The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

77ปีสำนักเลขาธิการคุรุสภา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-02 21:58:37

77ปีสำนักเลขาธิการคุรุสภา

77ปีสำนักเลขาธิการคุรุสภา

2 มนี าคม 2565

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 93

2 มนี าคม 2565

สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

ประธานกรรมการคุรสุ ภา

เน่ืองในโอกาสครบรอบ 77 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

(นางสาวตรนี ุช เทียนทอง) เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 77 ปี ส�ำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา วนั ที่ 2 มนี าคม 2565
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ดิฉันขอส่งความปรารถนาดี และชื่นชมมายังผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าที่ส�ำนักงาน
เลขาธิการคุรุสภา รวมทั้งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกท่าน
ประธานกรรมการคุรสุ ภา ท่ีได้ทุ่มเทก�ำลังความสามารถในการขับเคล่ือนงานคุรุสภาให้เกิดผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรม
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ตลอดปที ่ผี า่ นมา

ตลอดระยะเวลา 77 ปี คุรุสภามีบทบาทส�ำคัญในการท�ำหน้าท่ีในฐานะ
สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ใหส้ งั คมวา่ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู
และบุคลากรทางการศึกษา มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ความสามารถ
ตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี อยา่ งแทจ้ รงิ เพราะครเู ปน็ หวั ใจสำ� คญั
ในการพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาครูจึงเป็นหลักการส�ำคัญประการหน่ึงของการปฏิรูป
การศึกษา โดยการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ ผู้มสี มรรถนะ มีศักยภาพ
และมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพภายใต้สถานการณ์และ
บรบิ ททแ่ี ตกตา่ งกนั ของแตล่ ะพนื้ ท่ี เพราะการศกึ ษาเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ยง่ิ ในการพฒั นาคน
เพือ่ การพัฒนาประเทศทยี่ ัง่ ยืน

รฐั บาล และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใหค้ วามสำ� คญั กบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
มีการก�ำหนดนโยบายการศึกษาซ่ึงมีนักเรียนเป็นเป้าหมายของการพัฒนาให้ได้รับ
การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือเตรียมก�ำลังคน พัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย
ให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
มีทกั ษะที่จำ� เป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 ควบคูก่ ับส�ำนกึ และความเขา้ ใจในความเป็นไทย
มีความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกได้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทำ� ใหร้ ปู แบบการเรยี นการสอนที่เปล่ยี นไป
จงึ เปน็ ความทา้ ทายในการสรา้ งคณุ ภาพการจดั การเรยี นรเู้ พมิ่ มากขน้ึ ซง่ึ ความสำ� เรจ็ เหลา่ น้ี
ดฉิ ันเชือ่ ว่าจะมาจากความทุม่ เทของครูและบุคลากรทางการศึกษา และผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ ง

ในโอกาสครบรอบ 77 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาน้ี ดฉิ นั ขออำ� นาจคณุ พระศรรี ตั นตรยั
และอำ� นาจของสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ งั้ หลาย ตลอดจนพระบารมแี หง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ได้โปรดดลบันดาลประทานพรให้ทุกท่าน
ประสบแตค่ วามสขุ ความสำ� เรจ็ ความเจรญิ เพอ่ื รว่ มกนั เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการขบั เคลอื่ น
ภารกิจของครุ สุ ภาและการศึกษาของชาตใิ หเ้ จรญิ ก้าวหน้าและยัง่ ยืนสืบไป

2 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

สารเลขาธกิ ารคุรุสภา

เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 77 ปี

ส�ำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา

ตลอดระยะเวลา 77 ปี ครุ สุ ภาไดท้ ำ� หนา้ ทใ่ี นฐานะสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ในการด�ำเนินงานตามบทบาทภารกิจ และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการพัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษาและการคัดกรองคนเข้าสู่วิชาชีพ การพัฒนางาน
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา การสง่ เสรมิ ยกยอ่ งและผดงุ เกยี รตผิ ปู้ ระกอบวชิ าชพี
ทางการศึกษา ให้มีคุณภาพเพ่ือการประกอบวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง การก�ำกับดูแล
การปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี และการพฒั นาระบบบรหิ าร
จดั การโดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม มเี ปา้ หมายมงุ่ สกู่ ารเปน็ ครุ สุ ภายคุ SMART DIGITAL
ทเ่ี ปน็ เลศิ ด้านการบรกิ ารวิชาชีพทางการศึกษา ดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศทสี่ มยั ใหม่
ความส�ำเร็จในการขับเคล่ือนบทบาทภารกิจของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ในรอบปี 2564 เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าท่ี
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ร่วมกับเครือข่าย ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ท�ำให้งานของคุรุสภาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
มผี ลการดำ� เนนิ งานทสี่ ำ� คญั ดงั นี้
การปรับเปล่ียนเป็นรูปแบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ที่สามารถตรวจสอบ และพมิ พใ์ บอนุญาตอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ผา่ นระบบ KSP
Self - Service รวมท้ังสามารถตรวจสอบ โดยการสแกน QR Code บนใบอนุญาต
อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากน้ี ได้มีปรับการให้บริการด้านใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (รองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์)
ทางการศึกษา เป็นรูปแบบออนไลน์ 100% จัดการทดสอบและประเมินสมรรถนะ เลขาธิการครุ ุสภา

ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู ดา้ นความรแู้ ละประสบการณว์ ชิ าชพี เปน็ ครงั้ แรก ประจำ� ปี 2564
ระหว่างวันที่ 20 - 21 กุมภาพันธ์ 2564 จ�ำนวน 5 วิชา สถานที่จัดทดสอบ 6 แห่ง
ท่ัวประเทศ เปิดใช้งานแอปพลิเคชัน “Khuru On Mobile By Khurusapha”
แอปพลิเคชันส�ำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อไม่พลาด ทุกข้อมูลส�ำคัญ
เปน็ การอำ� นวยความสะดวกในรปู แบบ Mobile Application เปน็ ตน้ ทำ� ใหผ้ ลการประเมนิ
ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาในรอบปี 2564 อาทิ การเปดิ เผยขอ้ มลู สาธารณะ (OIT)
ผา่ นการประเมนิ ระดบั มาตรฐาน 97.24 คะแนน การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำ� เนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) มผี ลคะแนน 93.25 คะแนน อยู่ในระดบั A
และการส�ำรวจความพึงพอใจของผู้รบั บริการตอ่ การให้บรกิ าร ของส�ำนกั งานเลขาธิการ
คุรสุ ภา รอ้ ยละ 93.80
ในโอกาสครบรอบ 77 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา วันท่ี 2 มีนาคม 2565
ผมขอขอบคุณผู้บริหารและพนักงานเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เครือข่าย
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และผ้ทู ่เี กยี่ วข้องทุกทา่ น ทีม่ ่งุ มน่ั ขับเคลอื่ นงานครุ ุสภา
ใหเ้ กดิ ผลสำ� เรจ็ เปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ เพอ่ื พฒั นาผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
และการศกึ ษาของชาติให้เจรญิ ก้าวหน้ายง่ั ยืนสืบไป

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 3

วสิ ยั ทัศน (Vision)

ครุ ุสภาเปนองคก รวิชาชีพที่มีระบบและกลไก ในการสงเสริม
สนับสนุน เชอ่ื มโยง การผลิต การคัดกรอง และพฒั นา
ผปู ระกอบวชิ าชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ
ไดม าตรฐานสากล

พนั ธกจิ (Mission)

1. พัฒนามาตรฐานวิชาชพี และกำกบั ดแู ล การประกอบวชิ าชพี
2. พฒั นาวิชาชีพและสงเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา

ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. ประสาน สง เสริม การศึกษาและวิจยั เก่ียวกบั การประกอบวชิ าชพี
4. พฒั นาระบบบริหารจัดการโดยใชเ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม

คานิยม (Values)

เรียนรูในงาน บรกิ ารดวยใจ กาวไปอยา งมสี วนรว ม

4 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

การ ัขบเค ่ลือน ุยทธศาสต ร การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร

ยุทธศาสตรท ี่ 1 เปา หมายที่ 1 ผเู รยี นไดเ รียนรูก บั ผูประกอบวชิ าชีพครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาทม่ี จี ติ วญิ ญาณของความเปนครู
การพัฒนามาตรฐาน มีความรูค วามสามารถอยา งแทจรงิ
วิชาชีพทบี่ งชีร้ ะดับคณุ ภาพ
ของสมรรถนะและจติ วิญญาณ เปา หมายที่ 2 ผเู ขา สวู ชิ าชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
เปนผูมีจิตวญิ ญาณของความเปน ครู
ความเปนครแู ละบคุ ลากร มีความรู ความสามารถอยางแทจริง
ทางการศึกษา

ยุทธศาสตรท ่ี 2 เปาหมายที่ 1 ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพฒั นา
เปา หมายท่ี 2 อยางเปน ระบบ
พัฒนาระบบและกลไก
ในการสงเสริม สนบั สนุน มรี ะบบและกลไกในการเช่ือมโยง การผลติ
เชื่อมโยง การผลติ การคดั กรอง การคัดกรอง และการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
และการพัฒนาครู

ยุทธศาสตรท ่ี 3 เปา หมายที่ 1 มอี งคค วามรูและนวัตกรรมเพ่ือการประกอบวชิ าชีพครู
เปาหมายที่ 2 และบุคลากรทางการศึกษาท่มี ีคุณภาพในระดับสากล
ประสาน สง เสริม ศกึ ษา
และวิจัยเกีย่ วกบั ผูประกอบวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
มแี หลง เรยี นรแู ละนวตั กรรมเพ่อื การประกอบวิชาชีพ
การประกอบวิชาชพี ท่ีมีคุณภาพ
และพฒั นาวิชาชพี

ยุทธศาสตรท่ี 4 เปา หมายที่ 1 ระบบบรหิ ารจดั การมปี ระสิทธิภาพ ใชท รพั ยากรอยา งคมุ คา
เปา หมายท่ี 2 ตรวจสอบได มงุ เนน การมีสว นรว มจากทุกภาคสว น
การเรง พฒั นาระบบบริหารจัดการ เปาหมายที่ 3
พึง่ พาตนเองได มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมท่เี หมาะสม
ที่มปี ระสทิ ธิภาพ เปาหมายที่ 4 ในการใหบริการ

โดยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เปาหมายที่ 5 คาใชจ ายดา นบคุ ลากรไมเ กนิ รอ ยละ 30 ของงบประมาณ
ทค่ี ณะกรรมการอนุมตั ิหรอื ควบคมุ คา ใชจา ยดา นบคุ ลากร
ทเ่ี หมาะสมและมีธรรมาภบิ าล ไมใ หสงู ขน้ึ

บคุ ลากรมสี มรรถนะรองรบั ตอ การเปลยี่ นแปลง
มีขวญั กำลังใจในการปฏิบัติงานมีสมดุลชวี ิตและการทำงาน
(Work - Life Balance)

องคกรมีความยดื หยนุ ไมย ดึ ตดิ ระบบราชการ
เปน สำนกั งานสมยั ใหม

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 5

คำ� น�ำ

นับย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2488 วันสถาปนาส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ก�ำหนดข้ึนโดยยึดจากวันที่นายทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานกรรมการคุรุสภาในขณะน้นั ลงนามค�ำสั่งแต่งตง้ั ข้าราชการในกระทรวงศกึ ษาธิการ
มาเป็นเจ้าหน้าท่ีเพ่ือเริ่มปฏิบัติงานของส�ำนักงานเลขาธิการ คุรุสภาตามมาตรา 9
แห่งพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 จึงก่อเกิดส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาข้ึน
อย่างสมบูรณ์ และแม้ว่าคุรุสภาจะปรับเปลี่ยนมาเป็นสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 แต่ยังคงยึดเอา
วันที่ 2 มนี าคม เป็นวนั คลา้ ยวนั สถาปนาส�ำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา สบื ตอ่ มาจนถึงปจั ุบัน

2 มีนาคม 2565 ในโอกาสครบรอบ 77 ปี ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ร่วมกับ
เครอื ขา่ ยทงั้ ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน รว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นบทบาทภารกจิ ครุ สุ ภา
ตามหลกั การทวี่ า่ “มงุ่ สรา้ งครุ สุ ภาองคก์ รดจิ ทิ ลั เรง่ รดั วางระบบ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ยกระดบั
วิชาชพี ครูใหม้ มี าตรฐาน และจรรยาบรรณเปน็ ทีย่ อมรบั ” มเี ป้าหมายม่งุ สู่การเปน็ คุรุสภา
ยคุ SMART DIGITAL ทเ่ี ปน็ เลศิ ดา้ นการบรกิ ารวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ท่สี มัยใหม่

ในวาระครบรอบ 77 ปี สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา สำ� นกั งานไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื เลม่ นขี้ น้ึ
เพื่อรวบรวมประวัติความเป็นมาของคุรุสภาและส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา อำ� นาจหน้าท่ี
ล�ำดับเหตุการณ์ท่ีสำ� คัญ และความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของสำ� นักงานเลขาธิการคุรุสภา
ในรอบปี 2564 เพื่อเป็นท่ีระลึกและเป็นร่องรอยผลการด�ำเนินงานท่ีเป็นประโยชน์
ตอ่ การพฒั นางานของสำ� นักงานเลขาธิการครุ ุสภาต่อไป
สำ� นกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา
2 มนี าคม 2565

6 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

สารบญั

2 | สารรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
3 | สารเลขาธกิ ารคุรุสภา
4 | วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ คา่ นยิ ม
5 | การขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์
8 | ประวตั คิ วามเปน็ มาของครุ สุ ภา
10 | บรู พาจารยผ์ ้สู ร้างคณุ ปู การตอ่ คุรสุ ภา
11 | สญั ลักษณข์ องคุรุสภา
12 | ประวตั สิ �ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
15 | หนา้ ที่ของสำ� นักงานเลขาธิการคุรสุ ภา
16 | ทำ� เนียบเลขาธิการครุ ุสภา
18 | ทำ� เนียบรองเลขาธิการคุรุสภา
21 | โครงสรา้ งการจัดแบง่ ส่วนงานของส�ำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา
22 | ลำ� ดบั เหตุการณ์ส�ำคญั ของส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

ปี พ.ศ. 2564
27 | ผลงานเด่น 2564
69 | คณะผู้บรหิ ารและพนักงานเจา้ หนา้ ที่

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 7

คุรุสภามีประวัติอันยาวนาน เริ่มต้ังแต่เสนาบดีคนแรก ในปีต่อมา พ.ศ. 2446 ได้ย้ายสโมสรน้ีข้ามฟากมายัง
ของกระทรวงศึกษาธิการ เจ้าพระยาภาสกีวงศ์ (พร บุนนาค) ฝงั่ พระนคร โดยตั้งอย่ใู นโรงเรยี นมัธยมวดั ราชบรู ณะ (โรงเรยี น
ไดจ้ ดั ตงั้ “วทิ ยาทานสถาน” ขน้ึ ในกรงุ เทพมหานคร เมอื่ พ.ศ. 2438 สวนกุหลาบปัจจุบัน) และในปี พ.ศ. 2447 จึงได้จัดต้ังเป็น
ท�ำการฝึกอบรมครู โดยให้นายสนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา รปู สมาคมทส่ี มบรู ณ์ ชอ่ื วา่ “สามคั ยาจารยส์ มาคม” โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
(เจ้าพระยาธรรมศกั ดม์ิ นตร)ี เป็นผู้ใหก้ ารอบรม อีก 5 ปี ต่อมา ใหญ่ 3 ประการ คอื การใหส้ มาคมนเ้ี ปน็ แหลง่ วทิ ยาการของครู
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 วิทยาทานสถานได้ย้ายมาต้ังท่ี อาจารย์ เปน็ ทส่ี งั สรรคส์ โมสรของครอู าจารย์ โดยเฉพาะครรู นุ่ ใหม่
วัดใหม่วินัยช�ำนาญ (วัดเทพพลู) แขวงบางกอกน้อย ธนบุรี ให้ได้ฝึกหัดการสมาคม และให้เป็นสโมสรกีฬา ดนตรีและ
โดยใชช้ อื่ วา่ “สภาไทยาจารย์” การบันเทิงของครูสมาคมน้ีมีท้ังกรรมการโดยต�ำแหน่ง และ
กรรมการโดยเลอื กตงั้ จากครู
ปี 2445 ย้ายมาต้ังที่โรงเรียนทวีธาภิเศก ในบริเวณ
วัดอรุณราชวราราม จังหวัดธนบุรี ให้ชื่อว่า “สามัคยาจารย์ ในปี พ.ศ. 2447 สามัคยาจารย์สมาคมได้รับช่วง
สโมสรสถาน” โดยมีเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี เอาหนงั สอื พมิ พ์ วทิ ยาจารย์ ซง่ึ เดมิ ออกโดยโรงเรยี นฝกึ หดั อาจารย์
(ม.ร.ว.เปยี มาลากลุ ) ซงึ่ สมยั นนั้ ยงั มบี รรดาศกั ดเิ์ ปน็ พระยาวสิ ทุ ธ มาเป็นหนังสือของสมาคมและให้สมาชิกของสมาคมมีสิทธิ
สุริยศกั ด์ิ อธบิ ดีกรมศึกษาธกิ าร เป็นสภานายกคนแรก ได้รับหนังสือวิทยาจารย์ หนังสือวิทยาจารย์น้ีนับเป็นนิตยสาร
รายเดือนทางวิชาชพี ท่ีเก่าย่งั ยืนนานทีส่ ุดฉบบั หนง่ึ มาจนบดั น้ี

สามคั ยาจารยส์ มาคมในสมยั นน้ั จงึ เปน็ สมาคมวชิ าชพี ครู
อันมีเกียรติและเกียรติคุณของสมาคมก็ยิ่งสูงเด่นย่ิงขึ้น
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังด�ำรง
พระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้า
มหาวชริ าวธุ สยามมกฎุ ราชกมุ าร มพี ระมหากรณุ าธิคุณทรงรับ
สามคั ยาจารยส์ มาคมไว้ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เมอ่ื พ.ศ. 2448

8 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

ปี พ.ศ. 2489 ซึ่งเขียนไว้ในหนังสือพิมพ์วิทยาจารย์ เมื่อวันท่ี 16 เมษายน 2558 ได้มีค�ำสั่งหัวหน้า
ผู้ก่อต้ังคุรุสภา นายทวี บุณยเกตุ อดีตนายกรัฐมนตรี และ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 7/2558 เรอ่ื ง การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ของคณะกรรมการครุ สุ ภา คณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการ
เมอ่ื มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 2488 บริหารองค์การค้าของส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
จัดต้ัง “คุรุสภา” ขึ้นเป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดยที่คุรุสภามีวัตถุประสงค์และความมุ่งหมายกว้างขวาง โดยให้กรรมการคุรุสภาแห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร
ครอบคลมุ กจิ การของสมาคมมาเปน็ ครุ สุ ภา และใหจ้ ดั ตง้ั สโมสร ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ซงึ่ อยใู่ นวนั กอ่ นวนั ทค่ี ำ� สง่ั นใ้ี ชบ้ งั คบั
สามคั ยาจารย์สมาคมขึ้นใหมเ่ ป็นแผนกหนง่ึ ของครุ สุ ภา พ้นจากต�ำแหน่ง และมิให้มีการแต่งตั้งบุคคลข้ึนมาแทนท่ี
โดยให้คณะกรรมการคุรุสภาตามกฎหมายว่าด้วยสภาครูและ
คุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 บคุ ลากรทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง
มหี ลกั การ 3 ประการคอื 1) เพอื่ เปน็ สภาทปี่ รกึ ษาของกระทรวง ศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีช่วยว่าการ
ศึกษาธิการ 2) เพ่ือช่วยฐานะครู 3) เพ่ือให้ครูปกครองครู กระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ
ตอ่ มาเมอ่ื มกี ารตราพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 สภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพื่อปฏิรูปการศึกษาคร้ังใหญ่ คุรุสภาได้ปรับบทบาทใหม่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
โดยมีการตราพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรการศึกษา การอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครู
พ.ศ. 2546 เปน็ กฎหมายวา่ ดว้ ยสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารงาน
มีเหตุผลส�ำคัญเพ่ือสืบทอดเจตนารมณ์ของการจัดตั้งคุรุสภา คณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน และหัวหนา้ ส�ำนักงาน
ใหเ้ ปน็ สภาวชิ าชพี ครตู อ่ ไป พระราชบญั ญตั สิ ภาครฯู มผี ลบงั คบั ใช้ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
ตั้งแต่ 12 มิถุนายน 2546 ก�ำหนดให้มีองค์กรวิชาชีพ เป็นกรรมการ และให้เลขาธกิ ารครุ สุ ภาเป็นเลขานกุ าร
2 องค์กร คือ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า
“ครุ สุ ภา” มีฐานะเปน็ เป็นนติ บิ ุคคล อยู่ในก�ำกับของกระทรวง นอกจากน้ี ให้เลขาธิการคุรุสภา ซ่ึงอยู่ในวันก่อนวันท่ี
ศึกษาธิการ ท�ำหน้าที่เก่ียวกับการควบคุมและรักษามาตรฐาน ค�ำส่ังน้ีใช้บังคับหยุดการปฏิบัติหน้าที่ไปก่อนจนกว่าหัวหน้า
วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา อีกองค์กรหน่ึง คือ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตจิ ะมคี ำ� สงั่ เปลยี่ นแปลงเปน็ อยา่ งอน่ื
ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในระดับเดียวกัน
และบุคลากรทางการศึกษา มฐี านะเปน็ นิตบิ ุคคล อยู่ในกำ� กบั ข้ึนไปปฏบิ ตั ิหนา้ ทีใ่ นตำ� แหน่งเลขาธิการคุรุสภา
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มหี นา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 9

บรู พาจารยผสู รางคณุ ปู การตอครุ สุ ภา

พ.ศ.2412 พระยาศรีสุนทรโวหาร

“ผูค ดิ แบบสอนหนงั สอื ไทยขึ้น 1 ชดุ รวม 6 เลม คอื มลู บทบรรพกจิ

วาหนิต์นิ ิกร อกั ษรประโยค สงั โยคพธิ าน ไวพจนพิจารณ พศิ าลการนั ต

เปน แบบเรยี นภาษาไทยเลมแรกของไทย” พ.ศ. 2

เจา พระยาพระเสดจ็ สุเรนทราธบิ ดี (หมอมราชวงศเปย มาลากลุ ) 454 488 504

“ผจู ัดต้ังสามัคยาจารยส มาคม เปนแหลงสง เสริมความรทู างวิชาการ และเปน สถานท่ี
ชมุ นุมของครู อาจารย และหนงั สอื พิมพวทิ ยาจารย เร่มิ ตงั้ แตเดือนมกราคม พ.ศ. 2447

วทิ ยาจารยถ อื เปนวารสารสื่อสารความรขู องสมาชกิ ครูท่ัวประเทศสบื มาจนถึงทุกวนั นี้

59
พ.ศ. 24
เจา พระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี

“ผจู ัดต้ังวิทยาทานสถาน ซึง่ เปนสถานทีจ่ ัดอบรมครแู หง แรกของไทย”

พ.ศ. 2

พ.ศ. 24 นายทวี บณุ ยเกตุ

“ผูจ ัดต้งั คุรุสภาข้ึนเปนสภาครูในกระทรวงศึกษาธกิ าร

ทา นไดชีแ้ จงหัวใจของการจัดตั้งครุ สุ ภา โดยใชถ อยคำสน้ั ๆ วา

เพ่ือใหค รปู กครองครู”

88

พระยาอนมุ านราชธน

“ผูออกแบบรูปตราครุ สุ ภา ในป พ.ศ. 2488 เสนอให

คณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาพจิ ารณา และไดรับเลอื กใหใ ชเ ปน

ตราคุรุสภาจนถึงปจจบุ ัน” พ.ศ. 2

นายนาค เทพหสั ดิน ณ อยธุ ยา

“ผรู ิเรม่ิ ปรับปรงุ งานคุรุสภาหลายดา น จัดต้ังมลู นธิ ิชวยครอู าวุโส ในพระบรมราชูปถัมภ

และดว ยใจที่รกั อาชพี ครู ประสงคท จี่ ะเทิดทนู ครู ทา นเปนผูรเิ ริม่ ใหม ีการแตง ประวัตคิ รู

จัดพิมพลงในหนังสอื ประวตั คิ รูเปน เลมแรกต้ังแต ป พ.ศ. 2500 เปน ตน มาจนถงึ ปจ จบุ ัน”

10 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

สัญลกั ษณของครุ ุสภา

ป พ.ศ. 2443 | หนงั สอื พมิ พวิทยาจารย

หนังสือพิมพวทิ ยาจารย เปน หนงั สือวชิ าการของครเู ลม แรกของประเทศไทย
จดั พิมพฉบับแรกในเดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2443 เดมิ เปน หนงั สือของโรงเรยี น
ฝกหดั อาจารย ซง่ึ สามคั ยาจารยส มาคมรับมอบกรรมสทิ ธิจ์ ากกรมศกึ ษาธกิ าร
มาดำเนนิ การเม่อื เดือนมกราคม พ.ศ. 2477 ตอมาคุรุสภารบั มอบกจิ การและทรัพยส นิ
จากสามัคยาจารยส มาคม จงึ ไดรบั วารสารวิทยาจารยม าดำเนินการจนถงึ ปจ จุบัน

ป พ.ศ. 2452 | ซมุ ประตคู ุรุสภา

ซมุ ประตคู ุรสุ ภา ถอื วา เปน ส่ิงกอ สรางทสี่ ำคญั ซ่งึ มีเอกลกั ษณ
ที่โดดเดน สวยงาม ในอดีต คอื “วงั จันทร” หรอื “วงั จันทรเกษม”

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจาอยหู ัว พ.ศ. 2483
มีพระบรมราชานุญาตใชว ังจนั ทรเกษมเปน ทีท่ ำการ

ของกระทรวงธรรมการ ซึ่งตอ มาเปลี่ยนเปน กระทรวงศกึ ษาธิการ
และเปน ท่ตี ้งั ของคุรสุ ภาจนถึงปจ จุบนั

ป พ.ศ. 2488 | ตราครุ สุ ภา

ตราสัญลักษณเปนรปู พระพฤหสั บดี มีความหมายวา เปน ครขู องเทวดาในทางวชิ าความรู
มีกวางเปน พาหนะ พระหัตถข วาถอื ดอกบวั พระหตั ถซา ยถือพระขรรคก ับรัศมี
เปน ปรมิ ณฑลลอมรอบ ตราคุรุสภานี้ ออกแบบโดยพระยาอนุมานราชธน
เมอ่ื ครงั้ ดำรงตำแหนงอธบิ ดกี รมศิลปากร และคณะกรรมการอำนวยการคุรุสภา
ในการประชุมครั้งท่ี 8/2488 เมื่อวนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2488 มีมติใหใชต ราของครุ ุสภา
จนถึงปจ จุบัน

ป พ.ศ. 2500 | หอประชุมครุ ุสภา

หอประชุมครุ สุ ภา เปน ส่ิงกอ สรางท่นี ำความภาคภูมใิ จมาสู
บรรดาครทู ว่ั ประเทศ ดว ยครทู กุ คนไดร วมกันบริจาคเงินเดอื น
คนละ 1 วัน ตามคำเชิญชวนของคุรุสภา รวมกบั เงินขององคการคา

และเงินสบทบจากรฐั บาลเปน งบประมาณการกอ สรา ง
หอประชุมคุรุสภาสรา ง เม่ือวันที่ 3 ตุลาคม 2500
ทำพิธีเมอ่ื วันท่ี 11 พฤษภาคม 2502

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 11

จากการจัดตั้งคุรุสภา ตามพระราชบัญญัติครู ศกึ ษาธกิ าร ประธานกรรมการอำ� นวยการครุ สุ ภาไดล้ งนามแตง่ ตง้ั
พุทธศกั ราช 2488 ซึง่ มผี ลบังคับใช้เม่อื วนั ท่ี 16 มกราคม 2488 ขา้ ราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมาปฏบิ ตั งิ านของครุ สุ ภาชดุ แรก
และบริหารงานโดยคณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภา น้ัน จ�ำนวน 9 คน ตัง้ แตว่ ันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2488 ประกอบด้วย
เมื่อคุรุสภาได้แต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภาชุดแรก
เพอื่ ทำ� หนา้ ทบี่ รหิ ารงานของครุ สุ ภาโดยสมบรู ณต์ ามกฎหมายแลว้ 1. พระยาจินดารักษ์ (อธิบดีกรมพลศึกษา) รักษาการ
สง่ิ ทีจ่ ะตอ้ งด�ำเนนิ การตอ่ ไป คอื แตง่ ตั้งเจ้าหน้าทผ่ี ู้ปฏบิ ตั งิ าน ในต�ำแหนง่ เลขาธกิ ารครุ ุสภา
ตามมติของคณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภา ซึ่งตามมาตรา 9
แหง่ พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 2488 กำ� หนด “ใหค้ ณะกรรมการ 2. นายบุญช่วย สมพงษ์ (หัวหน้ากองศึกษาผู้ใหญ่)
อ�ำนวยการคุรุสภา แต่งตั้งเลขาธิการคุรุสภาและเจ้าหน้าท่ีอ่ืน รักษาการในต�ำแหนง่ ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
ตามสมควร” ดังน้ัน คณะกรรมการอ�ำนวยการคุรุสภา
จึงมีมติแต่งต้ังข้าราชการประจ�ำของกระทรวงศึกษาธิการ 3. นายวิญญาต ปุตระเศรณี (หัวหน้ากองกลาง
มารกั ษาการในตำ� แหนง่ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา และหวั หนา้ แผนกตา่ งๆ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง) รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้า
เพ่ือเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง แผนกสารบรรณ

4. นายบุรินทร์ สิมพะสิก (หัวหน้ากองโรงเรียน
ประชาบาล) รกั ษาการในต�ำแหนง่ หัวหน้าแผนกทะเบียน

12 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

5. หลวงครุ นุ ติ พิ ศิ าล (ขา้ หลวงตรวจการศกึ ษา) รกั ษาการ การกำ� หนดวนั สถาปนาสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา นนั้
ในต�ำแหน่งหัวหนา้ แผนกรกั ษาผลประโยชน์ของครู กำ� หนดขนึ้ โดยยดึ วนั ทม่ี คี ำ� สงั่ แตง่ ตงั้ เจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื เรมิ่ ปฏบิ ตั งิ าน
ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา เมอื่ วนั ท่ี 2 มนี าคม พ.ศ. 2488
6. หลวงบรหิ ารสกิ ขกจิ (ขา้ หลวงตรวจการศกึ ษา) รกั ษาการ เป็นวันสถาปนาส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา แม้ว่าคุรุสภา
ในตำ� แหนง่ หวั หน้าแผนกชว่ ยเหลอื อุปการะครแู ละครอบครวั จะปรบั เปลยี่ นมาเปน็ สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546
ในปัจจุบัน แม้ว่าภารกิจหน้าท่ีของส�ำนักงานเลขาธิการ
7. นายบญุ ช่วย สมพงษ์ รักษาการในต�ำแหนง่ หวั หนา้ คุรุสภาจะมีการปรับเปล่ียนไปจากเดิมแล้วก็ตาม ส�ำนักงาน
แผนกส่งเสรมิ ความรู้ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา กย็ งั คงยดึ วนั ที่ 2 มนี าคม ของทกุ ปี เปน็ วนั คลา้ ย
วันสถาปนาส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาสืบต่อมาจนถึง
8. ขุนทรงวรวิทย์ รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้า ปจั จบุ นั และในวนั ท่ี 2 มีนาคม 2565 นี้ เป็นวันครบรอบ 77 ปี
แผนกการคลัง การสถาปนาส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

ขณะเดยี วกันประธานกรรมการอ�ำนวยการครุ ุสภา กไ็ ด้
มีค�ำสั่งแต่งต้ังให้ศึกษาธิการจังหวัดและศึกษาธิการอ�ำเภอ
เปน็ เจา้ หนา้ ทค่ี รุ สุ ภาประจำ� จงั หวดั และเจา้ หนา้ ทคี่ รุ สุ ภาประจำ� อำ� เภอ
ตามล�ำดับ โดยมีส�ำนักงานอยู่ท่ีแผนกศึกษาธิการจังหวัดและ
แผนกศึกษาธิการอ�ำเภอ

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 13

14 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

หนา้ ทข่ี อง

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 1. บรหิ ารกจิ การของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาใหเ้ ปน็
พ.ศ. 2546 มาตรา 34 กำ� หนดใหส้ ำ� นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ของคุรุสภา ระเบียบ ข้อบังคับ
มหี นา้ ที่ ดงั นี้ ขอ้ กำ� หนด นโยบาย มติ และประกาศของคณะกรรมการครุ สุ ภา
และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานเจ้าหน้าท่ีทุกต�ำแหน่ง เว้นแต่
1. รับผิดชอบเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของคุรุสภา ซึ่งมี ผู้ตรวจสอบภายใน ให้ข้ึนตรงต่อประธานกรรมการคุรุสภา
อ�ำนาจหน้าท่ีก�ำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอน ตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี กำ� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐาน
และจรรยาบรรณของวชิ าชพี และการพัฒนาวชิ าชพี 2. ดูแลรักษาทะเบยี นผูไ้ ด้รับใบอนญุ าต
3. ควบคมุ ดแู ลทรัพย์สนิ ของคุรุสภา
2. ประสานและดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั กจิ การอน่ื ทคี่ รุ สุ ภา 4. เสนอรายงานประจ�ำปีเกี่ยวกับผลการด�ำเนินงาน
มอบหมาย ด้านต่างๆ ของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา รวมทั้งรายงาน
การเงนิ และบญั ชี ตลอดจนเสนอแผนดำ� เนนิ งาน แผนการเงนิ และ
3. จัดท�ำรายงานประจ�ำปีเก่ียวกับการด�ำเนินงาน งบประมาณของปตี อ่ ไป ตอ่ คณะกรรมการครุ สุ ภาเพอ่ื พจิ ารณา
เสนอตอ่ คุรสุ ภา 5. เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและ
การด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามวัตถุประสงค์
การดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา กำ� หนด ของครุ ุสภาต่อคณะกรรมการคุรสุ ภา
ให้เลขาธิการคุรุสภารับผิดชอบบริหารกิจการของส�ำนักงาน
เลขาธิการคุรุสภา รวมท้ังด�ำเนินการตามท่ีประธานกรรมการ
คุรุสภา คณะกรรมการคุรุสภา มอบหมาย โดยรับผิดชอบต่อ
คณะกรรมการครุ สุ ภา นอกจากน้ียังมหี น้าทดี่ ังต่อไปน้ี

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 15

ทำเนยี บเลขาธกิ ารคุรุสภา
ตงั้ แต พ.ศ. 2488 - ปจจบุ นั

1 2 3

พระยาจินดารักษ (รก.) หลวงบรหิ ารสกิ ขกิจ นายประเวศ จันทนย่ิงยง
2 มนี าคม 2488 ถงึ 15 กมุ ภาพนั ธ 2489 15 กุมภาพนั ธ 2489 ถงึ 16 กมุ ภาพันธ 2498 16 กุมภาพันธ 2498 ถึง 16 กมุ ภาพนั ธ 2504

4 5 6

นายนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา นายเย้ือ วชิ ัยดิษฐ นายจรสั มหาวัจน
5 ตุลาคม 2504 ถงึ 1 เมษายน 2510 1 พฤษภาคม 2510 ถึง 31 ธนั วาคม 2512 8 มกราคม 2513 ถึง 7 มกราคม 2519

7 8 9

นายจำลอง เวศอุไร นายจรญู มลิ ินทร นายสำเริง นลิ ประดษิ ฐ
8 มกราคม 2519 ถึง 1 สงิ หาคม 2525 16 สงิ หาคม 2525 ถึง 24 เมษายน 2531 1 พฤษภาคม 2531 ถึง 1 มีนาคม 2535

10 11 12
นายโกวิท สรุ ัสวดี นายปรีดา บุญเพลงิ นายยทุ ธชยั อตุ มา

1 มีนาคม 2535 ถึง 18 พฤศจกิ ายน 2537 12 มกราคม 2538 ถึง 11 มกราคม 2542 12 มกราคม 2542 ถึง 4 ตุลาคม 2545
16 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

13 14 15
ดร.จกั รพรรดิ วะทา ดร.องคกร อมรสริ นิ ันท
นางสาวรจนา วงศขา หลวง (รก.)
7 ตุลาคม 2545 ถึง 30 มถิ ุนายน 2551 ผอู ำนวยการสำนักอำนวยการ 17 ตลุ าคม 2551 ถึง 16 ตลุ าคม 2555

1 กรกฎาคม 2551 ถึง 16 ตลุ าคม 2551

16 17 18
ดร.อำนาจ สุนทรธรรม นายกมล ศริ ิบรรณ
นางสาวรจนา วงศขาหลวง (รก.)
ผอู ำนวยการสำนกั อำนวยการ 17 มิถนุ ายน 2556 ถงึ 17 เมษายน 2558 21 เมษายน 2558 ถึง 30 กนั ยายน 2558

17 ตุลาคม 2555 ถงึ 16 มิถนุ ายน 2556

19 20 21
ดร.ชยั ยศ อิ่มสุวรรณ ดร.สมศกั ด์ิ ดลประสิทธ์ิ ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข

1 ตลุ าคม 2558 ถงึ 21 กันยายน 2559 22 กนั ยายน 2559 ถึง 5 กนั ยายน 2561 6 กันยายน 2561 ถงึ 2 กรกฎาคม 2563

22 23 24
วาทีร่ อ ยตรี ธนุ วงษจินดา ดร.ดศิ กลุ เกษมสวสั ดิ์ รองศาสตราจารย ดร.ประวติ เอราวรรณ
3 กรกฎาคม 2563 ถงึ 1 กันยายน 2563
2 กนั ยายน 2563 ถงึ 20 มกราคม 2565 27 มกราคม 2565 ถงึ ปจ จบุ ัน
7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 17

ทำเนียบรองเลขาธกิ ารคุรุสภา
ตัง้ แต พ.ศ. 2488 - ปจจบุ ัน

1 2 3

นายวญิ ญาต ปตุ ระเศรณี นายเย้ือ วิชัยดิษฐ นายจรัส มหาวัจน
10 มกราคม 2501 ถึง 12 มกราคม 2507 3 กมุ ภาพันธ 2507 ถึง 1 พฤษภาคม 2510 1 กรกฎาคม 2511 ถงึ 8 มกราคม 2513

4 5 6

นายกมล ประสิทธสิ า ดร.สรุ ฐั ศิลปอนนั ต นายทินกร ปรีชพนั ธุ
25 มิถนุ ายน 2514 ถึง 24 มถิ นุ ายน 2518 2 ตลุ าคม 2518 ถงึ 2 ตลุ าคม 2522 15 พฤศจิกายน 2522 ถึง 15 พฤศจิกายน 2526

7 8 9.1
ดร.ประวทิ ย ทองศรนี นุ
นายประยูร ธรี ะพงษ นายถนอม ทัฬหพงศ
16 พฤศจิกายน 2525 ถึง 14 พฤศจกิ ายน 2529 9 สงิ หาคม 2527 ถึง 23 ธนั วาคม 2531 16 ตุลาคม 2529 ถึง 16 ตุลาคม 2533

9.2 10.1 10.2
นายโกวิท สรุ ัสวดี
นายสมพงษ พละสรู ย นายสมชาย วงศเ วช
1 มีนาคม 2532 ถงึ 29 กมุ ภาพนั ธ 2535 20 พฤศจกิ ายน 2533 ถงึ 11 มกราคม 2542 7 กรกฎาคม 2535 ถงึ 11 มกราคม 2542
18 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

11.1 11.2 12.1

ดร.จกั รพรรดิ วะทา นายสมศักดิ์ ฮดโท นายบำเรอ ภานุวงศ
12 มกราคม 2542 ถงึ 11 มกราคม 2546 12 มกราคม 2542 ถงึ 11 มกราคม 2546 12 มกราคม 2546 ถึง 30 มิถนุ ายน 2547

12.2 13.1 13.2

นายรังสันต ศรพี ทุ ธริ ตั น ดร.องคกร อมรสิรินนั ท ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์
12 มกราคม 2546 ถึง 30 มถิ ุนายน 2547 22 พฤศจกิ ายน 2547 ถึง 30 มิถนุ ายน 2551 22 พฤศจกิ ายน 2547 ถงึ 30 มถิ ุนายน 2551

14.1 14.2 14.3

นายณรงคฤ ทธิ์ มะลิวัลย นายศรายุทธ เจรญิ ผล นายสรุ นิ ทร อนิ ทรักษา
19 ธนั วาคม 2551 ถึง 16 ตุลาคม 2555 19 ธันวาคม 2551 ถงึ 16 ตุลาคม 2555 19 ธันวาคม 2551 ถึง 16 ตลุ าคม 2555

15.1 15.2 15.3

นายสนอง ทาหอม ดร.สำเริง กจุ ริ พันธ นายสรุ นิ ทร อนิ ทรักษา
1 ตุลาคม 2556 ถึง 23 ธนั วาคม 2556 1 ตุลาคม 2556 ถึง 20 สงิ หาคม 2558 1 ตลุ าคม 2556 ถึง 16 มถิ ุนายน 2558
7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 19

15.4 15.5 16

ดร.กก ดอนสำราญ ดร.สมพงษ ปานเกลา ดร.สำเรงิ กุจริ พนั ธ
1 ตลุ าคม 2556 ถึง 1 สิงหาคม 2558 1 ตลุ าคม 2556 ถงึ 1 สงิ หาคม 2558 21 สงิ หาคม 2558 ถงึ 30 กนั ยายน 2559

17 18

ดร.ทนิ สิริ ศริ ิโพธ์ิ ดร.บรู พาทิศ พลอยสุวรรณ
13 มนี าคม 2560 ถงึ 1 มิถนุ ายน 2562 27 มกราคม 2560 ถงึ 26 มกราคม 2564

20 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

โครงสรางการจดั แบง สว นงานของสำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา

คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี ครุ ุสภา คณะกรรมการครุ ุสภา
ประธานกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ สำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา ประธานกรรมการคุรุสภา

ท่ปี รึกษา เลขาธกิ ารคุรสุ ภา หนว ยตรวจสอบภายใน

ผเู ช่ยี วชาญ รองเลขาธิการครุ ุสภา กลุมพฒั นาระบบงาน

สำนัก สำนกั ทะเบยี นและ สำนกั จรรยาบรรณ สำนกั พฒั นาและ สำนัก สำนกั เทคโนโลยี สำนัก สถาบนั ครุ พุ ัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพ ใบอนญุ าตประกอบ วชิ าชพี และนิตกิ าร สงเสริมวชิ าชีพ นโยบายและแผน สารสนเทศและ อำนวยการ

วิชาชีพ การสือ่ สาร

กลมุ มาตรฐาน กลมุ ใบอนุญาต กลุมกำกบั ดแู ล กลุม พฒั นาวิชาชพี กลมุ แผนและ กลมุ พัฒนาระบบ กลุมบริหารงานกลาง
การประกอบวชิ าชพี ประกอบวิชาชีพ 1 จรรยาบรรณวิชาชีพ กลมุ ยกยองและ งบประมาณ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
กลมุ รับรองปรญิ ญา กลุมใบอนุญาต ผดงุ เกียรติวิชาชพี กลมุ วจิ ยั ตดิ ตาม
และประกาศนยี บตั ร ประกอบวชิ าชีพ 2 กลมุ กฎหมาย และประเมินผล กลุมสือ่ สารองคก ร กลมุ บรหิ ารงานบุคคล

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 21 กลมุ รบั รองความรู กลุมทะเบียนใบอนุญาต กลมุ สง เสรมิ กลุม วเิ ทศสมั พนั ธ กลมุ วิทยบริการ กลุมการเงนิ และบญั ชี
และความชำนาญ ประกอบวชิ าชีพ จรรยาบรรณวชิ าชีพ

กลมุ การพสั ดแุ ละ
อาคารสถานที่
กลมุ การประชุม
และประสานงาน

ตามระเบยี บครุ สุ ภา วาดว ยการจัดแบงสวนงานฯ พ.ศ. 2560 สำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา 26 มกราคม 2565

ลำดับเหตกุ ารณส ำคัญ

ของสำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา ป พ.ศ. 2564

2 มีนาคม 2564 - งาน 76 ปี ส�ำนักงาน 2
เลขาธกิ ารครุ สุ ภา ผา่ นทางออนไลน์ มี ดร.ดศิ กลุ มีนาคม
เกษมสวัสดิ์ เลขาธิการคุรุสภา เป็นประธาน 2564
ในพธิ ี ณ หอประชมุ ครุ สุ ภา

26 มีนาคม 2564 – ประกาศคณะกรรมการ 2 2 มนี าคม 2564 - ครุ สุ ภาเปดิ ตวั แอปลเิ คชนั
คุรุสภา เร่ือง ผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบและ มนี าคม “Khuru On Mobile By Khurusapha”
ประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้ 2564 แอปพลิเคชันส�ำหรับครูและบุคลากร
และประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐาน ทางการศึกษา เพื่ออ�ำนวยความสะดวก
วชิ าชพี ครู ครงั้ ที่ 1/2564 ประกาศคณะกรรมการ 26 ให้กับผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร
คุรุสภา เรื่อง ผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบ มนี าคม ทางการศึกษาทั่วประเทศ และมีเครื่องมือ
แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ส ม ร ร ถ น ะ ท า ง วิ ช า ชี พ ค รู 2564 สอ่ื สารผา่ นสมารท์ โฟน ในรูปแบบ Mobile
ด ้ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น Application
ตามมาตรฐานวิชาชพี ครู ครั้งที่ 1/2564 และ
ประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา เรอ่ื ง ผผู้ า่ นเกณฑ์ 5 5 เมษายน 2564 – การประชุมชี้แจง
การเทียบเคียงผลการทดสอบและประเมิน เมษายน การด�ำเนินงานส่งเสริมกระบวนการชุมชน
สมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และ 2564 แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนา
ประสบการณว์ ชิ าชพี ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู จรรยาบรรณวิชาชีพผ่านระบบเทคโนโลยี
ครง้ั ที่ 1/2564 สารสนเทศ (E-PLC) ประจ�ำปี 2564
พรอ้ มพธิ ลี งนาม บนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื
9 เมษายน 2564 – ประกาศส�ำนักงาน 9 ในมติ ดิ า้ นวชิ าการ ระหวา่ งครุ สุ ภา กบั บรษิ ทั
เลขาธิการคุรุสภา เร่ือง การปรับลดเวลาและ เมษายน วสิ ดอมไวด์ จำ� กดั ณ หอ้ งประชมุ ไทยาจารย์
วันท�ำงานของบุคลากรส�ำนักงานเลขาธิการ 2564 ชน้ั 3 อาคาร 2 ส�ำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา
คุรุสภา ให้หน่วยงานจัดบุคลากรหมุนเวียน
มาปฏบิ ตั งิ าน ณ สถานทที่ ำ� งาน ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 25 13 13 เมษายน 2564 – ประกาศส�ำนกั งาน
ของบคุ ลากรท้งั หมด เมษายน เลขาธิการคุรุสภา เร่ือง มาตรการป้องกัน
2564 และควบคุมสถานการณ์ การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และ
29เมษายน2564 - สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 29 ก�ำหนดการปรับลดเวลาและการท�ำงาน
แจ้งใช้ช่องทางหลักในการติดต่อส่วนกลาง เมษายน ของบุคลากรส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ผา่ นไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ที่ ksp@saraban. 2564 ใ ห ้ ห น ่ ว ย ง า น จั ด บุ ค ล า ก ร ห มุ น เ วี ย น
mail.go.th และหมายเลขโทรสาร 0 2282 3158 มาปฏิบัติงาน ณ สถานที่ท�ำงานไม่เกิน
เพอ่ื ใหก้ ารประสานงานสำ� หรบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ร้อยละ 10 ของบคุ ลากรท้ังหมด
เปน็ ไปอยา่ งสะดวก รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ระลอกใหม่

22 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

14 พฤษภาคม 2564 - โครงการจติ อาสา 14 20 พฤษภาคม 2564 - งานแถลงข่าว
“เราทำ� ดดี ว้ ยหวั ใจ” ของสำ� นกั งานเลขาธกิ าร พฤษภาคม ครูรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ปี 2564
คุรุสภา มอบชุดป้องกันเช้ือโรคและสารเคมี มี นางสาวตรนี ชุ เทยี นทอง รฐั มนตรีวา่ การ
(ชุด PPE) ให้กับบุคลากรทางการแพทย์ 2564 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดร.กฤษณพงศ์ กรี ตกิ ร
จ�ำนวน 100 ชดุ เพ่ือสืบสานพระราชปณธิ าน ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี
และมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม 20 นายอมั พร พนิ ะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ พฤษภาคม การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นายสเุ ทพ แกง่ สนั เทยี ะ
ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ระลอกใหม่ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ณ โรงพยาบาลศริ ริ าช 2564 และ นพ.สุภกร บัวสาย ผู้จัดการกองทุน
เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา รว่ มแสดง
24 มิถุนายน 2564 - คุรุสภาเร่งเพ่ิม ความยนิ ดแี กค่ รผู ไู้ ดร้ บั รางวลั ณ หอ้ งประชมุ
เขยี้ วเลบ็ ใหเ้ จา้ หนา้ ทค่ี รุ สุ ภาภายใตน้ โยบาย ราชวัลลภ ชนั้ 2 อาคารราชวลั ลภ กระทรวง
‘ครุ สุ ภา ONE’ จดั สรรบคุ ลากรกระจายงาน ศกึ ษาธกิ าร
จากสว่ นกลางไปภมู ภิ าค ทำ� งานเปน็ หนง่ึ เดยี ว
ผ่านระบบ TEPIS และ KSP e - Service 24 28 มิถุนายน 2564 – โครงการจิตอาสา
ทุกคนสามารถท�ำงานออนไลน์ได้ทุกท่ี มถิ นุ ายน บ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ “มีแล้วแบ่งปัน”
ทกุ เวลา กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาส
2564 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ
พระบรมราชินี 43 พรรษา โดยมีดร.ดิศกุล
28 เกษมสวัสดิ์ และคณะผู้บริหารส�ำนักงาน
มถิ ุนายน เลขาธกิ ารครุ ุสภา มอบสิ่งของอปุ โภคบริโภค
เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
2564 แ ล ะ ค ว า ม เ ดื อ ด ร ้ อ น จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
12 กรกฎาคม – 31 ตลุ าคม 2564 - เฟสแรก 12 (COVID - 19) ณ โรงพยาบาลศริ ริ าช
Pre Webinar การประชุมทางวิชาการ กรกฎาคม-
ออนไลน์ของคุรุสภา ประจ�ำปี 2564
เป็นการเผยแพร่คลิป “11 ครูผู้สร้างเพื่อ ตุลาคม
Child - Centered Approach” เผยแพร่ 2564
ทกุ วนั องั คารและวนั พฤหสั บดี เวลา 17.00 น.
รับชมผ่านช่องทาง Facebook Fanpage 18 18 กรกฎาคม 2564 - ประกาศสำ� นักงาน
คุรุสภา กรกฎาคม เลขาธิการคุรุสภา เร่ือง ให้บุคลากรของ
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ปฏิบัติงาน
2564 ณ ท่ีพกั อาศยั เต็มจ�ำนวน 100%

20 สิงหาคม 2564 - เฟสสอง พิธีเปิด 20
การประชมุ ทางวชิ าการออนไลนข์ องครุ สุ ภา สิงหาคม
ประจ�ำปี 2564 เร่ือง “Education
Transformation in the Post – COVID 2564
Era: การศกึ ษาทผี่ นั เปลย่ี นในโลกหลงั โควดิ ”
ระหว่างวันที่ 20 – 22 ส.ค. 2564
มีนางสาวตรนี ชุ เทยี นทอง รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ
การประชุมผ่านระบบออนไลน์ ณ หอสมุด
ครุ สุ ภา อาคารหอประชมุ คุรุสภา สำ� นักงาน
เลขาธกิ ารคุรสุ ภา

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 23

28 สิงหาคม – 31 ตุลาคม 2564 28 28 สิงหาคม 2564 - ส�ำนักงานเลขาธิการ
สงิ หาคม- คุรุสภา ได้เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและ
- เฟส 3 การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Workshop) 31 ตุลาคม ความโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั
จำ� นวน 18 หลกั สตู ร การประชุมทางวชิ าการ (Integrity and Transparency Assessment
ออนไลนข์ องครุ สุ ภา ประจำ� ปี 2564 โดยจดั ทำ� 2564 หรือ ITA ) ประจ�ำปี งบประมาณ 2564
รูปแบบบทเรียนออนไลน์ ผ่านเเอปพลิเคชัน ของส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ
Trainflix ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ( ป.ป.ช.)
ได้ผลการประเมนิ เปน็ ลำ� ดบั ที่ 3 โดยสำ� นกั งาน
7กนั ยายน2564- สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 28 ลกู เสอื แหง่ ชาติ ไดอ้ นั ดบั 1 และสถาบนั สง่ เสรมิ
ด�ำเนินโครงการงานระบบบริหารจัดการ สิงหาคม การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไดอ้ นั ดบั 2
องคค์ วามรู้ เพื่อพัฒนาความลมุ่ ลึกทางวิชาชพี
ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยไดร้ บั 2564
ความร่วมมือจากภาคเอกชนในการออกแบบ
สรา้ งระบบ ในรปู แบบแพลตฟอรม์ (Platform) 7
หรือการบริหารจัดการขององค์ความรู้ท่ีผ่าน กนั ยายน
การสังเคราะห์ เพ่ือให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์แนวโน้มการศึกษา หรือเทรนด์ 2564
การศึกษาในปัจจุบัน
23 23 กนั ยายน 2564 - พธิ ลี งนามความรว่ มมอื
กันยายน ด้านการด�ำเนินงานระบบการบริหารจัดการ
องค์ความรู้เพ่ือพัฒนาความลุ่มลึกทางวิชาชีพ
2564 ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ระหว่าง
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กับบริษัท
29 กันยายน 2564 – ประกาศส�ำนักงาน 29 เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด
เลขาธกิ ารครุ สุ ภา เรือ่ ง มาตรการปอ้ งกนั และ กันยายน ศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาของซีบีไอ
ควบคมุ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ บรษิ ทั วสิ ดอมไวด์ จำ� กดั และบรษิ ทั เอดู พารค์
ไวรัสโคโรนา 2019 ของส�ำนักงานเลขาธิการ 2564 จำ� กดั ผา่ นสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยแอปพลเิ คชนั
คุรุสภา ให้หน่วยงานจัดบุคลากรหมุนเวียน Zoom Cloud Meeting
มาปฏบิ ตั งิ าน ณ สถานทท่ี ำ� งาน ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 25
ของบคุ ลากรทั้งหมด 5 ตลุ าคม 2564 - สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา

เผยแพร่ “จดหมายเหตคุ รุ สุ ภา” 126 ครุ สุ ภา
(พ.ศ. 2438 – 2563) เลม่ ท่ี 1 และเลม่ ที่ 2
5 เนื่องจากคุรุสภามีประวัติความเป็นมาและ
ตลุ าคม
2564 ด�ำเนินงานเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพและ
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษามาเปน็ ระยะเวลา
ยาวนาน ตงั้ แตป่ ี 2438 – ปี 2563 รวม 126 ปี
และมีข้อมูลเป็นจ�ำนวนมาก โดยจัดท�ำ
จดหมายเหตคุ ุรุสภา จ�ำนวน 4 เล่ม

24 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

29 ตุลาคม 2564 – สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า 29
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตุลาคม
พระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ครั้งท่ี 4 2564
สดุ ยอดครจู าก 11 ประเทศในอาเซยี นและตมิ อร-์ เลสเต
และพระราชทานปาฐกถาพิเศษ เนื่องในการประชุม 30 30 ตุลาคม 2564 - การถวาย
วิชาการระดับภูมิภาคเพื่อครูและความเสมอภาค ตลุ าคม ผา้ กฐนิ พระราชทาน ประจำ� ปี 2564
ทางการศกึ ษา ในหวั ขอ้ การทรงงานในการสรา้ งโอกาส 2564 ของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ทางการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนในสถานการณ์ ณ วดั หนองหอย พระอารามหลวง
การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID - 19) และ ต�ำบลเขาแร้ง อ�ำเภอเมืองราชบุรี
การพฒั นาครแู ละสถานศกึ ษาในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก จงั หวดั ราชบรุ ี มี ดร.ดศิ กลุ เกษมสวสั ด์ิ
เฉียงใต้ ทรงยำ�้ ถงึ ความสำ� คญั ของบทบาทของครูทต่ี อ้ ง เลขาธกิ ารครุ สุ ภา เปน็ ประธานในพธิ ี
เผชญิ ความทา้ ทายในการสร้างการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
เพื่อไม่ให้ใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ท่ามกลางสถานการณ์
โควิด - 19 ซึ่งเป็นการจัดประชุมในรูปแบบผสมผสาน
ทางออนไลนแ์ ละการเชอ่ื มสญั ญาณ ณ วงั สระปทมุ โรงแรม
สยามเคมปินสกี สถานทูตไทยประจ�ำประเทศต่างๆ
ในอาเซยี นและตมิ อร-์ เลสเต และศนู ยร์ าชการจงั หวดั พงั งา

1 พฤศจิกายน 2564 – ประกาศส�ำนักงาน 1 3 พฤศจิกายน 2564 – งานวัน
เลขาธิการคุรุสภา เรื่อง มาตรการป้องกันและ พฤศจกิ ายน “ทวี บณุ ยเกต”ุ อดีตนายกรฐั มนตรี
ควบคมุ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื คนที่ 5 รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ไวรสั โคโรนา 2019 ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 2564 ศกึ ษาธกิ าร คนท่ี 12 และผกู้ อ่ ตง้ั ครุ สุ ภา
ให้หน่วยงานจัดบุคลากรหมุนเวียนมาปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488
ณ สถานท่ที ำ� งาน ไมเ่ กนิ ร้อยละ 30 ของบคุ ลากร 3 จัดโดยส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ท้งั หมด พฤศจิกายน ส�ำนักงานคณะกรรมการ สกสค.
และมูลนธิ ทิ วี บณุ ยเกตุ มี ดร.ดศิ กลุ
2564 เกษมสวัสด์ิ เป็นประธานในพิธี
ณ หอ้ งประชมุ บณุ ยเกตุ อาคารหอประชมุ
13 พฤศจกิ ายน 2564 – สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 13 คุรุสภา ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
เร่งผลัก 4 นโยบายการบริหารงาน ประจ�ำปี พฤศจิกายน
งบประมาณ 2565 เนน้ พฒั นาคน ภายใต้สถานการณ์
โควิด-19 ท�ำงานออนไลน์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2564
ในการปฏิบัติงานเป็นหลัก เพื่ออ�ำนวยความสะดวก
ใหแ้ ก่ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาทัว่ ประเทศ 1 8 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 4

18 - ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 138
พฤศจกิ ายน ตอนพเิ ศษ 283 ง ไดเ้ ผยแพรป่ ระกาศ
คณะกรรมการ คุรุสภา เร่ือง
2564 หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและ
ประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
1 ธนั วาคม 2564 – ประกาศสำ� นกั งานเลขาธิการ 1 (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2564
ครุ สุ ภา เรอ่ื ง มาตรการปอ้ งกนั และควบคมุ สถานการณ์ ธันวาคม
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ของสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา ใหห้ นว่ ยงานจดั บคุ ลากร 2564
หมนุ เวยี นมาปฏบิ ตั งิ าน ณ สถานทท่ี ำ� งาน ไมน่ อ้ ยกวา่
ร้อยละ 50 ของบคุ ลากรท้ังหมด

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 25

9 ธันวาคม 2564 - ดร.ดศิ กุล เกษมสวสั ดิ์ 9 28 ธันวาคม 2564 - ป ร ะ ก า ศ
เลขาธกิ ารคุรสุ ภา พร้อมคณะผู้บรหิ าร และ ธันวาคม คณะกรรมการครุ สุ ภา เรอื่ ง กำ� หนดการทดสอบ
พนกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา และประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ท้ั ง ใ น ส ่ ว น ภ า ค ก ล า ง แ ล ะ ส ่ ว น ภู มิ ภ า ค 2564 ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ร่วมแสดงพลังในการต่อต้านการทุจริตและ ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู ประจำ� ปี พ.ศ. 2565
ประพฤติมิชอบทุกรูปแบบในวันต่อต้าน 28 กำ� หนด การทดสอบและประเมนิ สมรรถนะ
คอร์รัปชันสากล ภายใต้แนวคิด “คุรุสภา ธันวาคม ทางวชิ าชีพครูในวันที่ 18 – 19 กุมภาพันธ์
โปร่งใส หัวใจไม่ทนต่อการทุจริต KSP 2565 จำ� นวน 4 วชิ า ประกอบดว้ ย วชิ าการ
ANTI - CORRUPTION” 2564 ใช้ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร วิชาการ
ใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร วิชาการ
30 ธันวาคม 2564 – ประกาศส�ำนักงาน 30 ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล เ พ่ื อ ก า ร ศึ ก ษ า
เลขาธกิ ารครุ ุสภา เร่ือง มาตรการปอ้ งกนั และ ธันวาคม และวชิ าชพี ครู
ควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของส�ำนักงาน 2564
เลขาธิการคุรุสภา ให้หน่วยงานก�ำหนดวัน
และเวลาของบุคลากรในสังกัดให้ปฏิบัติงาน 16 16 มกราคม 2565 - งานวันครู คร้งั ที่ 66
ภายในทพี่ กั (Work From Home) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกราคม พ.ศ. 2565 ภายใต้แนวคิด “พลังครูยคุ ใหม่
ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85 สรา้ งคณุ ภาพคนไทยสสู่ ากล” ณ หอ้ งประชมุ
2565 บุณยเกตุ หอประชุมคุรุสภา ในรูปแบบ
ผสมผสาน คือ Onsite และ Online
27 มกราคม 2565 - มคี �ำสัง่ คณะกรรมการ 27 เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
คุรุสภา แต่งตั้งผู้รักษาการแทนในต�ำแหน่ง มกราคม โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
เลขาธกิ ารครุ สุ ภา โดยแตง่ ตง้ั รองศาสตราจารย์ มี พล.อ.ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
ประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการคณะกรรมการ 2565 เปน็ ประธานในพธิ ใี นรปู แบบออนไลน์ และ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดม้ อบคำ� ขวญั วนั ครู “พฒั นาครู พฒั นาเดก็
รกั ษาการเลขาธิการครุ สุ ภา เรยี นรสู้ อู่ นาคต” และมอบสารเนอื่ งในโอกาส
วนั ครู

2 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 – ประกาศสำ� นกั งาน
กุมภาพนั ธ์ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา เรอ่ื ง ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่
และลูกจ้างมาปฏิบัติงานที่ส�ำนักงาน
2565 เลขาธิการคุรุสภาตามปกติ 100% ตั้งแต่
วันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2565

26 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 27

สำ� นักมาตรฐานวชิ าชีพ

ในรอบปี พ.ศ. 2564 ส�ำนักมาตรฐานวิชาชีพ ได้ด�ำเนินงานตามภารกิจส�ำคัญเพื่อการพัฒนา
และยกระดบั คณุ ภาพของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตามอำ� นาจหนา้ ทขี่ องครุ สุ ภาโดยใชม้ าตรฐานวชิ าชพี
เปน็ เครือ่ งมือในการขบั เคลอื่ นคุณภาพ ตง้ั แต่ กระบวนการผลติ บณั ฑติ วชิ าชีพ การคัดกรอง ผู้ตอ้ งการเข้าสู่
วิชาชพี เพอื่ ใหไ้ ด้ผมู้ จี ติ วิญญาณของความเป็นครู และมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ รวมถงึ
การประเมินเพื่อการส่งเสริมพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นไปตามบทบัญญัติ ในมาตรา 49
แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และสอดคล้องตามแนวทางการปฏิรูป
ประเทศด้านการศึกษา ตามมาตรา 258 จ. (3) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
โดยดำ� เนนิ งานผา่ นกระบวนการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การรบั รองปรญิ ญาและประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษาตามมาตรฐาน
วิชาชีพ การรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ การรับรองคุณวุฒิการศึกษา การทดสอบและประเมิน
สมรรถนะทางวชิ าชพี ครตู ามมาตรฐานวชิ าชพี เพอ่ื การออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู รวมถงึ การกำ� หนด
ระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชีพครู สำ� หรบั ด�ำเนินการประเมิน เพ่อื การพัฒนาวิชาชีพและ
ผู้ประกอบวชิ าชพี ครอู ย่างตอ่ เนื่อง

งานเดน่ ในรอบปี 2564

การรบั รองปรญิ ญา
และประกาศนียบัตรทางการศกึ ษา

ขับเคล่ือน มาตรฐานวชิ าชีพ การรบั รองปรญิ ญาและประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษา
ทางการศึกษา ตามมาตรฐานวชิ าชพี เปน็ การดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหผ้ สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา
สามารถใช้คุณวุฒิจากปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่คุรุสภา
สู่การพฒั นาและยกระดับ รับรอง เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
คณุ ภาพการประกอบวชิ าชพี ” ทางการศึกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภาต่อไปได้ และเพื่อเป็น
28 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า การประกนั คณุ ภาพของผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในหลกั สตู รปรญิ ญา และ
ประกาศนยี บตั รทคี่ รุ สุ ภา รบั รองวา่ เปน็ ผมู้ จี ติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ
ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพที่คุรุสภาก�ำหนด
รวมท้ัง สร้างความเช่ือม่ันในคุณภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษาให้กับผู้รับบริการและสังคม โดยการด�ำเนินงาน
รับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาพิจารณา
ดงั นี้

1. ปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร 5 ปี) ปริญญาและประกาศนียบัตรที่คุรุสภารับรองตามมาตรฐาน
ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ทางการศกึ ษา ปรญิ ญาโททางการศกึ ษา วชิ าชพี เพอ่ื ใหป้ ระชาชนและผสู้ นใจทว่ั ไปสามารถสบื คน้ ขอ้ มลู
(วชิ าชพี ครู) และปริญญาโท / ปรญิ ญาเอก (วชิ าชีพบรหิ าร การรบั รองปรญิ ญาฯ ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา
การศึกษา) พิจารณาจากมาตรฐาน 3 ดา้ น คอื www.ksp.or.th และพัฒนาระบบรายงานข้อมูลผู้เข้าศึกษา
ในหลักสูตรปริญญาฯ ท่ีเชื่อมโยงกับงานทดสอบและ
01 02 03 ประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ตามมาตรฐานวิชาชีพ
เพอื่ การขอรับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครู
มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
หลักสูตร การผลิต บณั ฑิต

01 02 4 03 การทดสอบและประเมินสมรรถนะ
มจหาาลกตหักลรสดกั2ฐาูตเ.นากปห0รณนลร1ักญิฑส์ตูญ3ราดตา้ รนที าดงังมกนกาาี้ ารตรศกึรผษฐลาาติ (นหลกั สตู ร ปม)ี บพาจิตณั ารรฑณฐติาาน ทางวชิ าชีพครู ตามมาตรฐานวชิ าชพี

เป็นกระบวนการคัดกรองผู้เข้าสู่วิชาชีพครู เพ่ือให้ได้
02 ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู และมีความรู้ความสามารถ
ดานกระบวน ตามมาตรฐานวิชาชีพเข้าสู่วิชาชีพครู เริ่มบังคับใช้กับผู้ส�ำเร็จ
ดาน00ผ3ล1ลพั ธ การผลติ การศกึ ษาในหลกั สตู รปรญิ ญา หรอื ประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษา
ที่คุรุสภารับรอง และเข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา พ.ศ. 2562
ดานหลักสูตร เป็นต้นไป รวมถึงผมู้ คี ณุ วฒุ ิปรญิ ญาสาขาอืน่ ท่ีผ่านการรบั รอง

02 ความรแู้ ละประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ตามมาตรฐานวชิ าชพี หรอื
ดานกระบวน ผ่านการรับรองคุณวุฒิการศึกษา เพ่ือการประกอบวิชาชีพครู
03 การผลิต จะต้องผ่านการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ตามมาตรฐานวชิ าชีพ เพื่อขอรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ดานผลลัพธ ตามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี พ.ศ. 2559

และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 ซึ่งก�ำหนด
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทดสอบฯ ตามประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา
ในรอบปี 2564 สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดด้ ำ� เนนิ งาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
การรับรองปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร 4 ปี) ทางวิชาชีพครู พ.ศ. 2563 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2)
ผ่านระบบออนไลน์ที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการส่งข้อมูล พ.ศ. 2564 ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะ
ของสถาบันอุดมศึกษาที่จัด การเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญา ทางวชิ าชพี ตามมาตรฐานวิชาชีพ 2 ส่วน ดังน้ี
ทางการศึกษา หลักสตู ร 4 ปี ท่ปี ระสงคจ์ ะขอรับการประเมนิ
เพื่อรับรองปริญญา ตามมาตรฐานวิชาชีพจากคุรุสภา ซ่ึงมี
จ�ำนวนมากกว่า 900 หลักสูตร การบันทึกข้อมูลเก่ียวกับ
ปริญญาที่เสนอขอรับรองตามเกณฑ์การรับรอง ส่งผลให้
การดำ� เนนิ การพจิ ารณาเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย รวดเรว็ มคี วามเปน็
เอกภาพในการบรหิ ารจดั การ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย
ท่ีก�ำหนด รวมท้ัง ด�ำเนินการพัฒนาระบบการสืบค้นข้อมูล

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 29

ส่วนท่ี 1 การทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวชิ าชพี ครู ดา้ นความรแู้ ละประสบการณว์ ชิ าชพี สามารถ
ด�ำเนินการได้ 2 วิธี ได้แก่ การทดสอบ และการเทียบเคียง
ผลการทดสอบ ซงึ่ ในรอบปี พ.ศ. 2564 มผี ลการดำ� เนนิ งาน ดงั นี้

1. การทดสอบ
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ด�ำเนินการจัด
การทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ดา้ นความรแู้ ละ
ประสบการณว์ ชิ าชพี ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ครั้งที่ 1/2564
เมื่อวันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564 และวันอาทิตย์ที่
21 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีจ�ำนวนผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบฯ
คดิ เปน็ รอ้ ยละของผ้เู ข้ารับการทดสอบในแต่ละวชิ า ดังน้ี

วชิ า ผผู้ ่านเกณฑก์ ารทดสอบ จ�ำนวน ร้อยละ
(คน)
1. การใชภ้ าษาไทยเพอื่ การสื่อสาร 6,724 94.62
2. การใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร 2,893 40.66
3. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศึกษา 4,486 62.80
4. วชิ าชีพครู 2,199 30.85
5. วิชาเอก 2,382 33.48

2. การเทยี บเคียงผลการทดสอบ ส�ำหรับใช้ในการประเมินนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
เปน็ ทางเลอื กและเปดิ โอกาสใหผ้ ทู้ ม่ี ผี ลคะแนนสอบ ที่เข้าศึกษา ในปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563
จากหนว่ ยสอบและชดุ สอบมาตรฐานตา่ งๆ ตามทค่ี ณะอนกุ รรมการฯ โดยส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้จัดท�ำเป็นคู่มือการประเมิน
กำ� หนด สามารถย่ืนขอเทยี บเคียงผลการทดสอบฯ กับรายวิชา สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ดา้ นการปฏบิ ตั งิ านและการปฏบิ ตั ติ น
ทก่ี ำ� หนดได้ โดยไมต่ อ้ งเขา้ รบั การทดสอบซำ�้ ในรายวชิ าดงั กลา่ ว ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู ดงั กลา่ วใหส้ ถาบนั ดำ� เนนิ การประเมนิ
โดยคณะอนกุ รรมการอำ� นวยการทดสอบ เพอื่ ขอรบั ใบอนญุ าต และรายงานผลการประเมนิ ตอ่ เลขาธิการคุรสุ ภา เพือ่ น�ำเสนอ
ประกอบวชิ าชพี ครไู ดอ้ อกประกาศ เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารเทยี บเคยี ง ต่อคณะอนุกรรมการฯพิจารณารับรองผลการประเมินฯ และ
ผลการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ดา้ นความรู้ เสนอตอ่ คณะกรรมการครุ สุ ภาพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบตอ่ ไป
และประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ประจ�ำปี ซ่ึงในรอบปี พ.ศ. 2564 มีสถาบันอุดมศึกษารายงานผล
พ.ศ. 2563 – 2565 เมอ่ื วนั ที่ 2 ธนั วาคม 2563 การประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูฯ จ�ำนวน 67 แห่ง
ส่วนท่ี 2 การทดสอบและประเมินสมรรถนะ และมีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูฯ
ทางวชิ าชพี ครู ดา้ นการปฏบิ ัตงิ านและการปฏบิ ตั ติ น จ�ำนวน 7,398 คน
คณะอนุกรรมการอ�ำนวยการทดสอบเพ่ือขอรับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ได้พิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเคร่ืองมือการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ดา้ นการปฏบิ ตั งิ านและการปฏบิ ตั ติ น ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู

30 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

สรา้ งความเชือ่ มน่ั คุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ และตอ้ งจดั ให้มี
ในสภาวการณค์ วามเปล่ียนแปลง การประเมินระดับคุณภาพของผู้รับใบอนุญาตอย่างต่อเนื่อง
เพื่อด�ำรงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญการ
ผา่ นพลวตั การปรบั ปรุง ตามระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
การปรบั เปลย่ี น สกู่ ารพัฒนา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคุรุสภาก�ำหนด ซึ่งจะเชื่อมโยง
กับหลักเกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่ก�ำหนด
อย่างต่อเน่ือง และยง่ั ยนื ใหม้ กี ารตอ่ อายุใบอนญุ าตทกุ รอบ 5 ปี

จากการด�ำเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะ การกำ� หนดระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานในการประกอบ
ทางวิชาชีพครู ตามมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อการออกใบอนุญาต วชิ าชพี ทางการศกึ ษา สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดด้ ำ� เนนิ การ
ประกอบวิชาชีพครู ในปี พ.ศ. 2564 ถือได้ว่าเป็นก้าวแรก ในกลมุ่ วชิ าชพี ครู เปน็ กลมุ่ แรก ซงึ่ มคี วามเชอื่ มโยงกบั มาตรฐาน
ทีส่ �ำคญั ในการปรบั เปลย่ี นหลักเกณฑ์ การปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพครูที่คุรุสภาได้ปรับปรุง
พัฒนาให้มีความสอดคล้องกับบริบทความเปล่ียนแปลงต่างๆ
การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู เพ่ือยืนยัน ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสมรรถนะ
คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ผู ้ ส� ำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ห ลั ก สู ต ร ทางวิชาชีพครู และออกเป็นข้อบังคับครุ ุสภา วา่ ด้วยมาตรฐาน
ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครู และปรญิ ญาโททางการศกึ ษา วชิ าชีพ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562 ซงึ่ ยงั คงบังคับใช้ถงึ ปัจจุบัน และ
(วิชาชีพครู) ที่คุรุสภารับรองตามมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งผล ในโอกาสตอ่ ไปจะไดข้ ยายการดำ� เนนิ การกำ� หนดระดบั คณุ ภาพ
การดำ� เนนิ งานทดสอบดงั กลา่ ว ไดน้ ำ� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ ปรบั เปลย่ี น ของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ใหค้ รอบคลมุ กลมุ่ วชิ าชพี
และพัฒนาหลักเกณฑ์วิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และศกึ ษานเิ ทศกต์ อ่ ไป
ทางวิชาชีพครู ตามมาตรฐานวิชาชีพ ท่ีจะสร้างความเชื่อมั่น
ในคุณภาพมาตรฐานของผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมิน ร่าง รายละเอียดระดับคุณภาพของมาตรฐาน
สมรรถนะทางวชิ าชพี ครทู ่ีสงู ข้นึ ในการประกอบวชิ าชพี ครู ประกอบดว้ ย มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
3 ด้าน ไดแ้ ก่
การกำ� หนดระดับคุณภาพของมาตรฐาน
ในการประกอบวิชาชีพครู 1) การปฏิบตั ิหนา้ ที่ครู
ตามมาตรฐานวิชาชีพ 2) การจัดการเรียนรู้
3) ความสัมพนั ธ์กับผูป้ กครองและชุมชน
ในปี พ.ศ. 2564 สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดด้ ำ� เนนิ งาน รายละเอียดของมาตรฐานการปฏิบัติงานในแต่ละด้าน
ก�ำหนดระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพครู ประกอบดว้ ย ระดบั คณุ ภาพ คำ� อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ หลกั ฐาน
ตามมาตรฐานวชิ าชพี ตอ่ เนอื่ งจากการดำ� เนนิ งานในปี พ.ศ. 2563 และแนวทางการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพของการปฏบิ ตั งิ านหรอื
ซ่ึงเป็นการด�ำเนินงานตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติ ผลการปฏิบตั งิ าน
สภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ซง่ึ ก�ำหนดใหม้ ี ระดบั คณุ ภาพ ของมาตรฐานในการประกอบวชิ าชพี ครู
ข้อบงั คบั ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชพี ประกอบดว้ ย (1) มาตรฐาน ตามมาตรฐานวชิ าชพี ทค่ี รุ สุ ภากำ� หนด จำ� แนกออกเปน็ 3 ระดบั
ความร้แู ละประสบการณว์ ิชาชพี (2) มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ดังนี้
และ (3) มาตรฐานการปฏิบัติตน และให้มีการก�ำหนดระดับ 1) ระดับท่ี 1 หมายถึง มีความรู้และความสามารถ
ในการปฏิบตั ิงาน
2) ระดบั ท่ี 2 หมายถึง มีทักษะและความช�ำนาญ
ในการปฏิบัติงานได้ผล
3) ระดบั ท่ี 3 หมายถึง มีผลลัพธ์ของการปฏิบัติงาน
เปน็ ทีป่ ระจักษ์

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 31

โดยการก�ำหนดระดับท่ี 1 คอื การกำ� หนดให้ผู้ประกอบ งานในอนาคต
วชิ าชพี ครมู คี วามรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครแู ละ
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ซงึ่ ครทู กุ คนตอ้ งผา่ นตามเกณฑท์ คี่ รุ สุ ภา 1. พฒั นาระบบรบั รองปรญิ ญาแบบออนไลนใ์ หท้ นั สมยั
ก�ำหนด และการก�ำหนดระดบั ท่ี 2 และ 3 คอื การเพม่ิ นำ้� หนกั มีประสิทธิภาพ และเท่าทันการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี
ข อ ง คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ท่ี ม า ก ขึ้ น ต า ม ล� ำ ดั บ ดจิ ทิ ลั และสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานรบั รองปรญิ ญาทางการศกึ ษา
โดยทุกระดับจะต้องมีคุณลักษณะท่ีครอบคลุมตามมาตรฐาน ทค่ี รอบคลมุ ถงึ หลกั สตู รปรญิ ญาตรที างการศกึ ษา (หลกั สตู ร 5 ป)ี
ในการประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภา และระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ ประกาศนียบัตรบัณฑิต
กำ� หนด ทางการศึกษา ปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพครู) และ
ปรญิ ญาโท/ปรญิ ญาเอก (วชิ าชพี บริหารการศกึ ษา)
การประเมินระดับคุณภาพของผู้ประกอบวิชาชีพครู
มีวัตถปุ ระสงค์หลกั 2 ประการ ดังน้ี 2. ดำ� เนนิ การตอ่ เนอ่ื งในขนั้ ตอนการรบั ฟงั ความคดิ เหน็
จากผู้มีส่วนได้เสีย ท้ังจากหน่วยผลิตครู หน่วยงาน
1) เพอ่ื เปน็ การประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานวชิ าชพี ผู้ใช้ครู ผู้ประกอบวิชาชีพครู และผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา
และใช้เป็นแนวทางการพฒั นาตนเองของผ้ปู ระกอบวิชาชีพครู ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
รายละเอยี ดการกำ� หนดระดบั คณุ ภาพและแนวทางการประเมนิ
2) เพอ่ื เปน็ การพฒั นาวชิ าชพี และสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบ ระดับคุณภาพ ให้สอดคล้องกับบริบทการปฏิบัติงานของ
วชิ าชพี ครไู ด้มโี อกาสกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพได้อยา่ งย่ังยนื ผู้ประกอบวิชาชีพครูที่ปฏิบัติหน้าท่ีในสถานศึกษาสังกัดต่างๆ
ท้ังในระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ
การรับรองคณุ วฒุ ิการศึกษา การอาชีวศึกษา ท่ีมีความแตกต่างหลากหลายทั้งในเชิงพื้นที่
เพอ่ื การประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ขนาดของสถานศกึ ษา และความพรอ้ มดา้ นทรพั ยากรสนบั สนนุ
การจดั การศกึ ษา เพอื่ ใหก้ ารกำ� หนดระดบั คณุ ภาพและแนวทาง
การรับรองคุณวุฒิการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ การประเมินระดับคุณภาพดังกล่าวสามารถน�ำไปสู่การปฏิบัติ
ทางการศกึ ษา เปน็ การเปดิ โอกาสใหบ้ คุ คลทไ่ี มม่ คี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญา ได้จริง ไม่เป็นการเพิ่มภาระให้กับผู้ประกอบวิชาชีพครู และ
ทางการศกึ ษาทค่ี รุ สุ ภารบั รอง โดยเปน็ ความตอ้ งการของหนว่ ยงาน สามารถเช่ือมโยงผลการประเมินกับหน่วยงานทางการศึกษา
ผู้ใช้ผู้ประกอบวิชาชีพ สามารถด�ำเนินการขอรับรองคุณวุฒิ ทเี่ กี่ยวข้องได้อย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป
การศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพได้ตามหลักเกณฑ์ท่ี
คณะกรรมการครุ สุ ภากำ� หนด ซง่ึ ในรอบปี พ.ศ. 2564 มหี นว่ ยงาน
ทางการศึกษาท่ีเสนอขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา เพื่อขอรับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และผ่านเกณฑ์
การรับรอง รวมท้งั ส้นิ 12 ราย ได้แก่ วชิ าชีพครู จำ� นวน 4 ราย
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา จ�ำนวน 7 ราย และวิชาชีพ
ศกึ ษานเิ ทศก์ จ�ำนวน 1 ราย

32 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

งานใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา

พลังครยู คุ ใหม่ ก้าวนำ� ไกล พาครูไทยส่สู ากล

การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ผา่ นระบบดจิ ทิ ลั ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา เพอ่ื การบรกิ ารทสี่ ะดวก รวดเรว็
เป็นไปตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา ยง่ิ ขนึ้ และยงั ไดม้ กี ารกำ� กบั ตดิ ตามงานใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
พ.ศ. 2546 ตามมาตรา 9 (3) ครุ สุ ภามหี นา้ ทอ่ี อกใบอนญุ าตใหแ้ ก่ กบั เจา้ หนา้ ทค่ี รุ สุ ภาในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ทวั่ ประเทศ
ผู้ขอประกอบวิชาชีพ ซึ่งการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพอื่ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ปญั หาและความตอ้ งการของผปู้ ระกอบวชิ าชพี
และการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเป็น อย่างแท้จริง เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขปัญหาได้ทัน
กระบวนการควบคมุ การประกอบวชิ าชพี ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ตอ่ สถานการณต์ ่างๆ โดยบรู ณาการความร่วมมอื กับหนว่ ยงาน
มีมาตรฐานตามที่ก�ำหนด ส�ำนักทะเบียนและใบอนุญาต ทีเ่ ก่ียวข้องอยา่ งเปน็ ระบบ
ประกอบวชิ าชพี มหี นา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การเสนอ
แผนงานและแนวทางในการวางระบบการออกใบอนุญาต งานเดน่ ในรอบปี 2564
ประกอบวิชาชีพและต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ในปี 2564 ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา มีมาตรการ
การออกเอกสารรบั รองการประกอบวชิ าชพี รวมทง้ั การออกและ อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและผู้ประกอบวิชาชีพ
ต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้แก่ผู้มี ทางการศึกษา ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
คณุ สมบตั ติ ามมาตรฐานทค่ี รุ สุ ภากำ� หนด และตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2564 2019 (COVID - 19) โดยคุรุสภาได้ปรับเปล่ียนกระบวนการ
คุรุสภาได้พัฒนาการให้บริการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ใหบ้ รกิ ารดา้ นใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เปน็ การให้
ให้มีประสิทธิภาพ โดยน�ำระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e - Service) เพื่อลด
(e-Service) มาใช้ในการให้บริการอย่างเต็มรูปแบบ ต้ังแต่ ความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
การย่ืนค�ำขอ การช�ำระค่าธรรมเนียม และการออกใบอนญุ าต (COVID - 19) โดยการปรบั ลดเวลาและวันท�ำงานของบุคลากร
ใหเ้ ปน็ การกระทำ� ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสะดวก ในสังกัดตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการในฐานะที่เป็น
รวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายและลดระยะเวลาซึ่งเป็นประโยชน์แก่ หนว่ ยงานในกำ� กบั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพอื่ เปน็ การปอ้ งกนั
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและประชาชน ตลอดจน และควบคุมจ�ำกัดการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
เจ้าหน้าท่ีท�ำงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็น 2019 (COVID - 19) สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาจงึ ไดอ้ อกประกาศฯ
สว่ นหนงึ่ ของการพฒั นากระบวนการใหบ้ รกิ าร ของหนว่ ยงานภาครฐั เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนและผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้ทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม ทางการศึกษา ดังนี้
ตามนโยบายของรฐั บาลทเ่ี หมาะสม มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ าร
จัดการ การพัฒนาพนักงานเจ้าหน้าที่ให้สามารถท�ำงาน

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 33

ประการแรก การใหบ้ รกิ ารดา้ นใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ประการที่ 4 การตดิ ตอ่ สอบถามการดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั
ให้บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e - Service) สามารถ เรื่องใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกับเจ้าหน้าท่ีคุรุสภาส่วนกลาง
ยื่นค�ำขอออนไลน์ตลอด 24 ช่ัวโมง ทางเว็บไซต์ของคุรุสภา สามารถติดต่อผ่านระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ Call Center
www.ksp.or.th โดยไม่ต้องด�ำเนินการผ่านช่องทางไปรษณีย์ ที่หมายเลข 0 2304 9899 หรือเจา้ หนา้ ที่ครุ ุสภาในส�ำนกั งาน
และเคาน์เตอร์บริการอกี ต่อไป ศกึ ษาธิการจังหวดั ทกุ จังหวดั

ประการที่ 2 ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การอนมุ ตั ใิ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ประการที่ 5 การประชาสัมพันธ์ ในการยื่นค�ำขอรับ
ส า ม า ร ถ พิ ม พ ์ ส� ำ เ น า ใ บ อ นุ ญ า ต ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Service)
และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบ ผา่ นสอ่ื ได้แก่ เวบ็ ไซตค์ รุ สุ ภา สื่อส่งิ พมิ พ์ แอพพลเิ คชนั่ Khuru
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Service) และสามารถตรวจสอบหรอื พสิ จู น์ on Mobile และ Youtube
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพท่ีคุรุสภาอนุมัติผ่าน QR Code
จากเวบ็ ไซตข์ องคุรสุ ภา ประการที่ 6 เพมิ่ ชอ่ งทางการตอบคำ� ถามและการตดิ ตอ่
ส่ือสารเพื่อให้สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดและติดตาม
ประการที่ 3 สำ� นกั ทะเบยี นและใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี งานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
สามารถออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา มากยิง่ ขนึ้ ดงั น้ี
เพ่ือน�ำใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กรณีสมัครสอบต่างๆ
หรือการบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการ และการต่อสัญญาจ้าง 1) เพจคุรสุ ภา
เป็นการรักษาสิทธิ ให้ผู้รับบริการไม่เสียสิทธ์ิ ในขณะที่เจ้าหน้าที่ 2) ทางอีเมล
ส�ำนักทะเบียนและใบอนุญาตปฏิบัติงานจากที่บ้านตามมาตรการ 3) หมายเลขโทรศัพท์เจ้าหน้าที่คุรุสภาในส�ำนักงาน
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ศึกษาธิการจงั หวัดทุกจังหวดั
(COVID - 19)

34 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

งานให้บริการในรอบปี 2564 รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและการต่ออายุ
1. ส�ำนักทะเบียนและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา จ�ำนวน 1,294 ราย

ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทั้งประเภท ข้ึนทะเบียนรับ 6. งานทะเบยี นใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาและตอ่ อายใุ บประกอบวชิ าชพี 6.1 บริหารจัดการเอกสารใบอนุญาตฯ ตีกลับ
ทางการศกึ ษาของครไู ทยและชาวตา่ งประเทศทมี่ ายน่ื ดว้ ยตนเอง จ�ำนวน 2,016 ราย
ณ จดุ บรกิ ารสำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา และในระบบ Self - Service 6.2 เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลทางทะเบียน จ�ำนวน
จ�ำนวน 172,735 ราย แยกเป็น 4,380 ราย
6.3 รับส่ง - เอกสารแบบค�ำขอและเอกสารอ่ืน
1.1 ตรวจสอบคณุ สมบตั ผิ ขู้ อขน้ึ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าต ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ประกอบวิชาชีพครูชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพ่ือน�ำเสนอ - รบั เข้า 3,787 ราย
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการออกและต่ออายุใบอนุญาต - ส่งออก 21,648 ฉบบั
ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี 6.4 สร้างเลขใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบและอนุมัติออกใบอนุญาต อเิ ล็กทรอนิกส์ จำ� นวน 174,092 ราย
ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา จำ� นวน 39,218 ราย
การพฒั นาการใหบ้ รกิ าร
1.2 ตรวจสอบคุณสมบัติผู้ขอต่ออายุใบอนุญาต 1. ด�ำเนินการแจ้งประชาสัมพันธ์หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาของครไู ทยและชาวตา่ งประเทศ
เพื่อน�ำเสนอคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการออกและต่ออายุ เรื่อง ก�ำหนดแบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คณะกรรมการ พ.ศ. 2563 และข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการจดทะเบียนเป็น
มาตรฐานวชิ าชพี เพอื่ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบและอนมุ ตั อิ อก สมาชิกครุ สุ ภา พ.ศ. 2563 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา จำ� นวน 133,517 ราย เรียบรอ้ ยแล้ว มสี าระส�ำคญั ดงั นี้

2. ออกใบแทนใบอนุญาต กรณี ใบอนุญาตถูกท�ำลาย 1.1 ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง ก�ำหนด
ช�ำรุด สูญหายหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ปรากฏในใบอนุญาต แบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ. 2563
ประกอบวิชาชพี จ�ำนวน 1,355 ราย ก�ำหนดให้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเป็น
ใบอนญุ าตแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ผ่ี ยู้ นื่ คำ� ขอสามารถพมิ พใ์ บอนญุ าต
3. ออกใบอนุญาตปฏิบัติการสอนให้แก่ผู้ท่ีผ่าน ได้จากระบบสารสนเทศของส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา หรือ
การรบั รองความรตู้ ามมาตรฐานวชิ าชพี ครทู คี่ รุ สุ ภากำ� หนดดว้ ย แสดงผา่ นอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สท์ สี่ ามารถแสดงขอ้ มลู และภาพ
วธิ กี าร เทยี บโอน ทดสอบ หรอื ฝกึ อบรม เพอื่ ใหใ้ ชเ้ ปน็ หลกั ฐาน ใบอนุญาตทง้ั ด้านหน้าและด้านหลังอย่างครบถ้วน ถูกต้อง
ในการประกอบวชิ าชพี ครไู ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย จำ� นวน
771 ราย 1.2 ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการจดทะเบียนเป็น
สมาชกิ ครุ สุ ภา พ.ศ. 2563 กำ� หนดใหใ้ บอนญุ าตใชเ้ ปน็ หลกั ฐาน
4. ออกหนงั สอื อนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา แสดงการเป็นสมาชิกสามัญ ซ่ึงระบุประเภทและเลขที่สมาชิก
โดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพให้แก่ครูชาวไทยและ ไว้ในใบอนุญาต เลขที่สมาชิกเป็นเลขเดียวกับบัตรประจ�ำตัว
ชาวต่างประเทศ และผู้บริหารสถานศึกษา กรณีสถานศึกษา ประชาชน สำ� หรับผมู้ ีสญั ชาตไิ ทย และเลขประจำ� ตวั 13 หลัก
มีความจ�ำเป็นต้องรับบุคคลท่ียังไม่มีคุณสมบัติในการขอรับ ท่สี �ำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภาออกให้ ส�ำหรบั ผู้ไมม่ ีสญั ชาติไทย
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครหู รอื ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จำ� นวน
31,094 ราย 2. ดำ� เนนิ การแจง้ ประชาสมั พนั ธ์ เรอื่ ง การตรวจสอบสถานะ
การพิมพ์ใบอนุญาต และการแสดงใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์
5. งานคืนเงินค่าธรรมเนียมให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ เพ่ือมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ทางการศึกษากรณีช�ำระเงนิ ผดิ ประเภท ช�ำระเงินซ้ำ� ช�ำระเงนิ
เลขทบ่ี ตั รประชาชนผดิ และขาดคณุ สมบตั ใิ นการขอขน้ึ ทะเบยี น

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 35

ประสบปัญหาในการน�ำใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเป็นการช่ัวคราว การยื่นค�ำขอ
หรืออ้างอิงในการติดต่อหน่วยงานของรัฐและหน่วยงาน แจง้ เปลยี่ นแปลงแกไ้ ขขอ้ มลู ทางทะเบยี น ทง้ั บรกิ ารดว้ ยตนเอง
ภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ัง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผา่ นระบบ Self Service หรอื โรงเรยี นดำ� เนนิ การใหแ้ กผ่ ยู้ น่ื คำ� ขอ
ในทางปฏิบัติ ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาจึงได้จัดท�ำข้อมูล ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาผ่านระบบ KSP School
เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบสถานะ การพิมพ์ใบอนุญาต โดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย ในการเดนิ ทางมาดำ� เนนิ การทสี่ ำ� นกั งาน
และการแสดงใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์ โดยก�ำหนดให้ผู้ย่ืน เลขาธกิ ารครุ สุ ภา ไมต่ อ้ งสง่ เอกสารทางไปรษณยี ์ สามารถตรวจสอบ
ค�ำขอขึ้นทะเบียนหรือต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผลการอนุมัติใบอนุญาตหรือการอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา ที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการมาตรฐาน เป็นการชั่วคราว ดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูล และพิมพ์หนังสือ
วิชาชีพ ตั้งแต่วันท่ี 16 ตุลาคม 2563 เป็นต้นไป จะได้รับ อนุญาตให้ประกอบวิชาชพี โดยไมม่ ีใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี
ใบอนุญาตรูปแบบ “ใบอนุญาตอิเลก็ ทรอนกิ ส”์ เป็น “ใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์” ได้จากเว็บไซต์คุรุสภา
(http//www.ksp.or.th)
3. ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริการงาน
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา เพอ่ื อำ� นวยความสะดวก 4. ปรับปรุงและพัฒนารูปแบบหนังสืออนุญาต
ลดข้นั ตอนกระบวนงาน ลดสำ� เนาเอกสาร มุง่ สคู่ วามเปน็ ผู้นำ� ให้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทางด้านการบริการ ด้วยระบบท่ีสามารถเชื่อมโยงบูรณาการ เป็นการช่ัวคราวเป็นหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ
ข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอก ให้มี โดยไม่มใี บอนญุ าตประกอบวิชาชีพเป็นรปู แบบ 2 ภาษา และ
ความสะดวก รวดเร็ว โดยการน�ำระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ เป็นใบอนุญาตอิเล็กทรอนิกส์เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้กับ
(e-Service) มาใช้ในการให้บริการอย่างเต็มรูปแบบ ได้แก่ สถานศึกษา สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลและพิมพ์หนังสือ
การย่ืนค�ำขอข้ึนทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ อนุญาตให้ประกอบวิชาชีพโดยไมม่ ีใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี
ทางการศกึ ษา การยืน่ ค�ำขอตอ่ อายใุ บอนุญาตประกอบวิชาชพี เปน็ “ใบอนญุ าตอเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ ใหก้ บั ผยู้ น่ื คำ� ขอไดจ้ ากเวบ็ ไซต์
ทางการศกึ ษา และการยนื่ ขออนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี โดยไมม่ ี คุรุสภา

36 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

5. พัฒนาระบบบริการและกระจายงานใบอนุญาต 9. จัดท�ำคู่มือการตรวจสอบคุณสมบัติผู้ขอข้ึนทะเบียน
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาออกไปยังจุดบริการคุรุสภา รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่
ในส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด จ�ำนวน 76 จุดบริการ ประจ�ำจุดบริการ ณ ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดทุกจังหวัด
ใน 4 งานบรกิ าร ดังนี้ เพื่อด�ำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติผู้ยื่นขอข้ึนทะเบียน
รบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ได้อยา่ งครบถว้ น ถกู ตอ้ งรวดเรว็
5.1 งานขนึ้ ทะเบยี นรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ
5.2 งานตอ่ อายุใบอนุญาตประกอบวิชาชพี 10. สรปุ ประเดน็ สำ� คญั เรอ่ื งของใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
5.3 งานใบแทนใบอนุญาต และใหค้ ำ� ปรกึ ษาพรอ้ มขอ้ เสนอแนะ วธิ กี ารใหบ้ รกิ ารผรู้ บั บรกิ าร
5.4 งานใบอนญุ าตปฏบิ ัตกิ ารสอน เพื่อให้ผรู้ บั บริการเกิดความพงึ พอใจสงู สุด รวมถงึ ปัญหาตา่ งๆ
6. จัดช่องทางการติดต่อส่ือสารงานใบอนุญาต ทเ่ี จา้ หนา้ ทคี่ รุ สุ ภา ในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ประสบปญั หา
ประกอบวชิ าชพี ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ในการปฏิบตั ิงาน
ตอบคำ� ถามในแต่ละชอ่ งทาง ดังนี้
6.1 การประชาสัมพันธ์ ในการย่ืนค�ำขอรับ งานในอนาคต
ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Service) 1. พฒั นาการใหบ้ รกิ ารระบบบรกิ ารดจิ ทิ ลั อยา่ งเตม็ รปู แบบ
ผ่านส่อื ไดแ้ ก่ เวบ็ ไซต์ครุ สุ ภา สื่อสง่ิ พิมพ์ แอพพลเิ คชัน Khuru ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตั้งแต่กระบวนการย่ืนค�ำขอ
on Mobile และ Youtube การตรวจสอบคุณสมบัติ การช�ำระเงิน การน�ำเสนอ
6.2 จัดตั้งกลุ่มไลน์เพื่อใช้ในการติดต่อส่ือสาร คณะอนุกรรมการกล่ันกรองการออกและต่ออายุใบอนุญาต
ระหว่างพนักงานเจ้าหน้าท่ีส�ำนักทะเบียนใบอนุญาต ทางการศึกษา คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และ
ประกอบวิชาชีพกับพนักงานเจ้าหน้าที่คุรุสภาในส�ำนักงาน คณะกรรมการคุรุสภา รวมถึงกระบวนการพิมพใ์ บอนญุ าตฯ
ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. กำ� กบั และตดิ ตาม การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทค่ี รุ สุ ภา
จ�ำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มภาคกลาง กลุ่มภาคเหนือ ในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เพอื่ ตรวจสอบการมใี บอนญุ าต
กลมุ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื กลุม่ ภาคใต้ และกล่มุ ผ่อนผันฯ ประกอบวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาในพ้ืนที่
และชาวตา่ งประเทศ จงั หวัดต่างๆ
6.3 การตดิ ตอ่ ชอ่ งทางการสอบถามรายละเอยี ดและ 3. ตรวจสอบและตดิ ตามการมใี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
ตดิ ตามงานใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ไดแ้ ก่ ทางการศึกษา เพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการสรา้ ง การรับรู้และพัฒนา
1) Call Center (หมายเลข 0 2304 9899) งานใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในระบบ
2) ผ่านเพจครุ สุ ภา 4. พัฒนาปรบั ปรงุ ข้อบงั คบั คุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาต
3) ผา่ นทางอีเมล ประกอบวิชาชพี ฉบบั ปี 2559 และฉบับปี พ.ศ. 2562 ครง้ั ที่ 2
4) หมายเลขโทรศัพท์ จุดบริการงานคุรุสภา โดยยุบรวมข้อบังคับท้ัง 2 ฉบับเป็นฉบับเดียวเพ่ือให้
ณ สำ� นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ทุกจังหวัด ความสะดวกในการใช้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับงานใบอนุญาต
7. ด�ำเนินการให้บริการเป็นระบบบริการดิจิทัล ประกอบวิชาชีพทางการศึกษามาพิจารณาความสอดคล้อง
อย่างเต็มรูปแบบ ต้ังแต่กระบวนการยื่นค�ำขอ การตรวจสอบ ตลอดจนปัญหาที่ก่อให้เกิดในตัวกฎหมายเพ่ือมิให้เกิดช่องโหว่
คุณสมบัติ การช�ำระเงิน การน�ำเสนอคณะอนุกรรมการ ทางกฎหมาย และการด�ำเนินการต่างๆ ของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ
กล่ันกรองการออกและต่ออายุใบอนุญาตทางการศึกษา ไดอ้ ย่างครบถ้วนถกู ตอ้ งและชดั เจน เพอ่ื ให้งานมปี ระสิทธภิ าพ
คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี และคณะกรรมการครุ สุ ภา รวมถึง รวดเรว็ ทันสมยั และเหมาะสมกับบรบิ ทปจั จุบัน
กระบวนการพมิ พใ์ บอนุญาตฯ
8. กำ� กบั และตดิ ตาม การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทค่ี รุ สุ ภา
ในสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เพอื่ ตรวจสอบการมใี บอนญุ าต
ประกอบวชิ าชพี ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ตา่ งๆ

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 37

งานสง่ เสรมิ พฒั นา ยกย่อง
และผดงุ เกยี รตวิ ิชาชพี

ส่งเสรมิ พฒั นา ยกย่องวชิ าชีพ
และผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาใหม้ สี มรรถนะทางวชิ าชีพ

และจิตวิญญาณของความเป็นครู

งานเด่นในรอบปี 2564 สังคมให้เป็นท่ีประจักษ์ ซ่ึงเป็นการยกระดับวิชาชีพครู
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริม อกี ทางหนงึ่ ดว้ ย โดยดำ� เนนิ การคดั เลอื กผสู้ มควรไดร้ บั รางวลั ตา่ งๆ
วชิ าชพี ไดด้ ำ� เนนิ งานหรอื โครงการตา่ งๆ ทม่ี งุ่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ของครุ สุ ภา ประจ�ำปี 2564 จ�ำนวน 6 รางวัล รวม 853 คน
ยกย่องและผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ดังนี้
ให้เป็นไปตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ใหม้ กี ารพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทงั้ ยกยอ่ งและผดงุ เกยี รติ 1. รางวลั ครภู าษาไทยดีเดน่ เพอ่ื รับเขม็ เชิดชเู กียรติ
วชิ าชพี ครใู หเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา จารึกพระนามาภไิ ธยยอ่ สธ จ�ำนวน 17 คน
และสังคม การด�ำเนินงานหรือโครงการตา่ งๆ จะเน้นใช้วธิ ีการ
รูปแบบผสมผสาน (Blended) เพ่ือรองรับกับสถานการณ์ 2. รางวลั ครภู าษาฝรง่ั เศสดเี ดน่ เพอ่ื รบั เขม็ เชดิ ชเู กยี รติ
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) จารึกพระนามาภไิ ธยยอ่ กว จ�ำนวน 4 คน
ท่ีเกดิ ขึ้น ดงั นี้
3. รางวัลคุรุสภา จ�ำนวน 27 คน ประกอบด้วย
การยกย่องและผดุงเกยี รติ “ระดบั ดเี ด่น” จ�ำนวน 9 คน และ “ระดับด”ี จำ� นวน 18 คน
ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา
4. รางวลั ครผู สู้ อนดเี ดน่ จำ� นวน 22 คน ประกอบดว้ ย
“ระดบั ดเี ดน่ ” จำ� นวน 10 คน และ“ระดับดี” จำ� นวน 12 คน

5. รางวลั ครุ ุสดุดี จำ� นวน 785 คน
6. รางวัลผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาของชาติ
ประจำ� ปี 2564 จำ� นวน 7 ราย (6 คน และ 1 หนว่ ยงาน)

ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา ยกย่องเชิดชูเกียรติ
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา รวมทงั้ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอน่ื
ซงึ่ เปน็ ผปู้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของ
วชิ าชพี เพอื่ เปน็ ขวญั กำ� ลงั ใจแกผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
ที่จะพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนการสอน การบริหาร
และการนิเทศให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและคุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์แกผ่ ูเ้ รยี น เป็นผลดีตอ่ การศึกษาของประเทศชาติ
และเปน็ ตน้ แบบในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจแกผ่ รู้ ว่ มวชิ าชพี และ

38 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

ต88หหน้นน55แ่ึ่ึงง33ดดบ้้ววคคบยยนนในโโดดกดดังังำยยนนรดดี้ี้สำำรเเ้ำนนงิินนแกกรำำงบรรคคนั ััดดดเเำลลลืืออใกกจผผแูู้้สสกมม่ผู้รคค่วววมรรวไไดดิช้้รรำัับบชีพรรำำแงงลววะััลลสตตัง่่ำำคงงมๆๆใหขขเ้ ปออ็นงงคคทุุรร่ีปุุสสรภภะำำจักปปษรร์ ะะซจจึ่งำำเปปปน็ีี 22ก55ำร66ย44กรจจะำำดนนบั วววนนิชำ66ชีพรรำำคงงรววูอััลลีกรรทววำมมง
จ1จ1จรเช�ำาำำ..ิดนนนงรรชววววาาูเนัลนนกงงคียวว111รร7ััลลูตภ77คคคิจารรนาคคษภภูู รนนาึกาาไพษษทราายะไไดนททีเายยดมดด่นาเเีี ภดดเิไนน่่พธื่ยอเเยรพพั่บอ่ออื่ื เขรรส็ับับมธเเขขม็ม็ งเเชชาดิดินชชปเเูู กกรยยีี ะสรรก�ำตตนาจจิิ ักศาางรรเากกึึกนพพียเลรรรขะะตานนธาาิคิกมมาุณาารภภคคไไิิุรธธุสรยยภูอยยาอ่อ่าไดวสส้ยโุ ธธกสย่องเชิดชูเกียรติ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาท่ีปฏิบัติหน้าท่ีเป็นเวลา
ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 ปี จนอายคุ รบ 60 ปบี รบิ รู ณ์ ซง่ึ เปน็ ผมู้ ปี ระวตั ชิ วี ติ
การท�ำงานดีตลอดมา มีความประพฤติเป็นแบบอย่างท่ีดี
2จ2จรเจชาำ�ำำ..ิดงนนนรรวชวววาาัลูเนงงนนกคววีย4ร44ััลลรูภคตคคานคคิจรรษนนาูภูภาราาฝึกษษรพ่ังาารเฝฝศะรรสน่่ัังงดาเเีเมศศดาสส่นภดดิไเเีเีธพดดยื่อ่่นนยร่อับเเพพเขกื่ื่ออ็มวรรัับบเเขขตพป็็มมารรมะเเะชชเจกจิิดดาาา้ รชช อศีตเูเูยนกกข1หู่ ีีียยยอ.ัว รรงบเฯคตตตัตรรจิจิหรยูเี าารพแมรรอื ื่อลรึึกกผราะพพู้แยับเทรรกงพะะินนารนนรพชะนาาร่รวำ�มมะายคาาชอเรภภทงหอู คไิไิาาลธธ์นวืดอยยโุเังยยสคนจ่่ออรปี้ื่อารกกกงะววหพจมำ� รปาะยี 2บเ5ชา6ิดท1ชส -ูเ มก2ีย5เด6ร็ตจ3ิ
จำ� นวน 34,606 คน เข้าเฝ้าฯ (ขณะนี้อยรู่ ะหว่างประสานและ
รอหมายกำ� หนดการจากสำ� นกั พระราชวงั )
2. ประกาศรายชอื่ ครอู าวโุ ส ประจำ� ปี 2563 และ 2564
“33“ร“ารรร..งะะะวดรรดดลั าาับบบััคงงดรุดดวว”ีสุ ีี””ลัลัเภจดคคา�ำจจ่นุรุรนำำจุสสุ”วนนำ� นนภภวววจาานน1น�ำ8จจน112คำำ7ว88นนนนคววคคนนนนน9ป22รคะ77กนอคคบแนนดลว้ ปปยะรระะกกทออาบบงกดดาว้ว้ รยย เง ““นิ 3รร.ป ะะค22รดด..ะัด21บับั จเ ดดลำ� คคปือเีเี รรดดีกอูอู2น่น่ คาา5””ววร6โุโุูอ3จจสสาจำำปปวนนำ� ุโรรนววสะะวนนทจจนี่�ำ�ำส99ปป3ม0ีีคคค22คว55นนรน66ไแแ34คดลลจจน้ระะำำ��ับลนนะกววา2นนร0ช97,0,,่ว230ย820เ13หบคคลาทนนือ
4จจ4แปรำ.าลำร.นรงะนะรววกาวา“นังอลนงรวบคะ1วัลดร1ดลั0้วคูผับ0ยครู้สดครูผ“อี”คนูผรูส้นนะจู้สอแดดำ� อนแลบันีเดนละดดว่นนีเะด“เี ดดร“ีเน่1ด่นะจร2”�ดำ่นะจนคบัดจ�ำนวับดำนจนน”ีดวำนวน”ี 2จน-ว12ำจ0น2น-2ำคคว2น22-นนนว2-คน1นค21รปปเนคปวร2รครมระะปน่ือะเจจคปรงกำ��ำนะหน็ปอป กมเีบีง2อ2าดนิ4555ยบ้ว.จ.66 เ ดยช�ำ4อไ3ว้นิดดอ“(แยวชอก้รรลนูเยปะ“้กะาทูร่รดรสียนะะ้งั ะับำ�รสหกถหดตดิ้นาว่ราับิเีศ่าดบัยป6ดมง่นร0กรภลูเี า้ ด”0ะานนาร,ก่นธ0ิถพดา”ชิ0า่ �ำคศว่ย0เนยรภนบูคียอานิ ารพบากทอู คัตวาารรุรโ(วหอู)สโุ าสแกใวฯลแนโุ ะสสเวรเนใังอ่ืนนบินงวเาชขกนั ท่วาเ้าขถยรเา้้วขเฝเหนอฝ้าลร)า้ บัฯือฯ
ประจ�ำปี 2565

งานวันครู

55ร.า.งรรวาาลังงคววรุลั ัลุสคดครุ ดุุรสุ ีุสดจดำ�ดุ นุดี วี จนจำ7นำ8นว5นวคน7น78855คนคน สำ� นักงานเลขาธิการครุ สุ ภา จดั งานวนั ครู ครง้ั ท่ี 65
พ.ศ. 2564 ภายใตห้ วั ขอ้ แกน่ สาระ (Theme) “พลงั ครไู ทยวถิ ใี หม่
ฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล” เป็นการจัดงานวันครูท้ังในส่วนกลาง
และส่วนภูมิภาค (หน่วยจัดงานวันครูในส่วนภูมิภาคพิจารณา
จัดกิจกรรม และรูปแบบการจัดงานได้ตามความเหมาะสม
กับบริบทและสถานการณ์) ส�ำหรับส่วนกลาง จัดขึ้นระหว่าง
6จ6จ1รปำ.าำ.รนหงรนะรววนาจวานลังว่�ำนงวผยป7วงลัมู้ 7ี าลั2คีผรน5ผณุรู้มำ)6ูม้ำยคีปู4ยีคณุก(จณุ6า(�ำปู6รนปูตคกวคอ่กนานกรนาแ7าตรรลแต่อรศะลาก่อกึยะาก1ษ(รา61าศหรขคึกศนอหนษึกงว่นชแายษ่วลาขงายตะำอขงินงำอ)ชนงNกวา)ชนัตาoาทริrตปmแ่ี 1ิพร6ปaะรlมรจ่ระกาใะนจรปบาราี าคูป2ปดมแ5ี ข2บ-6อ35บ4ง0อ6เอC4มนOษไาVลยIนDน์เ ป-2 51็น69ค4รผเั้งปแ่าน็รนกกาภwราจwยดั wใงนา.สวนันถแาคบนรบกู.cNาoรemณw์

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 39

-4-

แบ่งการจัดงานออกเปน็ 3 เฟส ดงั น้ี เฟส 1 “บชู าวชิ าชีพครู”
เฟส 2 “เรยี นรพู้ ฒั นาตนเอง” และเฟส 3 “สรา้ งคณุ คา่ ยกยอ่ ง
ผู้ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา” โดยมี
พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานงานวนั ครู
ไดม้ อบสารและค�ำขวัญวันครู คอื “ครูไทยวถิ ีใหม่ ใส่ใจดจิ ิทลั
สร้างสรรค์คณุ ธรรมประจ�ำชาต”ิ
ส�ำหรบั กิจกรรมทางวิชาการ จัดผา่ น Platform คือ
www.วนั คร.ู com ประกอบดว้ ย การปาฐกถาพเิ ศษ หมอ่ มหลวง
ปิ่น มาลากุล คร้ังท่ี 4 เร่ือง “พลังครูไทยวิถีใหม่” - 4 -
โดย ศาสตราจารย์นายแพทย์ วจิ ารณ์ พานชิ การบรรยายและ
การเสวนาท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จ�ำนวน 3 เรื่อง
ผยโดา่คุ ยนใผหหทู้ลมกัร่ โสงดคตู ยณรุ ใกชวาแ้ฒุรหพแิ ลฒั ลง่นะเรานสยี กั มนกรรารนู้รถศอนกึกะษคชรน้ัามูทเรอื ม่ี ยีอชี นาอื่ชแเพี ลสยะี ดเงา้ทนกคกาโรานรพโจฒัลดั ยกนเีาาปรตน็เรนฐยีหเานอนมรงู้ ่อมหลสวำงหปริ่นับกมิจำกลรำรกมุลทำคงรวั้งิชทำี่ ก๔ำรเรจื่อัดงผ“่ำนพลPังlaคtรfูoไทrmยวคิถือีใหwม
รแวลมะนทิ5ร0รศเกรื่อารงทามงีผวูชิ้เขาก้าารร่วอมอกนิจไลกนร์รในมหในวั ขสอ้ ่ว“นพกลลงั าคงรวู จถิ �ำใี นหกวมำน”่ รบรรยำยและกำรเสวนำท้ังภำษำไทยและภำษำอังกฤษ จำน
362,372 คน และสว่ นภมู ภิ าค จำ� นวน 283,436 คน รณวมวผนัเู้ ขทา้ ร่ีชเ3ว่รื่อม1ียเนสยีรู้นงอกกำชรพั้นเัฒรีนยนำตแนลเะอเงทผค่ำโนนหโลลยักีเสปูต็นรฐกำำนรพแัฒลนะำนสิทมรรรรศถกนำะรคทรำมู
กิจกรรมงานวันครู จำ� นวน 645,808 คน (ขอ้ มูล ๕๐ เรื่อง มีผู้เข้ำร่วมกิจกรรมในส่วนกลำง จำนวน ๓๖๒,๓๗๒ ค
พฤษภาคม 2564)

40 สำหรับกิจกรรมทำงวิชำกำร7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า จัดผ่ำน Platfผoู้ เrmข้ ำคร่ือว มwกwิ จwก.วรันรคมรงู.cำoนmวั นปรคะรกู อจบำดน้ววยนกำ๖รป๔ำ๕ฐก, ๘ถำ๐พ๘ิเศษค
หม่อมหลวงป่ิน มำลำกุล คร้ังที่ ๔ เรื่อง “พลังครูไทยวิถีใหม่” โดย ศำสตรำจำรย์นำยแพทย์ วิจำรณ์ พำนิช

ขผ้ำู้เรข่้วำมร่วกิมจกิจรกรมรรงมำนงำวันวคันรูคจรำู นจำวนว๖น๔๖๕๔,๘๕๐,๘๘๐ค๘นค(นข้อ(ขมู้อลมูณล ณวันวทัน่ี 3ท1ี่ 3พ1ฤพษฤภษำภคำมค2ม-5265546-) 4 )

ง4า.นงจาัดนทจาัดหทนางัหสนือังปสรือะปวรตั ะิควรัตู ิคทรู ้ังในรูปแบบเล่มหนังสือและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) โดยเล่มหนังสือ ได้เผยแพร่ไปยังหน่วยงำน
ทำงกำรศึกษำ และหน่วยงำนอื่น ๆ เช่น ห้องสมุดประชตำ่อชยนอดส่วแนลหะนระังลสึกือถอึงิเลค็ุกณทงรามอคนวิกาสม์ ด(Eี -มBีจo�ำoนkว)นได1้เผ8ยปแรพะรว่ผัต่ำิ น
ทำงเวบ็ ไซตห์ อสมุดครุ สุ ภำ เพื่อใหอ้ นชุ นรนุ่ หลังได้ศึกษแำบตง่ อ่เปยน็ อด5 แกลุ่มะประรละวึกตั ถิ ึงดคังณุน้ีงำมควำมดี มจี ำนวน ๑8 ประวัติ
แบง่ เปน็ ๕ กลุม่ ประวตั ิ ดงั น้ี 1. ครูพระนักพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ
คคคคครรรรรูพผููผูผผู ูบ้สูู้รู้้อรังะรนรส้ำนิหุรรงกักัำศรรษพคษิ กภ์ัฒ์งยำำูมนด์รนิปศว้ำศัญึกยคลิ ษจุณญปติำธำ์ขทวรไอญิ่ีหทรงมลยญชำำำจจกตณรำหิิยนจลจธวำำรำนนยรนวกม๓วนลนแคจยป๓ลำ�ุณ๔ทุรนะะธปภวคปว์ รานจุณรตัพะ ำะิ7วภชนวัตีวำปัตว2345ิติพนิร....ข ชะคคคคอ๗ววี รงรรรตัิตชผููผูผูผปิขมุสู้รูู้อู้้บรองัชรนะสงรา้นุรวชิรงหกั ตัศรุมจาษคิษิำ�ชรภ์์งนยนกาูมวด์ นาปินว้จรศัญยำศลิ1จนญึกปติปวาษ์ขวนรไอญิาะทงท๑วญยชัตี่หาาจปิ ตณลำ�ริานจะจกวำ�วำ� นหนตันวลิว3นานปย34รกะปปลวรรยัตะะุทิววตััตธิ์ิ
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.

นดทเผปด่ี โ้ปู ็นดเรผดดะูป้่ นพเรดฤะส่ นตพคะิปฤุรทสฏตุสค้ะอิบปภุรทนตัฏำุส้ อถิตไบภดึนนงัตำ้ยกเถิตไจหสเทจงปกดำปึนงนดั็นยะน้ยารากเ็น่อแวพปกเทังงำนปงบา็นยผสริมกเ้อ็รบน่อแชเูือ้จปพะปอางนบิดผจวแปผค5อเสรย็์ใัดชู้บนรมชิถลร่ำรฏุ.นิเำ่ระดูเุอีิดผจศลกนิึู)งยำะงทุ ยงิสพบทชิู้ ทตมียึ็กชกส“กธรผำ่ าูเีาี่ด้ภวรจัตฤำ�กงทพีะหราร่ำนษิตยีตญทตียติตาำ้หรบรรินผนง้ัคขด่ีวรสญาิแงปไนเู้อปมิตบีอตญังร1นปปต่งดำร3ินผง้ัฏสตแงูโเ่เญเะณแรู้็.ปหร้นชทดังยอืิสกิบำลกต่ิมะำรรแวี ยผปคสรมอกกรเ่ัสทะตะณสรตูปิหบืสูมมิ์้อกโรำมจ่ิยมจิำตบ่แงือนวงแอ(โะำทคี จีรบจรร่กEำนหิดชอกบนบโวำนรปริรรำำ-ตุ่สยงลคเวงงำตั Bจัชกบยรปู ปรกยำิชรว่รยเรงนีิคพคใoงำยำำวช/รำิ็ญนณหวีสเทจำชระรoวบลบะาบิำ้ดสไนแีวพนำ”ูใำญรธิก์kมรบจทรหงวรรชทะบรเ)ีกว่ัตกำมำร้ำลทไาสี่รรสำิมู มเมรำบรีมำทกณุดงโณรขณกง้ัะรนคิี บป่คกรดีมทกอสำสศใณำี ยำขเีแิ้รทุน้ำขยูรุดึนกณรรยธทรรดยะี่อรณทสษขหเเรอศกิ่าู ขะศลูังวป้ิป้ำตำุปูึงนกดอง่งอำงำนยตั่มบวษ็นิสทหงผแวกรก(งขกแิจ้ีชหEำุิชดรควิผชบูอว่ีด้าาำัปลวีดืtอนหำงุรน้นูติำรบริชีhตระพจบชรชรังุสหชใัผวีำดเิi้ัุาตคงกมือโะcสีลหพิตดภีพลลคแพบชs่ำือกอยม่แล้ำใิงไุคตมัก์โใคีพรรดหทามหลอiไกนคพวnจ่เรไดยน่ีมชทลรบะน้่แบม์าดใรรู ีค“้ททดิ่รมุนPกมาวมังกีรรท้เวุณวหี่มบโำผี่สทrงำยมุ่ง่ศผิชด่ีชีค“สoนูปรเยกือกป�ำเำนุึณวู้ปดหักิ้งกนานfนแรแบาบังมeสเิำนนูปะชรษสดพปา้แรลนรืรsอดัวงกกะี พรนตนุ่ศดsะรัตราปสหไำแูะำก่อiิแณป่รืึกoอรว่รลกงตลอตัะปษnสเำข่ะอเกิแสวบรรปผaู่กกาทงปผทคทอลั ตศรำะลวำlน็ะำ่าิึงกาฏคววิามรงราิชผานวLรษังแำตรศางบิ สลเงำวนูิชำeนิ”ึกคนมบกรงรตั 3ชิชษำaำรกำี ราำ้บยติ านูีำพช”สr ไรูง้รชnนอนาปีพูปคทศคพีi่ ตยงรnรใวคแำส1ึ กวเา่ำชู้gำศทพบรง.ำ�เามษง ม้ปูสกนสอบ่ื Cมำกึจกราฏู่กำพัก/oงรเาู้ แรษรวขำคงิบรฒัวรmลิธศราิ้ยวามิสัาตชนกีนปะึกmำาใ่งิใำาาจเมบฏจผษเนลจรuชสเูรบิ้ เำขวรขรnีแขรรพดรัตาิถแ้ำิณมiล้รังายtธเใิกีชลนyกะสจาิกพขยำีวะีร้บูคาอ่ ว:ร่ื แอิตผะรรางิสวชEลู้ปเบพครวาอ-ขาบะณชิุรPรวัมฒนช้ำคสุ านะLวรตสีใพวชภCนจชิกนู่รวำพีรคาา)ำาชำมะิชไชใวรรเณจด้ันตหหำพพีูันช้ดชรเรแ้นผุ่ือม(ระไ�ำีพนรกขัา่กยีพชดเหผ่ยนินสคนใน้อัฒอนปู้ รนินิำตรขแยกัะนรูบกกงนอห่ำบะใ(ำาางนันรงก่งกบวดรผรเกกิรสศอเเป้ำิปู้เชสทาำิณตึบตกน็นรรรรคนรวษาคิมปวเะรโียชิรักนุณาิูสปพชรชียมาศคโะรธชฤธำนีลเพ้าึพกรขรพีรตชยรงู )ษฤร้รำูีิ้ี พมสตมำู่ิ
ไปยงั หนว่ ยงานทางการศึกษมาสี ถแำลบะหันนอ่วุดยมงศานึกอษืน่ ำๆท้งัเชภ่นำคหร้อฐังแสมลุดะเอกสชานรสเขน้ำเทร่วศม(กEจิthกicรsรมinจPำrนofวeนss2io6naแl หLe่งทarว่ั nปinรgะเCทoศmmunity:
ผป่ารนะชทาาชงเนว็บสไ่วซนตห์หนอสังสมือุดอคิเุรมสลุสถผี็กภำเู้ทขานรำ้ ศอเรพกึน่วื่ษอิกมใสำกห์ฝจิ ้อ(ึกกEนป-รุชBรรนoมะoรสุ่นจkบ)ำหกนลไำดวังรไน้เณผดย้ศ1์วแึกิช9พษำ,4รชา่ีพ9ค3Eขรู-อคPจงนLำวนCชิ า)วชนเพี พ2ค่ือร,พ2ู มัฒ3งุ่ เน2นาน้ ดแไ้าหปนส่งคกู่ ุณารธนรำ� รไมปจใชรป้ ิยฏธบิรรตั มใิ นแวลถิ ะชี จวี รติ รปยราะบจรำ� รวณนั

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 41

สมำชิกครอบครัวมลู นิธริ ำงวลั สมเด็จเจ้ำฟำ้ มหำจักรมีกิจกรรมรว่ มกนั อย่ำงต่อเน่ือง เรยี กไดว้ ่ำ “แม้ต
เรำไม่ห่ำงกัน” ภำยใต้ควำมเช่ือท่ีว่ำ “โรงเรียนปิด แต่กำรเรียนรู้ต้องไม่หยุด” ประกอบด้วยกิจก
ขไหดอล้อกังยจผ่ารู้เงรตเยรปาีย็นบมรรเรูปขณธ้ารขสรอู่วมงิชวชิาแาชลชีพะพี สคครรร้าูโสูงดกู่ปยารมระปีคสกมฏรบนูลบิูปกนิษตัรากิธิฐะราิฯำณจรธ�ำส์กติรกอาลำานรชอรบใเดเนจู1รปปช้ำณ.็นทีน้ั กพาเผี่ผรกริธูำ่้นยีามพีนน�รำสมรมะำเรมดมดใาีด็จหังีกชังกพ้ิจสทนลรกมี้่าาะรวานรเมชทมรูลิกพารนง่ควริธวมรัติรลักอานันงสบรวอมำคัลยชเสรด่าสมัวงจ็ ดุเมตดเำจู่อล็จฯเ้าเนนจฟิสธ้าื่อา้ฟิรยงม้าาำมเงหมรหวบาียัลาจกรจสมไกั ักดมรรร้วำีคเีย่าดชรัง็จกั้งค“เทมุงแจดำ่ีม้า4�ำร้ตฟเี นเ้อ้าสวินงมดันหกหจ็ทิจ่าาเกงี่ป2จไรน็กักร9ลมปรีตระุลธำำคนมพ2ิธ5พี 6ระ4รำ
และก�ำกบั ดูแลเปน็ แบบอย่าง ณ วังสระปทุม และพระรำแชตท่เรำานไปมำ่หฐ่กางถกำัพนิเ”ศษภใานยหใัวตข้ค้อวา“มคเรชูแื่อลทะี่วค่าวำ“มโเรสงมเรอียภนำคปทิดำงกำรศึกษำในส
• มสจีสถำ� นถาวนานบศันึ2ก6อษุดแามหฝศง่ึกทึกปั่วษรปาะรแปทะสพร้ังเบะทภรเกศ่ราทะาคศบรรณัำมฐดแีส์วขลมิชอะำาชงเชอโิกรีพกคคชครโนรูรคำู วงิดว-ลัมแ1ูลตค9น่กุณธิา”ำฯิรกเซรรตึ่งียลใรนอนำรดปงู้ตปวีน้อัลที ี้เงคี่ผรไรำ่ามนยูม่ห่งิมีสยคามุดุณมำ”ีดชังริกปนำครงี้ ะวรกูลั “อครบรำูขดงว้ววยัญัลกศสิจษิมกยเรด์รจ็จมำเสจก�ำ้ำปคฟรัญ้ะำขมเทอหงศำไจทักยรเีพ”่มิ เอพีก่ิมปอรีกะ
เข้ารว่ มกจิ กรรม


จำ� นวน 2,232 แห่ง
• มผี เู้ ข้ารว่ มกิจก-ร6รม-จ�ำนวน 19,493 คน

1. พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี
คร้งั ที่ 4 วันที่ 29 ตุลาคม 2564 โดยสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ลnิตสGื่อraสp่งเhสicรท()Mิมางจจoกำรtาiนรoร ยศnวกึำน2ษบG.า r1รผaใรนpลณเhิรต2iขื่อสcรปูอื่)งอแงสจแบว�่ำงลบิชนเะสำควชรนอื (ิมีพ๒11จ)ท)ภรำเบารรงพยื่อทกกางคำรบารวแรฟศำลรกิ มึะกณแเษบช2ขบำ)ิงอเสคงบใลวัมนทิอื่ชภคนา๒วำไชหาษีพมรวณูป์แ(พทเบIสnารดบงะt็จกeรเาาปคrรชv็นศือทiปกึeาษร(wน๑ะาปธใ)นAาาฐสนrภกถtพiำถาcิธนาพีพlพกeรกิาเ)ะศรรรษณจำาใำชก์ฟนทนาิหกราวแัวแนนขพรบ้อราร่3บงะ“วบัลคฯารดูแณขลอะวงคังโสวราครมะโคปเสวทมดิ ุมอ - ภแ1ล9าค”ะ
เชงิ สมั ภาษณ์ (Interview Article) จำ� นวน 3 เรอ่ื ง ซึ่งในปีนี้เรามีสมาชิกครู “รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี”
จกรรมผลิตทาบงกทาเรร ศกีึยษ3นา. อจกอริจนรกไลยรนรำ์มจบำ�ผนรลวริตนบณ1ทขหเรลอียกั งนสวตูจิรชรรปำยรชะาีกพบอรทบรดณำว้ งขยกอ3งำบวรทิชศเารึชกยี ีพนษำอเรพอาง่ิมนวอลั ไีกคลรยูน1ง่ิ1์คณุจคำนรานงใววนลั นค1ร1ขู1วญัปหศระษิลเยัทก์ จศสากูตมปรีสระมเาทชศิกไทคยรเูรพามิ่ งอวกีัลปครุณะมาากณร
ำทวเ่ำรดีย้วนยหจรรือหจขรรอหรยรืงอำยนวหาบิช่วบนารยรช่วรรกีพยณณำทกขรขั้งาอเอรงร5วเงียรชิวียดานิชชน้ารำพีนรู้ชู้พมีพ9ม.ีศเีเน.ขพน2้้ืออื้อ.5ศห5หต.6าำา2แคคมลร5ขระอ้ออ5ขบบอ้บ6คังบคคลงั แัคบลุมบัลคุมจคุระรจรุุสขรสุรภย้อภราาบายวบว่าังำา่รดคดบร้วว้ับณรยยครุรณุสม1ขภ6หอ0าำงจวคัวก่ำน ริชดี ำ้วป2ชยร.ีพะแกเบททาศบร้ังปไแท5ฐผยมนนดโพิดเ้ำทยฤนศเตปค9ิก็นรกรูรขิจรางก้มอวรัลรมมผูล่านนิธริสะมบเบดอ็จอเจน้าไฟลน้า์
องวชิ ำชีพ พแ.บศบ.แ๒ผน๕พ๕ฤ๐ตกิ รรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550 เพ่ือให้เครอื ขา่ ยครูไทย ปี 2564 ได้ทำ� ความร้จู ักกนั เมอ่ื วันท่ี
26 มถิ ุนายน 2564
3. Getting to Know You หรือ ท�ำความรจู้ ักคุณ
ลสมเดจ็ เจ้างฟานา้ มมหูลานจิธักิรรีางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหาจักรี โดยปกติเม่ือได้ประกาศผลการคัดเลือกครูรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
64 ที่ผ่ำนกมาำรรปะบร าะดเปทขี อ2ศ5งไโ6ทร4คยทตแิดผี่ ลา่เชนะื้อมทไาว่ัวรปโัสรลโะคกเทโเรผศนไชาทิญย2แก0ล1ับะ9ทกวั่(ำCโรลOรกVะเผIบDช ำญิ- ด1ก9ขับ)องโมรคาหงวาวิดจัลกั -สร1มีแ9ลเดว้ ็จนสเน้ั ่งจผ้าคฟลณ้ใาะหมกห้ครรานมจตกักากรรีถอมึงยลู โนรู่ใงนธิ เิฯรียจนะเทดี่คินรทูปาฏงไิบปัตเยิหย่ี นม้าคทร่ีู
ลกัน แต่ภำสย่งผใตลใ้ขห้อ้คจนตำกกอัดยู่ใดนัภงกาวละ่ำทว่ีตม้องูลหน่างิธไิกรลำกงันวัลแสต่ภมาเยดใต็จ้ขเ้อจจ้ำ�ำฟกัด้ำมหเพำื่อจทักำ� รคียวาังมครงูจ้ กัดคำรเูนเรินียนกริจ้หู กลกัรกรามรใแหล้ ะสภาพการท�ำงาน รับรู้
ลนธิ ิรำง4ว2ัลส7ม7 ปเดี ส็จํ าเนจั กำ้ ฟง าำ้ นมเหลำขจากัธิรกมา ีกร คจิ ุ รกุ สรภรมา รว่ มกันอย่ำงต่อเน่ือง เรียกได้ว่ำ “แม้ตอ้ งหำ่ งไกล แต่
ยใต้ควำมเช่ือที่ว่ำ “โรงเรียนปิด แต่กำรเรียนรู้ต้องไม่หยุด” ประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญของ

2. การปฐมนิเทศครูรางวัลมูลนิธิสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ประเทศไทยโดยเป็นกิจกรรมผ่ำนระบบ
ออนไลน์ เพ่อื ใหเ้ ครอื ขำ่ ยครูไทย ปี 2564 ไดท้ ำควำมรู้จกั กัน เมื่อวันท่ี 26 มิถนุ ำยน 2564

3. Getting to know you หรือ ทาความรู้จกั คณุ โดยปกติเมอ่ื ได้ประกำศผลกำรคดั เลอื กครรู ำงวัล
สมคเวดา็จมเสจำ� ำ้ เรฟจ็ ้ำเมขหา้ ใำจจกัการีแทลำ� ง้วานนัน้ ขอคงณคระรู กว่ มรรกมบั กชำมุ รชมนูลรนวมธิ ฯิทง้ั จเขะา้ เพดบนิ ทำงในไปตเ่ายงี่ยปมรคะรเทรู ำศงสวู่แัลนสวมทเดาง็จกเจาร้ำปฟรำ้ ะมยหุกำตจ์ใักชร้กีถับึงกโรางรเศรึกียษนาไทย”
คกทำรีค่กผใผรนูรรป้บูู้าศ่ปปูวรรรึกพมีะหิฏ2ษกัฒาก5บิ อรำ6ับนตัขบ4เาิหชอกยกไงุนมาีย่มากร้ำชมส่รรไทศทานะคมี่ึกทยำเารษใรรพนรวววา่ือถตงะมเทศา่เเดทยงอกึำนิปี่ย้ัษงกคทรมเาอวะขาธคำัคเง้ำกิาทมรไพารปศรรรวู้พจบำเระพชักบวผเอทอ่ืมคคู้บแกถตูรรรลองึไููไิดหสเกทัครอ่ื้เำรจยยีปทรรงึแนลาอ้จขลย่ีรชงดั อะู้หนถทกงพนิ่ขลูตจิ กอ้บักกไแรมทกรผตะลูยรำเ่ปู้ นเมทแรกรอื่พลแรยี่ะงะบลววกจพกกะงอาบบศันัสกบึภกกำษำพรเซผรำพไกา่ึ่งะธทือ่นนำิกหครยรอำวะวทใกรบน่าาจำเมบตงงพาเอมำ่ำกสื่ออนงูคลมนแปรอนไรลรูไภลิธับทะกนาิรยเรคเ์ทเาคู้สปทมศงาวลอื่าวมำงวี่ยรัมลากนั วรนาสสทมถรขำ่ีมถศเ6เ้ขอเรึกึงก้าดม็จสษมุร็จู่อืลา่วภเเทขมเาจ(กพอ้ก้ำก้ี่ายใสนงาั จฟถรวคธกป์่นิก.้า2)ำรับ5มรแะแ6กทหลชต4ะำำุมาเ่ ดนสงรอจว้ำถพอื่ัอกยนางันฒครบขจไวี นันอำลากรกมนงำาอร์ใมว่นงจมเทวิตมุทนตอื ีิ
ในผป่าีน2ร5ะบ6บ4อไอมน่สไำลมนำ์ รตถ้ังเชดื่อินวท่าำ“งGไปeพttบinคgรไู tดo้ จKึงnจัดoกwิจกYรoรuมพ–บกSนั hผoำ่ wนระanบdบอSอhนaไreลนข์ อตงั้ ช1ื่อ1ว่ำปร“ะGเeทtศtinทgี่จัดtoข้ึนKn5owครั้งแล้ว
Yoทu�ำค–วาทมำรคจู้ วกั ำคมุณรู้จ”ักใคนุณวัน”ทใ่ี น19ว,ัน2ท5่ี 1แ9ละวัน26ที่ ก2นั 5ยาแยลนะ2ว5ัน6ท4ี่ 26มูลกนันิธยิฯำยไดน้จ2ัดเ5วท6ีเ4สวสนนานับี้ขส้ึนนเุนปใ็นหก้คารเู ฉคพราือะขส่ำ�ำยหมรูลับนเคิธริ ือข่าย
สรกำนอกสทไงงดับนาาวทง้รสพัับลกุนสนสัสฒาเนุนมนรพนับศเุโน่ือดคากึสใค็จตรหษนวเงนา้คุนจำกใรเ้ำงมหำอูเบฟเค้รคงสป้คำรรมไูมืวอรชทอหำะข่ยวภมม่าำใยรำยจาห่พวคณมักจ้ มทัูลฒดัรจมีนำกานไืองจิิธกดกากิกรก้พเำารับพอัฒรงรมงวศมื่อนทหัลเึกนพำุสนำษคตอ่ืวมเำขนรพิทเใูดยเื่หอยอ็าจแคำ้คยงเลลจวรผะัยชาูไ้าลทมฟพศ่วแยยเิลั้ลาฒสใมพะปหมนตหัฒำอ้จาอ่กานัดภงยจราำกอาักเนแคดิจรพลีกื่อะรนรมกใคไคมดนหิจรท้รเศำูกไพำู�ตวทรงแื่อวิทารยลรนขมยอระรยผำษีว่พกำลม่าทดัฒยกัยนี่ ผ้2วนันเกกล1ยกาำษแจรงิ(AลโตำกสSคนระ่ืรอEรรตศสมAงก่อำานNกสำรยแ้ี ารอตCสอสรดอรoดเนง์นoพใเับจpหไพื่อลำเe้ส่ือหสนนrนน็aส่์วงใุtนวนหเiนา่vงสับ้นeนบร1สักกั ิปPม7นเเรrรรแoุน1ยีียะลjนเeนมคะคมcหำครีพนtณsีลวอัฒ)าาแขจมเยนล่ปำำสปยะ็นากนรทกกุ ะสาักเรนทษจาศนดัะ
ครจูไำ� ทนยวนร1นุ่ 7ท1ี่ค1น-3และจสัดนเวบั ทสนีเสนุ วโคนรำงกเารรอ่ื คงวา“มรรบัว่ มมมืออื โกคบั วมดิ ห-า1ว9ทิ ยใานลยัต่ำงปไรดะ้ คเทวศาสมแู่ รนู ้วทสำางกมำารรปถรทะ�ยำุกงตา์ในชรก้ ่ับวกมำกรั นศึกขษ้ าำมไทพยร”ม แ ด น
ผก่ำอศเคนงิลรทรปอื ะุนขาบเา่กพบยรค่ืออรคแอไู วลทนำะยไมลมรนเน่หุ ส์ทามเว่ีม1อิท่ือ-ภยว3ำาันจคลทดัทัย่ีเวำเ6กทงษกเีกสำตุมวรรนภศศาำึกาพเรสษันอ่ื ตำงธร“์ (์2กรเบั5สพมคื่6ออื .ส4)โแคนวลดับดิ ้ะวส -ยสน 1คถุน9วำำบมันดโรรด่า้วำยนมมใวชมจัฒเ้ือทิตนรคตธะโิรนหซรโวึ่งมล่ำนยงอกี มา้กูลวจนขำา้ิธกมิรคอำรปุงูไวสทัลรยรสคสมดำเา้ดมน็จำภเรจาถษ้ำเฟาขแ้้ำำลมระ่วหคมำวกจามักำแรรตี กตา่ ง
ประชุมออนไลนใ์ นเวที Show and Share ของ 11 ประเทศ ท่จี ดั ขึ้น 5 ครงั้ แล้ว มลู นธิ ฯิ ไดจ้ ัดเวทเี สวนำน้ขี น้ึ เป็น
กำรเฉพำะสำหรับเครือข่ำยครูไทยอีกด้วย โครงกำรเพื่อส่งเสริมและพัฒนำทักษะในศตวรรษท่ี 21 (ASEAN
Cooperative Projects) เป็นกำรจัดกิจกรรมผ่ำนกำรส่ือสำรออนไลน์ให้นักเรียนหลำยประเทศได้ทำงำนร่วมกัน
กิจกรรมน้ีแสดงให้เห็นว่ำ นักเรียนมีควำมสนุกสนำน ได้ควำมรู้ สำมำรถทำงำนร่วมกันข้ำมพรมแดนโดยใช้
เทคโนโลยีก้ำวข้ำมอุปสรรคด้ำนภำษำและควำมแตกต่ำงดำ้ นวัฒนธรรม

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 43

-8-

-8-
4. After Award Activities หรือ กิจกรรมหลังการรับรางวัล เป็นกิจกรรมที่มูลนิธิรำงวัลสมเด็จ
เจ้ำฟ้ำมหำจักรีมีควำมภูมิใจ เป็นกิจกรรมที่เน้นกำรมีส่วนร่วมของครูและภำคีเครือข่ำย เพ่ือสร้ำงพลังและขยำย
ควำมสำเร็จของครูรำงวัลฯ โดยได้รับควำมร่วมมืออย่ำงเต็มใจและเต็มที่จำกครูและนักเรียน ในเครือข่ำยมูลนิธิฯ
โดยในปีน้ี ได้ปรับกิจกรรม เป็นรูปแบบออนไลน์ให้สอดคล้องกับวิถีปกติใหม่ (New Normal) มำกขึ้น ตัวอย่ำง
กจิ กรรมท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ Show and Share ระหว่ำงครู ผู้บรกิ ำร ผู้ปกครองและชมุ ชน 11 ประเทศ โดยมเี ครือข่ำย
ครูไทยของมูลนิธิฯ เข้ำร่วมด้วย ผ่ำนระบบออนไลน์ เพื่อแลกเปล่ียนแนวทำง และประสบกำรณ์กำรแก้ปัญหำ
ในช่วงสถำนกำรณ์กำรแก้ปัญหำในช่วงสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคระบำดโควิด-19 ซึ่งได้รับควำมสนใจ
อย่ำงมำกจำกเครือข่ำยมูลนิธิฯ ในประเทศ และครูจำกประเทศในอำเซียนและติมอร์-เลสเต จัดข้ึนรวม 5 ครั้ง
เมอ่ื วนั ท่ี 2 มิถนุ ำยน วนั ที่ 19 มิถนุ ำยน วันท่ี 1 กรกฎำคม วแเนัมลื่อทะคว่ี ันร5จู ทาี่สก2ปงิ รหแะำเลทคะศมใ1น9แอาลมเซะิถยี วุนนันาแยทละน่ี ต1มิว9อันรท-์สเ่ีลิง1สหเตกำรคจกดั มฎขนึ้า2ครว5มม62545ค6ร4ง้ั

เจ7้ำ.ฟง้ำานมสหรมง่ ำาคีเงจสววาักรัลม74ิมรภ .แเีม.มู1ปลิใ4ีคA็นจ..ะ กวผเfกAปิจtำลfา็นeกtมeงรกรrrาภิจพรAนกมAูมฒัwรทหwรaิใี่นมมrนจdูaลทาึง่ นAr่ีเผเโนdcิปธรล้นtิรงi็นvงกาAเiาางtรกiรวeนcยี มิัจลstวนสีสหกiิจว่vมรนรหอยัืiเรtดรนแก่วi็จมeจิมลง่ึ เกขจทนsะรอ้านวรี่เงฟหมนตัคว้หารร้ตันกมลแูือรงกัหลกกระราาำกมจภรรรักริาจมบมัค(รกOีี ีสารn่วรรวงeศนันมาึกทรsหนี่ษ่วc5ลสhมาแังoข่ลงกะoอเาlส1งร9คOรรสิรมnับิงูแหeแราลลคาIะnมะงภnกว2ำo5ัาล6คvร4aีเเพคปtiรัฒo็นือnกขนิจ:่ำากOยผรSรเลOพมงIื่อท)าส่ีมนรูลว้ำนิงจิธพัยิรลำังงแวลัละสขมยเดำย็จ
คโคใกเอเคโมนดจขกแเดจิยวรวก่อื้ำลับยอชูยกำไ่ำำี่ยนฟวทะงบใ่มวใงมรวสันนวเน้ำมงรรยสสขปนถมบิทสปปมำขำ้อำ็นำหทถีกเี่นทีเงน๘อปนรซอเกคตแโใผ2รำใขำคดี้จน่ีส้ีารู้็งง่ึบอนัว๘จรศน็จไจรยอนรไไูไเอำนมรวำะดขทคดมือึก๒แไสักดขยงิกทไดกกคยโร้รพขู้อ4ปลลษิถถส่าาร้สอร้าปยขบัือ่ารเำัญงนผรงบังีนำรม.ถุนอำยร่ขำคคชกงรรใ์คลคะงนับเำ่วานีคหิจผAิคธำนแมรับขบณวเรยงานไกูศ้ปส้พกลัลยวกูิาฯfืา์รตมอ้ำูำมดรรอกกนมะศึกดtื่อำ์ิกจงนสูรนรูร่ลอำขดค้แeปธริขสิึำมกษจมนเกันำบำงฯว่ิคกรอร่รำrขกนทใษภมวใวกำิอธรงลรงะ้าจเกำยนขีส่้โ่ิมฯำเAงัลงนัอ้สวำอรูแมรรราล้ำSแ�ำพอืมจงรคบยรฯัมลพwคทริแกใรโขกอhลแลว่ตา่่ำกวูลดจญัลคฯมมบัยัฒั้งaงปดำิ่ีะลนoาโเยะมมาแ่ด1นวเัดธดรปrไเชเะชใังญนววw้ลาถิโดณdผเดปนิกเอ้ืิสธ9ยุมย็เนกนะปีตดปแ้ำปยไป์้ำกห็ชวนิจรฯขไผม็วกกกรนAยa็นีนราแนดา็นา่ยรรมยใต่กำูปำรนจSก้ีnมคัส้ีไcาพก้รใินรใแถิใิจhแรรเ1ไยหดโแtีุผรdคันบผับนูดะครกปลวoศ1คกุนiมุส้รบรบลvโ้่ะป้ผปw่ัตคำปวคึกช่รือรแำบSัเภบป(iงรัาบญลนนกตNวขุรtษร่วรอaยับมบำรhำม็าiคง่าหุำรeอสnอมะรeะสงนำกนไยทaำบwรามนdเ2วภอ�ำดทแสิะจsมเททจน่ีใrมไ0เรทำอกนSนลูลรลำ้ดาeศNวบ่ีถเ1มหหท่วh็จนรกนชมนะอoศำ9นัไำรบaขีคค์มนป่โวี่มิธรเลร้rเกรนมดพrนนอทรmง(ิฯนุณือมeึ่งเีอระCน่วยแำเแูสอ่ืงกปปไโก่ีินaะOืใอคมลหรแรถอมส์ใรล1ำลนlก้็ำนะละรจีเำาVพกห)องวมคนรมปหหูระกนรนนิจIรำมำเDยัรฒ้สามำู่รปเบกวกักือรคไมปปากือณร์งใะ า่่ำงเแ-อีสาลกียัรตลวนรขำห อเงรสีร1คงรบทขัยลีย่ีด่ค์วกก่านย2ินเำู9จณรนเย้สบ้นึนนศฯปยรรนตค)เฎวำม5์ำูั์บ่ำพูหอ็นิช็มรเรลำผกห6งสพ่ือนด่ไวำแ้ใอคเบู้สบตใใแSปลปน4ใจชม่ึงนนื่ตคอพcงน้นมรลชัรงนุตนรแสีพกhขิบก็บัมแลแ้ใระมกิกถาำะวลoใทอสนบันบว้ใลอาร่รหีสามำัoตโนเขะบงนจันพกววดะ ทกงรlร้อสถเนุกคศทเัฒแำิถกทตัยกงรบO ตใถำเกึรศ่ีมรรสหผ7นีลณปปับเนัษ่ี็nมบรกำีคำูแพถใชส้.า5ปู้1ะาeนกมุรณลศทาดนฑถผรลวิญัฒ นแากตตาศเู้เึก่ีIภยร่ีขผสจิถะ์ทอรสnลตนศชนง้นิึคกใ�าีำลษยมำภนอีะnปึี่กปำศงิวห็มวพนำนงษแกเรoษำกึกหำเงผแรนัาลกผักมทอบซษvคสำาคยโนมะาโำนู้เใงตa่ไาแดร่่ีงีงจบรยรีคีหเหกเารแค(tดไพคยวิผแปใูยีแุณiดนคNำนทลนศ้oสำม้สเหรรทลส้ลนละ็่ึกกเนงคnรeศ่ีมผ่ถแรกึลรืเโอิดงมะะ่าล:ำปคกะwรแไา้ีคำ้ำขลโำกษทขงOวนงงช็่นงนิงจบดรลาุณานาสเา(ะ้่ำนาสSรัธกุมนNรกูแศยงระNำจแเยียOภติวกมหรวรเขชรเoึกลวดำัตนริeคชีลสากIรนิำมร้)ำนเกนrษนัะีน์ราย่โวคงพ่ึwดิพmะมรอหกคคโนววำนนท์นรรก่วปื่อาตัุทนรร1รนงวaมมัรกำี่Nวสมุก่วสเึ่งส์ใี่รมทlริ1-ดแีค1รมตัรน่งภนคเ)ย๘ีoเร่ีมะลูลรมรขุณ-ผ9ลวกนาัด้ำเีมเมะr๒1สอนปีีสปยัตไคลรmสทเงคหสงำดป้าก๖ว่บิธนร9สรงรพเ่ีผน่ำเรหก้หดร็นนิำมรืaะูอ้ตทงิงกึ่ทลรมร�มำขผปนนำใรทซหlี่เเมขากเำัางำกน้ึร)ทนลวงว่นนยจะ่ึี่เง่ำแำังบะี่รยตัวมหงเิ(สเนศมวไวยโัพคดวกลOณัลตคคำมยขดมกัตขิชร่ืมอำมขะนnกชสุัรวรรอโ้าอำ้ก์รใกำกูลบันขมeชุดึ้นสรอมืงอะงกับร2โำ้น์ขยผภยยสเรดรขำรคดิ้ึธ5ำนู้ท่มมำมวรำย่ำแิยฯ็จวง6ี่มเียกำคต4มม้ปัรว5ูลือสอัญนขคนยหิธ่ำร่ใำิฯำยจ้ังง
7ก.ิจกงรา4รน4มสทง่7่สี เ7ำสปคีรสญัมิํ า นแไั กลดงะ้แากกน่าเSลรhขพoาัฒธwิ กนาaราnคผdุ รลุ สSงภhาาaนreวจิ รัยะแหลว่ำะงนควรูัตผกบู้ รรริกมำกราผรปู้ ศกึกคษรอางและชมุ ชน 11 ประเทศ โดยมเี ครือข่ำย

ครูไทยของมูลนิธิฯ เข้ำร่วมด้วย ผ่ำนระบบออนไลน์ เพ่ือแลกเปล่ียนแนวทำง และประสบกำรณ์กำรแก้ปัญหำ

ตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาและการพฒั นาวชิ าชพี โดยเชญิ ชวนให้ 7.2 ผลงานวิจยั ของครุ สุ ภา
สถานศกึ ษา สง่ ผลงานนวตั กรรมของสถานศกึ ษาเขา้ รบั การคดั สรร สำ� นกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภาไดส้ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ
กับคุรุสภา ประจ�ำปี 2564 มีสถานศึกษาส่งผลงานเข้าร่วม ให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้ใช้กระบวนการวิจัย
คัดสรรกับคุรุสภา จ�ำนวน 882 ผลงาน ในจ�ำนวนนี้มีผลงาน สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมทเี่ หมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาและ
ทม่ี คี ณุ สมบตั เิ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ปี่ ระกาศไว้ จำ� นวน 826 ผลงาน เปา้ หมายการพฒั นา โดยเชญิ ชวนใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
โดยคณะกรรมการคัดสรรผลงานฯ ได้ตรวจประเมินคุณภาพ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ส่งผลงานวิจัย
ผลงานฯ มผี ลงานทผ่ี า่ นเกณฑส์ มควรไดร้ บั รางวลั โดยแบง่ ออกเปน็ เขา้ รบั การคดั สรรกบั ครุ สุ ภา ประจำ� ปี 2564 มผี ปู้ ระกอบวชิ าชพี
2 ระดับ คือ “ระดบั ภูมภิ าค” และ “ระดบั ประเทศ” ดงั น้ี ทางการศึกษาและนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรกับคุรุสภา จ�ำนวน 455 เร่ือง
1) รางวลั หน่ึงโรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม “ระดับ โดยการคดั สรรผลงานวจิ ยั แบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั คอื “ระดบั ภมู ภิ าค”
ภมู ภิ าค” จำ� นวน 532 ผลงาน ประกอบดว้ ย เหรยี ญทอง จำ� นวน และ “ระดับประเทศ” มผี ลการดำ� เนินการ ดงั น้ี
93 ผลงาน เหรยี ญเงนิ จำ� นวน 245 ผลงาน และเหรยี ญทองแดง 1) รางวัลผลงานวิจัยของคุรุสภา “ระดับ
จำ� นวน 194 ผลงาน ภูมิภาค” จ�ำนวน 31 เรื่อง ประกอบด้วย ผลงานวิจัยดีเด่น
จ�ำนวน 8 เรื่อง ผลงานวิจยั ดี จำ� นวน 3 เร่ือง และผลงานวิจัย
2) รางวลั หนง่ึ โรงเรยี น หนง่ึ นวัตกรรม “ระดบั ชมเชย จำ� นวน 20 เรอ่ื ง
ประเทศ” จำ� นวน 91 ผลงาน ประกอบดว้ ย เหรยี ญทอง จำ� นวน 2) รางวัลผลงานวิจัยของคุรุสภา “ระดับ
21 ผลงาน เหรยี ญเงนิ จ�ำนวน 31 ผลงาน และเหรยี ญทองแดง ประเทศ” จ�ำนวน 9 เร่ือง ประกอบดว้ ย ผลงานวิจัยดี จ�ำนวน
จ�ำนวน 39 ผลงาน 5 เรอ่ื ง และผลงานวจิ ยั ชมเชย จำ� นวน 4 เรื่อง

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 45

การจัดประชุมทางวิชาการออนไลน์ของ Khurusaphaofficial/) และ YouTube (khurusapha)
คุรสุ ภา (KSP Webinar 2021) โดยมี นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ การประชมุ มกี ารแลกเปลยี่ น
ส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภาจัดประชุมวิชาการ เรียนรู้ผ่านการการบรรยาย การเสวนาพิเศษ และการเสวนา
ของครุ สุ ภา ประจำ� ปี 2564 เพอื่ เปน็ เวทที างวชิ าการระดบั ประเทศ จำ� นวน 12 หวั ขอ้ มผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ผา่ นทาง Webinar จำ� นวน
ทใ่ี หอ้ งคค์ วามรทู้ ท่ี นั สมยั และเปน็ ปจั จบุ นั การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 10,641 คน และมผี รู้ บั ชมผา่ น Facebook จำ� นวน 26,290 ครงั้
ประสบการณ์ด้านการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพให้แก่ และ YouTube จำ� นวน 174,828 ครงั้ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 สงิ หาคม
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา นกั วชิ าการ นกั วจิ ยั คณาจารย์ 2564)
นสิ ติ /นกั ศกึ ษา และผสู้ นใจทว่ั ไป ปี 2564 จดั ในรปู แบบออนไลน์
Webinar (KSP Webinar 2021) ภายใต้หัวข้อ “Education 3. เฟสสาม เป็นการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
Transformation in the Post - COVID Era: การศึกษา (Workshop) ในรปู แบบบทเรยี นออนไลน์ ฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ทผี่ นั เปลยี่ นในโลกหลงั โควดิ ” จดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ท่ี 12 กรกฎาคม (Workshop) ให้แกผ่ ปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาในรปู แบบ
ถงึ 31 ตลุ าคม 2564 โดยแบง่ การจัดกจิ กรรมออกเปน็ 3 เฟส ออนไลน์ จัดท�ำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาตนเองผ่านระบบ
ดังนี้ ออนไลน์ จำ� นวน 18 หลกั สตู ร ผา่ น Plat from www.วนั คร.ู com
และมีการน�ำเทปบันทึกภาพการจัดประชุมทางวิชาการ
1. เฟสแรก (Pre Webinar) เป็นการเผยแพรค่ ลปิ ออนไลน์ของคุรุสภา ในเฟสสอง จ�ำนวน 3 วัน มาลงระบบ
“11 ครูผสู้ รา้ ง เพ่อื Child - Centered Approach” เริ่มตัง้ แต่ ในรูปแบบบทเรียนออนไลน์ เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
วันท่ี 12 กรกฎาคม 2564 เป็นต้นไป ผ่านทาง YouTube ทางการศกึ ษาและผทู้ ส่ี นใจสามารถเลอื กเขา้ รว่ มกจิ กรรมไดต้ าม
(khurusapha) และ www.facebook.com/Khurusaphaofficial/ ความสนใจ ระหว่างวันท่ี 28 สิงหาคม - 31 ตุลาคม 2564
มผี เู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมจ�ำนวน 146,234 คน (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 มีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop)
สงิ หาคม 2564) ท้ังสิ้น จ�ำนวน 754,539 คน และมีผู้ท่ีผ่านการอบรมทั้งสิ้น
162,882 คน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 ตุลาคม 2564)
2. เฟสสอง เปน็ การแลกเปลยี่ นเรยี นรดู้ า้ นการวจิ ยั งานบริหารจัดการองค์ความรู้เพ่ือพัฒนา
การศกึ ษา และการพัฒนาวิชาชีพ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และ ความลมุ่ ลกึ ทางวชิ าชพี ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี
เพ่ิมพูนกระบวนทัศน์เพื่อการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ทางการศกึ ษา
จดั ในรปู แบบของนทิ รรศการออนไลน์ การบรรยาย การเสวนา
พิเศษ และการเสวนา ประกอบด้วย งานบรหิ ารจดั การองคค์ วามรเู้ พอื่ พฒั นาความลมุ่ ลกึ
ทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเป็นงาน
2.1 นทิ รรศการออนไลน์ “ผลงานวจิ ยั ของครุ สุ ภา” โครงการใหม่ที่เร่ิมด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จ�ำนวน 31 เร่อื ง และ “ผลงานหนึ่งโรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้
จำ� นวน 91 เรอ่ื ง รวม 122 เรอ่ื ง เรมิ่ เผยแพรต่ ง้ั แตว่ นั ท่ี 20 สงิ หาคม เพื่อพัฒนาความลุ่มลึกทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพ
2564 เป็นต้นไป มีผู้เข้าเย่ียมชมนิทรรศการออนไลน์ ทางการศึกษา โดยการน�ำเสนอองค์ความรู้ทางด้านการศึกษา
(ผลงานวิจยั และนวตั กรรมสถานศึกษา) จำ� นวน 79,055 ครง้ั ผา่ นแพลตฟอรม์ ออนไลน์ เพอื่ ใหผ้ ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
(ขอ้ มลู ณ 31 ตุลาคม 2564) ไดพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนเกดิ ความเชย่ี วชาญและลมุ่ ลกึ
ในสาขาวชิ าหรอื ดา้ นทต่ี นเองถนดั เปน็ ความรว่ มมอื ในการดำ� เนนิ งาน
2.2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ระหว่างส�ำนักงานเลขาธิการคุรุสภากับหน่วยงานภาครัฐ
การศึกษา และการพัฒนาวิชาชีพ ส�ำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ และเอกชน ได้แก่ บริษทั เชฟรอนประเทศไทยสำ� รวจและผลติ
ทางการศกึ ษา และผสู้ นใจทว่ั ไป ระหวา่ งวนั ที่ 20 - 22 สงิ หาคม 2564
เป็นการจัดประชุมในรูปแบบออนไลน์โดยลงทะเบียนเข้าร่วม
การประชมุ ผา่ นระบบ Webinar และมกี ารเผยแพรใ่ หผ้ ทู้ ส่ี นใจ
ทวั่ ไปรบั ชมผา่ น Facebook Fan page (www.facebook.com/

46 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า

จ�ำกัด ศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาขององค์การรัฐมนตรี งานรับรองกิจกรรมพฒั นาวิชาชีพ
ศกึ ษาแหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (SEAMEO STEM - ED) บรษิ ทั งานรบั รองกจิ กรรมพฒั นาวชิ าชพี เปน็ การดำ� เนนิ งาน
วสิ ดอมไวด์ จำ� กัด และ บรษิ ทั เอดู พารค์ จำ� กัด โดยไดจ้ ัดทำ� รา่ ง
ระบบ KSP Knowledge Management https://kspkm.org/ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริม
และคัดสรรองคค์ วามรู้ จำ� นวน 105 เร่ือง ทมี่ าจากฐานข้อมลู สนับสนุน เชื่อมโยง การผลิต การคัดกรองและการพัฒนาครู
รางวัลต่างๆ ของคุรุสภาและฐานข้อมูลของหน่วยงาน และบุคลากรทางการศึกษามีวัตถุประสงค์เพ่ือรับรองกิจกรรม
ภายนอก ภายใต้เป้าหมายองค์ความรู้ฯ 7 ด้าน และจัดให้มี พฒั นาวชิ าชีพเพอ่ื การต่ออายใุ บอนุญาตประกอบวิชาชพี
กิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
องค์ความรู้เพื่อพัฒนาความลุ่มลึกในรูปแบบการเสวนา จากวัตถุประสงค์ในการรับรองกิจกรรมพัฒนา
ผา่ นสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยแอปพลเิ คชนั Zoom Cloud Meetings วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาท่ีพัฒนาตนเอง
ตามเป้าหมายขององคค์ วามรู้ ทั้ง 7 ด้าน รวมจำ� นวน 7 ครั้ง กอ่ นทจ่ี ะขอตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครุ สุ ภาจงึ เปดิ กวา้ ง
ภายในเดือนกันยายน 2564 มผี ปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา และรับฟังความคิดเห็นถึงรูปแบบและกิจกรรมที่หลากหลาย
เขา้ ร่วมกิจกรรม จำ� นวน 3,724 คน ในการพัฒนาตนเองเพ่ือการประกอบวิชาชีพ การด�ำเนินงาน
ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทผ่ี า่ นมาได้ด�ำเนนิ การส�ำรวจ
การพัฒนาตนเองตามกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาและผู้ประสงค์จะประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา ระหวา่ งวนั ที่ 13 ตลุ าคม - 13 พฤศจกิ ายน 2563
มผี ตู้ อบแบบสำ� รวจ จำ� นวน 943 คน และนำ� ผลจากแบบสำ� รวจ
มากำ� หนดแนวทางการจดั ทำ� ระบบรบั รองกจิ กรรมพฒั นาวชิ าชพี

7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า 47

หลกั การในการรบั รองกิจกรรมพฒั นาวชิ าชีพ งานในอนาคต
(2QC-Ked. Model) 1. งานส่งเสริมและพัฒนาจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา
Context 1. สร้างนวัตกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นฐาน
K Ed. ในรูปแบบ Sandbox หรอื Ethics PLC Sandbox: E - PLC
Sandbox เพ่ือยกระดับการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพครู
KSP มาตรฐานวิชาชีพ Education agency โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพและเน้น
ของครุ ุสภา หนว ยงานตนสงั กัด การใชอ้ งคค์ วามรทู้ างดา้ นวชิ าชพี ครู เปน็ ฐานในการพฒั นาใหผ้ เู้ รยี น
มสี มรรถนะส�ำหรับศตวรรษท่ี 21 เปน็ กจิ กรรมส�ำคญั ท่จี ะชว่ ย
คณุ ภาพ ส่งเสริมและพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพครู ให้เกิดขึ้นกับ
ผปู ระกอบ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา และสง่ ผลสะทอ้ นไปถงึ ผเู้ ตรยี ม
วิชาชีพ เข้าสู่วิชาชีพครู (นิสิต/นักศึกษาครู) ท่ีประสงค์จะประกอบ
วิชาชีพครูต่อไปในอนาคตให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
Career Path Quality คุณภาพ อยา่ งแทจ้ ริง
ความกา วหนา ในวิชาชพี Quantity ปรมิ าณ 2. ผลติ สอ่ื นวตั กรรมการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาจรรยาบรรณ
วชิ าชีพในรูปแบบบอรด์ เกม (Board Game)
C 2Q 3. สง่ เสรมิ และพฒั นาผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
ผ่านบทเรียนจรรยาบรรณของวิชาชีพทางการศึกษาออนไลน์
บรบิ ทในยคุ ปจ จุบนั และอนาคต เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก
ในการประพฤติปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ
คุรุสภา, 2563 2. งานรับรองกิจกรรมพฒั นาวชิ าชพี
รบั รองกจิ กรรมพฒั นาวชิ าชพี ของผปู้ ระกอบวชิ าชพี
เพอื่ รองรบั การด�ำเนนิ งานตอ่ ไป อีกท้งั ไดป้ รับ (รา่ ง) ประกาศ ทางการศึกษาที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาหลักเกณฑ์
คณะกรรมการครุ สุ ภา เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการรบั รอง การตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาในรปู แบบ
กจิ กรรมพฒั นาวชิ าชพี เพอ่ื การตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การสะสมหน่วยคะแนนของกจิ กรรมพฒั นาวิชาชีพ และสามารถ
ใหส้ อดคลอ้ งกับรา่ ง ขอ้ บงั คับฯ ก�ำหนดหลกั การในการรับรอง สะสมหนว่ ยคะแนนเพอื่ การตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ (2QC-Ked.model) รวมถึง ในทุกรอบระยะเวลาของการต่ออายุใบอนุญาตกับคุรุสภาได้
จัดท�ำแบบส�ำรวจความคิดเห็นการพัฒนาตนเองตามกิจกรรม โดยพฒั นาระบบบริหารจดั การข้อมูลการพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
พัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพรทางการศึกษาและ (KSP Professional Development Digital Platform)
ผู้ประสงค์จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยน�ำกิจกรรม ซง่ึ เปน็ ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การพฒั นาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
พัฒนาวชิ าชพี จาก (รา่ ง) ข้อบังคับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ ท่ีจะเป็นคลังข้อมูลการพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
วิธีการและเง่ือนไขการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กวา่ 1 ลา้ นคน และนำ� ไปสกู่ ารตอ่ อายใุ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี
ทางการศกึ ษา พ.ศ. .... และขอ้ เสนอแนะของการสำ� รวจการพฒั นา ท่ีมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ตนเองตามกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพ มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ทางการศึกษาและผู้ประสงค์ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา สามารถค้นหา ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูลผลการพัฒนา
มาปรบั ในแบบสำ� รวจน้ี เพื่อดำ� เนินการสำ� รวจในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ตอ่ ไป

48 7 7 ปี สํ า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร คุ รุ ส ภ า


Click to View FlipBook Version