จาํ นวนนกั ศึกษาทอ่ี อกปฏิบัติงานสหกจิ ศกึ ษา
มุงสกู ารเปนสถาบนั สหกิจศึกษา100%

3. มุงสรา งความพรอ มในการออกปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษาของนกั ศึกษา โดยการปรบั ปรงุ หลกั สูตรการเตรียมความ
พรอมกอนปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษาเนนการพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานเฉพาะอาชีพผานการทํางานรวม
กันระหวา งกลมุ งานมาตรฐานวาิ การ อาจารยนเิ ทศ นกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา และสถานประกอบการ

4. พฒั นาประสทิ ธิภาพการทํางานของกลุมงานมาตรฐานวฃิ าการ เพื่อใหสามารถใหบ รกิ ารดาน้ การประสานงาน
และสงเสรมิ แก นักศกึ ษา อาจารย และสถานประกอบการไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ คอื "รวดเร็ว ถกู ตอ ง เปน มาตรฐาน"

สหกจิ ศกึ ษา

วิทยาลยั เซาธอ สี ทบ างกอก

ชอื่ หนว ยงาน (ภาษาไทย) สหกิจศกึ ษา

อัตลกั ษชณอ่ื ห นวยงาน (ภาษาอังกฤษ) Cooperative Education
อกั ษายอ หนวยงาน สก.

ปรชั ญาหนวยงาน ปณิธานหนวยงาน

พัฒนาคณุ คา สรางบณั ฑติ นกั ปฏิบัติ ใหบ ริการและสงเสรมิ เพอื่ พฒั นานกั ศึกษา
ใหม ีความพรอ มท่ีจะเปนบณั ฑติ นักปฏิบัติ
วิสัยทศั นหนว ยงาน ท่ีมคี ณุ ภาพเปน ท่ตี องการของตลาดแรงงานและ

สงั คมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ

มงุ มัน่ พัฒนานกั ศกึ ษาใหเปน บณั ฑิตนกั ปฏบิ ัติ
ทม่ี คี ุณภาพ เปนทีต่ อ งการของตลาดแรงงาน

สหกจิ ศกึ ษา

วทิ ยาลยั เซาธอีสทบ างกอก

วตั ถุประสงค

1. เพื่อสงเสริมใหนักศกึ ษาไดเกดิ การเรยี นรแู ละเสรมิ สรางประสบการณว ิชาการและวชิ าชพี จาก
การไปปฏบิ ตั ิงานจรงิ ณ สถานประกอบการ

2. เพื่อเปด โอกาสใหส ถานประกอบการไดม สี วนรวมในการพัฒนาทรัพยากรบคุ คลที่มีคณุ คา
ตอ ชมุ ชน สังคม และ ประเทศชาติ

3. เพอ่ืิ เสรมิ สรางความรวมมือทางวชิ าการและความสมั พนั ธที่ดรี ะหวา งสถานประกอบการและ
วทิ ยาลัยเซาธอ ีสทบ างกอก

4. เพ่อื ใหม กี ารพฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอนท่ที ันสมัย ไดมาตรฐานและตอบ
สนองกบั ความตอ งการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน

สหกิจศกึ ษา

วทิ ยาลยั เซาธอีสทบ างกอก

พนั ธกจิ

1. จัดหางานสหกิจศึกษาทมี่ คี ุณภาพใหเ พยี งพอกบั ความตอ งการของนักศกึ ษา และตรงกับ
สาขาวชิ าชพี

2. จดั เตรียมความพรอ มนกั ศึกษาในทุกๆดานทจ่ี ำเปนตอ การปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบ
การกอนไปปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา

3. ประสานงานนเิ ทศงานสหกิจศกึ ษาไดอ ยางทันทว งที ถูกตอ ง แมน ยำ สอดคลองกับ
ความตอ งการ

4. พฒั นาอาชีพนักศกึ ษาท่ตี อ เนื่องจากกจิ กรรมสหกิจศึกษา ใหสอดคลอ งกับความตอ งการ
ของตลาดแรงงานทัง้ ในและตา งประเทศ

Southeast
Bangkok
College

Co-operative Education

บทที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั   สหกิจ

 

 

บทท่ี 1 ความรูท้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั สหกจิ

สภาพเศรษฐกิจในปจั จุบันทําให้การแข่งขันในตลาดแรงงานมีแนวโน้มค่อนข้างสูง ลกั ษณะบัณฑิตที่พึง
ประสงค์ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานได้เปล่ียนแปลงไป ความรู้และทักษะท่ีสถานประกอบการต้องการ
ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ การเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้ในการทํางาน การพัฒนา
ตนเอง การตัดสินใจและการแก้ปัญหา การมีมนุษย์สัมพันธ์ การส่ือสารและการนําเสนอ ความสามารถในการ
รับรู้ ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม และการเป็นผู้นํา เป็นสิ่งสําคัญต้องมีในตัวบัณฑิต
และส่ิงที่ท้าทายสําหรับบัณฑิตในปัจจุบันคือ การได้มีโอกาสนําความรู้จากการศึกษาในช้ันเรียนมาสร้าง
ประสบการณ์การเรียนรู้ในการทํางานในสถานการณ์จริง เพื่อให้เกิดทักษะวิชาชีพและทักษะในการพัฒนา
ตนเอง นอกเหนือจากทักษะด้านวิชาการจากสถานศึกษา ซ่ึงทักษะเหล่านี้จะเรียนรู้และพัฒนาได้โดยเร็วเมื่อ
นักศกึ ษาไดม้ ีโอกาสไปปฏิบัตงิ านจรงิ ณ สถานประกอบการ

1.1 ความเป็นมาของสหกิจศึกษา
คําว่า “สหกิจศึกษา” (Cooperative Education) เป็นศัพท์บัญญัติท่ีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน

ซ่ึงเป็นบุคคลแรกท่ีนําระบบสหกิจศึกษาเข้ามาใช้ในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยเร่ิมนํามาใช้จัด
การศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ต่อมาแนวคิดเก่ียวกับการจัดสหกิจศึกษาจึงได้เริ่มเป็นท่ีรู้จักและ
ขยายไปสู่สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ในยุคแรก เช่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ ต่อมาในปี พ.ศ.2545 รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยในขณะน้ัน (นายสุวัจน์ ลิปต
พัลลภ) ได้ประกาศ นโยบายให้การสนับสนุนแก่สถาบันอุดมศึกษาท่ีจัดการศึกษาสหกิจศึกษาทําให้มี
สถาบันอุดมศึกษาตระหนักและเริ่มนําสหกิจศึกษามาจัดการเรียนการสอนมากยิ่งข้ึน จวบจนปัจจุบันสหกิจ
ศึกษาได้เป็นท่ีรู้จักอย่างกว้างขวางและขยายสู่ระดับชาติโดยมีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
เปน็ ภาคสี าํ คัญของภาครัฐทาํ หนา้ ทด่ี ูแลดา้ นนโยบายและให้การสนับสนนุ ดา้ นการเงนิ

การดําเนินงานสหกิจศึกษาในช่วงเริ่มต้นอยู่ในรูปของทวิภาคี คือ มีเพียงสถานศึกษาร่วมมือกับสถาน
ประกอบการ โดยภาครัฐมิได้เข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรง หากมีแต่หน่วยงานภาคเอกชน อาทิ สภาอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทยและสภาหอการค้าไทยท่ีได้ใหก้ ารสนบั สนุนการดําเนินงานสหกจิ ศกึ ษา

ต่อมาในปี พ.ศ.2545 การดําเนินงานสหกิจศึกษาได้พัฒนาเข้าสู่ลักษณะพหุภาคีกล่าวคือ มีหน่วยงาน
หลายภาคส่วนร่วมกันรับผิดชอบดําเนินงานสหกิจศึกษา ได้แก่ สถานศึกษา สถานประกอบการ หน่วยงาน
ภาครัฐ และหน่วยงานภาคเอกชน เช่น สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) สภาอุตสาหกรรมแห่ง

1 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

 

 

ประเทศไทย สภาหอการค้าไทย สมาคมวิชาการในประเทศไทย สมาคมสหกิจศึกษาไทย (Thai Association
for Coopertive Education - TACE) และสมาคมสหกิจศึกษาโลก (Word Association for Coopertive
Education - WACE) นับว่าการจัดการศึกษาสหกิจศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันมีภาคีต่าง ๆ เข้ามามี
บทบาทครบทุกภาคสว่ นในลกั ษณะเครอื ขา่ ยพหภุ าคี

1.2 สหกิจศกึ ษาคอื อะไร

สหกิจศกึ ษา (Cooperative Education) เปน็ ระบบการศึกษาท่จี ดั ใหม้ ีการเรยี นการสอนในสถานศึกษา
สลับกับการไปหาประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการอย่างเป็นระบบ ด้วยความ
ร่วมมือจากสถานประกอบการและทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตรง
กับสาขาวิชาของนักศึกษา และการปฏิบัติงานของนักศึกษาเสมือนหนึ่งเป็นพนักงานประจําหรือพนักงาน
ทดลองงานของสถานประกอบการ สหกิจศึกษาจึงเป็นระบบการศึกษาท่ีผสมผสานการเรียนกับการปฏิบัติงาน
(Work Integrated Learning) รูปแบบการจัดการศึกษา สหกิจศึกษาจึงมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้มีโอกาส
ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการสลับกับการเรียนทฤษฏีในห้องเรียนก่อนที่จะสําเร็จการศึกษาและออกไป
ประกอบวิชาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาด้านการพัฒนาอาชีพ (Career Development)
เสริมทักษะประสบการณ์ให้พร้อมท่ีจะเข้าสู่ระบบการทํางาน (Employability) และเสริมคุณภาพบัณฑิตให้มี
คุณภาพตรงตามที่สถานประกอบการต้องการ นอกจากนั้นสหกิจศึกษายังถือเป็นกลไกความร่วมมือทาง
วิชาการระหว่างสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการอีกด้วย

1.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องสหกจิ ศกึ ษา

1.3.1 เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้และเสริมสร้างประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพจากการ
ไปปฏบิ ตั ิงานจรงิ ณ สถานประกอบการ

1.3.2 เพอื่ เปิดโอกาสให้สถานประกอบการไดม้ สี ่วนรว่ มในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คลทมี่ ีคุณค่าตอ่ ชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ

1.3.3 เพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือทางวิชาการและความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างสถานประกอบการและ
วทิ ยาลยั
เซาธอ์ ีสท์บางกอก

2 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

 

 

1.3.4 เพื่อให้มีการพฒั นาหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอนท่ที นั สมัย ไดม้ าตรฐานและตอบสนองกับ
ความตอ้ งการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน

1.3.5 เพ่อื พัฒนาความรู้ ทักษะ และความสามารถในการทํางานของนกั ศึกษาผ่านประสบการณก์ ารทํางาน
จริงในสถานประกอบการณ์

1.3.6 เพ่ือพัฒนาความร่วมมือในการทําวิจัย แลกเปล่ียนความรู้และนวัตกรรม ระหว่างสถาบันการศึกษา
กับสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนใหเ้ ป็นรูปธรรม

1.4 หลกั การของสหกจิ ศึกษา
หลักการที่สําคัญของสหกิจศึกษา คือ การจัดประสบการณ์ตรง โดยในการปฏิบัติงานจริงในสถาน

ประกอบการอย่างน้อย 1 ภาคการศกึ ษา หรือประมาณ 16 สปั ดาห์ โดยถอื เปน็ สว่ นหน่ึงของหลักสตู รการเรียน
การสอน งานท่ีนักศึกษาปฏิบัติเกิดจากการวางแผนร่วมกันระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ มีการ
รบั รองคณุ ภาพงานสหกิจศึกษาก่อนการสมัครงาน โดยคณาจารยป์ ระจาํ หลักสูตร มีการประเมินผลร่วมกันเพ่ือ
พัฒนาคุณภาพ และศักยภาพของนักศึกษา โดยกระบวนการทั้งหมดของสถานศึกษาและสถานประกอบการ
ดาํ เนนิ การรว่ มกัน โดยตามมาตรฐานการดาํ เนนิ งานสหกิจศึกษาไทยเป็นหลัก

1.5 ลักษณะงานสหกจิ ศกึ ษา
1.5.1 เสมือนหนง่ึ เป็นพนกั งานประจําหรือพนกั งานทดลองงานของสถานประกอบการ
1.5.2 มีหน้าทีร่ ับผิดชอบงานท่ีแนน่ อนและตรงตามสาขาวิชา
1.5.3 ทาํ งานเตม็ เวลา (Full Time)
1.5.4 ระยะเวลาปฏิบัติงานเต็ม 1 ภาคการศึกษา หรืออย่างน้อย 16 สัปดาห์ หรือมากกว่าตามความ

เหมาะสม โดยมอี าจารย์ท่ีปรึกษาดแู ลนกั ศกึ ษาอย่างใกลช้ ดิ
1.5.5 มีค่าตอบแทนในอัตราเทียบเท่าหรือมากกว่าท่ีจ่ายให้กับลูกจ้างรายวันหรือตามความเหมาะสม

ของสถานประกอบการหรืออาจจ่ายในรูปของสวัสดิการตามสถานประกอบการกําหนด เช่น การจัดที่พักและ
อาหารในระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน

1.6 บุคลากรดา้ นสหกิจศกึ ษา
1.6.1 เจ้าหน้าท่ีสหกิจศึกษา คือ บุคลากรท่ีทําหน้าท่ีเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บข้อมูลประสานงาน

และ

3 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

 

 

อํานวยความสะดวกแกส่ ถานประกอบการ อาจารย์ท่ีปรึกษา และนกั ศึกษาในสว่ นทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั สหกิจศึกษาใน
สว่ นตา่ งๆ

1.6.2 อาจารยท์ ีป่ รึกษาสหกิจศกึ ษา คือ อาจารย์ทท่ี ําหน้าทปี่ ระสานงานกบั หนว่ ยงานภายในและ
ภายนอกวิทยาลัย เพ่ือดําเนินกิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสหกิจศึกษาให้คําแนะนําเก่ียวกับการปฏิบัติงานสห
กิจศกึ ษาแก่นกั ศึกษา รับรองคุณภาพงานทสี่ ถานประกอบการเสนอ

1.6.3 อาจารยน์ ิเทศ คอื อาจารยท์ ที่ ําหน้าที่ดแู ล และให้คําปรกึ ษาระหวา่ งการปฏิบัตงิ านของนกั ศึกษา
ณ สถานประกอบการ โดยเปน็ อาจารยป์ ระจําสาขาวชิ าของนักศกึ ษา มปี ระสบการณ์การสอนไม่น้อยกว่า 1 ปี
การศกึ ษา และเคยผา่ นการอบรมคณาจารย์นิเทศงาน

1.6.4 ผู้นิเทศงาน คือ บุคลากรที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทําหน้าที่ดูแล ให้คําปรึกษาและ
ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ โดยมี
คณุ วุฒิตรงกบั สาขาทน่ี กั ศึกษาปฏิบตั งิ าน หรอื มคี วามเชยี่ วชาญในงานทีน่ กั ศึกษาปฏบิ ตั ิ

1.7 ความสาํ คญั และประโยชน์ของสหกิจศกึ ษา
1.7.1 ปัจจุบันน้สี หกิจศึกษาทวีความสาํ คัญมากขนึ้ มสี ถาบนั อดุ มศึกษาทัง้ ภายในและภายนอกประเทศใช้

สหกิจศึกษาเป็นแนวทางจัดการศึกษาในเกือบทุกสาขาวิชา โดยมีเป้าประสงค์ตรงกัน คือ การเสริมคุณภาพ
บัณฑิตให้ได้รับประสบการณ์การทํางานในสถานประกอบการ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้ตรงตาม
มาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ รวมท้ังตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ ถือเป็นส่วนสําคัญของการ
เตรยี มบณั ฑิตใหพ้ ร้อมทจี่ ะเข้าสูร่ ะบบการทาํ งานไดท้ ันทีทีส่ าํ เร็จการศึกษา

1) นักศึกษา
 ไดป้ ระสบการณว์ ิชาชีพตรงตามสาขาวิชาเอก
 มีผลการเรียนในสถาบันอุดมศึกษาดีขึ้นภายหลังการปฏิบัติสหกิจศึกษาในสถาน
ประกอบการ
 เกิดการพฒั นาตนเอง มั่นใจในตนเองมากขนึ้
 เกดิ ทกั ษะการสื่อสารและการรายงานขอ้ มูล
 มโี อกาสได้รับการเสนองานกอ่ นสาํ เรจ็ การศึกษา
 เลอื กสายงานอาชีพได้ถูกตอ้ ง

4 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

 
 

 ได้รับคา่ ตอบแทนขณะปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ
 เป็นบณั ฑิตทม่ี ศี กั ยภาพและความพร้อมในการทํางานสงู
2) สถาบันการศกึ ษา
 เกดิ ความร่วมมือทางวิชาการและความสมั พันธท์ ีด่ กี บั สถานประกอบการ
 ไดข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับเพ่ือมาปรบั ปรุงหลักสูตรและการเรยี นการสอน
 ช่วยใหส้ ถานศกึ ษาไดรบั การยอมรับจากตลาดแรงงาน
3) สถานประกอบการ
 มนี กั ศึกษาชว่ ยปฏบิ ัติงานตลอดปี
 พนกั งานประจํามเี วลาท่จี ะทาํ งานสาํ คัญได้มากขนึ้
 ใช้เป็นวธิ กี ารคดั เลือกพนักงานไดถ้ ูกต้องเหมาะสมย่ิงขึ้น
 เกิดภาพพจน์ทดี่ ีด้านการสง่ เสริมการศึกษา
 เปน็ การประชาสมั พันธ์องค์กร

1.8 ข้อแตกตา่ งของสหกิจศกึ าและการฝึกงาน
 กระบวนการของสหกิจศกึ ษาเป็นการจดั การศึกษาทเี่ ปน็ ระบบ มีระยะเวลาท่ยี าวนานพอสมควร คือ 1
ภาคการศึกษา มีการจัดเตรียมความพร้อมนักศึกษาอย่างจริงจัง โดยกําหนดให้รายวิชาสหกิจศึกษา
เป็นรายวิชาบังคับของหลักสูตรและสนับสนุนงบประมาณบุคลากร ตลอดจนการประสานงานที่
เกี่ยวข้องเพ่ือนักศึกษาสามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการเสมือนหนึ่งเป็นพนักงานช่ัวคราวของ
สถานประกอบการนัน้ ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ
 สถานประกอบการนับเป็นภาคีท่ีสําคัญของสหกิจศึกษา โดยต้องเป็นสถานประกอบการท่ีมีนโยบาย
และพร้อมร่วมมือในการผลิตบัณฑิตในโครงการสหกิจ โดยจัดส่ิงแวดล้อม บรรยากาศทางวิชาการ

5 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 
 

ลักษณะงานที่เหมาะสมกับวิชาชีพ มีพนักงานท่ีปรึกษาหรือพนักงานปรึกษาดูแลนักศึกษา และมี
คา่ ตอบแทนหรือสวัสดกิ ารที่เหมาะสมระหว่างปฏบิ ตั ิงาน
 การประเมินผลการศึกษา เปน็ การประเมนิ ผลร่วมกันระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา และ
จัดให้มีการนิเทศ ณ สถานประกอบการอย่างน้อย 1 คร้ัง โดยคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา ซึ่งมี
วัตถปุ ระสงคห์ ลกั เพ่อื สะทอ้ นถงึ ศกั ยภาพ และการปรบั ตวั ของนกั ศึกษาในการทํางานเปน็ หลกั
 ผลและประสบการณ์ที่คาดว่าจะได้รับ คือการพัฒนาบัณฑิตให้มีความพร้อมทั้งด้านวิชาการ หรือวุฒิ
ภาวะทางอารมณ์ ในการทํางานร่วมกบั ผู้อืน่ ซึ่งการฝึกงานไม่ไดก้ าํ หนดจดุ มงุ่ หมายไวอ้ ยา่ งชัดเจน
1.9 ประโยชน์ทนี่ กั ศกึ ษาสหกิจศึกษาจะไดร้ ับ
1.9.1 ทางด้านการศึกษา นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ภาคทฤษฏีกับการทํางานในสถาน
ประกอบการจริงได้ ทําใหเ้ ขา้ ใจเนอื้ หาของรายวชิ าท่ีศึกษาได้มากข้นึ
1.9.2 มีโอกาสวางแผนชีวิต มีความชัดเจนในเป้าหมายของชีวิต และมีโอกาสค้นพบตนเองจากงานที่
ปฏบิ ตั ิ ภายใตก้ ารปรึกษาและการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน

1.9.3 มีโอกาสได้พัฒนาบุคลิกภาพ ได้ฝึกความอดทนในการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนที่มีภูมิหลังและวิถีชีวิต
แตกต่างกัน

1.9.4 ได้เรียนรู้วัฒนธรรมการทํางาน มีความเป็นผู้ใหญ่เร็วขึ้น สามารถพัฒนาทักษะการประสานงานกับ
บุคคลต่าง ๆ ได้ดีขึน้ สร้างเจตคตทิ ี่ดีต่อวิชาชีพ และสรา้ งเครือขา่ ยความสมั พนั ธก์ บั บคุ คลในวชิ าชีพของตน

1.9.5 มโี อกาสได้รบั การเสนองานกอ่ นที่จะสําเรจ็ การศึกษา
1.9.6 อาจมีรายได้ระหว่างการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา
1.9.7 เปน็ บณั ฑิตทมี่ ศี กั ยภาพพร้อมเพอื่ การทาํ งาน

6 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 

บทท่ี 2 สหกิจศกึ ษาวิทยาลยั เซาธ์อีสท์บางกอก

  บทท่ี 2 สหกจิ ศกึ ษา วิทยาลัยเซาธอ์ ีสทบ์ างกอก
 
วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ท่ีได้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาสหกิจ

ศกึ ษา ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2550 ตามประกาศนโยบายให้การสนับสนุนของรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยในขณะน้ัน
โดยระยะแรกของการดาํ เนินงานเป็นการศึกษากระบวนการและขนั้ ตอนการดําเนินงานสหกจิ ศกึ ษา และต่อมาในปี
พ.ศ. 2552 คณะบริหารธุรกิจ เป็นหน่วยงานแรกท่ีได้ดําเนินงานสหกิจศึกษา มีนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจ
ศึกษา จํานวน 5 คน เป็นนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี จํานวน 2 คน และสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
จาํ นวน 3 คน

ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ผู้บริหารวิทยาลัยฯ ได้ตระหนักและให้ความสําคัญกับงานสหกิจศึกษาและเพ่ือ
รองรับการขยายงานและพัฒนางานสหกิจศึกษาของวิทยาลัยฯ จึงได้มีแนวคิดในการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการ
บริหารงานสหกิจศึกษาใหม่ โดยให้จัดตั้งศูนย์ประสานงานและส่งเสริมสหกิจศึกษาขึ้นในวันท่ี 4 กรกฎาคม
พ.ศ.2554 และใหบ้ รหิ ารงานอยภู่ ายใตก้ ารกาํ กับดูแลของรองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ

หลงั จากการปรับโครงสร้างการบริหารหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2561 ท่ีมีภารกิจหลักในการบริหารงานท่ัวไป
และการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา เพ่ือให้การบริหารจัดการของหน่วยงาน มีการพัฒนาและคล่องตัวสอดรับ
กับการเปล่ียนแปลงของบริบทการจัดการอุดมศึกษา จึงได้มีการเปล่ียนแปลงจากศูนย์ประสานงานและส่งเสริม
สหกิจศกึ ษาเป็นกล่มุ งานมาตรฐานวิชาการ
2.1 หลักสูตรสหกจิ ศึกษาวทิ ยาลัยเซาธอ์ ีสทบ์ างกอก

วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ไดม้ ีการจัดการศึกษาในระบบทวภิ าค โดยใน 1 ปกี ารศกึ ษาจะประกอบไปดว้ ย
2 ภาคการศึกษาปกติและ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน โดยในการจัดการศึกษาสหกิจศึกษาจะกําหนดให้นักศึกษาไป
ปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ 1 ภาคการศึกษา (16 สัปดาห์ หรอื มากกว่า ตามความเหมาะสม) ในช่วงเวลา
ของภาคการศึกษาปกติ หลกั สตู รสหกจิ ศึกษาวทิ ยาลัยเซาธอ์ ีสทบ์ างกอก มลี ักษณะดังนี้

8 | H a b d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

2.1.1 จัดเป็นรายวิชาในหลักสูตร
สหกิจศึกษาเป็นรายวิชาท่ีคณะ/สาขาวิชา เป็นผู้กําหนดข้ึนโดยระบุไว้ในกลุ่มวิชาเอกเลือกประจํา

สาขาวชิ าของแต่ละคณะมคี ่าหนว่ ยกติ 6 หน่วยกิต ซึง่ สาขาวชิ าทนี่ ักศกึ ษาสงั กัดจะเปน็ ผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ
คดั เลือกนกั ศึกษาทีม่ คี ณุ สมบัตคิ รบถ้วนเข้าหลักสตู รรายวชิ าสหกิจศกึ ษา

2.1.2 สหกิจศกึ ษาจัดไว้ในภาคการศึกษาที่ 1 หรือ 2 ของชน้ั ปีที่ 4
สหกิจศึกษาเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการเพ่ือเสริมทักษะ

ประสบการณ์ทางวชิ าการวิชาชีพ ดังนั้น สาขาวชิ าท่นี ักศึกษาสงั กัดจงึ ไดก้ ําหนดภาคการศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงาน
สหกิจศึกษาไว้ในแผนการเรียน ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละสาขาวิชา แต่โดยส่วนใหญ่จะกําหนดไว้ในภาคการศึกษา
ปกติคือภาคการศึกษาท่ี 1 หรอื 2 ของชนั้ ปที ี่ 4

2.1.3 ระยะเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเต็ม 1 ภาคการศึกษา หรือ อย่างน้อย 16 สัปดาห์หรือ
มากกว่าตามความเหมาะสม

2.1.4 ปฏิบตั งิ านตรงตามสาขาวิชาของนักศกึ ษา
นักศึกษาจะมีหน้าที่รับผิดชอบงานที่ชัดเจน แน่นอนโดยลักษณะของงานท่ีนักศึกษาได้รับ

มอบหมายจากสถานประกอบการให้ปฏิบัติควรเป็นโครงงานพิเศษ (Project) หรือช้ินงานหรืองานประจําที่เป็น
ประโยชนต์ อ่ สถานประกอบการ ทง้ั น้ีลักษณะงานจะตอ้ งตรงตามสาขาวิชาของนักศึกษา

2.1.5 จัดใหม้ ีการอบรมเตรยี มความพรอ้ มนกั ศึกษา
กระบวนการสําคัญอย่างหน่ึงในการจัดการศึกษาสหกิจศึกษาคือการจัดให้มีการปฐมนิเทศ และ

อบรมการเตรียมความพร้อมสําหรับการปฏิบัติงานให้นักศึกษาในภาคการศึกษาก่อนท่ีนักศึกษาจะไปปฏิบัติงาน
สหกิจศกึ ษา ณ สถานประกอบการ อย่างนอ้ ย 30 ช่ัวโมง

9 | H a b d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

2.2 คณะทเี่ ข้าร่วมสหกจิ ศกึ ษาและการออกปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา

ภาคเรยี นท่ี 1 (ออกปฎบิ ตั งิ านสหกิจศึกษา) ภาคเรียนท่ี 2 (ออกปฎบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา)

ระหวา่ งเดอื น มิถนุ ายน-กนั ยายน (1 ภาคการศึกษา) ระหวา่ งเดอื น พฤศจกิ ายน-กมุ ภาพนั ธ์ (1 ภาคการศกึ ษา)

 คณะบญั ชีและวทิ ยาการจดั การ  คณะบัญชแี ละวทิ ยาการจดั การ
- สาขาวชิ าการตลาด - สาขาวชิ าการบญั ชี
- สาขาวิชาการจดั การ - การจัดการการท่องเที่ยวและการโรงแรม

 คณะโลจิสติกสแ์ ละเทคโนโลยกี ารบนิ  คณะศิลปศาสตร์
- การจัดการโลจสิ ตกิ ส์ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกจิ

 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ - สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์
สาขาวชิ าเทคโนโลยมี ลั ติมเี ดียและแอนิ
เมช่ัน

2.3 การวดั ผลและการประเมนิ ผลการศกึ ษา
การวัดผลและประเมินผลการศกึ ษา เปน็ การวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษารว่ มกนั ระหว่างสถาน

ประกอบการและวทิ ยาลยั ฯ ทง้ั ทางด้านวิชาการและการปฏบิ ัติงาน โดยมเี กณฑ์ดงั นี้

 สถานประกอบการ (200/4) 50%
 วิทยาลัยเซาธ์อสี ทบ์ างกอก 50%
5%
- การอบรมเตรยี มความพร้อม (ศูนย์สหกจิ ฯ) 10%
- การนิเทศงาน (100/10) 15%
- การนําเสนอผลการปฏิบตั ิงาน (60/4) 20%
- รูปเลม่ รายงาน (100/5) 100%

รวม

10 | H a b d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

ตารางชว่ งคะแนนผลการศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา

ระดบั คะแนน ลําดบั ชัน้ ความหมาย แต้มระดับคะแนน

90-100 A ดีเย่ยี ม 4.00
ดมี าก 3.50
85-89 B+ 3.00
ดี 2.50
80-84 B ค่อนขา้ งดี 2.00
1.50
75-79 C+ พอใช้ 1.00
ค่อนข้างออ่ น 0
70-74 C
ออ่ น
65-69 D+ ตก

60-64 D

55-59 F

2.4 บทบาทและหนา้ ทกี่ ลมุ่ งานมาตรฐานวชิ าการ ฝ่ายสหกจิ ศกึ ษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ฝ่ายสหกิจศึกษา เป็นหน่วยงานกลางในระดับสถาบัน บริหารงานภายใต้การ

กํากับดูแลของรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ทําหน้าท่ีกํากับดูแลส่งเสริมสนับสนุนให้การดําเนินงานสหกิจศึกษา
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเป็นแนวทางสําหรับการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้มีความพร้อมท่ี
จะสามารถทํางานได้ทันทีหลังสําเร็จการศึกษา และยังมุ่งเน้นการสร้างโอกาสในการได้งานทําและพัฒนาอาชีพ
อยา่ งต่อเน่อื งให้แกบ่ ัณฑติ /ศษิ ย์เก่า โดยมภี ารกิจหลกั ดังนี้

2.3.1 การประชาสมั พันธ์ทั้งภายในและภายนอกวิทยาลยั ฯ เก่ยี วกับโครงการสหกจิ ศึกษา
2.3.2 การจัดทาํ แผนและดาํ เนนิ งานสหกิจศกึ ษา
2.3.3 สรุปและประเมนิ ผลการดาํ เนินงานสหกิจศกึ ษา
2.3.4 ตดิ ตอ่ และประสานงานกับสถานประกอบการ
2.3.5 สร้างเครือข่ายใหม่ และรักษาความสมั พันธ์อันดกี ับสถานประกอบการ
2.3.6 จดั ทาํ ฐานขอ้ มลู สถานประกอบการ
2.3.7 รับผดิ ชอบงานเว็บไซตข์ องกลมุ่ งานมาตรฐานวิชาการ

11 | H a b d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

บทท่ี 3 บทบาทหน้าที่ของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ที่ปรึก  ษา

  บทที่ 3 บทบาทและหน้าที่  

 

  ของนกั ศกึ ษาสหกิจศึกษาและอาจารย์ทป่ี รกึ ษาสหกิจศึกษา

 

3.1 บทบาทและหนา้ ที่ของนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา
3.1.1 คณุ สมบตั ินกั ศึกษาสหกิจศึกษา คณะ/สาขาวิชาเป็นผู้คัดเลอื กทม่ี คี ณุ สมบตั ดิ ังน้ี
 สอบผ่านวชิ าเอกบงั คบั หรอื รายวชิ าเทยี บเทา่ ตามทคี่ ณะ/สาขาวิชากาํ หนด
 มีผลการศึกษา เฉลีย่ 2.00 ขึน้ ไป
 มีความประพฤตเิ รียบรอ้ ย ไมเ่ คยผดิ ระเบียบวนิ ยั ถงึ ข้นั พกั การศกึ ษา
 มคี วามพร้อมที่จะไปปฏบิ ตั ิงาน ณ สถานประกอบการท่วี ทิ ยาลัยฯ กาํ หนด
 มีวฒุ ิภาวะและความรบั ผดิ ชอบ รวมถงึ สามารถทจ่ี ะพัฒนาตนเองได้
3.1.2 หน้าทีข่ องนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา
 ติดตามข่าวสารการจดั หางานและประสานงานกบั กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ฝ่ายสหกิจศกึ ษา
 ตอ้ งผ่านการอบรมเตรียมความพร้อมและปฐมนิเทศ ตามที่กลุ่มงานมาตรฐานมาตรฐานวิชาการเป็นผู้
กาํ หนด
 ต้องไปรายงานตัวภายในวันและเวลาท่ีกําหนด พร้อมด้วยหนังสือส่งตัว บัตรประจาํ ตัวนักศึกษา และ
บัตรประจําตวั บตั รประชาชน คาํ แนะนําของสถานประกอบการและคมู่ อื สําหรับนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษา
 ตั้งใจปฏิบตั ิงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากพนักงานทีป่ รกึ ษาสหกจิ ศึกษาอยา่ งเตม็ กําลงั ความสามารถ
 ปฏิบตั ติ นอยู่ในระเบียบวนิ ยั หรือข้อบังคับของสถานประกอบการ และหลีกเล่ียงการทะเลาะเบาะแว้ง
ในสถานประกอบการ ทกุ กรณี
3.1.3 ประโยชน์ทน่ี ักศกึ ษาจะได้รบั จากการไปปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา
 ไดร้ ับประสบการณต์ รงตามสาขาวิชาชีพท่ีเรยี นเพิ่มเตมิ จากการเรียนในห้องเรยี น
 เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาตนเอง รู้จักการทํางานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบและมีความมั่นใจใน
ตนเองมากย่ิงขึน้ ซง่ึ เปน็ คณุ สมบตั ิทพ่ี งึ ประสงค์ของสถานประกอบการ
 ไดพ้ บปัญหาตา่ งๆ ที่แทจ้ ริงในการทํางาน และคิดค้นวธิ ีการแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
 ส่งผลให้มีผลการเรียนดีข้ึนภายหลังการปฏิบัติงานเน่ืองด้วยมีความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากข้ึนจาก
ประสบการณใ์ นการปฏิบตั ิงานจรงิ ในสถานประกอบการ

12 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 
 

 เกดิ ทกั ษะการส่อื สารข้อมูลการทํางานภายในสถานประกอบการ
 สามารถเลือกสายอาชีพได้ถูกต้องเนอ่ื งจากไดท้ ราบความถนัดของตนเองมากข้นึ
 สําเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพในการทํางาน และมีโอกาสได้รับการเสนองานก่อนท่ีสําเร็จ

การศึกษา

3.2 บทบาทและหนา้ ท่ขี องอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาสหกิจศกึ ษา
อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา (Cooperative Education Advisor-CA) ต้องเป็นอาจารย์ประจําสาขาวิชาท่ี

นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และต้องมีประสบการณ์การสอนไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา และได้รับการ
อบรมการนิเทศงานโดยหน่วยงานท่ีได้รับการรับรองจาก สกอ. และทําหน้าท่ีให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา และ
ประสานงานระหว่างกลมุ่ งานมาตรฐานวชิ าการ นกั ศึกษา และสถานประกอบการ อีกตําแหน่งหนึ่ง นอกเหนือจาก
เป็นอาจารย์ทีป่ รึกษาทางด้านวิชาการ และมีหน้าท่ีประสานงานด้านสหกิจศกึ ษา ดังนี้

3.2.1 พิจารณาคณุ สมบัตขิ องนักศึกษาใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ี่กําหนด
3.2.2 ใหค้ ําแนะนําปรึกษาการลงทะเบียนรายวชิ าสหกจิ ศึกษาในทุกๆ ดา้ น
3.2.3 ใหค้ าํ ปรึกษาเก่ยี วกับการเลือกสถานประกอบการและตาํ แหนง่ งานแก่นกั ศึกษา
3.2.4 ใหค้ าํ ปรึกษาเกย่ี วกบั การกรอกใบสมัครงาน ประวัตนิ กั ศกึ ษา และการเขียนจดหมายสมคั รงาน
3.2.5 คดั เลือกนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาใหก้ ับสถานประกอบการ โดยพจิ ารณาตาํ แหนง่ ตามความเหมาะสม
3.2.6 ใหค้ ําปรกึ ษาเม่ือนักศกึ ษามีปัญหาระหว่างไปปฏบิ ัตงิ าน ณ สถานประกอบการ
3.2.7 นเิ ทศงานระหว่างทีน่ ักศกึ ษาไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
3.2.8 ประเมินผลปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา เมอ่ื ส้ินสดุ การปฏบิ ตั งิ าน ณ สถานประกอบการ

3.3 บทบาทและหน้าทขี่ องอาจารย์นิเทศ
อาจารย์นิเทศ เป็นอาจารย์ประจําสาขาวิชา ของนักศึกษาท่ีไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาทําหน้าท่ีดูแลและ

ติดตามผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสหกิจศึกษา ช่วยเหลือนักศึกษาในการแก้ไข
ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนในระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งปัญหาด้านวิชาการ และปัญหาการปรับตัวของนักศึกษาใน
สภาวะการทํางานจริง รับทราบและแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นกับสถานประกอบการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ

13 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 
 

นกั ศกึ ษา ตลอดจนการแลกเปลยี่ นความกา้ วหน้าทางวิชาการซ่ึงกันและกัน ประเมินผลการดาํ เนนิ งานและรวบรวม
ขอ้ มูลทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อวิทยาลยั ระหว่างท่นี กั ศึกษาปฏิบตั งิ าน ณ สถานประกอบการ

วิธกี ารพัฒนาตนเองเพือ่ เป็นบัณฑิตคณุ ภาพที่สังคมต้องการ
 ต้องรู้เปา้ หมายของตนเอง ตอ้ งรวู้ ่าตนเองเกง่ อะไรทางดา้ นไหน
 รเู้ ป้าหมายของลูกค้า รู้จกั สร้างตลาดใหม่ ต้องรู้จกั สร้างเครอื ข่าย
(The Future of competition is collaboration )

วิธีการเพ่ิมพูนพัฒนาทกั ษาตนเอง
 เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองผ่านการศกึ ษาในระบบและนอกระบบ
 เรียนรู้จากการศึกษาบคุ คลอืน่
 การฝึกอบรมศึกษาเพิม่ เติม
 การปฏิบัตงิ านจติ อาสา
 เรยี นร้ผู า่ นประสบการณ์ การปฏิบตั ิงานจรงิ มวี ธิ ีดงั ต่อไปนี้
1) การเตรยี มตัวก่อนเขา้ สู่การปฏิบัติงาน
 กําหนดเปา้ หมาย และวตั ถุประสงค์ การปฏิบตั งิ านใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนด้านอาชีพในอนาคต
 สํารวจความพร้อมของตนเอง ข้อกังวล ขอ้ จํากดั
 เตรียมตัวเพอื่ เพ่ิมเตมิ ความรขู้ องตวั นกั ศึกษา ทบทวนความรู้ และ ทกั ษะตา่ งๆ ท่ีพรอ้ มจะ
นาํ ไปใช้ในการออกปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา
 ปรกึ ษาหารือกับคนในครอบครัว เช่น พ่อ แม่ พี่ นอ้ ง อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ยี วข้องกับ
การออกไปปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา
2) การเตรียมตัวระหวา่ งการปฏบิ ัตงิ าน
 วางแผน และจัดทาํ แผนการปฏบิ ตั ิงาน โครงงาน/งานประจําร่วมกบั พ่ีเล้ยี งหรือหัวหนา้ งาน
 จัดทาํ รายงานความก้าวหน้า บันทกึ ปัญหา อปุ สรรคทเ่ี กิดขนึ้ และวธิ กี ารแกไ้ ข ตลอด
ระยะเวลาในการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา
 ฝึกอบรมหรือเรียนร้แู ละพฒั นาตนเองเพ่มิ เติมในด้านต่างๆ ท่ใี ชใ้ นการทาํ งาน โดยหาเวลา
ศกึ ษาขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ นอกเวลาการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศึกษา

14 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 
 

 หากมปี ัญหาระหวา่ งการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา สามารถขอคาํ ปรกึ ษาจากอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
พ่เี ลีย้ งและเจ้าหน้าทข่ี องวทิ ยาลัย

 เขา้ พบอาจารยท์ ี่ปรึกษาเพอ่ื รายงานความก้าวหนา้ ของเนอื้ หาท่ีทาํ โครงงาน
 เตรยี มการนําเสนอผลการปฏบิ ตั ิ และตวั โครงงานของนักศึกษาในวนั ที่อาจารยเ์ ขา้ มานเิ ทศ
นกั ศึกษาตอ่ หนา้ หัวหนา้ งาน พ่เี ล้ียง อาจารยท์ ปี่ รึกษา หรือผู้ท่ีเก่ยี วขอ้ งรับทราบ
3) การเตรยี มตัวหลงั การปฏิบตั ิงาน
 แก้ไขรายงานวชิ าการ หรือ การจดั ทาํ โครงงาน
 จดั ทํารูปเล่มรายงานผลการปฏิบัตงิ าน พร้อมบทความทางวชิ าการ ที่ทางกลุม่ งานมาตรฐาน
วชิ าการเปน็ ผกู้ าํ หนด
 สง่ งานที่ส้นิ เสรจ็ ให้กบั อาจารย์ทป่ี รกึ ษาตามวันและเวลาทท่ี างกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการเปน็
ผกู้ ําหนด

15 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 

บทท่ี 4 บทบาทหน้าที่ของสถานประกอบการกบั สหกิจศกึ ษา

บทที่ 4  บทบาทหน้าท่ขี องสถานประกอบการกบั สหกจิ ศกึ ษา

 

สถานประกอบการเป็นองค์กรที่มีความสําคัญท่ีจะพัฒนานักศึกษาโดยวิธีการของสหกิจศึกษาให้เกิดผล
ทางรูปธรรม ในทางปฏิบัติงานสหกิจศึกษามีรูปแบบ และขั้นตอนท่ีจําเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชิด
จากสถานประกอบการ โดยเฉพาะพนักงานฝ่ายบุคคลหรือฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ และพนักงานที่ปรึกษา
สหกิจศึกษา (Job Supervisor) ซึ่งจะเป็นผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้สนับสนุน และส่งเสริมให้การ
ปฏิบัตงิ านของนกั ศึกษาประสบความสาํ เร็จสูงสุดในระหวา่ งการปฏิบัตงิ าน โดยมหี นา้ ทีห่ ลัก ดงั น้ี

 ฝ่ายบุคคลหรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ แจ้งรายละเอียดลักษณะงานท่ีต้องการให้นักศึกษาปฏิบัติ รวมถึง
กฎระเบียบวินัยของสถานประกอบการนั้น ๆ แก่กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ล่วงหน้าก่อน 1 ภาค
การศึกษาทีน่ กั ศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษา

 ฝ่ายบุคคลหรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ดําเนินการปฐมนิเทศ อบรม เพ่ือให้นักศึกษาทราบถึงระเบียบวินัย
วัฒนธรรม การรักษาความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนให้ความรู้เก่ียวกับสถานประกอบการ
โครงสรา้ งการบริหารงานและอน่ื ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ของสถานประกอบการทีน่ กั ศกึ ษาจะต้องปฏบิ ตั ิ

 แตง่ ตง้ั พนกั งานที่ปรึกษาสหกิจศกึ ษา (Job Supervisor)
4.1 คุณสมบตั พิ นักงานทป่ี รึกษาสหกจิ ศกึ ษา

4.1.1 คุณวุฒิไม่ตํา่ กว่าระดบั ปริญญาตรี หรือเป็นผ้มู คี วามชํานาญพเิ ศษและมปี ระสบการณ์การทํางานไม่น้อย
กวา่ 6 เดอื น

4.1.2 ใหค้ ําปรกึ ษา ตดิ ตาม และแนะนําการปฏิบตั ิงาน
4.1.3 ตรวจรายงาน และใหข้ อ้ เสนอแนะ
4.1.4 ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน

16 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

4.2 หนา้ ท่ขี องพนกั งานที่ปรกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา (Job Supervisor)
พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา (Job Supervisor) หมายถึง บุคลากรหรือเจ้าหน้าท่ีท่ีสถานประกอบการ

มอบหมายให้ทําหน้าท่ีดูแลรบั ผิดชอบการปฏบิ ัติงานของนักศึกษา อาจจะเปน็ ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานในการ
ปฏบิ ตั ิงานตลอดระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา จงึ เปรียบเสมือนอาจารยข์ องนกั ศึกษา ณ สถานประกอบการ เป็นผู้ท่ี
ให้คําแนะนํา และเป็นท่ีปรึกษาท้ังทางด้านปฏิบัติงานและการปรับตัวเข้ากับการปฏิบัติงานของนักศึกษา ดังนั้น
พนักงานท่ีปรึกษาจึงเป็นผู้ที่มีความสําคัญที่สุดท่ีจะทําให้การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษาสําเร็จไปด้วยดี
โดยมีหน้าทหี่ ลักดงั น้ี

4.2.1 กําหนดลกั ษณะงาน (Job Description)
กําหนดลักษณะงาน (Job Description) และแผนการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (Co-op Work Plan)

กําหนดตําแหน่งงาน ขอบข่ายหน้าท่ีงานของนักศึกษาท่ีจะต้องปฏิบัติและแจ้งให้นักศึกษารับทราบถึงงานที่ได้รับ
มอบหมายโดยจะมีลักษณะงานตรงตามสาขาวิชาของนักศึกษา ซ่ึงได้มีการกําหนดแผนงานการปฏิบัติรายสัปดาห์
ให้แก่นกั ศึกษา

4.2.2 การให้คาํ ปรกึ ษา
ให้คาํ ปรึกษาช้ีแนะแนวทางการทาํ งานและการแก้ปัญหาจากประสบการณ์ที่มีให้กับนักศึกษารวมท้ังให้

ความร่วมมอื ด้านการประสานงานกบั อาจารยท์ ป่ี รึกษาสหกจิ ศกึ ษาและนกั ศึกษา
4.2.3 แนะนําการจดั ทาํ รายงานสหกจิ ศึกษา
นักศึกษาต้องจัดทํารายงานเสนอต่อ สถานประกอบการ และอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา โดย

รายงานอาจประกอบดว้ ยเนอ้ื หาทสี่ ถานประกอบการจะสามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ได้ต่อไป หรอื อาจมลี ักษณะดงั น้ี
 ผลงานวจิ ัยท่ีนกั ศึกษาปฏบิ ัติ
 โครงงานหรอื ชิ้นงานทน่ี กั ศึกษาปฏิบัติ
 รายงานการปฏบิ ตั งิ านท่ีไดร้ บั มอบหมายให้ปฏบิ ัติ
 รายงานวิชาการที่นักศึกษาสนใจซ่ึงสอดคล้องกับสาขาวิชาและได้รับการรับรองทั้งจากพนักงานท่ี
ปรกึ ษาสหกจิ ศึกษาและอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
 การสรปุ ข้อมลู หรอื สถิตบิ างประการท่ีเกยี่ วข้องและสะท้อนองคค์ วามรใู้ นสาขาวิชา
 การวเิ คราะห์และประเมินผลข้อมูลเบือ้ งต้น
 กรณีทง่ี านได้รับมอบหมายเปน็ งานประจาํ (Routine) เชน่ งานในสายการผลติ งานระบบคณุ ภาพ

17 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

งานบํารุงรักษา งานตรวจสอบคุณภาพ ฯลฯ รายงานของนักศึกษาอาจจะเป็นรายงานและข้ันตอนการปฏิบัติงาน
ประจําที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา กําหนดหัวข้อรายงานแล้ว
นักศึกษาต้องจัดทํา Report Outline (ตามแบบที่กําหนด) โดยหารือกับพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาแล้วจัดส่ง
ให้กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ เพื่อส่งมอบให้อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา ประจําสาขาวิชาให้ความเห็นชอบ
ลักษณะรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา จะมีรูปแบบรายงานตามรายงานวิชาการ นักศึกษาจะต้องจัดพิมพ์
รายงานให้เรียบร้อย และส่งให้พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาตรวจสอบและประเมินผลอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อน
สิ้นสุดการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา

4.3 การจดั เตรยี มขอ้ มลู สาํ หรับการนิเทศงานสหกจิ ศกึ ษา
ระหว่างการปฏิบัติงานของนักศึกษา กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะประสานงานกับอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจ
ศึกษา เพ่ือขอนัดหมายเข้านิเทศนักศึกษา ณ สถานประกอบการโดยจะมีหัวข้อการหารือ กับผู้บริหารสถาน
ประกอบการ เจ้าหนา้ ทฝี่ า่ ยบุคคล/พนกั งานทปี่ รึกษาสหกจิ ศึกษา ดงั นี้
4.3.1 ข้อมลู เพ่มิ เติมจากการดาํ เนินการโครงการสหกจิ ศกึ ษา เพื่อพัฒนาหลกั สูตร
4.3.2 ลักษณะงานท่มี อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ัติ
4.3.3 แผนการปฏบิ ตั ิตลอดระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน
4.3.4 หวั ขอ้ รายงานสหกจิ ศึกษาและความก้าวหนา้
4.3.5 การพัฒนาตนเองของนักศึกษา
4.3.6 ผลการปฏบิ ตั ิงานของนกั ศกึ ษาและความประพฤติ
4.3.7 ปัญหาตา่ ง ๆ ที่สถานประกอบการพบเก่ียวกับการมาปฏบิ ัติงานของนักศกึ ษา

4.4 การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
4.4.1 พนกั งานที่ปรกึ ษาสหกิจศกึ ษาต้องตรวจแก้ไขรายงานให้นักศกึ ษาและประเมินผลเนื้อหา และการเขียน

รายงานภายใน 2 สปั ดาหส์ ดุ ทา้ ยของการปฏิบตั ิงานของนกั ศึกษาโดยแก้ไขรายงานใหส้ มบูรณก์ อ่ นกลับวิทยาลัยฯ
4.4.2 แจ้งการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยอาจจะแจ้งให้นักศึกษาทราบหรือไม่แจ้งก็ได้ ตามความ

เหมาะสม จากนั้นมอบผลการประเมินให้กับทางอาจารย์ผู้เข้านิเทศในการนิเทศครั้งที่ 2 หรือให้นักศึกษาจัดส่ง
ใหก้ ับอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาสหกิจศกึ ษา พร้อมปดิ ผนึกซองให้เรียบรอ้ ย

18 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

4.5 การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ
4.5.1 กําหนดกรอบงานและจดั โปรแกรมการทาํ งานของนกั ศกึ ษา
4.5.2 กาํ หนดหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบและพนกั งานทป่ี รกึ ษาสหกจิ ศึกษา
4.5.3 กาํ หนดคณุ สมบัติของนกั ศกึ ษาที่ต้องการรบั เข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
4.5.4 แนะนําหรือจัดหาท่ีพักให้กับนักศึกษา ในกรณีที่บ้านพักอาศัยของนักศึกษาอยู่ไกลจากสถาน

ประกอบการ
4.5.5 พร้อมท่ีจะให้ความอนุเคราะห์ค่าตอบแทนในอัตราท่ีสมควร และเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ หรือ

สวัสดิการตามนโยบายของสถานประกอบการ
4.5.6 พรอ้ มทีจ่ ะดูแลนักศึกษา ให้คําแนะนํา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้งานให้เต็มศักยภาพท่ีสถาน

ประกอบการจะพึงให้ได้
4.6 ประโยชนท์ ส่ี ถานประกอบการจะไดร้ บั

4.6.1 เกิดความร่วมมือทางวชิ าการและสร้างความสัมพนั ธท์ ่ีดีกบั วทิ ยาลัยฯ
4.6.2 เปน็ การสร้างภาพพจน์ทดี่ ขี ององค์กรในดา้ นการส่งเสริมสนับสนนุ การศึกษาและชว่ ยพฒั นาบัณฑิต
ของชาติ
4.6.3 ได้นกั ศึกษาที่มีความกระตอื รอื รน้ มคี วามรคู้ วามสามารถตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ
4.6.4 เป็นวธิ กี ารชว่ ยคดั เลือกบัณฑิตเข้าเป็นพนกั งานประจาํ ในอนาคตตอ่ ไป
4.6.5 พนักงานประจํามเี วลามากขนึ้ ท่จี ะปฏบิ ัตงิ านในหน้าท่ีซ่งึ มคี วามสาํ คัญมากกว่า

19 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  

 

 

บทที่ 5 กระบวนการและขนั ้ ตอนสหกิจศกึ ษา

  บทที่ 5 กระบวนการและขัน้ ตอนสหกจิ ศกึ ษา

 

5.1 กระบวนการก่อนการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา
5.1.1 การเตรียมความพร้อมทางวชิ าการ
สาขาวิชาต่างๆ จะเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดแผนการเรียนของนักศึกษาในสังกัดเพื่อเตรียมความ

พร้อมให้นักศึกษามีความรู้เพียงพอในสาขาวิชาชีพก่อนไปปฏิบัติงาน อันจะเป็นการสร้างความมั่นใจในการ
ปฏิบตั ิงานแกน่ ักศกึ ษาและสร้างความเช่อื ถือแก่สถานประกอบการ

5.1.2 การประชาสมั พันธโ์ ครงการสหกจิ ศึกษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ร่วมกับคณะ/สาขาวิชาต่าง ๆ ทําการประชาสัมพันธ์หลักสูตรสหกิจ

ศึกษาแก่นักศึกษา เพ่ือแจ้งข่าวสาร กําหนดการต่างๆ สําหรับการดําเนินงานสหกิจศึกษาในแต่ละรุ่น และทําการ
ประชาสัมพันธ์หลักสูตรสหกิจศึกษาแก่สถานประกอบการ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ สหกิจศึกษาร่วม
หารือเกีย่ วกับลกั ษณะงานสหกจิ ศึกษาและแนวปฏิบัตทิ ี่จาํ เป็นในการดาํ เนนิ งานสหกิจศึกษา

5.1.3 การสมัครเข้ารว่ มโครงการสหกจิ ศกึ ษา
นักศึกษาต้องกรอกข้อมูลรายละเอียดเบื้องต้นของการสมัครตามแบบพิจารณาคุณสมบัตินักศึกษา

สหกิจศึกษา (สก.นศ.01) พร้อมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร ตามที่แจ้ง หรือกรอกการสมัครเป็น
นกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษาผ่านทางระบบ google form ท่ที างกล่มุ งานมาตรฐานวิชาการ ฝา่ ยสหกิจฯ ตง้ั ไว้

5.1.4 การประชาสัมพันธต์ าํ แหนง่ งานและรายละเอียดของงาน
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะประกาศรายชื่อสถานประกอบการท่ีมีความประสงค์รับนักศึกษา

สหกิจศึกษาเพ่ือให้นักศึกษาและอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาทราบ เพื่อทําการสมัครโดยกรอกข้อมูลและ
รายละเอยี ดในใบสมัครงาน (สก.นศ.02) และลงหน้าเวบ็ ไซต์ของทางกลุ่มงานมาตรฐานวชิ าการ

5.1.5 การคดั เลือกนักศึกษาเข้ารว่ มโครงการสหกิจศกึ ษา
การคัดเลือกนักศึกษาจะดําเนินการคัดเลือกโดยอาจารย์ประจําสาขาวิชาท่ีนักศึกษาสังกัด โดยจะ

แยกการคดั เลือกออกเปน็ 2 ขนั้ ตอนดังนี้
1. การคัดเลือกเบื้องต้น จะทําการคัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษาโดยพิจารณา
ตามคณุ สมบัติของนักศกึ ษาทีไ่ ดก้ าํ หนดไว้

20 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

2. การคัดเลือกเพื่อเข้ารับการปฏิบัติงาน จะพิจารณาตามความเหมาะสมเกี่ยวกับการจับคู่
นักศึกษากับสถานประกอบการ ตามลําดับท่ีนักศึกษามีความประสงค์ หรือ ตามที่สถาน
ประกอบการเปน็ ผพู้ จิ ารณาคดั เลอื ก

5.1.6 ประกาศผลการคดั เลอื กนกั ศึกษาสหกิจศึกษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะประกาศผลสถานประกอบการที่นักศึกษาต้องไปปฏิบัติงานสหกิจ

ศึกษา เพื่อให้นักศึกษาทราบและเตรียมตัวก่อนไปปฏิบัติงาน ในกรณีท่ีนักศึกษาไม่มีรายชื่อในประกาศผลการ
คัดเลือกให้รีบติดต่อ กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการโดยด่วน เพื่อจัดหาสถานประกอบการให้ใหม่โดยเร็วที่สุด โดย
ภายหลังการประกาศผลการคัดเลือกแล้ว นักศึกษาทุกคนจะต้องไปปฏิบัติงานตามกําหนดจะขอสละสิทธิ์การ
ไปปฏิบัติงานไมไ่ ด้โดยเด็ดขาด ยกเว้นป่วยอยา่ งรนุ แรง

5.1.7 การลงทะเบยี นเรยี นวชิ าสหกจิ ศกึ ษา
นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเป็นนักศึกษาสหกิจศึกษา จะต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชาสหกิจ

ศึกษาตามช่วงระยะเวลาที่วิทยาลัยฯ กําหนด ทั้งนี้เม่ือลงทะเบียนเรียนแล้ว จะไม่สามารถเพ่ิมถอนรายวิชา
สหกิจศึกษาได้ และหากนักศึกษาไม่ผ่านรายวิชาสหกิจศึกษา นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ หรือ ถ้าไม่
สามารถไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได้ เพราะเหตุอันสมควรทางคณะ/สาขาวิชา จะจัดหารายวิชาใหม่ให้
ลงทะเบียนเรียนแทนหรือนักศึกษาต้องลงเรียน รายวิชาฝึกงาน 3 หน่วยกิต และลงเรียนเพิ่มตามรายวิชาที่
ทางสาขาเป็นผูก้ ําหนดอีก 1 รายวิชา (3หน่วยกติ ) รวม (เป็นจํานวน 6 หน่วยกติ )

5.1.8 การเตรยี มความพร้อมนกั ศกึ ษาก่อนออกปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ร่วมกับคณะ/สาขาวิชาต่างๆ จัดการอบรมเพ่ือเตรียมความพร้อมให้แก่

นกั ศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศกึ ษา โดยการอบรมนั้นจะแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ดงั น้ี
1. การอบรมเตรียมความพร้อมและปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาสหกิจศึกษา กลุ่มงานมาตรฐานวชิ าการ

จะเป็นผู้รับผิดชอบดําเนินการอบรมโดยจะเน้นความรู้ความเข้าใจในหลักการสหกิจศึกษา ความสําคัญและ
ประโยชน์ทน่ี กั ศกึ ษาจะไดร้ ับ กระบวนการและข้นั ตอนสหกจิ ศกึ ษา แนวปฏิบตั ขิ องนักศกึ ษาทีต่ ้องปฏบิ ัติ

2. การอบรมองคค์ วามรทู้ เ่ี ก่ยี วข้องกับวชิ าชีพเฉพาะเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มทางวชิ าการ สาขาวิชา
จะเป็นผู้รับผิดชอบในการดําเนินการอบรม ส่วนใหญ่การอบรมจะเน้นหัวข้อองค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการ
ปฏิบตั งิ านในวชิ าชีพโดยเฉพาะเพื่อเพ่มิ เตมิ ความร้แู ละทกั ษะให้แกน่ กั ศกึ ษากอ่ นไปปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา

3. การอบรมทักษะทท่ี ําให้เกิดความพรอ้ มในการปฏิบตั ิงาน กลุ่มงานมาตรฐานวชิ าการ

21 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

ร่วมกับคณะ/สาขาวิชาต่างๆ จัดอบรมในหัวข้อต่าง ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมในการทํางานและการใช้ชีวิต เช่น
ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสําหรับการปฏิบัติงาน ทักษะด้านภาษาต่างประเทศ ทักษะการเขียนจดหมายสมัคร
งาน เทคนิคการสัมภาษณ์งาน เทคนิคการเขียนรายงานและนําเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ วัฒนธรรม องค์กร
คุณธรรมและจรยิ ธรรมในการทาํ งาน เปน็ ต้น

5.1.9 การประชุมร่วมกันระหว่าง อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาและ
นกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา

ก่อนถึงกําหนดเวลาที่นักศึกษาสหกิจศึกษาจะไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการควรมีการพูดคุย
เพื่อทําความรู้จัก และสร้างความคุ้นเคยระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา และ
นักศกึ ษา รวมทง้ั เพอ่ื ยนื ยนั ลกั ษณะงานท่นี ักศึกษาจะตอ้ งปฏิบัติ

5.1.10 การส่งจดหมายสง่ ตวั นกั ศกึ ษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะดําเนินการจัดทําจดหมายส่งตัวนักศึกษาเพ่ือมอบให้แก่นักศึกษาถือ

ไปส่งมอบให้สถานประกอบการ ในวันที่ไปรายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน ทั้งน้ีจะทําการส่งสําเนาจดหมายส่งตัว
นักศกึ ษาไปลว่ งหน้าเพื่อแจง้ สถานประกอบการทราบ

5.2 กระบวนการระหวา่ งการปฏบิ ัติงานสหกิจศกึ ษา ณ สถานประกอบการ
5.2.1 การรายงานตวั เข้าปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษา ณ สถานประกอบการ
นักศึกษาจะต้องเดินทางไปยังสถานประกอบการเพ่ือรายงานตัวเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษาตามวัน

เวลา ที่ได้กาํ หนดไว้ โดยจะต้องไปตดิ ต่อยนื่ เอกสารจดหมายส่งตวั และเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งยังหน่วยงานที่ระบุ พร้อม
รับฟงั รายละเอยี ดงาน ข้อแนะนําในการปฏบิ ตั ิงาน กฎระเบียบตา่ งๆ ของสถานประกอบการ

5.2.2 ในระหวา่ งสปั ดาห์แรกของการปฏบิ ัติงาน
นักศึกษาจะต้องส่งแบบแจ้งรายละเอียดการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (สก.นศ.03) มายังฝ่ายสหกิจ

ศึกษา เพอ่ื จัดส่งให้อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาสหกิจศกึ ษาได้ทราบถึงสถานท่ีปฏิบัติงาน พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา และ
หน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

22 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5.2.3 ในระหวา่ งสปั ดาห์ท่ี 2-3 ของการปฏิบตั ิงาน
นกั ศกึ ษาจะตอ้ งสง่ แบบแจง้ โครงร่างรายงานการปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษา (สก.นศ.05) มายังกลุ่มงาน

มาตรฐานวิชาการเพ่ือจัดส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาได้ตรวจสอบและให้คําแนะนํา ทั้งน้ีนักศึกษาสามารถ
เริ่มเขียนรายงานได้ทันที โดยอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาอาจจะให้คําแนะนําเพ่ิมเติมระหว่างการไปนิเทศงานก็
ได้ และในกรณีท่ีพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาไม่มีเวลาเขียนข้อมูลในแบบฟอร์มต่างๆ นักศึกษาอาจจะแก้ไข
ปัญหา โดยการสอบถามข้อมูลด้วยวาจาแล้วเป็นผู้เขียนข้อมูลด้วยตนเอง จากนั้นนําไปให้พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจ
ศึกษาตรวจและลงนามรับทราบ

5.2.4 การนิเทศงานสหกจิ ศึกษา
อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาซ่ึงเป็นอาจารย์ประจําสาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัดจะต้องเดินทางไป

นิเทศงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ อย่างน้อย 2 คร้ัง ระหว่างที่นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ
สถานประกอบการ โดยอาจจะไปนิเทศงานในช่วงระหว่าง สัปดาห์ท่ี 2 และสัปดาห์ที่ 16 ของการปฏิบัติงาน
สหกิจศึกษา ท้ังนี้อาจมีอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาท่านอื่นร่วมเดินทางไปนิเทศด้วยก็ได้สําหรับการนิเทศงาน
สหกิจศกึ ษามวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้

1. เพ่ือเปน็ การสร้างขวญั และกาํ ลงั ใจใหก้ ับนักศกึ ษาทก่ี ําลังปฏิบตั ิงานโดยลาํ พงั ณ สถาน
ประกอบการ ซึ่งนกั ศึกษาจะต้องอยู่หา่ งไกลครอบครัว เพือ่ น และคณาจารย์

2. เพอ่ื ดแู ลและติดตามผลการปฏิบัตงิ านของนกั ศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ของสหกิจศึกษา
3. เพือ่ ช่วยเหลอื นกั ศกึ ษาในการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ในระหว่างปฏบิ ัตงิ าน ท้งั
ปญั หาดา้ นวิชาการและปัญหาดา้ นการปรับตัวของนกั ศึกษาในการปฏิบัตงิ านจริง
4. เพอ่ื ขอรับทราบและแลกเปลยี่ นข้อคิดเหน็ กับผบู้ ริหาร/พนกั งานที่ปรึกษาในสถานประกอบการ
เกยี่ วกบั การปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษาในระบบสหกจิ ศึกษาตลอดจนการแลกเปลี่ยนความก้าวหน้าทางวิชาการซึ่งกัน
และกัน
5. เพ่อื ประเมินผลการดําเนนิ งาน และรวบรวมข้อมูลท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ วิทยาลยั ฯ และการ
ดําเนินงานสหกิจศึกษา

23 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

ขั้นตอนการนิเทศงานสหกจิ ศึกษา
 กลุ่มงานมาตรฐานวชิ าการ จะประสานงานกับอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาสหกจิ ศึกษาประจําสาขาวชิ า

ต่างๆ เพ่ือกําหนดแผนการนิเทศของสาขาวิชาโดยนักศึกษาทุกคนท่ีไปปฏิบัติงานจะต้องได้รับการนิเทศงานอย่าง
น้อย 2 คร้ัง ในระหวา่ งท่ีปฏบิ ัตงิ าน ณ สถานประกอบการ

 กลมุ่ งานมาตรฐานวิชาการ จะประสานงานกับสถานประกอบการพร้อมส่งแนบแจง้ ยืนยนั การ
ออกนิเทศงานนักศึกษาสหกิจศึกษา ไปยังสถานประกอบการเพ่ือนัดหมายวันและเวลาท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจ
ศึกษา จะเดนิ ทางไปนิเทศงานนักศึกษา ณ สถานประกอบการ

 กลุม่ งานมาตรฐานวชิ าการ จะรวบรวมแฟ้มประวตั นิ กั ศึกษา พร้อมรายละเอยี ดเกย่ี วกับสถาน
ประกอบการรายละเอียดงาน และความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา รวมท้ังเอกสาร
ข้อมูลอ่ืนๆ ท่ีจําเป็นส่งมอบให้อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาทําการศึกษาข้อมูลก่อนวันเดินทางอย่างน้อย 7 วัน
ทําการ

 อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาสหกิจศกึ ษาเดินทางไปนิเทศงานตามกาํ หนดนดั หมาย ซ่งึ การเข้านิเทศงาน
สหกิจศึกษานั้นควรได้พบปะพูดคุยกับพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา นักศึกษา และได้มีโอกาสหารือร่วมกันทั้ง 3
ฝา่ ย ระหวา่ งพนักงานทีป่ รกึ ษาสหกิจศกึ ษา อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาสหกิจศกึ ษาและนกั ศึกษา

 ภายหลงั การเดนิ ทางกลบั อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศกึ ษาจะตอ้ งประเมนิ ผลการนเิ ทศงานสหกิจ
ศึกษาทั้งครั้งท่ี 1 และคร้ังท่ี 2 ผ่านระบบออนไลน์ โดยทางกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการจะเป็นผู้ส่งข้อมูลในการทํา
แบบประเมนิ ใหก้ บั อาจารยท์ ป่ี รึกษาสหกิจศกึ ษา และอาจารยท์ ่ปี รึกษาจะต้องทําแบบประเมินส่งกลับมาให้กับทาง
กล่มุ งานมาตรฐานวชิ าการตามวันและเวลาที่กําหนด

5.2.5 การใหค้ าํ ปรึกษาของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกิจศกึ ษา
อาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาจะต้องติดตามนักศึกษาสหกิจศึกษาอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง

เพื่อให้คําแนะนํา ช่วยเหลือนักศึกษาในกรณีต่างๆ แก้ไขปัญหา และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึน โดยในการ
ติดตามนักศึกษาสหกิจศึกษานั้นจะต้องครอบคลุมทั้งในส่วนของชีวิตส่วนตัวความเป็นอยู่ และเกี่ยวกับงานท่ี
นักศึกษาปฏิบัติ ท้ังน้ีในการให้คําปรึกษาและติดตามน้ันอาจใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ อีเมล์ เครือข่าย Network
ตา่ ง ๆ เป็นต้น

24 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5.2.6 นกั ศกึ ษาตอ้ งสง่ รายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา
นกั ศึกษาตอ้ งส่งรายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศกึ ษาให้แก่พนักงานที่ปรกึ ษาสหกิจศึกษาอย่างนอ้ ย 2

สัปดาห์ก่อนเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานและจะต้องแก้ไขตามพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาแนะนําให้เรียบร้อย
หลังจากน้ันนักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับร่างให้กับทางอาจารย์ที่ปรึกษาหลังจากกลับมาจากสถานประกอบการ
(ไม่เกิน 1 สัปดาห์) เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจในส่วนของเน้ือหาของรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
หลังจากส่วนของเนอ้ื หาเรยี บรอ้ ยแล้ว นกั ศึกษาสหกิจศึกษาทุกคน จะต้องนําตัวท่ีแก้ไขจากอาจารย์ที่ปรึกษามาส่ง
ที่กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ เพ่ือทําการตรวจรูปแบบของเล่ม (การจัดหน้ากระดาษ การใส่เลขหัวข้อ และเลข
หน้าต่างๆ ) เพ่ือเป็นการแก้ไขเล่มรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นขั้นตอนสุดท้าย หลังจากทางกลุ่มงาน
มาตรฐานวิชาการได้ทําการตรวจรูปแบบการทําเล่มเรียบร้อยแล้ว นักศึกษาต้องนาํ บัตรส่งงานกลับไปให้อาจารย์ที่
ปรึกษาเซน็ อนุมตั ใิ นการเขา้ เลม่ ได้ หลังจากทนี่ กั ศกึ ษาไดท้ ําตามขั้นตอนและมลี ายเซน็ ครบทุกส่วนถือเป็นการเสร็จ
ส้นิ การส่งรายงานการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา

บตั รสง่ งาน   

 

5.2.7 การนําเสนอผลการปฏบิ ตั ิงานของนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา ณ สถานประกอบการ

ควรส่งเสริมและกระตุ้นให้นักศึกษาได้มีโอกาสนําเสนอผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาต่อผู้บริหาร

พนักงานที่ปรึกษาสหกิจศึกษา และบุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสถานประกอบการได้ร่วมรับฟังและให้

ข้อคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานของนักศึกษา โดยควรจัดให้มีข้ึนภายในสัปดาห์ท่ี 16 หรือเดือนสุดท้ายของการ

ปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษา

25 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5.2.8 การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา
พนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาซึ่งใกล้ชิดโดยตรงและกํากับดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจ

ศึกษาจะต้องให้ความเห็นโดยทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาตามแบบประเมินผลการ
ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (สก.สป.01) และบรรจซุ องพร้อมผนึกซองให้เรียบร้อย และนกั ศึกษานําซองส่งมอบแก่กลุ่ม
งานมาตรฐานวิชาการ ท้ังนี้ซองจะตอ้ งอย่ใู นสภาพทเี่ รียบรอ้ ยไม่มรี อ่ งรอยของการเปิดอย่างเดด็ ขาด
5.3 กระบวนการหลังการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา

5.3.1 การรายงานตวั ของนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
ภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการตามระยะเวลาท่ีกําหนด นัก

ศึกษาสหกิจศึกษาจะต้องเข้ารายงานตัวกับอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจําสาขาวิชาท่ีนักศึกษาสังกัด โดย
อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาจะสัมภาษณ์นักศึกษาถึงปัญหา อุปสรรคข้อคิดเห็นเก่ียวกับสถานประกอบการ การ
ดําเนินงานสหกิจศึกษา และให้คําแนะนําเก่ียวกับการเตรียมความพร้อมในการนําเสนอผลการปฏิบัติงานสหกิจ
ศกึ ษาต่อไปตามวนั เวลา ท่กี ล่มุ งานมาตรฐานวิชาการกําหนด

5.3.2 การนําเสนอผลการปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะกําหนดให้มีการนําเสนอผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา

สหกิจศึกษา ภายในสัปดาห์ที่ 18 หลังจากนักศึกษากลับจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาโดยมีอาจารย์ท่ีปรึกษา
สหกจิ ศกึ ษา อาจารย์ประจําสาขาวิชา นักศึกษาท่ีผ่านการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และนักศึกษาปัจจุบันท่ีสนใจเข้า
ร่วมรับฟัง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทั้งนี้จะมีการประเมินผลให้คะแนนการนําเสนอผลการปฏิบัติงานโดย
คณะกรรมการของคณะ/สาขาวิชา

5.3.3 การประเมนิ ผล
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะประสานงานกับผู้ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือทําการสรุปคะแนนในส่วนต่างๆ

เพือ่ ประเมินผลรายวิชาสหกิจศกึ ษาของนักศึกษาสหกิจศึกษา ตามเกณฑ์ที่ได้กาํ หนดไวใ้ นหลกั สูตรสหกจิ ศกึ ษา
5.3.4 การแจง้ ผลการประเมนิ การปฏบิ ัตงิ านของพนกั งานที่ปรกึ ษา
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการจะทําการรวบรวมผลการประเมินของพนักงานท่ีปรึกษาและทําการส่ง

ให้กบั อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศกึ ษาเพอื่ ทาํ การผลการศึกษาต่อไป และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับผลการประเมินการ
ปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา ท่ีได้จากพนักงานที่ปรึกษาสหกิจศึกษาทั้งหมด แจ้งให้นักศึกษาสหกิจศึกษา
ทราบเพอ่ื เป็นขอ้ มลู สําหรบั การพัฒนาตนเองและเตรียมความพร้อมในการกา้ วสู่สายงานอาชพี ต่อไป

26 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5.3.5 การแจ้งผลสะทอ้ นกลบั ไปยังสถานประกอบการ
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะทําแบบสอบถามนักศึกษาสหกิจศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจ

ศึกษาเกย่ี วกับสถานประกอบการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลแนะนําข้อมูลแจ้งกลับยังสถานประกอบการเพ่ือเป็นผลสะท้อน
กลับสําหรับการพฒั นาและปรบั ปรุงการดาํ เนินงานสหกิจศึกษารว่ มกันต่อไป

5.3.6 จดั ทาํ ฐานขอ้ มูล
กลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ จะดําเนินการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น ข้อมูลสถาน

ประกอบการ นกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา ผลงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา ปัญหา/อุปสรรค และข้อมูลอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง
ไว้เปน็ ฐานข้อมลู สําหรับการดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาตอ่ ไป

27 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

5.4 ข้ันตอนการศกึ ษาในระบบสหกจิ ศึกษา

แบบพิจารณาคณุ สมบัตนิ กั ศึกษาสหกิจศึกษา (สก.นศ01) เริม่ ตน้ กระบวนการ นักศึกษาลงทะเบยี นเรยี น
นักศึกษาสมคั รเขา้ รว่ มโครงการสหกจิ ศกึ ษา ตามปกติ

ตรวจสอบ ไม่ผ่าน ไม่ผา่ น
คณุ สมบตั ิขน้ั ต้น
แบบสํารวจและเสนองานสหกจิ ศึกษา (สก.02)
ใบสมัครงาน (สก.นศ.02) ผา่ น
แบบคาํ ร้องขอหนังสอื ขอความอนุเคราะห์รบั นักศกึ ษา
สหกจิ ศกึ ษา (สก.04) - นักศึกษากรอกแบบฟอร์มการสมัครงาน
แบบยนื ยนั การตอบรับนักศึกษาสหกิจศกึ ษา (สก.05) - นกั ศกึ ษาเลอื กสถานประกอบการ

ตรวจสอบคณุ สมบัติ
ขนั้ สดุ ท้าย

หนังสอื สัญญาการเขา้ รบั การปฏิบัติงาน ผ่าน
สหกจิ ศึกษา(สก.03)
อบรมเตรียมความพร้อมและปฐมนิเทศ
นกั ศึกษากอ่ นออกปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา

แบบแจง้ รายละเอยี ดการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศกึ ษา(สก.นศ.03) นกั ศกึ ษาออกปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา (16 สปั ดาห)์
แบบแจง้ แผนการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา (สก.นศ.04) นักศึกษานาํ เสนอผลการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา
แบบแจ้งโครงรา่ งรายงานการปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษา (สก.นศ.05)
แบบบนั ทึกรายงานการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศึกษา (สก.นศ.06) ประเมนิ ผล
แบบขออนมุ ัติการออกนิเทศนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา (สก.11) ผา่ น
แบบแจง้ ยนื ยนั การออกนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา (สก.12)
แบบประเมนิ ผลการนิเทศงานสหกิจศกึ ษา คร้ังที่ 2 (สก.อจ.02) นกั ศกึ ษาผ่านรายวชิ าสหกิจศกึ ษา

แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา (สก.สป.01) จบกระบวนการ
แบบประเมนิ ผลการนาํ เสนอผลการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา (สก.อจ.03)
แบบประเมนิ ผลรายงานการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา (สก.17)

28 |H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

บทท่ี 6

ข้อแนะนําและแนวปฏิบตั ิ

สําหรับนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา 

  บทท่ี 6 ขอ้ แนะนําและแนวปฏิบัติ สาํ หรบั นกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา
 

 

6.1 แนวปฏิบตั ิสําหรบั นกั ศึกษาสหกจิ ศึกษา
เพ่ือให้การเตรียมการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพ่ือให้

นักศึกษาสหกิจศึกษามีคุณสมบัติพร้อมที่จะไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ได้
กําหนดระเบียบใหน้ กั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาถอื ปฏิบัติในสว่ นที่เกี่ยวกับสหกจิ ศกึ ษา ดังน้ี

6.1.1 การขอเปล่ียนการปฏิบัติงาน เมื่อนักศึกษายื่นใบสมัครงานแล้วประสงค์จะขอเล่ือนการไป
ปฏิบัติงานให้ย่ืนคําร้องทั่วไป ขอเล่ือนการไปปฏิบัติงานต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา/หัวหน้าสาขาวิชา/
คณบด/ี ผู้ช่วยผู้อาํ นวยการกลุ่มงานมาตรฐานวิชาการ ก่อนวนั ประกาศผลการปฏบิ ตั งิ านในภาคการศึกษานัน้

6.1.2 เม่ือประกาศผลการคัดเลือกแล้ว นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานทุกคนจะลาออกหรือเลื่อนการออก
ปฏิบัตงิ านไมไ่ ด้

6.1.3 นักศกึ ษาทไี่ ปปฏบิ ตั งิ านแลว้ จะลาออกจากโครงการฯ หรือเลอื่ นเวลาไปปฏิบัติงานไม่ได้โดยเด็ดขาด
ยกเวน้ กรณีเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ เท่าน้นั

6.1.4 นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษาตามภาคการศึกษาปกติท่ีกําหนดโดย
คณะ/สาขาวิชา

6.1.5 การย่ืนขอคําร้องสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาที่ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาสามารถทําได้โดย
จะต้องปฏิบัติตามระเบียบ การลงทะเบียนเรียน และระเบียบการแจ้งขอสําเร็จการศึกษาตามท่ีวิทยาลัยฯ กําหนด
ไว้ วันสําเร็จการศึกษาของนักศึกษาที่ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเป็นภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนจบนั้น จะถือเอาวัน
ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ เป็นวันกําหนดที่นักศึกษาสําเร็จการศึกษา ท้ังนี้นักศึกษาจะต้องปฏิบัติกิจกรรมหลัง
ปฏิบตั งิ านสหกิจศกึ ษาใหค้ รบถว้ นตามกําหนดระยะเวลาท่ีกลมุ่ งานมาตรฐานวชิ าการ กําหนดไว้

29 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

6.2 การประกันสขุ ภาพและอุบัติเหตุสําหรับนักศึกษาสหกจิ ศึกษา
ทางวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้เล็งเห็นความสําคัญในเรื่องสุขภาพของนักศึกษา จึงได้จัดทําประกัน

อุบตั เิ หตกุ บั บริษทั วริ ยิ ะประกันภัย จาํ กดั ให้นกั ศกึ ษาทุกคนเพ่ือเปน็ สวัสดิการแก่นักศกึ ษา ดงั น้ี
6.2.1 นกั ศกึ ษาจะไดร้ บั การคมุ้ ครองอุบตั ิเหตุ ตลอด 24 ช่ัวโมง ตลอดปกี ารศกึ ษา
6.2.2 นักศึกษาจะได้รับค่าสินไหม ค่ารักษาพยาบาลของการประสบอุบัติเหตุ แต่ละคร้ังในวงเงินไม่เกิน

12,000 บาท และในกรณีเสียชวี ติ จะได้รบั ค่าตอบแทนในวงเงิน 120,000 บาท
6.2.3 นักศึกษาจะได้รับบัตรประกันอุบัติเหตุทุกคนโดยสามารถนําบัตรประกันอุบัติเหตุยื่นเพ่ือขอเข้ารับ

การรกั ษาตามโรงพยาบาล หรือตามโรงพยาบาลท่กี ําหนด โดยไมต่ อ้ งชาํ ระค่าใชจ้ า่ ยใดๆ เช่น
 โรงพยาบาลจฬุ ารตั น์ 1,3,9
 โรงพยาบาลเมืองสมทุ ร
 โรงพยาบาลสาํ โรงการแพทย์
 โรงพยาบาลศิครินทร์
 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี
 โรงพยาบาลอ่าวอุดม
 ฯลฯ
ในกรณที ี่นักศกึ ษาสาํ รองคา่ ใช้จา่ ยไปกอ่ น นกั ศึกษาสามารถตดิ ตอ่ ขอรับเงินคา่ สินไหมทดแทน โดยนาํ ใบ

เสรจ็ รับเงินพรอ้ มใบรับรองแพทย์ตวั จริง มายนื่ ขอรบั เงินคนื ได้ทหี่ ้องสาํ นกั การคลัง วิทยาลัยเซาธอ์ สี ท์บางกอก
ในเวลาทําการ ตัง้ แต่เวลา 08.00 – 17.00 น. โทร 02-7447356-65

30 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

6.3 การปฏิบัติตนในวนั ท่ีอาจารย์ทีป่ รึกษาเขา้ นิเทศครัง้ ที่ 2

 
 

6.4 การแตง่ กายของนกั ศกึ ษาระหวา่ งการปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษา
 นักศึกษาหญิง แต่งชุดนักศึกษาเรียบร้อย ตามที่วิทยาลัยกําหนด หรือ แบบฟอร์ตามที่สถาน
ประกอบการกําหนด ไม่สวมรองเทา้ แตะ หรือใสช่ ดุ ทไ่ี ม่เหมาะสมในทุก ๆ ลกั ษณะงาน
 นักศึกษาชาย แต่งชุดนักศึกษาเรียบร้อย ตามที่วิทยาลัยกําหนด หรือ แบบฟอร์มของสถาน
ประกอบการกาํ หนด ไมส่ วมกางเกงยีน และ รองเท้าแตะ

31 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

บทท่ี 7

การเขยี นรายงานการปฏบิ ัตงิ าน

  บทท่ี 7 การเขียนรายงานการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศึกษา
 

มาตรฐานสหกิจศึกษาด้านนักศึกษาได้กําหนดมาตรฐานให้นักศึกษาจะต้องจัดทําและส่งรายงานการ
ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเมื่อส้ินสุดระยะเวลาการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ดังน้ัน การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน
สหกจิ ศกึ ษาจึงเปน็ กิจกรรมบังคับของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาสําหรับนักศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อฝึกฝน
ทักษะด้านการส่ือสาร (Communication Skill) ของนักศึกษาและเพ่ือจัดทําข้อมูลท่ีเป็นประโยชนส์ ําหรับสถาน
ประกอบการ

7.1 รูปแบบการเขียนรายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษา

รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (Co-op Report) เป็นรายงานทางวิชาการท่ีเกี่ยวข้องกับผลงานวิจัย
หรือโครงงานหรือรายงานการปฏิบัติงานที่นักศึกษาปฏิบัติหรือท่ีได้รับมอบหมาย ซ่ึงนักศึกษาจะต้องเขียนใน
ระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการภายใต้การกํากับดูแลของพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา (Job
Supervisor) อย่างไรก็ตามนักศึกษาควรขอรับคําปรึกษาจากพนักงานท่ีปรึกษาสหกิจศึกษาเพ่ือร่วมกันพิจารณา
กําหนดหัวข้อรายงานท่ีมีคุณภาพ เหมาะสมสอดคล้อง โดยคํานึงถึงความต้องการและประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนต่อ
สถานประกอบการเปน็ หลักสอดคลอ้ งกับความสนใจของนกั ศกึ ษาและสามารถสะทอ้ นองค์ความรู้ในสาขาวชิ า ท้ังนี้
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาอาจจะจัดทําเป็นกลุ่มมากกว่า 1 คนก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานปริมาณ
คณุ ภาพของงาน ตวั อยา่ งของหัวข้อรายงาน ไดแ้ ก่

7.1.1 ผลงานวจิ ัยท่นี กั ศึกษาปฏบิ ตั ิ
7.1.2 โครงงานหรือชนิ้ งานทน่ี ักศึกษาปฏิบตั ิ
7.1.3 รายงานการปฏิบตั งิ านทไ่ี ด้รบั มอบหมายใหป้ ฏบิ ัติ
7.1.4 รายงานวิชาการที่นักศึกษาสนใจซึ่งสอดคล้องกับสาขาวิชาและได้รับการรับรองท้ังจากพนักงานที่
ปรกึ ษาสหกิจศึกษาและอาจารยท์ ปี่ รึกษาสหกิจศกึ ษา
7.1.5 การสรปุ ขอ้ มลู หรอื สถติ ิบางประการทเี่ กย่ี วขอ้ งและสะท้อนองค์ความรใู้ นสาขาวิชา
7.1.6 การวิเคราะห์และประเมินผลขอ้ มลู เป็นตน้
ภายหลังจากการร่วมพิจารณากําหนดหัวข้อรายงานกับพนักงานที่ปรึกษาสหกิจศึกษาได้เรียบร้อยแล้ว
นักศึกษาจะต้องจัดทําโครงร่างเน้ือหารายงานตามแบบแจ้งโครงร่างรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (สก.09)

32 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

และจดั ส่งขอ้ มลู ดงั กลา่ วมาท่ีกลมุ่ งานมาตรฐานวิชาการ ฝ่ายสหกิจศึกษาภายในสัปดาห์ท่ี 3 เพ่ือจัดส่งให้อาจารย์ท่ี
ปรึกษาสหกจิ ศึกษาต่อไป

อยา่ งไรกต็ ามในการเขียนรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษาที่ดีจะต้องมีความถูกต้องชัดเจน กระชับ และ
มีความสมบรู ณข์ องเน้อื หาทีจ่ ะนําเสนอ สําหรบั รปู แบบของรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษาจะต้องประกอบดว้ ย
หัวขอ้ ต่างๆ ดงั น้ี

1.สว่ นนํา เป็นสว่ นประกอบตอนตน้ ของเลม่ รายงานการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษาก่อนที่จะเข้าถึงเน้ือหาของ
รายงาน ทั้งน้ีเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาและเข้าถึงรายละเอียดเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ของรายงาน โดยในส่วนนําจะ
ประกอบด้วย

 ปกนอก
 ปกใน
 จดหมายนาํ สง่ รายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษา
 หน้าอนมุ ัติรายงานการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา
 กิตตกิ รรมประกาศ
 บทคัดย่อภาษาไทย หรอื ภาษาอังกฤษ
 สารบญั เรอื่ ง
 สารบญั ตาราง
 สารบัญภาพ
2. ส่วนเนอื้ หา เปน็ สว่ นสาํ คัญท่สี ดุ ของรายงานท่นี กั ศกึ ษาจะตอ้ งเขียนรายงานข้อมูลรายละเอียดเกี่ยว
กับเกย่ี วกับการไปปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา ณ สถานประกอบการ โดยรายละเอยี ดในส่วนเน้อื เรือ่ งประกอบดว้ ย
บทท่ี 1 บทนํา โดยเนื้อหาในบทน้ีจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลรายละเอียดของสถานประกอบการที่
นกั ศกึ ษาไปปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา และรายละเอียดเก่ียวกับงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ปฏบิ ตั ิ เชน่
 หลกั การและเหตผุ ล ของการปฏิบัตงิ านสหกจิ ศึกษาหรือของโครงงานท่นี กั ศกึ ษาไดร้ บั
มอบหมายใหป้ ฏบิ ัติ
 วัตถปุ ระสงค์หรือจดุ มุ่งหมายของการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษาหรอื โครงงานท่ไี ด้รับมอบหมาย
โดยนักศึกษาอาจขอรับคําปรึกษาจากพนักงานที่ปรึกษาสหกิจศึกษาเพื่อกําหนดว่าตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน
นกั ศึกษาจะต้องไดร้ ับผลสําเรจ็ อะไรบ้างจากการปฏิบัติงานในหนา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

33 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

 ขอบเขตของการปฏิบัตงิ าน/โครงงาน โดยเป็นการระบวุ ่างานท่ีปฏิบัตหิ รอื โครงงานนนั้
ครอบคลมุ เน้อื หาเปา้ หมาย ระยะเวลาในการดาํ เนินงานอย่างไร

 ขอ้ มลู เก่ียวกบั สถานประกอบการและงานทน่ี ักศึกษาได้รับมอบหมาย อาทิ
 ชือ่ และท่ีตัง้ ของสถานประกอบการ
 ลกั ษณะการประกอบการ ผลิตภณั ฑ/์ ผลติ ผล หรือการให้บริการหลกั ขององค์กร
 รูปแบบการจัดองคก์ รและการบริหารงานขององค์กร
 ตําแหนง่ และลกั ษณะงานทนี่ ักศึกษาได้รบั มอบหมายใหร้ ับผิดชอบ
 พนักงานที่ปรึกษาสหกจิ ศึกษา และตําแหนง่ งานของพนักงานท่ปี รึกษาสหกจิ ศึกษา
 ระยะเวลาทีป่ ฏิบัตงิ านสหกิจศึกษา
 ผลทีค่ าดว่าจะได้รับจากการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษาหรือโครงงานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

บทที่ 2 รายละเอยี ดการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา เนอ้ื หาในบทนีจ้ ะเป็นรายละเอียดของลกั ษณะ
งานและขั้นตอนการปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน โดยนักศึกษาจะต้องเขียนอธิบายการ
ปฏิบัติงานอยา่ งละเอียด ชัดเจน พร้อมแสดงภาพ แผนภูมิ ตาราง แบบฟอร์ม ต่างๆ ที่จําเป็นและเกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงาน ในกรณีงานท่ีปฏิบัติมีการคํานวณจะต้องแสดงหลักการคํานวณท่ีชัดเจนถูกต้อง หากเป็นโครงงานหรือ
งานประจําท่ตี ้องทําในหอ้ งปฏิบัติการทดลอง จะต้องอธบิ ายเครือ่ งมือปฏิบัตกิ ารทใ่ี ช้ดว้ ย

บทที่ 3 สรุปผลการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา เนอื้ หาในบทนจ้ี ะเป็นการสรุปข้อมูลที่มีความจําเป็น
สาํ หรบั การวเิ คราะห์ โดยนาํ ข้อมลู เหล่าน้ันมาทําการวเิ คราะหโ์ ดยอ้างอิงหลักวชิ าการทีเ่ กยี่ วข้องประกอบ รวมท้ังมี
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยเน้นในด้านการนําไปใช้ประโยชน์ได้ใน
อนาคต และสรุปผลท่ีนักศึกษาได้รับจากการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย รวมท้ัง
ประโยชน์ท่ีนักศึกษาไดร้ ับจากการไปปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศึกษา ณ สถานประกอบการทงั้ หมด

บทที่ 4 ปัญหาและข้อเสนอแนะ เนื้อหาในบทนี้จะบอกถึงปัญหาและอุปสรรคจากการ
ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เช่น ระบบการทํางาน , วัฒนธรรมขององค์กร , ความรู้สึกในการร่วมงานกับหัวหน้างาน

34 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

พนักงานที่ปรึกษาสหกิจศึกษา หรือเพื่อนร่วมงานอ่ืนๆ รวมถึงอาจารย์ท่ีปรึกษาสหกิจศึกษา หรือปัญหาต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกบั การปฏบิ ตั ิงานสหกิจศกึ ษา พร้อมท้งั ขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ

3.สว่ นประกอบตอนทา้ ย เป็นส่วนเพมิ่ เติมเพอ่ื ทําให้รายงานมคี วามสมบูรณม์ ากยิ่งข้นึ ประกอบดว้ ย
 เอกสารอา้ งอิงหรอื บรรณานุกรม
 ภาคผนวก (ตอ้ งมี)
- ใบรบั รองการปฏบิ ัติงานสหกิจศกึ ษา (จากสถานประกอบการ)
- แบบบันทกึ การปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา (16 สัปดาห์)
- รูปถ่ายอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาสหกจิ ศึกษา (ตอนไปนิเทศ)
- รปู ถา่ ยนักศึกษาสหกจิ ศึกษาขณะปฏบิ ัติงาน

เพือ่ ใหก้ ารเขียนรายงานการปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาของนักศึกษามรี ูปแบบและเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน จึง
ขอกาํ หนดการจัดทํารปู เล่มรายงานการปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษาโดยใช้รปู แบบดงั ตอ่ ไปน้ี

จดั พิมพบ์ นกระดาษขนาดมาตรฐาน A4 สีขาวสภุ าพ โดยจัดพมิ พ์หนา้ เดียว
จัดพมิ พ์ด้วยรปู แบบตวั อกั ษร THSarabunNew ขนาดตัวอกั ษร 16 ปกติ และขนาด
ตวั อกั ษร 20 หนา สําหรบั บทท่ี และ ช่ือของบทแต่ละบท
จดั พิมพ์ในแนวตง้ั เป็นหลัก โดยอาจจะมีรูปภาพหรอื ตารางแสดงในแนวนอนไดต้ าม
ความจาํ เป็นของข้อมลู ท่ีจะต้องนําเสนอ
การเว้นขอบกระดาษกาํ หนดให้มีรูปแบบ ดังน้ี

- ขอบบน 1.5 น้ิว
- ขอบล่าง 1.0 นวิ้
- ขอบซา้ ย 1.5 น้ิว
- ขอบขวา 1.0 นว้ิ

การตงั้ Tab
- ตําแหน่งของ Tab หยุด 1.6 , 2.06 , 2.54 , 3.02 , 3.5 และ Tab เร่ิมต้น
1.6 ซม.

35 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 

ความหนาของรายงานประมาณตอ้ งไม่ต่ํากว่า 40-70 หน้า ไม่รวมส่วนนําและภาคผนวก
และตอ้ งระบเุ ลขหน้าดา้ นขวามุมบนของกระดาษ

ปกนอกของรายงานให้ใช้ปกแข็งสมี ่วงออ่ นไม่มีลวดลาย
การเขา้ เลม่ รายงานใหเ้ ข้าเล่มแบบสันกาวเทา่ นั้น
ให้นกั ศึกษาจดั ทําบทความสหกจิ ศกึ ษา (ตามรูปแบบทีก่ าํ หนด) หลังจากรายงานฉบับ
สมบรู ณเ์ สร็จเรียบร้อย
บันทึกเน้อื หาทง้ั หมด ประกอบดว้ ย รายงานฉบับสมบรู ณ์ และ บทความสหกิจศึกษา
ใส่ CD

7.2 หลกั การเขยี นกติ ติกรรมประกาศ
การเขียนกิตติกรรมประกาศ เป็นการเขียนเพ่ือกล่าวขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลือ/

สนับสนุน ในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ผู้ให้คําปรึกษา ตรวจทานผู้ช่วยให้ข้อมูล รวบรวมข้อมูล
วิเคราะหข์ อ้ มลู ตลอดจนผู้สนบั สนุนแหลง่ ทนุ
7.3 การเขียนบทคัดย่อ

 หลกั การเขยี นบทคดั ย่อ
บทคัดย่อ (Abstract) หมายถึง ส่วนท่ีแสดงเน้ือหาสําคัญของเอกสารโดยย่อ โดยท่ัวไปมักจะเขียนอยู่ต่อ

จากชอ่ื เร่ือง บทคัดย่อมักจะมีลักษณะ ดงั นค้ี อื
1. เขยี นยอ่ ทุกส่วนทเี่ กย่ี วขอ้ งกับงานท่ปี ฏบิ ัติ โดยเขยี นส่งิ ท่ีผ้อู ่านควรได้ทราบจากงานของเราโดยควร
เรยี งลําดบั เชน่ เดียวกบั ในเนอ้ื หา
2. เม่อื ผู้อ่านอ่านบทคดั ย่อจบแล้ว ต้องมองภาพรวมของงานทป่ี ฏบิ ตั ิทั้งหมด ส่วนรายละเอียดนนั้ ผูอ้ า่ น
สามารถตดิ ตามอ่านไดใ้ นเลม่ รายงาน
3. บทคดั ย่อไม่ควรยาวจนเกนิ 1-2 หนา้ กระดาษ A4 เพราะอาจทําให้เวลาในการอ่านส่วนอน่ื ลดลงใน
บทคดั ยอ่ ไมม่ ตี าราง รูปภาพ หรอื การอา้ งอิงใดๆ
4. ไม่มสี ว่ นของขอ้ มูลหรือแนวคิดอน่ื ท่ีอยนู่ อกเหนอื จากในเนือ้ หาของรายงาน
 ประเภทของบทคดั ย่อ บทคัดยอ่ มี 2 ประเภท คือ

36 | H a n d b o o k   C o o p e r a t i v e   E d u c a t i o n  
 


Click to View FlipBook Version