The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2565-2568.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nathapons2004, 2022-09-06 03:12:55

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2565-2568.docx

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2565-2568.docx

1

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2565 – 2568

โรงเรียนบ้านบอ่ ดนิ

สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร



บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ ำร
Executive Summary

โรงเรียนบ้านบอ่ ดนิ ได้จัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี 2565–2568 ฉบบั นี้ โดยมีวัตถปุ ระสงค์
คือ 1) เพือ่ ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางและเป้าหมาย การดาเนินงานการพัฒนาการศึกษาในภาพรวมของโรงเรยี น
ในปี พ.ศ.2565 –2568 และใช้เป็นกรอบทิศทางหรอื แนวทางการดาเนนิ งานในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา ปี พ.ศ. 2565 – 2568

2) เพอ่ื ใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการจดั ทาคาขอตั้งงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 -2568
ในภาพรวมของโรงเรียนบา้ นบอ่ ดนิ และ

3) เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการบรหิ ารจดั การให้การดาเนินงานบรรลุเปา้ หมายที่กาหนดไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ

โรงเรียนบา้ นบอ่ ดิน ได้กาหนดกรอบแนวคิดหลกั ของการกาหนดยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของ
โรงเรียนในคร้ังน้คี ือ การแสวงหาจุดร่วมบนความแตกต่าง และการพัฒนาภาคีเครือข่ายทางการศึกษาในระดับ
โรงเรียน เพอื่ รว่ มกันสรา้ งโอกาสในการพฒั นาการศกึ ษาให้สนองต่อความต้องการของสงั คม และผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสียในทุกฝ่าย ในขณะเดียวกนั ยังเป็นยทุ ธศาสตร์เพือ่ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กา้ ว
สบู่ ริบททางสังคมรอบด้านได้อย่างเหมาะสม ตามศกั ยภาพขององค์การท่ีมีอยู่ในพ้นื ที่ ใหเ้ กดิ ศักดศิ์ รแี ละเปน็ ที่
ยอมรบั ทางสังคม ภายใต้กลไกของ การบรหิ ารจดั การทางการศกึ ษาทเี่ รียกวา่ "คิดอยา่ งเปน็ สากลโดยอยู่บน
พน้ื ฐานแหง่ ความเปน็ ไทย (Think Global and Act Local)" จงึ ไดด้ าเนนิ การจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา ปี พ.ศ. 2565 – 2568 โดยมกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการจัดทาแผน การประสานขอขอ้ มูลทาง
การศกึ ษาและข้อมลู ทีเ่ กี่ยวข้องทุกหน่วยงานการศึกษาภายในเขตบริการของโรงเรยี น การวเิ คราะห์ข้อมลู
จดั ทาภาพรวมสภาพการจดั การศึกษา (SWOT Analysis) ของโรงเรียนทางการศกึ ษาในเขตบรกิ ารการเสวนา
ระดมความคิดเห็นจากผูท้ รงคุณวฒุ ิและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี (Stakeholders) เพอื่ กาหนดกรอบทศิ ทางการ
พัฒนาการศึกษา (วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และตัวช้วี ดั ) การประชา
พิจารณ์ โดยกาหนดใหผ้ ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ฝ่าย ตลอดจนการนาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2565 – 2568 ต่อไป



คำนำ

ตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ฉบับท่ีแลว้ ปี พ.ศ. 2561 - 2564 ไดส้ ิ้นสุดระยะเวลาของแผน
ดาเนนิ งานเป็นบางส่วน และแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาฉบับปจั จุบันได้ปรับปรงุ และเปล่ยี นแปลงให้ เปน็ ไป
ตาม มาตรฐานการศกึ ษาเชอ่ื มโยงกบั ทิศทาง จุดเน้นการพัฒนาการคุณภาพการศกึ ษา ซึ่งผู้บรหิ าร โรงเรยี น
บ้านบอ่ ดนิ พร้อมดว้ ยคณะครู คณะกรรมการตา่ ง ๆ รวมถึงชุมชนไดร้ ่วมประชมุ ปรกึ ษา วิเคราะห์ การจัดทา
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ เนื่องอีกเป็นระยะ 4 ปี ได้แก่ ปี พ.ศ. 2565 – 2568 โดยมีแนวปฏิบัตใิ นการ
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้ก้าวไกล พัฒนารองรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซึง่ เปน็ การปฏริ ูปการศกึ ษาของ
รัฐบาลและรองรับสอดคล้องกับรัฐธรรมนญู โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นกั เรียน สามารถ คดิ เป็น วิเคราะห์เป็น
แก้สมารถปัญหาได้ และเรยี นรดู้ ้วยตนเองได้อย่างตอ่ เนื่อง มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสตู ร และ มี
ทกั ษะจาเปน็ สาหรับศตวรรษท่ี 21 อันจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและผล การประเมินระดับ
นานาชาติอยใู่ นอนั ดับท่ดี ีขึน้ มคี วามสานึกในความเป็นไทยมจี ิตสาธารณะอยูย่ า่ งพอเพียง มีความพร้อมเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน และมีภมู คิ ุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม

โรงเรยี นบา้ นบอ่ ดิน ได้ตระหนักในภารกิจความรับผดิ ชอบของการจัด การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานซึ่งเด็กควร
ไดร้ บั การศึกษาอย่างทัว่ ถงึ และมีคุณภาพ จึงร่วมกนั จัดทาแผนพัฒนาการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาเดก็ วยั การศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คือ เกง่ ดี มสี ุข สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อมและสภาพชุมชน
ในทอ้ งถ่ิน และรองรบั กบั การ ปฏิรปู สอดรับกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เนน้ ใหเ้ ด็ก คิด วเิ คราะห์ มที ักษะ
เรยี นรดู้ ้วยตนเอง และทักษะเชงิ ประจักษ์อยา่ งรปู ธรรมอย่างเดน่ ชดั จึงได้จดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
4 ปี พ.ศ.2565 – 2568 ทม่ี ีความสัมพนั ธ์เชอื่ มโยงกับประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ ง นโยบายและจดุ เน้น
ของกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ พ.ศ. 2565-2566 และนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั
พื้นฐาน ปีงบประมาณพ.ศ. 2565 ท่ตี อบสนองนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร

โรงเรียนบา้ นบอ่ ดนิ

สำรบัญ ค

บทสรุปสาหรบั ผู้บริหาร หนำ้
คานา
สารบญั ก

สว่ นที่ 1 กรอบแนวคดิ และทศิ ทางการจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ค

1. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 1
2. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 4
3. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร
10
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
4. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ 14
19
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
5. นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาธิการขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 22
25
ส่วนที่ 2 ภาพรวมของโรงเรยี นและการวิเคราะหอ์ งค์การ 31

1. ประวตั โิ รงเรยี น 36
2. Swot Analysis การวเิ คราะห์จุดแข็งและจดุ อ่อนขององค์การ 36
3. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) 36
36
ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางการบริหารจัดการศกึ ษา 48

1. วิสัยทศั น์ (Vission) 53
2. พันธกิจ (Mission)
3. เปา้ ประสงค์ (Objective) 64
4. กลยทุ ธ์ (Strategy)
5. จุดเนน้ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น 67
68
ส่วนที่ 4 บทบาทของผมู้ ีหน้าท่ีจัดการศึกษาและผ้เู กี่ยวข้อง

1. บทบาทหนา้ ท่ีของผู้บรหิ าร ครู นักเรยี น
2. บทบาทหนา้ ท่ีและแนวทางการมีสว่ นรว่ มของบิดามารดาและผูป้ กครองนกั เรยี น

และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

สว่ นที่ 5 การใช้งบประมาณและทรพั ยากร

1. การคาดการณจ์ านวนนักเรียนตามสามะโนนกั เรยี นและแผนการจดั ชั้นเรยี น
2. การคานวณงบประมาณเงินอดุ หนุนรายหัว

3. การจัดสรรงบประมาณของสถานศึกษา ง

ส่วนท่ี 6 แนวทางการติดตาม วัดและประเมนิ ผล 69
ส่วนท่ี 7 ภาคผนวก 70

1. คาส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2565 - 2568
2. บนั ทึกการให้ความเหน็ ชอบแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2565 – 2568

ส่วนท่ี 1

กรอบแนวคิดและทศิ ทำงกำรจัดทำแผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ

โรงเรยี นบ้านบ่อดนิ ไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2565 – 2568 เพอื่ เป็นแนวทาง
สาหรับการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นบอ่ ดนิ และยกระดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษา ดังน้ี

1.ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)
เพอื่ ให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์ “ประเทศมคี วามม่ันคง มั่งคง่ั ย่ังยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นา ตาม

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” นาไปสู่การพฒั นาให้คนไทยมีความสขุ และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซ่งึ
ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ ในการทจี่ ะพฒั นา คุณภาพชีวิต สร้างรายไดร้ ะดบั สงู เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสรา้ ง
ความสุขของ คนไทย สงั คมมีความมั่นคง เสมอภาคและ เป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบ
เศรษฐกจิ

1. ด้ำนควำมมั่นคง
(1) เสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบนั หลกั และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รง

เปน็ ประมุข
(2) ปฏริ ปู กลไกการบรหิ ารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการ เมือง ขจดั คอร์รัปชัน่ สร้างความเช่อื มนั่

ในกระบวนการยุติธรรม
(3) การรกั ษาความม่นั คงภายในและความสงบเรยี บร้อยภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการความม่ันคง

ชายแดนและชายฝ่ังทะเล
(4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมือระหว่าง ประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพ

ความสมั พันธก์ ับประเทศ มหาอานาจ เพ่ือป้องกันและแกไ้ ขปญั หาความมั่นคงรูปแบบใหม่
(5) การพัฒนาเสรมิ สร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย

ภายในประเทศ สร้างความรว่ มมือกบั ประเทศเพ่ือนบ้านและมติ รประเทศ
(6) การพัฒนาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติและระบบบรหิ าร จัดการภยั พิบตั ิ รักษาความมั่นคงของฐาน

ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม
(7) การปรบั กระบวนการทางานของกลไกที่เกีย่ วข้องจากแนวดง่ิ สู่ แนวระนาบมากข้ึน

2. ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
(1) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการคา้ การลงทนุ พัฒนาสชู่ าตกิ ารค้า
(2) การพฒั นาภาคการผลิตและบริการ เสริมสรา้ งฐานการผลิตเขม้ แขง็ ย่ังยนื และสง่ เสรมิ เกษตรกรราย

ย่อยส่เู กษตรย่ังยนื เปน็ มิตรกับ ส่ิงแวดลอ้ ม
(3) การพัฒนาผูป้ ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ ผปู้ ระกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงาน

และพัฒนา SMEs สู่สากล

2

(4) การพัฒนาพ้ืนทเี่ ศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ชายแดน และพัฒนาระบบเมือง
ศนู ยก์ ลางความเจริญ

(5) การลงทนุ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนสง่ ความม่นั คงและพลงั งาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการวจิ ยั และพัฒนา

(6) การเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเป็นหนุ้ สว่ น การพัฒนากับนานาประเทศ ส่งเสริม
ใหไ้ ทยเป็นฐานของการประกอบ ธรุ กิจ ฯลฯ

3. ด้ำนกำรพฒั นำและเสรมิ สรำ้ งศกั ยภำพคน
(1) พัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต
(2) การยกระดับการศึกษาและการเรียนรใู้ ห้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถงึ
(3) ปลกู ฝังระเบียบวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์
(4) การสร้างเสรมิ ใหค้ นมีสุขภาวะทีด่ ี
(5) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย

4. ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำค และเทำ่ เทยี มกันทำงสังคม
(1) สรา้ งความม่ันคงและการลดความเหลือ่ มล้าทางเศรษฐกจิ และสงั คม
(2) พฒั นาระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสขุ ภาพ
(3) มสี ภาพแวดลอ้ มและนวัตกรรมทเี่ อ้ือต่อการดารงชีวติ ในสังคมสงู วัย
(4) สรา้ งความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวฒั นธรรมและ ความเข้มแข็งของชุมชน
(5) พัฒนาการส่ือสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนบั สนุนการพฒั นา

5. ด้ำนกำรสร้ำงกำรเตบิ โตบน คณุ ภำพชีวิตที่เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟน้ื ฟูและป้องกนั การทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ
(2) วางระบบบรหิ ารจัดการน้าใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพทั้ง 25 ลุ่มน้า เนน้ การปรับระบบการบริหารจดั การอุทกภยั

อย่างบูรณาการ
(3) การพฒั นาและใช้พลงั งานทเ่ี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม
(4) การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองทเี่ ป็น มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
(5) การรว่ มลดปญั หาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมกับการ เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
(6) การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลัง เพื่อส่ิงแวดลอ้ ม

6. ดำ้ นกำรปรบั สมดุลและพัฒนำ ระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ
(1) การปรับปรุงโครงสรา้ ง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครฐั ใหม้ ขี นาดท่ีเหมาะสม
(2) การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ

3

(3) การพัฒนาระบบบริหารจดั การกาลงั คนและพฒั นา บคุ ลากรภาครัฐ
(4) การต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
(5) การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบยี บต่าง ๆ
(6) ใหท้ ันสมยั เปน็ ธรรมและเป็นสากล
(7) พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั
(8) ปรบั ปรงุ การบริหารจดั การรายได้และรายจา่ ยของภาครฐั

2. นโยบำยกำรศกึ ษำ
1. เรง่ รดั ปฏิรูปการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ใหม้ ีการปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาขั้น

พ้ืนฐานทัง้ ระบบ ให้มีประสิทธิภาพ ทนั สมยั ทันเหตกุ ารณ์ ทนั โลก ให้สาเร็จอยา่ งเปน็ รูปธรรม
2. เรง่ พัฒนาความแขง็ แกรง่ ทางการศึกษา ใหผ้ ู้เรยี นทุกระดบั ทุกประเภท รวมถึงเด็กพกิ ารและด้อยโอกาส

มีความรู้และทักษะแหง่ โลกยุคใหม่ควบคู่กันไป โดยเฉพาะทกั ษะการอา่ น เขยี น และการคิด เพ่ือให้มีความ
พรอ้ มเขา้ สูก่ ารศกึ ษาระดับสูงและโลกของการทางาน

3. เร่งปรับระบบสนับสนนุ การจดั การศึกษาท่ีสอดคล้องไปในทศิ ทางเดยี วกนั มีการประสานสมั พันธก์ ับ
เน้อื หา ทกั ษะ และกระบวนการเรียนการสอน ประกอบไปดว้ ย มาตรฐานและการประเมิน หลกั สตู รและการ
สอน การพัฒนาทางวิชาชพี และสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้

4. ยกระดับความแข็งแกร่งมาตรฐานวิชาชีพครูและผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ใหค้ รเู ป็นผูท้ ่ีมีความสามารถและ
ทกั ษะทเี่ หมาะสมกับการพัฒนาการเรียนของผเู้ รียน ผบู้ ริหารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหารจดั การ
และเปน็ ผู้นาทางวิชาการ ครูและผู้บรหิ ารสถานศึกษาประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทีด่ ีแก่ผู้เรียนสรา้ งความมนั่ ใจ
และไว้วางใจ ส่งเสรมิ ให้รับผิดชอบตอ่ ผลที่เกดิ กบั นักเรยี น ที่สอดคล้องกบั วิชาชพี

5. เรง่ สรา้ งระบบให้สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นองคก์ รคุณภาพท่แี ขง็ แกร่งและมปี ระสิทธภิ าพ เพื่อ
การให้บรกิ ารที่ดี มคี วามสามารถรบั ผิดชอบการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานได้เป็นอยา่ งดี

6. เรง่ รดั ปรบั ปรงุ โรงเรียนให้เปน็ องค์กรที่มคี วามเขม้ แข็ง มแี รงบนั ดาลใจและมวี สิ ยั ทศั น์ในการจัด
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานทช่ี ัดเจน เป็นสถานศึกษาคุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพทสี่ ามารถจดั การเรียนการสอนได้
อยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐานระดบั สากล

7. สรา้ งระบบการควบคุมการจดั การเปล่ียนแปลงทางการศึกษาที่มีข้อมูล สารสนเทศ และข่าวสาร
เก่ียวกบั กระบวนการเรยี นการสอนอยา่ งพรอ้ มบริบูรณ์ และมีนโยบายการติดตามประเมินผลอย่างเปน็ รูปธรรม

8. สร้างวฒั นธรรมใหมใ่ นการทางาน ให้มปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือการใหบ้ ริการทด่ี ี ท้งั ส่วนกลางและสว่ น
ภูมิภาค เรง่ รัดการกระจายอานาจและความรับผิดชอบ ส่งเสรมิ การพัฒนาเชิงพืน้ ท่ีทุกภาคสว่ นเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
ปรับปรงุ ระบบของโรงเรยี นให้เปน็ แบบรว่ มคิดร่วมทา การมีสว่ นร่วมและการประสานงาน สามารถใช้เครือขา่ ย
การพฒั นาการศึกษาระหวา่ งโรงเรยี นกบั โรงเรยี น องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น องค์กรวิชาชีพ กลมุ่ บุคคล
องค์กรเอกชน องค์ชุมชน และองค์การสังคมอืน่

4

9. เรง่ ปรบั ปรงุ ระบบการบริหารงานบุคคล ม่งุ เน้นความถกู ต้องเหมาะสม เปน็ ธรรม ปราศจากคอรร์ ัปชั่น
ใหเ้ ป็นปจั จยั หนนุ ในการเสรมิ สร้างคุณภาพและประสทิ ธภิ าพ ขวัญและกาลงั ใจสร้างภาวะจูงใจ แรงบันดาลใจ
และความรบั ผดิ ชอบในความสาเรจ็ ตามภาระหน้าท่ี

10. มุ่งสร้างพลเมืองดีท่ตี ืน่ ตัวและอยรู่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ในสงั คมพหุวฒั นธรรมได้ และทาให้การศึกษานาการ
แก้ปัญหาสาคัญของสงั คมรวมทัง้ ปัญหาการคอร์รัปช่ัน

11. ทมุ่ เทมาตรการเพื่อยกระดบั คุณภาพสถานศึกษาท่ีพฒั นาลา้ หลัง และโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีไม่ได้
คณุ ภาพ เพ่อื ไมใ่ ห้ผูเ้ รยี นต้องเสยี โอกาสได้รบั การศึกษาท่ีมีคุณภาพการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศไทยมี
คณุ ภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพ้นื ฐานของความเปน็ ไทย

2. แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำกำร
วสิ ัยทศั น์และเปา้ หมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ

สภาวการณก์ ารเปล่ยี นแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศทม่ี ผี ลกระทบต่อการจัด การศกึ ษาของ
ประเทศ ช้ีใหเ้ หน็ ว่าประเทศไทยยงั ต้องเผชญิ กบั กระแสการเปลย่ี นแปลงของโลก ศตวรรษที่ 21 ทเี่ ป็นไปอยา่ ง
รวดเรว็ ซับซ้อนและคาดการณ์ไดย้ าก ในขณะที่ผลการจัดการศกึ ษา ของประเทศในทุกระดับยังคงมปี ัญหา ทั้ง
ในต้านคุณภาพของคนไทยทผ่ี ้เู รียนและผสู้ าเร็จ การศึกษาระดบั ต่าง ๆ ทีย่ ังมีผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา
คณุ ลกั ษณะ และทักษะอยู่ในระดับท่ียัง ไม่นา่ พึงพอใจ และกาลงั แรงงานของประเทศท่ีมีสมรรถนะไม่
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ ตลาดงานและระบบเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศท่ีมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ ง
รวดเรว็ แมใ้ น ภาพรวมคนไทยมีโอกาสเข้าถงึ การศึกษาและมีความเสมอภาคทางการศึกษามากขน้ึ จากนโยบาย
สนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการเรยี น 15 ปขี องรัฐ แต่ระบบบรหิ ารจัดการศึกษาในปัจจุบันกย็ ังไม่มี ประสทิ ธภิ าพ
เพียงพอที่จะรองรบั สภาวการณ์การลดลงของประชากรและการเข้าสูล่ งั คมสงู วัยอย่าง รวดเรว็ ของประเทศ
รวมถงึ สภาพลงั คมและเศรษฐกจิ ท่ีมีการแขง่ ขนั อยา่ งเสรแี ละไร้พรมแดนใน กระแสการเปลยี่ นแปลงอย่างกา้ ว
กระโดดและไรข้ ีดจากดั ของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทส่ี ามารถเชือ่ ม ทั้งโลกใหเ้ ป็นหน่งึ เดียว การเร่งปฏิรูปการศึกษา
ตามแนวทางการปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ยุค 4.0 จึงเป็นทางออก
สาคญั ของการจดั การศึกษาเพ่ือให้ ประซาซนไดร้ บั โอกาสในการศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชีวิตอยา่ งมีคณุ ภาพ
สามารถพฒั นาศักยภาพ และขดี ความสามารถใหเ้ ต็มตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล อนั จะน่าไปสู่การสร้าง
ความผาสกุ ร่วมกันในลงั คมของซนในชาติ และลดความเหลอื่ มลา้ ในสงั คมให้มีความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั
มากขน้ึ รวมทั้งพัฒนาประเทศให้สามารถกา้ วข้ามกับดักประเทศทมี่ รี ายได้ปานกลางไปสู่ประเทศ ท่พี ัฒนาแล้ว
ในอกี 20 ปีขา้ งหน้า

4.1 แนวคิดการจดั การศกึ ษา (Conceptual Design)
แนวคิดของการจดั การศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยดึ หลกั การ เปา้ หมาย และ แนวคิด ตอ่ ไปนี้
4.1.1 หลักการจัดการศกึ ษา
1) หลักการจัดการศึกษาเพอ่ื ปวงชน (Education for All)

5

เป็นการจดั การศกึ ษาเพ่ือใหป้ ระซาซนทุกคน ทุกช่วงวยั ต้ังแตเ่ ดก็ ปฐมวยั วัยเรียน วัยทางาน และผ้สู ูงวัยมี
โอกาสในการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิต เพอื่ ให้แตล่ ะบุคคล ได้พฒั นาตามความพร้อมและความสามารถ
ใหบ้ รรลุขดี สูงสุดมคี วามรู้ทกั ษะ และคณุ ลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ในการดารงชีวติ และการอยูร่ ่วมลับผู้อืน่ ใน
สังคม รวมทง้ั มีสมรรถนะในการทางานเพื่อ การประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ สอดคลอ้ งกับ
ความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ อนั จะนาไปพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ลังคม และ ประเทศซาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ซาติจึงต้องกาหนดเปา้ หมายการจัดการศึกษาที่
ครอบคลุม โดยไม่ ปลอ่ ยปละละเลยหรือท้งิ ใครไว้ข้างหลงั (No one left behind)

2) หลักการจดั การศึกษาเพื่อความเท่าเทียมและทั่วถงึ (Inclusive Education) เป็นการจัดการศึกษา
สาหรบั ผู้เรยี นทุกกลุ่มเปา้ หมาย ไมว่ ่าจะเป็นผเู้ รียน กลมุ่ ปกติ กลุ่มตอ้ ยโอกาสท่ีมีความยากลาบากและขาด
โอกาสเนอ่ื งด้วยสภาวะทางเศรษฐกจิ และ ภมู สิ ังคม ซึง่ รัฐต้องดูแลจดั สรรทรัพยากรทางการศึกษาสนบั สนนุ
ผู้เรยี นกลมุ่ นี้ให้ใตร้ บั การศกึ ษา ตามศกั ยภาพและความพร้อมอยา่ งเทา่ เทยี ม กลุ่มทีม่ ีความตอ้ งการจาเป็น
พเิ ศษ ซ่ึงหมายรวม กลมุ่ ผ้มู ีความบกพร่องทางรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ลงั คม อารมณ์ การส่อื สารและการ
เรยี นรู้ หรือ รา่ งกายพกิ าร หรือทุพพลภาพ รวมทั้งบุคคลซ่งึ ไม่สามารถพ่งึ ตนเองไตห้ รือไม่มีผดู้ ูแล รฐั ตอ้ งจัดให้
บุคคลดังกลา่ วมีสิทธแิ ละโอกาสไต้รับการศึกษารว่ มกับเด็กปกติ ในกรณีท่สี ามารถเรียนไต้ เพื่อให้เขา ไต้มี
โอกาสเรยี นรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับผูอ้ น่ื ในสงั คม หรอื จดั ให้เป็น พิเศษตามระดบั
ความบกพรอ่ ง นอกจากนี้ บุคคลซงึ่ มีความสามารถพิเศษ รัฐตอ้ งจดั รปู แบบ การศึกษาท่เี หมาะสมโดยคานึงถึง
ความสามารถของบุคคลนน้ั ด้วยเหตุผลสาคัญคอื บุคคลท่ีมี ความสามารถพเิ ศษเป็นทรัพยากรที่สาคัญของ
ประเทศ หากจดั การศึกษารูปแบบปกติ อาจทาให้ไม่ สามารถพฒั นาบุคคลตังกล่าวใหม้ ีความรูค้ วามสามารถ
ตามศกั ยภาพของเขาไต้ รัฐจึงมหี น้าท่ลี งทุน พิเศษสาหรบั บุคคลเหลา่ น้ี และถือเป็นสิทธขิ องบคุ คลซึง่ มี
ความสามารถพเิ ศษท่ีจะไตร้ บั บริการ ทางการศกึ ษาทีเ่ หมาะสมสาหรับการพัฒนาศักยภาพของตน แผนการ
ศึกษาแห่งชาตจิ งึ ต้องกาหนด ยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนา
ทค่ี รอบคลุมการดแู ลและพัฒนาบคุ คลทุกกลุ่มเป้าหมายอย่าง เทา่ เทียมและท่ัวถงึ

3) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแนวทางการดารงชวี ติ และการประพฤติปฏบิ ัตติ นของประซาซนทุกระดบั เพื่อการดารงชีวิตในสังคมอย่าง
พอเพียง เท่าทันและเป็นสขุ การศึกษาจงึ ต้องพฒั นาผ้เู รยี นให้มี ความรอบรู้ มีทักษะท่ีพรอ้ มรบั การ
เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของสงั คมและวฒั นธรรมจากโลก ภายนอก โดยยดึ หลกั ความพอประมาณ ท่เี ป็น
ความพอดที ่ีไม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ื่น มีการตัดสินใจท่มี เี หตผุ ล โดย
พจิ ารณาจากเหตปุ ัจจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ
และมภี มู ิคุ้มกนั ท่ีดี ในตวั ซ่งึ เปน็ การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปล่ยี นแปลงต้านต่าง ๆ ทจ่ี ะ
เกดิ ขนึ้ โดย คานงึ ถึงความเปน็ ไปไต้ของสถานการณต์ ่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล โดยใช้
ความรอบร้เู ก่ียวกบั วิชาการต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องอยา่ งรอบตา้ น มีความรอบคอบที่จะนาความรู้ เหลา่ นน้ั มา
พจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ มคี วามตระหนักใน
คณุ ธรรม มีความช่ือสตั ยส์ จุ ริต อดทน พากเพยี ร และใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ชีวติ

6

4) หลักการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนของลงั คม (All for Education) การจดั การศึกษาอย่างมีคุณภาพ
และมีประสทิ ธภิ าพให้กับประซาซนทุกคน เป็นพนั ธกจิ ทตี่ อ้ งอาศยั การมสี ่วนร่วมของสังคมทุกภาคส่วน
เนื่องจากรัฐต้องใชท้ รัพยากร จานวนมากในการจัดการศึกษาทต่ี อ้ งครอบคลุมทุกชว่ งวยั ทุกระดับการศึกษา
และทกุ กลุ่ม เปา้ หมาย ด้วยรูปแบบวธิ กี ารท่ีหลากหลาย สนองความต้องการและความจาเป็นของแต่ละบุคคล
และสนองยุทธศาสตร์ชาติและความจาเปน็ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รัฐจึงตอ้ ง ให้
ความสาคัญและสนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กร ปกครองส่วนห้อง
ถ่ิน เอกซน องค์กรเอกซน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสงั คมอ่ืนในการจดั
การศึกษา โดยบคุ คล กลุ่มบคุ คล หรอื องค์กรต่าง ๆ จะได้รับการส่งเสรมิ
ใหเ้ ข้าร่วมจัดการศกึ ษา เสนอแนะ กากบั ติดตาม และสนับสนุนการจัดการศึกษาในรปู แบบตา่ ง ๆ ตามความ
พร้อมเพ่ือประโยชน์ของสงั คมโดยรวม

4.1.2 เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals ะ SDGs 2030) เป็นเปา้ หมาย
ท่ปี ระเทศสมาชิกองค์การสหประซาชาติจานวน 193 ประเทศ ได้ลงมติรับรองในการประชุมสมัชชาใหญ่แหง่
สหประซาชาติ ในปี พ.ศ. 2558 โดยจะใช้เป็นวาระ แหง่ การพัฒนาของโลกในอกี 15 ปขี า้ งหน้า (ค.ศ. 2016 –
2030) มีท้ังหมด 17 เปา้ หมาย โดย เป้าหมายดา้ นการศึกษา คอื เปา้ หมายที่ 4 สร้างหลกั ประกนั วา่ ทกุ คนมี
การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ อยา่ งครอบคลมุ และเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ แผนการ
ศึกษา แห่งชาติจงึ ตอ้ งพฒั นาคณุ ภาพและประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาของประเทศ เพอ่ื สรา้ ง หลักประกันวา่
เดก็ ปฐมวัยทุกคนจะได้รบั การเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าเรียนประถมศึกษา ทุกคน สาเร็จการศึกษาระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทม่ี ีคุณภาพ และมผี ลลพั ธ์ทางการเรียนทม่ี ี ประสิทธิผล ทกุ คนสามารถเขา้ ถึง
การศกึ ษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศกึ ษาด้วยค่าใช้จา่ ยที่ เหมาะสมและมีคุณภาพ กาลังแรงงานมีทกั ษะที่
จาเปน็ รวมถึงทักษะทางเทคนคิ และอาชีพสาหรบั การจา้ งงาน การมีงานท่ดี ีและการเป็นผู้ประกอบการ กลุ่มผู้
พิการและด้อยโอกาสเขา้ ถงึ การศกึ ษา และการฝึกอาชพี ทุกระดบั อย่างเท่าเทยี ม มีการเพ่ิมจานวนครูท่มี ี
คุณภาพ เพื่อการศึกษาสาหรับ การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื และการมวี ถิ ีชีวิตที่ยั่งยนื

4.1.3 ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนทุกช่วงวัย การเปล่ียนแปลง
โครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลอ่ื มลา้ ฃองการกระจายรายได้ และ วกิ ฤตด้านสิ่งแวดลอ้ ม

4.1.4 ยทุ ธศาสตร์ชาติ (National strategy) ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
ซงึ่ ได้กาหนดเปา้ หมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่อื ใชเ้ ปน็ กรอบในการ จดั ทาแผน
ตา่ ง ๆ ใหส้ อดคล้องและบูรณาการกนั เพอ่ื ใหเ้ กิดเป็นพลงั ผลกั ดนั ร่วมกนั ไปสเู่ ป้าหมาย ดังกลา่ ว กรอบ
ยทุ ธศาสตรช์ าติดังกล่าว ครอบคลุมนโยบายการพัฒนาประเทศไทยส่อู ตุ สาหกรรม 4.0 การสรา้ งขีด
ความสามารถในการแช่งขนั ของประเทศ (Growth & Competitiveness) การสรา้ งโอกาสบนความเสมอภาค
และเทา่ เทียมลันทางลงั คม (Inclusive Growth) และการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ
ภาครฐั

7

4.2 วสิ ัยทัศนข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision)
คนไทยทกุ คนไดร้ ับการศึกษาและเรยี นตลอดชีวิตอย่างมคี ณุ ภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสขุ สอดคลอ้ งกบั

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลง ชองโลกศตวรรษท่ี 21
4.3 พันธกิจ

1) พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาท่ีคนไทยทกุ คนเขา้ ถงึ โอกาสในการศึกษา และเรยี นร้ตู ลอด
ชวี ติ สรา้ งความเสมอภาคด้านการศกึ ษาแกผ่ เู้ รียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ยกระดับ คณุ ภาพและประสิทธิภาพของ
การจดั การศึกษาทกุ ระดบั และจัดการศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งและรองรบั กระแสการเปลยี่ นแปลง
ของโลกศตวรรษท่ี 21

2) พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นผู้มีความรู้ คุณลักษณะ และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21
สามารถพฒั นาศักยภาพและเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ

3) สร้างความมั่นคงแก่ประเทศชาติ โดยสร้างลังคมไทยให้เป็นลังคมแห่งการเรียนรู้ และ สังคมคุณธรรม
จริยธรรมที่คนไทยทกุ คนอยู่ร่วมลันอย่างปลอดภัย สงบสุข และพอเพียง

4) พฒั นาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย เพ่อื การก้าวข้าม ลับดกั ประเทศ
รายได้ปานกลาง ส่กู ารเป็นประเทศในโลกท่ีหนึง่ และลดความเหลื่อมลา้ ในสงั คม ด้วยการเพมิ่ ผลิตภาพของ
กาลงั แรงงาน (productivity) ใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องลบั ความต้องการของตลาดงานและการ
พัฒนาประเทศ พร้อมรับการเปลยี่ นแปลงที่เป็นพลวตั ของ โลกศตวรรษที่ 21
ภายใต้ยุคเศรษฐกิจและสงั คม 4.0

4.4 วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการศึกษาแห่งชาติ (Objectives)
1) เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2) เพอ่ื พฒั นาคนไทยให้เปน็ พลเมอื งดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้อง ลบั บทบญั ญัติของ

รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ และ ยุทธศาสตร์ชาติ
3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รรู้ ักสามคั คี และรว่ มมือผนึก

กาลังมุ่งสูก่ ารพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4) เพอ่ื นาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศทมี่ รี ายได้ปานกลาง และความเหลือ่ มลา้ ภายในประเทศ

ลดลง
4.5 เป้าหมายดา้ นผเู้ รียน (Learner Aspirations)

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติมุ่งพัฒนาผูเ้ รียนทุกคนให้มีคุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 (3Rs
8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคุณลักษณะต่อไปน้ี

• 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคดิ เลขเป็น (Arithmetics)
• 8Cs ได้แก่ ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะ’ในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and
Problem Solving) ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) ทกั ษะด้านความ
เข้าใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การ

8

ทางานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ า (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทกั ษะด้านการลื่อสาร
สารสนเทศ และการรู้เทา่ ทนั ล่อื (Communications, Information and Media Literacy) ทกั ษะดา้ น
คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ
ทกั ษะ การเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม
(Compassion)
แผนภำพ 44 คณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รียน

4.6 เปา้ หมายของการจดั การศกึ ษา (Aspirations)
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ไดก้ าหนดเปา้ หมายของการพัฒนาการศกึ ษาในระยะ 20 ปี

ไว้ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย
1) ประชากรทุกคนเข้าถงึ การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access)
• เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
• ประชากรทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการศึกษาต้ังแต่ปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ

เทยี บเท่าทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน
• ประชากรท่ีอยู่ในกาลังแรงงานได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถ และ สมรรถนะท่ี

9

ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ
• ประชากรสูงวัยได้เรยี นรู้ ‘ฝึกฝนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะเพื่อ การทางานหรือการมี

ชวี ติ หลงั วยั ทางานอยา่ งมีคณุ ค่าและเปน็ สขุ
2) ผู้เรียนทกุ กลมุ่ เป้าหมายไดร้ บั บริการทางการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทยี ม (Equity) ผู้เรียนทกุ

กลุ่มเปา้ หมาย ทั้งกลุม่ ปกติ ผู้มีความสามารถพเิ ศษ ผูม้ ีความบกพร่อง ดา้ นต่าง ๆ ผ้พู ิการ ผดู้ อ้ ยโอกาส และผู้มี
ภูมิหลงั ทางสังคมหรือฐานะทางเศรษฐกจิ ท่ีแตกตา่ งกัน ได้รับโอกาสและการบริการทางการศึกษาอยา่ งเสมอ
ภาคและเท่าเทียม

3) ระบบการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพฒั นาผเู้ รยี นให้บรรลขุ ีดความสามารถและ เต็มตามศักยภาพ
(Quality) ประซาซนทุกคนมโี อกาสไดร้ บั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่ือพฒั นา คุณลักษณะ ทักษะ
ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแตล่ ะบคุ คลให้ไปได้ไกลท่สี ดุ เท่าท่ี ศักยภาพและความสามารถของแต่
ละบคุ คลพึงมี ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสงั คมฐานความรู้ สงั คมแหง่ ปัญญา และการสร้างสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อ
การเรยี นรู้ ที่ประซาซนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและสามารถดารงชวี ติ ได้
อยา่ งเป็นสุขตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

4) ระบบการบริหารจัดการศกึ ษาท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือการพฒั นาผเู้ รียนอยา่ งทว่ั ถึง และมีคุณภาพ และ
การลงทนุ ทางการศกึ ษาทค่ี ุ้มคา่ และบรรลุเปา้ หมาย (Efficiency)
หน่วยงาน สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาทุกแห่งสามารถบริหารและจัดการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ
ดว้ ยคณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล จดั ใหม้ ีระบบการจัดสรรและใช้ ทรัพยากรทางการศึกษาท่ีก่อประโยชน์
สูงสุดในการพฒั นาผู้เรียนแตล่ ะคนให้บรรลุศักยภาพและ ขดี ความสามารถของตน และสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ทุก
ภาคสว่ นของลังคมท่ีมศี กั ยภาพและ ความพรอ้ มเชา้ มามสี ว่ นร่วมในการระดมทนุ และรว่ มรบั ภาระค่าใชจ้ ่ายเพื่อ
การศึกษา โดยเฉพาะ สถานประกอบการ สถาบันและองค์กรต่าง ๆ ในลังคม และผู้เรียน ผ่านมาตรการทาง
การเงินและ การคลงั ที่เหมาะสม

5) ระบบการศึกษาทสี่ นองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกท่เี ป็นพลวตั และ บรบิ ท
ทเ่ี ปลย่ี นแปลง (Relevancy)

ระบบการศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทนั การเปลี่ยนแปลงของ โลก
ศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาทกั ษะ คณุ ลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลงั คนใน ประเทศให้
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดงาน ลังคม และประเทศ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี และ
ยุทธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 ทจ่ี ะนาประเทศไทยกา้ วข้ามกับดกั ประเทศท่ีมี

รายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศท่พี ัฒนาแล้ว ด้วยการศึกษาทีส่ รา้ งความมัน่ คงในชีวติ ของประ
ซาซน สงั คมและประเทศชาติ และการสรา้ งเสรมิ การเตบิ โตท่เี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อ

10

3. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรอื่ ง นโยบำยและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษำธิกำร
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

ตามท,ี กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการจดั การศกึ ษา ของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 เมอ่ื วนั ท่ี 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ไปแล้วนน้ั
เนื่องจาก ในหวงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (C0VID-19) ซงึ่ ทาให้ ทุกคนต้อง
ปรบั เปลี่ยนชีวติ ใหเ้ ขา้ กบั วถิ ีชีวิตใหม่ หรอื New Normal จึงมคี วามจาเป็นต้องปรับเปล่ียนรปู แบบ การ
ดาเนินการใหม้ ีความปลอดภยั ท้ังต่อตัวผเู้ รียน ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ ไป ดว้ ยความ
เรยี บรอ้ ย ตังนัน้ จงึ อาศยั อานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหง่ พระราชบัญญัติระเบยี บ บรหิ าร
ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบาย และจุดเนน้
ชองกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี

หลกั กำรตำมนโยบำย ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.
2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคล่ือนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และ
แผนย่อยที่ 3 ไนประเดน 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรูปประเทศ ต้าน
การศึกษา (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักต้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และ
การพัฒนาศักยภาพชองคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งต่วน เร่ืองการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที , 21
นอกจากน้ี ยังสนับสนุนการขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมท้ัง
นโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง โดยคาดหวังวา่ ผเู้ รียนทุกชว่ งวยั จะไต้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คน
เกง่ มีคณุ ภาพ และมคี วามพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพฒั นาประเทศสู่ความมนั่ คง ม่งั คั่ง และยัง่ ยนื ตงั นนั้ ในการ
เรง่ รัดการทางานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเพื่อสร้างความเชื่อมนั่ ความไวว้ างใจให้กบั สังคม และผลัก
ตันไห้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงไต้กาหนดหลักการสาคัญ
ในการประกาศนโยบายและจุดเน้นชองกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไวต้ ังนี้

1. สร้างความเช่ือมั่น ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้เรียนและประชาชน โดยให้ ทุก
หน่วยงานนารูปแบบการทางานโดยบูรณาการการทางานร่วมกัน และปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความโปร่งใส ความ
รบั ผดิ ชอบ ความเปน็ อันหนึ่งอนั เดยี วกัน

2. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดาเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร
ประชาขนและประเทศชาติ โดยให้ความสาคัญกับการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรับ
ฟ้ง ความคิดเห็นมาประกอบการดาเนินงานท่เี ป็นประโยชนต์ ่อการยกระดบั คุณภาพการศึกษา

3. ดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ีไตป้ ระกาศและแถลงนโยบายไวแ้ ล้ว เม่ือ
วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 โดยมงุ่ เนน้ ผลใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงชองภาคการศึกษาทจี่ ะก่อให้ เกิด
ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียนและประชาชนอย่างมีนยั สาคัญ

11

นโยบำยและจุดเน้นประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565
1. กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือควำมปลอดภัย

1.1 เร่งสรา้ งสถานศึกษาปลอดภยั เพ่ือเพิ่มความเช่ือมน่ั ของสงั คม และป้องกนั จากภยั คุกคาม ใน
ชวี ิตรปู แบบใหม่ และภัยอื่น ๆ โดยมกี ารวางมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่นักเรยี น ครูและบุคลากร ใน
สถานศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เซ่น จัดโครงการโรงเรียน Sandbox : Safety zone in school (SSS) หรอื การ
จัดกิจกรรม Safety School Success จดั ให้มีการฉดี วคั ซีนเพ่อื ปีองกันโรคตดิ ต่อ การจัดการความรุนแรง
เก่ยี วกบั ร่างกาย จติ ใจ และเพศ เป็นดน้

1.2 เร่งพฒั นาบรรจุตัวขว้ี ัดเร่ืองความปลอดภัยใหอ้ ยู่ในเกณฑม์ าตรฐานของสถานศึกษาและ
หนว่ ยงานทกุ ระดับ

1.3 เรง่ พัฒนาให้มหี น่วยงานดา้ นความปลอดภยั ท่ีมโี ครงสร้างและกรอบอตั รากาลงั อย่าง
ขดั เจนในทุกสว่ นราชการของกระทรวงศึกษาธกิ าร

2. กำรยกระดับคณุ ภำพกำรศกึ ษำ
2.1 เรง่ จัดทาและพฒั นากรอบหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (หลักสตู รฐานสมรรถนะ) โดยรบั

ฟง้ ความคิดเห็นจากผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ศึกษาวเิ คราะห์ วิจยั ความเหมาะสมความเป็นไปไดแ้ ละทดลองใช้กอ่ น
การประกาศใชห้ ลักสตู รๆ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2565

2.2 จัดการเรยี นรูเ้ พ่ือพฒั นาสมรรถนะแบบผเู้ รยี นสร้างความร้ดู ้วยตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการ
เรยี นรแู้ บบถกั ทอความรู้ ทักษะคุณลกั ษณะผเู้ รียนเขา้ ด้วยถันดว้ ยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning)
ม่งุ เน้นใหผ้ ้เู รยี นสามารถเข้าใจและเรียนรอู้ ย่างมคี วามสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ รวมท้งั การ
พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลเขงิ สมรรถนะ

2.3 พัฒนาซ่องทางการเรยี นรู้ผ่านดิจทิ ลั แพลตฟอรม์ ทีห่ ลากหลายและมีแพลตฟอร์ม การ
เรยี นรู้อัจฉรยิ ะที่รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับกระบวนการจดั การเรยี นรู้ สือ่ การสอนคณุ ภาพสงู และการประเมิน
และพัฒนาผ้เู รยี น เพือ่ สง่ เสริมการเรยี นรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning) สาหรบั ผเู้ รียนทกุ ช่วงวยั

2.4 มุง่ พัฒนาการจดั การเรียนการสอนประวตั ิศาสตร์ หนา้ ท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม ใหม้ คี วาม
ทันสมัยสอดรับกับวถิ ีใหม่ เหมาะสมกบั วัยของผูเ้ รียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัตศิ าสตรข์ องทอ้ งถ่นิ และ
การเสริมสร้างวถิ ีชีวติ ของความเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแขง็

2.5 สง่ เสริมใหค้ วามรูด้ า้ นการเงนิ และการออม (Financial Literacy) ให้กบั ผเู้ รยี น โดยบูรณา
การ การทางานรว่ มกบั หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง เซ่น กองทุนการออมแหง่ ชาติ
(กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคาร ออมสนิ ผ่านโครงการต่าง ๆ เซน่ โครงการสถานศึกษาส่งเสริมวนิ ัยการ
ออมกบั กอช. โครงการธนาคารโรงเรียน และการเผยแพรส่ ่อื แอนิเมขันรอบรเู้ ร่ืองเงนิ

2.6 พฒั นาหลักสตู รอาชีวศึกษา และหลกั สตู รวชิ าชีพระยะสนั้ แบบโมดลู (Modular System)
ท่ีมกี ารบูรณาการวิขาสามญั และวชิ าชีพในขุดวขิ าอาชีพเดยี วกนั เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ
นอกระบบ และระบบทวิภาคี รวมทงั้ การจดั การเรยี นรู้แบบตอ่ เนอ่ื ง (Block Course) เพ่อื สะสมหน่วยการ

12

เรยี นรู้ (Credit Bank) รว่ มมือกบั สถานประกอบการในการจัดการอาชวี ศึกษาอยา่ งเข้มข้นเพื่อการมีงานทา
2.7 ศกึ ษาวิจยั ถอดบทเรยี นความสาเร็จในการจดั และพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา

ของสถานศกึ ษาในพ้นื ทนี่ วัตกรรมการศึกษา ของพืน้ ที่นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางใหห้ นว่ ยงาน
สถานศกึ ษา และผเู้ กี่ยวข้องนาไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสม

3. กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทยี มทำงกำรศึกษำทกุ ช่วงวยั
3.1 ดาเนินการสารวจและติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เพ่ือนาเข้าสู่ระบบ

การศกึ ษาโดยเฉพาะการศกึ ษาภาคบงั คับ
3.2 สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้เด็กปฐมวัยทม่ี อี ายุตัง้ แต่ 3 ปีข้ึนไปทกุ คน เข้าสูร่ ะบบการศึกษา เพื่อ

รับการพฒั นาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเนื่องอยา่ งเป็นระบบ โดยบูรณาการ
ร่วมงานกบั ทุกหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง

3.3 ม่งุ แก้ปญั หาคนพิการในวัยเรียนทีไ่ ม่ไดร้ ับการศกึ ษาเขา้ สรู่ ะบบการศึกษา โดยกาหนด
ตาแหนง่ (ปักหมดุ ) บา้ นเด็กพิการท่วั ประเทศ

3.4 ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนห่างไกลกันดารได้มีโอกาสเรียนรู้ในยุคโควิดโดยการสร้างความ
พร้อม ในดา้ นดจิ ิทัลและด้านอน่ื ๆ

3.4 ส่งเสริม และสนับสนุนความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั่งภาครัฐ
เอกขน ขมุ ขน องคก์ รปกครองสว่ นห้องถนิ่ และสถาบันสังคมอน่ื

4. กำรศึกษำเพ่อื พัฒนำทกั ษะอำชพี และเพม่ิ ขีดควำมสำมำรถในกำรแช่งขัน
4.1 ขบั เคล่ือนศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) และล่งเสรมิ การ

ผลิต กาลังคนทีต่ อบโจทย์การพัฒนาประเทศ
4.2 ส่งเสรมิ สนับสมนุ ใหม้ กี ารปีกอบรมอาชีพที่สอดคลอ้ งกับความถนัด ความสนใจ โดยการ

Re-skill, Up-skill ,New skill เพ่อื ให้ทุกกลุ่มเป๋าหมายมีการศึกษาในระดบั ทสี่ ูงข้ึน พรอ้ มทัง่ สร้างช่องทาง
อาชีพ ในรูปแบบทีห่ ลากหลายให้ครอบคลุมผ้เู รยี นทุกกล่มุ เปา๋ หมาย รวมทงั่ ผ้สู งู อายุท่มี ีความสนใจ โดยมี
การบรู ณาการ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง

4.3 จัดต้ังศูนย์ใหค้ าปรึกษาการจัดต้ังธุรกิจ (ศนู ย์ Start up) ภายใตศ้ นู ย์พัฒนาอาชีพ และการ
เป็นผูป้ ระกอบการ และพัฒนาศนู ย์บ่มเพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพฒั นา
ผ้ปู ระกอบการด้านอาชีพทัง่ ผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชน
ทัว่ ไป โดยเชอ่ื มโยงกับ กศน. และสถานประกอบการ ทั่งภาครฐั และเอกขนทีส่ อดคล้องกับการประกอบอาชพี
ในวิถีชีวติ รปู แบบใหม่

4.4 พฒั นาแอปพลเิ คชนั เพ่ือสนับสมนุ ชา่ งพันธุ R อาชีวะซ่อมทั่วไทย โดยการนา่ ร่องผ่าน การ
ให้บริการของศนู ย์ซอ่ มสร้างเพ่ือขมุ ขน (Fix it Center) จานวน 100 ศูนย์ ให้ครอบคลมุ การให้บรกิ ารแก่
ประชาขน

13

5. กำรส่งเสริมสนับสมนุ วิชำชีพครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
5.1 พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมนิ วิทยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้

ระบบ การประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital
Performance Appraisal (DPA)

5.2 พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล โดยการจัดทากรอบระดบั สมรรถนะดิจิทัล
(Digital Competency) สาหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และระดบั
อาชีวศกึ ษา

5.3 ดาเนินการแก้ไขปญั หาหน้ีสินครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทงั่ ระบบ ควบคกู่ ับการให้
ความรู้ ดา้ นการวางแผนและการสร้างวนิ ัยด้านการเงินและการออม

6. กำรพัฒนำระบบรำชกำรและกำรบริกำรภำครัฐยคุ ดจิ ิทลั
6.1 พฒั นาระบบสารสนเทศโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศที่ทันสมยั ในการจัดระบบทะเบียน

ประวตั ิ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอเิ ลก็ ทรอนิกส์
6.2 ปรบั ปรงุ แนวทางการจดั สรรเงนิ คา่ เคร่ืองแบบนักเรยี นและอปุ กรณก์ ารเรยี น ผ่านแอป

พลเิ คชัน “เป๋าตงั ” ของกรมบัญชกี ลางไปยังผปู้ กครองโดยตรง
7. กำรขับเคลื่อนกฎหมำยกำรศกึ ษำและแผนกำรศึกษำแหง่ ชำติ
จัดทากฎหมายลาดับรองและแผนการศึกษาแหง่ ชาตเิ พื่อรองรบั พระราชบญั ญัติ การศึกษา

แห่งชาติควบคูก่ ับการสร้างการรับรู้ใหก้ ับประชาชนไดร้ ับทราบอย่างทัว่ ถงึ
แนวทำงกำรขบั เคล่อื นนโยบำยสู่กำรปฏบิ ตั ิ
1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้นของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้างตน้ เปน็ กรอบแนวทางในการจดั การศกึ ษา โดย
ดาเนินการจัดทาแผนและงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

2. ใหม้ คี ณะกรรมการตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบายการจดั การศึกษา
ชองกระทรวงศึกษาธิการ สกู่ ารปฏิบัตริ ะดบั พ้ืนท่ี ทาหน้าท่ีตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดบั นโยบาย
และจัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาชองกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดับ

3. กรณมี ปี ัญหาในเชงิ พ้นื ท่ีหรือข้อขัดช้องในการปฏิบตั ิงาน ให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ขอ้ มูลและ
ดาเนนิ การแกไ้ ขปัญหาในระดับพ้ืนท่กี ่อน โดยใช้ภาคเี ครือข่ายในการแกไ้ ขข้อขดั ช้อง พร้อมทงั่ รายงานต่อ
คณะกรรมการติดตามฯ ตามข้อ 2 ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
ตามลาดบั

4. สาหรับภารกิจของสว่ นราชการหลกั และหนว่ ยงานทป่ี ฏิบัติในลักษณะงานในเชงิ หน้าท่ี
(Function) งานในเชิงยทุ ธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพน้ื ท่ี (Area) ซง่ึ ไตด้ าเนินการอยกู่ ่อนแล้ว หากมี
ความสอดคล้องกบั หลักการนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

14

ข้างตน้ ให้ถือเป็นหนา้ ท่ีของส่วนราชการหลกั และหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวชอ้ งต้องเร่งรดั กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้
การดาเนินการเกิดผลสาเร็จ และมีประสิทธิภาพอย่างเปน็ รปู ธรรม

4. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรอื่ ง นโยบำยและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษำธิกำร
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ ไดอ้ อกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการจดั การศึกษา

ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 เมอื่ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เมื่อวันท่ี 29 ตุลาคม 2564 ไปแล้ว น้นั

เน่ืองจาก ในห้วงสถานการณ์การแพร’ระบาดโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (C0VID-19) ซ่งึ ทาให้
ทุกคนต้องปรับเปล่ียนชีวิตไห้เข้ากับวิถีชีวิตใหม่ หรือ New Normal จึงมีความจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบ
การดาเนินการให้มีความปลอดภัยทั้งต่อผู้เรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปด้วย ความ
เรียบร้อย ดังนั้น จึงอาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ จังประกาศนโยบาย และจดุ เน้น
ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้

หลกั กำรตำมนโยบำย ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2566
กระทรวงศึกษาธิการม่งุ มนั่ ดาเนินการภารกิจหลกั ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจา้ ภาพขับเคล่อื นทกุ แผนยอ่ ยในประเดน็ 12 การพัฒนาการเรียนรู้
และแผนยอ่ ยที่ 3 ในประเดน็ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้งั แผนการปฏริ ูปประเทศ ดา้ น
การศกึ ษา (ฉบับปรับปรงุ ) และนโยบายรัฐบาลท้งั ในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ และ
การพัฒนาศักยภาพชองคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรือง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 และ
พหุปัญญาชองมนุษย์ท่หี ลากหลาย นอกจากนี้ ยงสนบั สนุนการขับเคล่ือนแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ
ประเดน็ อ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ร่าง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและลงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570)
โดยเฉพาะหมดุ หมายท่ี 12 ไทยมีกาลงั คนสมรรถนะสูง มุ่งเรยี นรู้อย่างต่อเน่อื งตอบโจทยก์ ารพัฒนาแห่งอนาคต
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทง้ั นโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมงุ่ หวังให้ผเู้ รียน
ทุกชว่ งวยั จะไดร้ ับการพฒั นาในทุกมติ ิ ท้ังในดา้ นโอกาส ความเท่าเทยี ม ความเสมอภาค ความปลอดภยั และมี
สมรรถนะทสี่ าคญั จาเปน็ ในศตวรรษที, 21 และมคี วามพร้อมรว่ มขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความมน่ั คง มั่ง
คัง่ และยงั่ ยนื ดังนัน้ ในการเร่งรัดการทางานภาพรวมกระทรวงใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือสร้างความเชอื้ มัน่ ความ
ไวว้ างใจให้กับสงั คมและผลกั ดันใหก้ ารจัดการศึกษามีคุณภาพและประสทิ ธิภาพในทุกมติ ิ กระทรวงศึกษาธิการ
จังไดก้ าหนดหลักการสาคญั ในการประกาศนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปงี บประมาณ
พ.ศ. 2566 ไว้ดงั น้ี
1. สร้างความเช่ือมั่น ไวว้ างใจให้กับสงั คม โดยเฉพาะอย่างย่ิงผูเ้ รยี นและประชาซน โดยให้ ทกุ
หนว่ ยงานนารูปแบบการทางานโดยบูรณาการการทางานร่วมกนั และปฏิบตั หิ น้าท่ดี ว้ ยความโปร่งใส ความ
รับผดิ ชอบ ความเปน็ อนั หนึ่งอนั เดยี วกนั

15

2. สนับสนนุ ใหผ้ ูป้ ฏิบัตงิ านทุกคนดาเนินการตามภารกิจด้วยความรับผดิ ชอบต่อตนเอง องค์กร
ประซาชนและประเทศชาติ โดยใหค้ วามสาคญั กับการประสานความรว่ มมอื จากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรบั
ฟง้ ความคิดเห็นมาประกอบการดาเนินงานท่เี ป็นประโยชน์ต่อการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา

3. ดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีได้ประกาศและแถลงนโยบายไวแ้ ล้ว เมอ่ื
วันท่ี 25 มิถุนายนพ.ศ. 2564 เพือ่ มุ่งเน้นผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาที่จะก่อให้เกิดประโยชน์
ตอ่ ผู้เรียนและประชาซนอย่างมนี ยั สาคัญ

นโยบำยและจุดเน้นประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
1. กำรจัดกำรศึกษำเพือ่ ควำมปลอดภัย

1.1 เรง่ สรา้ งความปลอดภัยไนสถานศกึ ษาเพื่อเพมิ่ ความเช่อื ม่นั ของสงั คม และปีองกนั จากภยั
คุกคาม ในชวี ติ รูปแบบใหม่ และภยั อืน่ ๆ โดยมีการดาเนนิ การตามแผนและมาตรการดา้ นความปลอดภัยใหแ้ ก่
ผเู้ รียน ครู และบคุ ลากรในรปู แบบต่าง ๆ อย่างเขม้ ข้น รวมท้งั ดาเนนิ การศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั ติดตาม
ประเมนิ ผลการดาเนินการ และแสวงหาสถานศึกษาที่ดาเนินการได้ดีเย่ยี ม (Best Practice) เพ่ือปรบั ปรงุ
พัฒนาและขยายผลต่อไป

1.2 เร่งปลกู ฝงั ทศั นคติ พฤตกิ รรม และองคค์ วามรู้ท่เี ก่ียวข้อง โดยบรู ณาการอยูใ่ น
กระบวนการ จัดการเรยี นรู้ เพ่ือสรา้ งโอกาสในการเรียนรูแ้ ละสร้างภมู ิคุ้มกันควบคู,กับการใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์
ในเขิงบวกและสร้างสรรค์ พร้อมทัง้ หาแนวทางวิธีการปกปีองคุ้มครองตอ่ สถานการณท์ ่ีเกิดขึน้ กับผู้เรยี น ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา

1.3 เสริมสรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และส่งเสรมี คณุ ลักษณะและพฤติกรรม ท่ี
พงั ประสงคด์ า้ นสงิ่ แวดล้อม รวมทง้ั การปรับตัวรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต
1.4 เรง่ พฒั นาบทบาทและภารกจิ ของหน่วยงานด้านความปลอดภัยทีม่ ีอยูใ่ นทุกหน่วยงาน ในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหด้ าเนินการอย่างคลอ่ งตัวและมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. กำรยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ
2.1 ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษานาหลักสตู รฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอยา่ งเตม็

รปู แบบ เพ่ือสรา้ งสมรรถนะที่สาคัญจาเป็นสาหรบั ศตวรรษท่ี 21 ให้กบั ผเู้ รียน
2.2 จดั การเรยี นรูใ้ ห้ผ้เู รียนได้คนั พบพรสวรรค์ ความสนใจ ความถนดั ในอาชพี ของตนเอง ด้วย

การเรียนรู้จากการลงมือปฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning) ทงั้ ในห้องเรียน สถานประกอบการ รวมทงั้ การเรียนรู้
ผ่านแพลตฟอรม์ และห้องดิจิทลั ให้คาปรกึ ษาแนะนา

2.3 พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการเรยี นรู้และการวัดประเมินผลฐานสมรรถนะ สู่
การปฏบิ ัตใิ นชน้ั เรียน เพื่อสรา้ งความฉลาดรดู้ า้ นการอ่าน วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี สรา้ งตรรกะความคดิ แบบเปน็ เหตุเป็นผลใหน้ ักเรยี นไทยสามารถแข่งข้นได้กบั นานาชาติ

2.4 พฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) สาหรับผเู้ รียนทกุ ช่วงวัย เพ่ือรองรบั
การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมดิจทิ ัลในโลกยคุ ใหม่

2.5 พฒั นารูปแบบการจัดการเรยี นการสอนประวัตศิ าสตร์ หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม ใหม้ ี

16

ความทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกบั วัยของผเู้ รยี น ควบคู่ไปกบั การเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตร์ของทอ้ งถ่ิน และการ
เสรมี สรา้ งวถิ ชี ีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง

2.6 จัดการเรยี นร้ตู ามความสนใจรายบคุ คลของผเู้ รียนผา่ นดิจทิ ลั แพลตฟอร์มทหี่ ลากหลาย
และแพลตฟอร์มการเรียนรอู้ ัจฉรยิ ะท่ีรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การสอนคณุ ภาพสงู
รวมทง้ั มีการประเมนิ และพฒั นาผเู้ รยี น

2.7 ส่งเสริมการใหค้ วามรู้และทักษะดา้ นการเงนิ และการออม (Financial Literacy) ใหก้ บั
ผูเ้ รียน โดยบรู ณาการการทางานร่วมกับหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง เขน่ กระทรวงการคลงั กองทนุ การออมแหง่ ชาติ
(กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสนิ สหกรณ์ ฯลฯ ผ่านกระบวนการเรยี นรู้
โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ และการเผยแพรส่ อื่ แอนเิ มขนั รอบร้เู ร่ืองเงิน รวมทง้ั สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการลงทนุ เชิง
พาณิชยเ์ พื่อใหเ้ กดิ ผลตอบแทนทส่ี งู ขึน้

2.8 ปรับโฉมศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์และศนู ยก์ ารเรียนรู้ให้มรี ปู ลักษณ์ทท่ี ับสมยั สวยงาม รม่ รื่น จงู
ใจ ให้เขา้ ใบใช้บริการ โดยมีมุมค้นหาความรู้ด้วยเทคโนโลยีทนั สมยั มุมจดั กจิ กรรมเซิงสรา้ งสรรค์ คิดวเิ คราะห์
ของผเู้ รียน หรือกลุ่มผเู้ รยี น และการรว่ มกจิ กรรมกับครอบครวั หรอื จัดเป็นฐานการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ทผี ูเ้ รียน
และประชาชน สามารถมาลงทะเบียนเขา้ ร่วมกิจกรรม และไดร้ ับเอกสารรบั รองการเข้ารว่ มกิจกรรม เพ่ือ
นาไปใชป้ ระโยซน ในสว่ นที่เกี่ยวข้องหรอื สะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit Bank)ได้ รวมท้ังมีบรเิ วณพักผ่อนทีม่ ี
บริการลักษณะบ้านสวนกาแฟ เพ่ือการเรียนรู้ เปน็ ดน้

2.9 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ สถานศึกษาให้มีการนาผลการทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติไปใช้ ใน
การวางแผนการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน

2.10 พฒั นาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาท่ีเนน้ สมรรถนะและ
ผลลัพธท์ ่ตี วั ผเู้ รียน

3. กำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทยี มทำงกำรศกึ ษำทุกช่วงวัย
3.1 พฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุคคล เพ่ือใช้เปน็ ฐานขอ้ มูลในการสง่

ตอ่ ไปยังสถานศึกษาในระดบั ทสี่ งู ขน้ึ โดยเฉพาะระดับการศกึ ษาภาคบงั คบั เพอื่ บีองกนั เด็กตกหล่นและเด็ก
ออกกลางคนั

3.2 ส่งเสริมสนบั สนุนใหเ้ ด็กปฐมวยั ที่มีอายุต้งั แต่ 3 ปขี น้ึ ไปทุกคน เขา้ สู่ระบบการศึกษา เพ่ือ
รบั การพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวยั และต่อเนื่องอย่างเปน็ ระบบ โดยบูรณาการ
ร่วมงาน กับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง

3.3 พัฒนาข้อมูลและทางเลือกที,หลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่ม
เปราะบาง รวมทัง้ กลุม่ NEETs ในการเข้าถงึ การศกึ ษา การเรยี นรู้ และการปีกอาชพี อยา่ งเทา่ เทยี ม

3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (Home School) และ
การเรยี นรทู้ บ่ี า้ นเป็นหลกั (Home-based Learning)

17

4. กำรศึกษำเพ่ือพฒั นำทักษะอำชีพและเพม่ิ ขีดควำมสำมำรถในกำรแชง่ ขน้
4.1 พฒั นาหลักสตู รอาชีวศึกษา และหลกั สูตรวชิ าชีพระยะสัน้ แบบโมดูล (Modular

System) มกี ารบูรณาการวขิ าสามญั และวิขาชพี ในขุดวชิ าชพี เดยี วกนั เช่ือมโยงการจดั การอาชีวศกึ ษาท้ังใน
ระบบ นอกระบบและระบบทวิภาคี รวมทัง้ การจัดการเรียนรแู้ บบตอ่ เน่ือง (Block Course) เพือ่ สะสมหนว่ ย
การเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกบั สถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอยา่ งเขม้ ขน้ เพ่ือการมงี านทา

4.2 ขับเคลอ่ื นการผลิตและพัฒนากาลังคนตามกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ และยกระดบั สมรรถนะ
กาลงั คน ตามกรอบคณุ วุฒิอ้างองิ อาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทงั้ ขบั เคลื่อนความเป็นเลศิ ทางการ
อาชีวศกึ ษา (Excellent Center) โดยความร่วมมือกบั ภาคเอกซนและสถานประกอบการในการผลิตกาลังคนที่
ตอบโจทยก์ ารพฒั นาประเทศ

4.3 พฒั นาสมรรถนะอาชีพทีสอดคล้องกบั ความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill
และ New skill เพ่ือให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับทสี่ ูงขน้ึ พร้อมท้ังสร้างซ่องทางอาชพี ในรปู แบบ
หลากหลาย ใหค้ รอบคลุมผู้เรียนทกุ กลุ่มเปห้ มาย รวมทง้ั ผู้สงู อายุ โดยมีการบรู ณาการความร่วมมือระหวา่ ง
หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง

4.4 ส่งเสรมิ การพฒั นาแบบทดสอบทางการศึกษาระดบั ขาตดิ ้านอาชวี ศึกษา (V-NET) ตาม
สมรรถนะ ที,จาเปน็ ในการเข้าสอู่ าชพี และการนาผลการทดสอบไปใช้คัดเลอื กเข้าทางาน ศึกษาตอ่ ขอรับ
ประกาศนยี บัตรมาตรฐาน สมรรถนะการใชด้ จิ ทิ ัล (Digital Literacy) การขอรับวฒุ ิบัตรสมรรถนะภาษาอังกฤษ
(English Competency)

4.5 จัดท้ังศนู ย์ให้คาปรึกษาการจัดทง้ั ธุรกจิ (ศูนย์ Startup) ภายใต้ศูนยพ์ ัฒนาอาชพี และการ
เปน็ ผ้ปู ระกอบการ และพฒั นาศนู ย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการสง่ เสรมิ และพัฒนา
ผู้ประกอบการ ด้านอาชีพทง้ั ผเู้ รยี นอาชีวศึกษาและประขาซนทวั่ ไป โดยเชอ่ื มโยงกบั กศน. และสถาน
ประกอบการ ทั้งภาครฐั และเอกขนที่สอดคล้องกับการประกอบอาชพี ในวถิ ชี ีวิตรูปแบบใหม่

4.6 เพ่มิ บทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผ้ปู ระกอบการและกาลงั แรงงานในภาค
เกษตร โดยเฉพาะกลุม่ เกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) และกลมุ่ ยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart
Farmer) ท่ีสามารถ รองรับการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมไ่ ด้

4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนากาลังคนทุกชว่ งวัยเพื่อการมีงานทา โดยบูรณา
การ ความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐ เอกขน ขุมซน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น และสถาบันสงั คมอ่นื

4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพสาหรับกลุ่มเป๋าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประซาขนที่
สอดคลอ้ ง มาตรฐานอาชีพ เพือ่ การเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒวิ ิซาชีพตามกรอบคณุ วุฒิแห่งซา
ติ รวมทัง้ สามารถ นาผลการเรยี นร้แู ละมวลประสบการณเ์ ทียบโอนเข้าสู่การสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit
Bank) ได้

18

5. กำรส่งเสรมิ สนับสนุนวิชำชพี ครู บคุ ลำกรทำงกำรศึกษำและบุคลำกรสังกดั
กระทรวงศึกษำธิกำร

5.1 ส่งเสริมสนับสนนุ การดาเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่
Performance Appraisal (PA) โดยใชร้ ะบบการประเมนิ ตาแหนง่ และวทิ ยฐานะของขา้ ราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA)

5.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนการดาเนินการ พฒั นาสมรรถนะทางดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัลตามกรอบ
ระดบั สมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สาหรับครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั
พืน้ ฐาน และระดบั อาชวี ศึกษา

5.3 พัฒนาครใู ห้มคี วามพร้อมดา้ นวซิ าการและทักษะการจัดการเรยี นรู้ การใช้เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมผา่ นแพลตฟอร์มออนไลน์ตา่ ง ๆ รวมทั้งให้เปน็ ผวู้ างแผนเสน้ ทางการเรยี นรู้ การประกอบอาชีพ และ
การดาเนินชีวิตซองผู้เรียนไดต้ ามความสนใจและความถนัดของแตล่ ะบคุ คล

5.4 พฒั นาซดี ความสามารถซองข้าราชการพลเรือนในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ใหม้ ี
สมรรถนะ ท่สี อดคล้องและเหมาะสมกับการเปล่ยี นแปลงซองสงั คมและการเปลยี่ นแปลงของโลกอนาคต

5.5 เร่งรดั การดาเนินการแก้ไขปญั หาหนสี้ นิ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทง้ั ระบบ ควบคูก่ บั
การให้ความรู้ดา้ นการวางแผนและการสร้างวินัยด้านการเงินและการออม

6. กำรพัฒนำระบบรำชกำรและกำรบรกิ ำรภำครฐั ยคุ ดิจทิ ลั
6.1 ซบั เคลอ่ื นการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ดว้ ยนวัตกรรม และการนาเทคโนโลยดี จิ ิทัล มา

เปน็ กลไกหลัก ในการตาเนินงาน (Digitalize Process) การเซือ่ มโยงและแบ่งปันข้อมลู (Sharing Data) การ
ส่งเสริมความรว่ มมือ บรู ณาการกับภาคส่วนตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอก

6.2 ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพซองเครอื ข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศให้สามารถใชง้ านเครือข่าย
ส่อื สารขอ้ มูลเชือ่ มโยงหนว่ ยงานภาครัฐได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เพ่ือรองรับระบบราซการ 4.0 สามารถ
ตอบสนอง ความต้องการของประซาซนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอปุ กรณ์และทกุ ซ่องทาง

6.3 ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา โดยยึดหลักความ
จาเป็นและใชพ้ ืน้ ทเ่ี ปน็ ฐาน ทมี่ ุง่ เน้นการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

6.4 นาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นนระบบการคัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในตาแหนง่ และสายงานตา่ ง ๆ

6.5 สง่ เสริมสนับสนุนการตาเนนิ งานซองสว่ นราชการใหเ้ ป็นไปตามกลไกการประเมนิ คุณธรรม
และความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั

7. กำรขับเคล่ือนกฎหมำยกำรศึกษำและแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
เร่งรัดการดาเนินการจัดทากฎหมายลาดับรองและแผนการศึกษาแหง่ ซาติเพื่อรองรับ

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ซาติควบคู่กับการสรา้ งการรบั รู้ใหก้ บั ประซาซนไดร้ บั ทราบอย่างท่ัวถึง

19

แนวทำงกำรขบั เคล่ือนนโยบำยสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ
1. ใหส้ ว่ นราชการ หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นานโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศกึ ษา โดย
ดาเนินการจัดทาแผนและงบประมาพรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
2. ใหม้ คี ณะกรรมการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขับเคลอ่ื นนโยบายการจัดการศึกษา
ซองกระทรวงศึกษาธกิ าร สูก่ ารปฏิบัติระดับพ้นื ท่ี ทาหนา้ ท่ีตรวจราชการ ตดิ ตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย
และจัดทารายงานเสนอต่อรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมนิ ผลการจัดการศึกษาซองกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดบั
3. กรณมี ีปัญหาในเซิงพืน้ ท่ีหรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ใหศ้ กึ ษา วิเคราะหข์ ้อมลู และ
ดาเนินการแกไ้ ขปัญหา’โนระดบั พน้ื ที่กอ่ น โดยใช้ภาคเี ครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทง้ั รายงานต่อ
คณะกรรมการติดตามฯ ตามข้อ 2 ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตามลาดบั 4. สาหรับภารกิจซองส่วนราชการหลักและหน่วยงานที,ปฏิบตั ใิ นลักษณะงานในเซิงหน้าท่ี
(Function) งานในเซิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเซิงพ้นื ท่ี (Area) ซง่ึ ไต้ดาเนินการอยกู่ ่อนแลว้ หากมี
ความสอดคล้องกับหลกั การนโยบายและจดุ เน้นซองกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขา้ ง
ด้น ใหถ้ อื เป็นหน้าทซ่ี องส่วนราชการหลกั และหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบให้การ
ดาเนินการเกิดผลสาเรจ็ และมีประสทิ ธภิ าพอยา่ งเป็นรปู ธรรม

5. นโยบำยสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กาหนดนโยบาย โดย ยึดหลักของการพัฒนาทีย่ งั่ ยนื และ

การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในอนาคต และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ที่สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และมวี ิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ นโยบาย กลยุทธ์ ดงั น้ี
วิสัยทัศน์

สรา้ งคณุ ภาพทุนมนษุ ย์ สสู่ ังคมอนาคตท่ียง่ั ยืน
พันธกจิ

1. จัดการศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

2. พัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามสามารถและมีความเป็นเลิศทางวิชาการ เพ่ือสร้างขีดความสามารถ ในการ
แขง่ ขัน

3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผเู้ รยี นให้มสี มรรถนะตามหลกั สูตรและคณุ ลกั ษณะในศตวรรษท่ี 21
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมลา้ ใหผ้ ู้เรียนทุกคนได้รบั บรกิ ารทางการศึกษา อย่าง
ทั่วถงึ และเทา่ เทียม
5. พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรการศึกษาใหเ้ ปน็ มอื อาชพี มีสมรรถนะดา้ นภาษาและการใช้
เทคโนโลยดี ิจิทัล

20

6. จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเปา้ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)

7. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทุกระดบั และจดั การศกึ ษา โดยใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital
Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0
นโยบำย

1. ด้านความปลอดภยั พฒั นาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภยั ให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา และสถานศึกษา จากภยั พบิ ัติและภยั คุกคามทกุ รปู แบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อ
การมีสุขภาวะท่ีดี สามารถปรับตัวตอ่ โรคอบุ ัติใหม่และโรคอุบตั ิซา้

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ได้เข้าเรียนทกุ คน มีพฒั นาการทดี่ ี ทัง้ ทางรา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์

สังคม และสตปิ ญั ญา ให้สมกับวัย
2.2 ดาเนินการ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน อยา่ งมีคุณภาพ ตาม

มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวเิ คราะหต์ นเองเพ่อื การศึกษาต่อ และประกอบอาชพี ตรง
ตามศักยภาพและความถนดั ของตนเอง รวมทั้งสง่ เสริมและพฒั นาผูเ้ รียนทมี่ ีความสามารถพิเศษสคู่ วามเปน็ เลิศ
เพ่ือเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

2.3 พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื เด็กและเยาวชนทีอ่ ยใู่ นการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้ออก
จากระบบการศึกษา รวมท้งั ช่วยเหลอื เดก็ ตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน อย่างเท่า
เทยี มกัน

2.4 สง่ เสริมใหเ้ ดก็ พิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพ มที กั ษะในการ
ดาเนนิ ชีวิต มีพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ พงึ่ ตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์ ตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

3. ด้านคุณภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ มีทักษะการเรยี นรู้และทักษะท่ีจาเปน็ ของโลกใน
ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถว้ น เปน็ คนดี มีวนิ ัย มคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มนั่ การปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มีทัศนคติทถี่ ูกตอ้ งตอ่ บ้านเมือง
3.2 พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะและทักษะดา้ นการอ่าน คณติ ศาสตร์ การคดิ ขัน้ สูง นวัตกรรม
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยดี จิ ิทลั และภาษาตา่ งประเทศ เพ่ือเพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน และการ
เลอื กศึกษาต่อเพื่อการมีงานทา
3.3 ปรับหลกั สูตรเปน็ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพฒั นาสมรรถนะหลกั ที่จาเป็น ในแตล่ ะระดับ
จดั กระบวนการเรยี นรู้แบบลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง รวมท้งั ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรทู้ ี่สรา้ งสมดุล ทกุ ด้าน ส่งเสริมการ
จัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนทุกระดบั
3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเ้ ปน็ ครยู คุ ใหม่ มีศกั ยภาพในการจดั การเรียนการสอน
ตามหลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีทกั ษะในการปฏิบตั ิหน้าที่ไดด้ ี มคี วามรู้

21

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล มีการพฒั นาตนเองทางวิชาชีพอย่างตอ่ เน่ือง รวมทงั้ มจี ิตวิญญาณความ
เป็นครู

4. ด้านประสทิ ธิภาพ
4.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชพ้ ื้นทีเ่ ปน็ ฐาน มนี วตั กรรมเปน็ กลไกหลักในการขับเคลื่อน บน

ฐานข้อมูลสารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง ทนั สมัย และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
4.2 พัฒนาโรงเรยี นมธั ยมดีสมี่ มุ เมือง โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรยี นท่ี

สามารถดารงอยู่ได้อย่างมคี ุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ ีคุณภาพอย่างยงั่ ยืน สอดคลอ้ งกับบริบท ของพน้ื ท่ี
4.3 บริหารจดั การโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ทม่ี จี านวนนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษา ปที ี่ 1 – 3

นอ้ ยกว่า 20 คน ใหไ้ ดร้ ับการศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
4.4 ส่งเสริมการจดั การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพในสถานศึกษาท่ีมีวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา ทีต่ ้ัง

ในพน้ื ทีล่ กั ษณะพิเศษ
4.5 สนบั สนุนพื้นท่นี วตั กรรมการศึกษาให้เป็นตน้ แบบการพฒั นานวัตกรรมการศึกษา และการเพ่มิ

ความคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารและการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
4.6 เพิม่ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

กลยทุ ธ์
1. การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
2. การจดั การศึกษาเพอื่ เพ่ิมความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
3. การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
4. การสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมลา้

ทางการศึกษา
5. การจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา

ส่วนท่ี 2
ภำพรวมของโรงเรียนและกำรวิเครำะหอ์ งคก์ ำร

(School Profile)
1. ประวัติโรงเรยี น

โรงเรยี นบา้ นบ่อดนิ ตั้งอยหู่ มูท่ ่ี 11 ตาบลไพศาล อาเภอประโคนชัย จงั หวัดบุรรี ัมย์ เร่ิมกอ่ ต้ังเม่ือปี
พ.ศ. 2521 โดยความร่วมมือของประชาชนในหมู่บ้าน เปน็ อาคารเรยี นแบบชวั่ คราว ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2522
ไดป้ รับเปน็ อาคารเรยี นแบบ ป.1 ซ ขนาด 2 หอ้ งเรียน โรงเรียนมพี น้ื ท่ที งั้ สน้ิ 20 ไร่ 43 ตารางวา ได้
เปิดทาการสอนเม่ือวนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 มีครู 2 คน นกั เรียน 35 คน โดยมี นายประสงค์
พวงไพบูลย์ รักษาการในตาแหนง่ ครูใหญแ่ ละไดร้ ับการบรรจแุ ตง่ ตัง้ เปน็ ครูใหญใ่ นเวลาตอ่ มา

ในปีการศึกษา 2523 โรงเรยี นไดร้ ับงบประมาณปรบั ปรุงอาคารเรียนเพ่มิ อีก 2 หอ้ งเรยี น เปน็ จานวน
เงิน 140,000 บาท

ในปกี ารศกึ ษา 2524 ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณ 40,000 บาท ในการกอ่ สรา้ งส้วม 3 หอ้ ง 1 ท่ี ซ่งึ
ปจั จุบนั ชารดุ ใชก้ ารไม่ได้และได้รือ้ ถอนแลว้

ในปีการศึกษา 2527 คณะครู ผู้ปกครองนักเรียน ได้ร่วมบริจาคทรัพยส์ ร้างเสาธงเหล็กพรอ้ มฐาน เป็น
เงิน 12,000 บาท ในปีการศกึ ษาน้ี นายประสงค์ พวงไพบลู ย์ ไดร้ บั คาส่งั ยา้ ยและแตง่ ตัง้ ใหไ้ ปดารงตาแหน่ง
อาจารย์ใหญ่โรงเรยี นบ้านละเวีย้ และได้แตง่ ตั้งให้ นายจริ ศกั ดิ์ พวงไพบลู ย์ ดารงตาแหนง่ อาจารย์ใหญแ่ ทน
ในปกี ารศึกษาน้ีได้รบั จดั สรรงบประมาณตอ่ เติมอาคารเรียนอีก 2 หอ้ งเรียน ด้วยงบประมาณ 195,000
บาท

ในปีการศกึ ษา 2530 คณะครู ผ้ปู กครองนกั เรียน ได้ร่วมบรจิ าคทรัพย์กอ่ สร้างอาคารเรยี นชั่วคราวอาคาร
รวมใจราษฎร์ เป็นเงนิ 63,000 บาท และอาคารชั่วคราวอีก 1 หลงั เปน็ เงนิ 15,000 บาท ในปีงบประมาณ
2530 นไ้ี ด้รบั จดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. 202/26 จานวน 1 หลงั เปน็ เงิน
200,000 บาท

ในปีงบประมาณ 2535 ได้รบั จดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรยี น แบบ สปช. 102/26 จานวน 1
หลงั 3 หอ้ งเรียน คณะครู ผปู้ กครองนักเรยี นร่วมกนั บริจาคทรพั ย์ก่อสร้างซุม้ ประตู เปน็ เงนิ 9,000 บาท
ในปกี ารศึกษา 2536 นายจิรศักดิ์ พวงไพบลู ย์ อาจารย์ใหญ่ไดร้ ับคาสง่ั ย้ายและแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่ง
อาจารย์ใหญโ่ รงเรียนบ้านหนองเก็ม และมีคาส่ังแตง่ ตั้ง นายเอกภทั ร แสงสุวรรณ มาดารงตาแหนง่ อาจารย์
ใหญแ่ ทน ในปีนี้ได้รบั จดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งส้วม 1 หลัง 4 ท่ี แบบ สปช 631/26 เปน็ เงนิ 90,000
บาท

ในปีการศกึ ษา 2538 นายเอกภทั ร แสงสุวรรณ ไดร้ ับคาสง่ั ยา้ ยไปดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียน
บา้ นหนองกระต่าย และมีคาสัง่ ย้ายและแต่งตั้งนายธรี ะศลิ ป์ เทียมศักดิ์
มาดารงตาแหน่งแทนในปีการศกึ ษานี้ นางสเุ ขมา เวชประมลู
ได้บริจาคทรัพย์ก่อสร้างฐานพระพุทธรูป พร้อมพระพทุ ธรูป เปน็ เงิน 170,000 บาท

23

ในปกี ารศึกษา 2540 ได้รับงบประมาณปรบั ปรุงโรงเรียนให้เปน็ ปัจจุบนั เป็นเงิน 52,364 บาท
สานักงานโยธาธกิ ารกอ่ สร้างถังเก็บน้าฝน เปน็ เงนิ 120,000 บาท ในปีการศึกษา 2542 นายธรี ะศลิ ป์
เทียมศักด์ิ อาจารย์ใหญ่เกษียณอายุราชการและได้แต่งต้งั ให้ นายธนาธปิ เสียงตรงเป็นผ้รู ักษาราชการแทน
ในปีการศึกษา 2544 มีคาส่ังยา้ ยและแต่งตง้ั นายวิเชยี ร ทองมี อาจารย์ 2 โรงเรียนบา้ นหนองเก็ม ผู้ผ่านการ
คัดเลอื กขน้ึ บัญชีในตาแหน่งอาจารย์ใหญม่ ารกั ษาการในตาแหน่งอาจารย์ใหญแ่ ละได้รับบรรจุ
และแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ อาจารยใ์ หญ่โรงเรยี นบา้ นบอ่ ดิน

ในปกี ารศึกษา 2545 คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผ้ปู กครองนักเรยี น คณะครู จัดทอดผา้ ปา่ เพ่อื
การศึกษา เพื่อนาเงินมาซ่อมแซมอาคารรวมใจราษฎร์ เปน็ เงิน 63,000 บาท ในปีการศกึ ษา 2546 องค์การ
บริหารสว่ นตาบลไพศาล ได้ก่อสร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ มอบใหโ้ รงเรยี น เป็นเงิน 100,000 บาท

ในปีการศกึ ษา 2547 คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนกั เรียน คณะครู และศิษยเ์ กา่ จัด
ทอดผา้ ป่าเพ่ือการศึกษา ปรบั ปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน ป 1 ซ ซ่อมแซมถงั เก็บน้าฝน ก่อสร้างระบบประปา
โรงเรียน เป็นเงิน 150,000 บาท องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลไพศาล จดั สรรงบประมาณเพ่ือจัดซ้ืออปุ กรณ์
คอมพิวเตอร์พร้อมระบบการตดิ ต้งั เป็นเงิน 47,900 บาท ในเดือนกนั ยายน 2551 มคี าสั่งแตง่ ตงั้ นายนิคม
ขนั โสม ครโู รงเรยี นอนบุ าลประโคนชยั (อานวยกิจราษฎร์วทิ ยาคาร) มาดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรียน ซ่ึง
เป็นผผู้ า่ นการคดั เลอื กขึ้นบัญชีไว้ ในเดือนตุลาคม ได้จดั สร้างเรือนเพาะชา เป็นเงิน 14,000 บาท โดยใช้
งบประมาณเศรษฐกิจพอเพียง จากองค์การบริหารส่วนตาบล และได้ก่อสร้างเตาเผาขยะ เป็นเงิน 10,000
บาท

ในปกี ารศึกษา 2552 คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครองนักเรยี น คณะครู ศิษย์เก่า และผมู้ ีจติ ศรัทธา
ไดร้ ว่ มกนั บริจาคเงนิ เพอื่ สร้างรั้วรอบบรเิ วณโรงเรียน

ในปกี ารศึกษา 2557 นายณฐั พล มเี วที ไดย้ ้ายมาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียน ปงี บประมาณ
2559 ไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวนเงิน 1,263,000
บาท ก่อสรา้ งอาคารเรยี นแบบ สปช. 102/26 ชนั้ เดียว 3 ห้องเรียนในปีเดียวกันหม่บู า้ นบ่อดินไดร้ บั งบประมา
ฯพัฒนาหมูบ่ ้านขดุ ลอกสระน้าบ้านบ่อดินจานวนเงิน 100,000 บาท ซง่ึ ต้งั อยู่ในบรเิ วณโรงเรยี นบา้ นบอ่ ดนิ
ปีงบประมาณ 2560 ได้รับจัดสรรงบประมาณห้องคอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ตอ่ พ่วงแบบ CC1 และได้รบั
เงินบรจิ าคจากผู้มีจิตศรทั ธา กอ่ สรา้ งปรบั ปรุงสถานที่ประกอบอาหารกลางวนั ของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นบ่อดนิ

ท่ตี ั้งโรงเรยี น

ซึ่งมบี ริเวณอาณาเขตดงั น้ี

ทิศเหนอื จดทีด่ นิ นายคูณ จนั ทจัณฑ์

ทศิ ใต้ จดทางหลวงสาย โชคชัย – เดชอดุ ม

ทิศตะวันออก จดทางเกวยี นและท่ีดินของ นายสมาน กระซริ ัมย์

ทศิ ตะวันตก จดโรงเรียนไพศาลพทิ ยาคมและวัดบ้านบอ่ ดนิ

24

เปิดทำกำรสอน
โรงเรยี นบา้ นบอ่ ดนิ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 สงั กดั สานกั งาน

คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เปิดทาการสอนตั้งแตร่ ะดับก่อนประถมศึกษา
(ชัน้ อนบุ าลปีท่ี 2 – 3) และระดบั ประถมศกึ ษา
(ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6)
จำนวนนกั เรียน
ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั ก่อนประถมศึกษา จานวน 13 คน
ระดับประถมศึกษา จานวน 47 คน

รวมทง้ั สิน้ จานวน 60 คน
จำนวนห้องเรยี น

มหี ้องเรยี น 8 ห้องเรยี น
จำนวนข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
ผ้อู านวยการ ครู พ่ีเล้ยี งเดก็ พิการ นกั การภารโรง จานวน 8 คน
จาแนกตามวุฒิ

ปริญญาโท จานวน 1 คน
ปรญิ ญาตรี จานวน 5 คน
ปวช. จานวน 1 คน
ม.ปลาย จานวน 1 คน

รวมทง้ั สน้ิ 8 คน
คำขวัญของโรงเรยี น

คดิ ดี ทาดี มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้
ปรัชญำของโรงเรียน

นสิ มม กรณ เสยโย
ใครค่ รวญใหด้ ีกอ่ นแล้วจงึ ทา
สปี ระจำโรงเรยี น มว่ ง – ขาว

25

2. SWOT Analysis (กำรวิเครำะหจ์ ดุ ออ่ น จุดแข็งขององคก์ ำร)
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม เป็นการศึกษาถึงปจั จยั ท่มี ีผลกระทบต่อการดาเนินงานของสถานศึกษา ทั้ง

ในแง่เชิงบวกและเชงิ ลบ ข้อมลู สภาพแวดลอ้ มเป็นขอ้ มูลในการประเมินสภาพของสถานศึกษาวา่ เปน็ อยำ่ งไร
และพฒั นำไปในทิศทำงใด สภาพแวดลอ้ มที่มีบทบาทต่อการดาเนนิ งานของสถานศึกษาแบง่ ได้ 2 ประเภท
คอื สภาพแวดลอ้ มภายนอกและสภาพแวดล้อมภายในข้อมลู ทไี่ ด้จากการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม โดย
พจิ ารณา”โอกาส และอปุ สรรค” จากสภาพแวดล้อมภายนอกและ “จดุ แข็งและจุดอ่อน” จากสภาพแวดลอ้ ม
ภายในสถานศกึ ษา

 โอกาส (OPPORTUITIES) หมายถึง ปัจจยั หลกั ของสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้ออานวยหรอื สนับสนุนให้
สถานศกึ ษาประสบผลสาเร็จประสบความสาเรจ็

 อุปสรรค (THREATS) หมายถงึ ปัจจยั หลกั ของสภาพแวดลอ้ มภายนอกท่ีเปน็ ภัยคุกคาม หรือ
ขอ้ จากดั ท่ีทาให้การดาเนนิ งานของสถานศึกษาไมป่ ระสบความสาเรจ็

 จุดแขง็ (STRENGTHS) หมายถึง ปจั จยั หลกั ของสภาพแวดลอ้ มภายใน ที่เป็นขอ้ ดี หรอื ข้อเดน่ ทีท่ า
ให้สถานศกึ ษาประสบความสาเรจ็

 จดุ ออ่ น (WEAKNESSES) หมายถงึ ปัจจยั หลักของสภาพแวดล้อมภายในท่เี ป็นขอ้ ด้อยซึง่ ส่งผลเสยี
ต่อการดาเนนิ งานของสถานศึกษา

26

กำรหลอมสรปุ เฉพำะประเดน็ SWOT ทส่ี ำคัญ ๆ

แบบวเิ คราะห์โอกาสและภาวะคกุ คาม

1. ส่ิงแวดลอ้ มภายนอกตา่ ง ๆ มผี ลกระทบต่อการประกอบภารกิจ/ระบบงาน และผลงานอย่างไร

วธิ กี าร : ระดมสมองและการวิเคราะห์ โอกาสและภาวะคุกคาม

ข้อมูลประกอบ : สภาพเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม การเมอื ง การปกครอง และความก้าวหนา้ ทาง

เทคโนโลยีของโลก ของภมู ภิ าค ของประเทศ และพนื้ ที่ และบทวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตจากแหลง่ ต่าง ๆ

คาถาม 1. ปัจจยั ที่เปน็ ส่ิงแวดล้อมภายนอก ดงั ต่อไปนเ้ี กีย่ วขอ้ งกับการประกอบภารกจิ ของ

หน่วยงานเปน็ โอกาสหรอื ภาวะคุกคาม อยา่ งไร

โอกำส ภำวะคกุ คำม

1. ปจั จัยดำ้ นสังคมและวฒั นธรรม 1. ปจั จัยด้ำนสงั คมและวฒั นธรรม

1. ประชาชนรว่ มอนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณใี นท้องถนิ่ 1. ชมุ ชนบางสว่ นยงั มกี ารมวั่ สุมเลน่ การพนันและเสพสิง่

สง่ ผลใหแ้ กน่ กั เรียนมีแบบอย่างท่ดี ี เสพติด ทาใหน้ กั เรียนเกิดพฤติกรรมเลยี นแบบทผ่ี ดิ

2. ประชาชนมกี ารศึกษาดี สง่ ผลสนับสนนุ เด็กใหไ้ ด้รับ 2. การย้ายถนิ่ ของผู้ปกครองนกั เรียน สง่ ผลให้นักเรียน

การศกึ ษาในระดบั ท่สี ูงข้ึน เรียนไมต่ ่อเน่ืองผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนลดลง

3. ประชาชนทว่ั ไปเร่มิ ต่ืนตัวต่อการปฏิรูปการศกึ ษา 3. ผู้ปกครองนกั เรยี นไม่ได้เป็นแบบอย่างดา้ นระเบียบ

สง่ ผลใหค้ รพู ัฒนาบทบาทวธิ ีการจัดการเรยี นการสอนท่ี วินยั ส่งผลใหน้ กั เรียนเลยี นแบบในทางท่ีผิด

หลากหลายมากขน้ึ

2. ปัจจัยดำ้ นเทคโนโลยี 2. ปจั จัยด้ำนเทคโนโลยี

1. สพป.บร.2 มีนโยบายส่งเสริมการแข่งขันความเปน็ เลิศ 1. คา่ นยิ มการใช้เว็บไซต์ท่ีมเี น้ือหาลามกอนาจาร ทาให้

ทางดา้ น ICT ส่งผลใหน้ ักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน นักเรยี นเกดิ การเลียนแบบพฤติกรรมทผี่ ดิ มีปัญหาทางสงั คม

2. กศน.ตาบลบรกิ ารอนิ เตอร์เนต็ ความเรว็ สูง สง่ ผลให้ 2. ประชาชนขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยี

ประชาชน/นักศกึ ษาเกดิ การเรียนรู้ และองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ ส่งผลใหน้ ักเรียนมีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม

3. สพป.บร.2 เป็นศนู ยก์ ลางเครอื ขา่ ย IT ทาให้โรงเรียน 3. ฐานข้อมูลของโรงเรียนกับ สพฐ. ขาดการเช่ือมโยง

ส่งข้อมูลได้สะดวกรวดเรว็ ประหยดั เวลาได้มากข้นึ ส่งผลใหโ้ รงเรียนรายงานขอ้ มูลล่าช้ากวา่ กาหนด

3. ปจั จัยดำ้ นเศรษฐกิจ 3. ปจั จัยด้ำนเศรษฐกิจ

1. ชุมชนมีฐานะค่อนขา้ งดี สง่ ผลตอ่ การสนบั สนุนการจัด 1. ผปู้ กครองนกั เรยี นบางส่วนไปรับจา้ งทางานอยู่

การศึกษาของโรงเรยี นดขี นึ้ ต่างจังหวดั ทาให้นกั เรียนขาดความรกั ความอบอุ่น

2. ผปู้ กครองนักเรียนมีอาชีพม่ันคง ส่งผลใหน้ ักเรยี นไดร้ ับ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตา่

การศกึ ษาทส่ี ูงขึ้น 2. ผ้ปู กครองนกั เรียนบางส่วนหย่ารา้ งกนั ส่งผลให้

3. ชุมชนมีแหลง่ เงนิ ทนุ ทาใหโ้ รงเรียนระดมทุนเพือ่ นกั เรยี นขาดการสนับสนุนการศึกษาของบตุ ร

การศึกษาไดม้ ากขน้ึ 3. บ้านเมืองมภี าวะวกิ ฤตเศรษฐกิจตกตา่ ทาให้ชุมชน

สนับสนนุ การจัดการศึกษาลดนอ้ ยลง

27

โอกำส ภำวะคกุ คำม
4. ปจั จยั ดำ้ นกำรเมืองกำรปกครอง 4. ปจั จัยด้ำนกำรเมืองกำรปกครอง

1. พ.ร.บ. การกระจายอานาจ สง่ ผลให้ อปท.เขา้ มามี 1. นกั การเมอื งมีการกา้ วก่ายการสอบคัดเลือกบคุ ลากร
ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นมากขึน้ ทางการศกึ ษา ทาให้ไดค้ รเู ข้ามารับราชการไม่ตรงตาม
ความต้องการ
2. คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานรู้บทบาท 2. พ.ร.บ.การกระจายอานาจในการจัดการศึกษาของ
หนา้ ที่ของตน สง่ ผลใหค้ วามร่วมมือของโรงเรยี นมากขน้ึ อปท. ทาให้การจัดการศึกษาไมไ่ ดค้ ุณภาพเนื่องจากขาด
ประสบการณ์
3. พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ ทาใหค้ รพู ัฒนาการ 3. นักการเมืองท้องถิ่นก้าวก่ายการจดั ซ้ือจัดจ้าง ทาให้
เรียนการสอนมากขน้ึ โรงเรียนไดค้ รุภัณฑ์ทม่ี รี าคาแพงและไม่มคี ุณภาพ

28

แบบวิเครำะห์จดุ แข็งและจดุ ออ่ น
2. สถานภาพศกั ยภาพปจั จบุ ัน (สภาพแวดล้อมภายในหนว่ ยงาน)

วธิ กี าร : ระดมสมองและการวเิ คราะห์ จุดแขง็ และจุดอ่อน
ข้อมูลประกอบ : จากรายงานตา่ ง ๆ สถติ ิและสารสนเทศของหน่วยงาน 3-5 ปี
คาถาม 1. เก่ยี วกับโครงสรา้ งหน่วยงาน กลมุ่ กจิ กรรม ระบบบริหารจัดการ กฎ ระเบยี บต่าง ๆ
ของหนว่ ยงานเปน็ อยา่ งไร เอื้อตอ่ ความมีประสทิ ธภิ าพเพยี งใด

2. ศกั ยภาพด้านบุคลากร การเงิน เครอ่ื งมือ IT และการบรหิ ารจัดการ มจี ุดแข็ง
จดุ อ่อน อะไรบา้ ง

จดุ แข็ง จุดออ่ น
1. ด้ำนโครงสรำ้ งองคก์ รและนโยบำยในหนว่ ยงำน 1. ดำ้ นโครงสรำ้ งองคก์ รและนโยบำยในหนว่ ยงำน

1. พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 1. ภาระงานของโรงเรยี นมีมากเกินไปแตค่ รูมีจานวน
39 ส่งผลให้โรงเรยี นมภี ารกจิ การบรหิ ารงาน 4 งาน จากดั ส่งผลทาใหค้ รูปฏิบตั ิงานซ้าซอ้ นมากขน้ึ
วิชาการ,บรหิ ารงบประมาณ,บริหารงานบคุ คลและ
การบริหารทวั่ ไป 2. ผบู้ ังคบั บัญชาและผู้ใตบ้ ังคบั บัญชาปฏบิ ตั งิ านขาด
การประสานงาน สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านผดิ พลาดมาก
2. นโยบายสพป.บร.2 นักเรียนป.3 ทกุ คนอา่ น ขนึ้
ออกเขียนไดแ้ ละคิดคานวณเปน็ สง่ ผลให้นกั เรียนมี
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขน้ึ 3. คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานไม่มคี วามรู้
เรือ่ ง
3. โครงการ English speaking year 2012 งานการเงิน ส่งผลใหก้ ารบริหารงานของโรงเรยี นไม่
สง่ ผลให้ครนู ักเรียนมกี ารสอ่ื สารภาษาอังกฤษมากข้นึ โปรง่ ใส

2. ดำ้ นระบบงำนและผลงำน 2. ดำ้ นระบบงำนและผลงำน

1. ครูจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนสอนซอ่ มเสรมิ 1. โรงเรียนบรหิ ารงานไมเ่ ป็นระบบ สง่ ผลให้เสยี เวลา

ส่งผลให้นักเรียนอา่ นออก เขียนได้และคิดคานวณเปน็ ค่าใชจ้ ่ายในการปฏิบตั ิงาน

สงู ขึน้ 2. ครทู างานไม่เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ส่งผลให้

2. โครงการสร้างสื่อนวัตกรรมการสอนของครู ผลงานไม่เปน็ ทีน่ า่ ภาคภมู ิใจ

สง่ ผลให้นกั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3. โรงเรียนไม่พัฒนากล่มุ หลักสูตรทสี่ อดคล้องกบั

3. โครงการสง่ เสริมนิสยั รกั การอา่ น ส่งผลให้ ความตอ้ งการของท้องถนิ่ ส่งผลใหน้ กั เรียนขาดความรู้

นกั เรยี นใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชนก์ บั การเรยี นมาก ทักษะ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

ขน้ึ

29

จดุ แขง็ จุดอ่อน

3. ดำ้ นบุคลำกร 3. ด้ำนบคุ ลำกร

1. ครมู วี ุฒทิ างการศกึ ษาปรญิ ญาตร/ี โท ส่งผลให้ 1. ครบู างส่วนทางานไม่ตรงความร้คู วามสามารถ

การจดั การศึกษาได้มาตรฐานมากขึ้น สง่ ผลให้ผลงานของโรงเรียนขาดประสิทธภิ าพ

2. โรงเรียนสง่ บคุ ลากรเข้ารบั การอบรมพัฒนา 2. ครูบางคนขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยี

ตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง สง่ ผลใหค้ รูมีเทคนิคในการสอนท่ี ประกอบการสอน ส่งผลให้นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการ

หลากหลายมากขึน้ เรียนตา่

3. ผอู้ านวยการโรงเรยี นนิเทศภายในโรงเรียนอยา่ ง 3. บคุ ลากรบางคนไม่ได้เตรยี มการสอนและจัดทา

ต่อเนือ่ งและทั่วถงึ ส่งผลให้ครูมที ักษะในการ แผนการเรยี นรู้ สง่ ผลให้ครูไมม่ ปี ระสิทธิภาพในการ

ปฏบิ ัตงิ านมากขึ้น สอน

4. ด้ำนเงนิ /งบประมำณ 4. ด้ำนเงนิ /งบประมำณ

1. หน่วยงานมีแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ สง่ ผล 1. โรงเรยี นขนาดเลก็ อยใู่ นพนื้ ท่ีห่างไกล ส่งผลใหก้ าร

ให้โรงเรยี นมเี ครอื่ งมอื ในการใชจ้ ่ายเงนิ ระดมทนุ จากชุมชนได้น้อย

2. ครูสารวจความต้องการการใชจ้ า่ ยเงิน ส่งผลให้ 2. โรงเรยี นได้รับจัดสรรงบประมาณช้า สง่ ผลใหก้ าร

โรงเรียนได้วสั ดุตรงตามความตอ้ งการ เบิกจา่ ยงบประมาณลา่ ช้าตามไปดว้ ย

3. ครูเจา้ หนา้ ที่การเงินมีความสามารถในการทา 3. โรงเรยี นมบี ุคลากรจานวนจากัด สง่ ผลให้ขาด

ระบบบญั ชี สง่ ผลให้โรงเรียนมีระบบบัญชที ่ีดีถกู ต้อง ความสมา่ เสมอในการรายงานทางการเงิน

และเปน็ ปจั จบุ นั

5. ดำ้ นอุปกรณ์/เครอ่ื งมือรวมท้ังอำคำรสถำนที่ 5. ด้ำนอุปกรณ/์ เครอ่ื งมือรวมท้ังอำคำรสถำนที่

1. โรงเรยี นมอี ุปกรณ์ทท่ี นั สมยั ส่งผลใหน้ ักเรียนมี 1.โรงเรยี นขาดห้องปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูงข้ึน ส่งผลใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นลดลง

2. โรงเรียนมีการใช้วสั ดุอปุ กรณ์อย่างประหยดั 2.โรงเรยี นมคี อมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ ส่งผลใหค้ รูจดั

สง่ ผลใหค้ รจู ัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดค้ มุ้ คา่ และ กจิ กรรมการเรยี นการสอนไม่มีประสทิ ธิภาพ

มีประสทิ ธิภาพ 3. ครูขาดการนาเอาอุปกรณใ์ นท้องถ่นิ มา

3. โรงเรียนมีเทคโนโลยที ท่ี ันสมัย สง่ ผลให้ผูบ้ รหิ าร ประกอบการสอน สง่ ผลให้นักเรียนไม่เห็นคณุ คา่ ของ

จดั การศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ วสั ดทุ อ้ งถ่ิน

30

จดุ แข็ง จุดออ่ น
6. กำรบรหิ ำรจัดกำร 6. กำรบริหำรจดั กำร

1. ผู้บรหิ ารมี School Based Management : 1.โรงเรยี นแบ่งงานรบั ผิดชอบยังไม่ชดั เจน ทาให้งาน
SBM ส่งผลให้โรงเรยี นบริหารจดั การศกึ ษาเบ็ดเสรจ็ เกิดความซ้าซอ้ นขาดประสทิ ธภิ าพ
ด้วยตนเอง
2.โรงเรยี นขาด Stakeholders ส่งผลให้การมีสว่ น
2. ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการสรา้ ง ร่วมของบุคลากรในการดาเนินงานตามกิจกรรมไมเ่ ตม็ ท่ี
ระบบบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองและสงั คมทดี่ ี พ.ศ.
2542 สง่ ผลใหม้ ีหลกั ธรรมาภบิ าล มาบรู ณาการใน 3. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นรบั ผิดชอบงานมากเกนิ ไป ทาให้
การบริหารโรงเรียน ขาดความคล่องตัวในการบรหิ ารงาน

3. มีการบริหารการศึกษาโดยองค์คณะบคุ คล
สง่ ผลใหโ้ รงเรียนบริหารจัดการศึกษาบรรลุจดุ หมาย
ของหลกั สตู รได้

31

ผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม (SWOT)
โรงเรยี นบ้ำนบ่อดนิ สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำบรุ ีรมั ย์ เขต 2

จดุ แข็ง (Strengths) โอกำส (Opportunities)

1. นกั เรยี นระดับก่อนประถมศึกษาและระดับ 1. ผปู้ กครอง ชุมชน ใหค้ วามเชือ่ ม่ัน ศรัทธา ทาให้

ประถมศกึ ษามคี ุณภาพตามมาตรฐานทุกมาตรฐาน โรงเรียนได้รบั การสนบั สนนุ

2. ครูมีคุณวุฒิ มีความรู้ ความสามารถตรงกับงาน ทุก ๆ ดา้ น

ทร่ี บั ผิดชอบและมีครูเพียงพอ ครมู ีความสามารถใน 2. โรงเรียนตัง้ อยใู่ นชมุ ชนทพ่ี ร้อมให้

การจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและ การสนับสนุนกจิ กรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน

เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั 3. ชมุ ชนมแี หลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น พร้อมใหก้ าร

3. ผ้บู ริหารมภี าวะผนู้ าและมีความร้คู วามสามารถใน สนับสนุนต่อการสร้างสังคม แห่งการเรยี นรู้

การบริหารจัดการ มีวิสยั ทัศน์ สามารถนาโรงเรียน 4. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นท้องถ่ินและศษิ ย์เกา่ ให้การ

สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ สนบั สนุน บรจิ าคงบประมาณเพือ่ พัฒนาสถานศกึ ษา

4. โรงเรียนมีการจดั องค์กร/โครงสร้างและ การ โรงเรยี นต้งั อยู่ในชมุ ชนท่มี ีฐานะของครอบครัว

บริหารงานอยา่ งเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุ คอ่ นข้างยากจนเปน็ ส่วนใหญ่ ทางานรับจา้ ง ทางานไม่

เปา้ หมายการศกึ ษา มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการ มเี วลาเอาในใส่ดูแลบุตร เพราะต้องไปรับจา้ ง

สอนโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ มหี ลักสูตรท่ี ต่างจงั หวัด ให้ลกู อยใู่ นความดูแลของญาติ โรงเรยี น

เหมาะสม กับผ้เู รียนและท้องถนิ่ มีสอื่ การเรยี นการ ตอ้ งรบั ภาระใหค้ วามอบอุ่น จัดสวสั ดิการตา่ ง ๆ ให้ทุก

สอนท่ีเอื้อต่อ การเรียนรู้ สง่ เสรมิ ความสมั พันธแ์ ละ คนอย่างทั่วถึง เพ่ือคุณภาพของนกั เรียน

ความรว่ มมือกบั ชุมชนในการพฒั นาการศึกษา

มโี ครงสร้างการบริหาร และมกี ารกระจายอานาจ

อยา่ งชดั เจน ทาให้การบริหารจดั การมีความ

คลอ่ งตวั สงู

5. คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมีศักยภาพ

สง่ ผลให้การจดั การศึกษาได้มาตรฐาน และ

สอดคล้องกับความต้องการของชมุ ขน

6. จัดบรรยากาศแหล่งเรยี นรู้และสิง่ แวดล้อมเพ่ือ

สร้างสงั คมแหง่ การเรียนรไู้ ม่มีเจ้าหนา้ ท่แี ละบุคลากร

ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีเป็นการเฉพาะในสานกั งาน

32

3. ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยนอกรอบสำม (พ.ศ. 2554-2558)

โรงเรยี นบ้านบ่อดิน ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสาม (พ.ศ. 2554 – 2558)

เมื่อวันท่ี 25 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึงวันท่ี 27 เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ผลการประเมิน สรปุ ดังนี้

ตำรำงสรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม จำแนกตำมกลุ่มตวั บง่ ช้ี

ระดับกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน : ปฐมวัย

ระดับกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน (ปฐมวัย) นำ้ หนัก คะแนนที่ ระดบั
คะแนน ได้ คณุ ภำพ

กลุ่มตัวบง่ ช้ีพ้ืนฐำน

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1 เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายสมวยั 5.00 4.50 ดีมาก

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์และจติ ใจสมวัย 5.00 4.50 ดีมาก

ตวั บ่งชีท้ ่ี 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คมสมวยั 5.00 4.00 ดี

ตวั บ่งช้ที ี่ 4 เด็กมีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญาสมวัย 10.00 7.50 ดี

ตวั บง่ ชี้ที่ 5 เดก็ มคี วามพร้อมศึกษาตอ่ ในข้นั ต่อไป 10.00 9.00 ดมี าก

ตัวบ่งชที้ ่ี 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ทู เ่ี น้น 35.00 28.00 ดี
เด็กเป็นสาคญั

ตวั บ่งชท้ี ี่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ 15.00 13.50 ดมี าก
และการพฒั นาสถานศกึ ษา

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 8 ประสิทธิผลของระบบการประกนั 5.00 4.63 ดมี าก
คณุ ภาพภายใน

กลุ่มตัวบ่งชอี้ ตั ลักษณ์

ตัวบ่งชี้ท่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรชั ญา

ปณธิ าน/วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ 2.50 2.00 ดี

ของการจัดตง้ั สถานศกึ ษา

ตัวบ่งชท้ี ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเด่นที่ส่งผล 2.50 2.00 ดี
สะทอ้ นเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

กลมุ่ ตวั บ่งชี้มำตรกำรส่งเสริม

ตวั บง่ ช้ที ่ี 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาท 2.50 2.00 ดี
ของสถานศกึ ษา

ตัวบง่ ชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดบั

มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลศิ ที่สอดคล้อง 2.50 2.00 ดี

กับแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

คะแนนรวม 100.00 83.63 ดี

33

กำรรับรองมำตรฐำนสถำนศึกษำระดับกำรศกึ ษำปฐมวยั
• ผลคะแนนรวมทกุ ตัวบง่ ชี้ ต้ังแต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป  ใช่  ไมใ่ ช่
• มตี วั บง่ ช้ีทไี่ ด้ระดบั ดีข้ึนไปอย่ำงน้อย 10 ตัวบ่งช้ี จำก 12 ตัวบ่งช้ี  ใช่  ไม่ใช่
• ไม่มตี ัวบ่งช้ีใดที่มรี ะดับคณุ ภำพต้องปรบั ปรุงหรือตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ด่วน  ใช่  ไม่ใช่
ในภำพรวมสถำนศกึ ษำจัดกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน : ระดับกำรศึกษำปฐมวัย
 สมควรรบั รองมำตรฐำนกำรศึกษำ  ไม่สมควรรบั รองมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม (ระดับกำรศึกษำปฐมวัย)

มำตรฐำนท่ี ขอ้ เสนอแนะ
5 ควรเน้นการจดั การเรยี นการสอนโดยผา่ นกจิ กรรมมาก ๆ เน้นใหเ้ ด็กได้เล่นตามมุม
ประสบการณ์ จะช่วยพัฒนาการด้านสังคม สติปญั ญา อารมณ์ จะช่วยเรื่องการขาดความ
14 อบอุ่นให้แก่ผู้เรยี นได้
สถานศกึ ษาควรมีการสรา้ งเครอื ข่ายความสมั พันธ์กับชมุ ชน สร้างชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็
สามารถประกอบอาชีพในท้องถิ่นให้เปน็ หลักเปน็ ฐาน โดยไม่ต้องไปทางานตา่ งจังหวัด
จะได้อยูด่ ูแลบตุ รหลานตลอดไป ผ้เู รยี นจะได้ไม่ขาดความอบอ่นุ

34

ตำรำงสรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม จำแนกตำมกล่มุ ตัวบง่ ชี้
ระดบั กำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน : ประถมศกึ ษำ

ระดับกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน น้ำหนกั คะแนน ระดับ
(ประถมศึกษำ) คะแนน ท่ีได้ คุณภำพ
10.00 9.46 ดีมาก
กลุม่ ตัวบง่ ชี้พืน้ ฐำน 10.00 9.64 ดีมาก
ตวั บง่ ชีท้ ่ี 1 ผเู้ รียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี 10.00 8.58 ดี
ตัวบ่งชท้ี ่ี 2 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พงึ ประสงค์ 10.00 8.21 ดี
ตวั บ่งชท้ี ่ี 3 ผเู้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง 20.00 15.60 ดี
ตวั บ่งชท้ี ี่ 4 ผเู้ รียนคดิ เปน็ ทาเป็น 10.00 9.00 ดมี าก
ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รยี น 5.00 4.50 ดีมาก
ตัวบ่งชท้ี ี่ 6 ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรยี นการสอนท่ี 5.00 4.45 ดี

เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ 5.00 5.00 ดีมาก
ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการ
5.00 4.00 ดี
พฒั นาสถานศึกษา
ตัวบ่งชท้ี ่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายใน 5.00 5.00 ดมี าก

โดยสถานศกึ ษา และตน้ สังกดั 5.00 5.00 ดีมาก
กลุ่มตัวบง่ ชอี้ ตั ลักษณ์
ตวั บง่ ชี้ท่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/ 100.00 88.44 ดี

วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถุประสงค์ของการ
จดั ต้ังสถานศึกษา
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนน้ และจดุ เดน่
ที่สง่ ผลสะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบง่ ชี้มำตรกำรสง่ เสริม
ตวั บ่งช้ีท่ี 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษ
เพอ่ื สง่ เสริมบทบาทของสถานศึกษา
ตวั บ่งชท้ี ี่ 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษา
เพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสู่ความ
เป็นเลิศที่สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู
การศกึ ษา

คะแนนรวม

35

กำรรับรองมำตรฐำนสถำนศกึ ษำ ระดบั ประถมศกึ ษำ
• ผลคะแนนรวมทกุ ตัวบง่ ชี้ ต้ังแต่ 80 คะแนนข้นึ ไป  ใช่  ไม่ใช่
• มตี ัวบ่งชี้ทไ่ี ด้ระดับดีขึ้นไปอย่ำงน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จำก 12 ตวั บง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่
• ไม่มตี ัวบ่งชใ้ี ดท่ีมีระดับคุณภำพต้องปรับปรุงหรือต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไมใ่ ช่
สรปุ ผลกำรจัดกำรศึกษำระดบั กำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำนของสถำนศกึ ษำในภำพรวม
 สมควรรบั รองมำตรฐำนกำรศกึ ษำ  ไม่สมควรรับรองมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

ขอ้ เสนอแนะจำกกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกรอบสำม
(ระดับกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน)

มำตรฐำนที่ ขอ้ เสนอแนะ
6 การจัดการเรียนการสอน ควรจดั กิจกรรมให้หลากหลาย ให้ผูเ้ รยี นสามารถจาแนก
แจกแจง เปรียบเทยี บองค์ประกอบของส่งิ ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีเหตุผล อาจใชห้ ลกั คาสอน
9 ของพระพทุ ธองค์ คือ อริยสจั 4 เปน็ หลกั อาจใช้หอ้ งสมุดเป็นแหลง่ เรียนรู้ เปน็ ศนู ย์
14 วิชาการ จดั กจิ กรรมให้หลากหลาย และการจัดการสอนดนตรไี ทยเพอื่ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน
มีสนุ ทรียภาพ
ควรใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการจดั การเรยี นการสอน เน้นการเรียนทางไกลผา่ น
ดาวเทียม
สถานศึกษาควรมีการสรา้ งเครือข่ายความสมั พนั ธ์กับชุมชน สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง
สามารถประกอบอาชีพในท้องถ่ินใหเ้ ป็นหลกั เป็นฐาน โดยไมต่ อ้ งไปทางานตา่ งจังหวดั
จะได้อยดู่ ูแลบุตรหลานตลอดไป ผูเ้ รียนจะได้ไม่ขาดความอบอ่นุ

สว่ นท่ี 3
ทิศทำงกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ

1. วสิ ัยทศั น์ (VISION)

โรงเรียนบา้ นบ่อดิน มงุ่ ส่งเสริม สนับสนนุ ให้นักเรียนเปน็ คนดี มีคุณธรรม นาความรู้
มคี ุณภาพตามมาตรฐาน อนรุ ักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กา้ วทันเทคโนโลยี ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

2. พนั ธกจิ (MISSION)

1. สง่ เสรมิ โอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชากรวยั เรียนในเขตบริการทุกคน
2. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานขน้ั พนื้ ฐานอยา่ งทั่วถึงและมีคุณภาพ
3. สง่ เสรมิ การอนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี เพอื่ การเรยี นรู้
5. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา พรอ้ มรับการกระจายอานาจ

3. เป้าประสงค์ (Objective)

1. ประชากรวัยเรียนในเขตบริการของโรงเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามสิทธิ
อย่างเท่าเทยี ม และทั่วถึง

2. ผเู้ รียนทุกคนได้รบั การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐาน
3. โรงเรียนร่วมกับท้องถิ่น อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนใช้คุณธรรมนาความรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรแู้ ละการบริหารจัดการอย่างทั่วถึง
5. โรงเรยี นบริหารจัดการได้มาตรฐาน ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

4. กลยุทธ์ (Strategy)

เปน็ แนวคิด แนวทาง หรือ วิธกี ารทีเ่ หน็ ว่าเหมาะสม และสอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมของหนว่ ยงาน ดงั นน้ั
เพือ่ ให้ได้กลยุทธ์ท่ีเหมาะสม จงึ ควรนาผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
รวมท้งั สถานภาพของสถานศึกษามาพจิ ารณาประกอบก็จะทาใหก้ าหนดกลยทุ ธ์ ได้ถูกทางมากยิ่งขึ้น

37

1. สร้างความเสมอภาคและเพมิ่ โอกาสให้ผู้เรยี นไดร้ บั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
2. เร่งรดั พัฒนาบคุ ลากร สง่ เสรมิ ผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มีคุณธรรม ใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
3. เสรมิ สร้างประสิทธิภาพระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
4. พัฒนาครูและบุคลากรเพอ่ื พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้
5. พฒั นาคณุ ภาพระบบบริหารจัดการโดยใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน

กลยุทธ์ท่ี 1 สร้ำงควำมเสมอภำค และเพม่ิ โอกำสให้ผู้เรยี นไดร้ บั กำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน

เปำ้ หมำย ตัวชี้วัดควำมสำเรจ็ กิจกรรมหลกั แหลง่ ข้อมูล

1. เพอ่ื ให้เด็กกล่มุ - เดก็ กลมุ่ อายุ 5 – 6 ปี - ประชุมกรรมการ -ประกาศของโรงเรียน

อายุ5 – 6 ปที ุกคน ในเขตบรกิ ารได้รบั การ สถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน/ - คาสัง่ แตง่ ต้งั กรรมการ

ในเขตบริการให้ เตรียมความพร้อมร้อยละ ผปู้ กครองนักเรยี น / มอบหมายงาน

ได้รับการเตรยี ม 100 - สารวจเด็ก - แบบสารวจเด็ก

ความพร้อมก่อนเข้า - เดก็ กลมุ่ อายุ 5 – 6 ปี - จดั ทาทะเบยี นเด็ก - แบบบันทกึ การเกณฑ์เด็กเข้า

เรียนช้นั ประถม ในเขตบริการไดร้ ับการ - ประชาสมั พนั ธ์ เรียน

ศกึ ษาปีที่ 1 เตรียมความพรอ้ มมีความ - ทะเบียนนักเรยี น

พร้อมร้อยละ100 - แบบบนั ทกึ พัฒนาการ

2. เพอื่ ใหน้ ักเรยี น - นักเรยี นทง้ั เด็กทว่ั ไป ผู้ - ประชุมผ้ปู กครอง/ -ประกาศของโรงเรียน

กลุม่ อายยุ า่ งเขา้ ปีท่ี พกิ าร ผดู้ ้อยโอกาส ในเขต กรรมการสถานศกึ ษา -คาสัง่ แต่งตงั้ /มอบหมายงาน

7 – 16 ปใี นเขต บรกิ ารท่ีไดร้ ับการศกึ ษาภาค ข้ันพืน้ -แบบสารวจเดก็ เข้าเรียน

บรกิ ารให้ได้รับ บงั คบั ร้อยละ100 - จดั ทาทะเบียนนักเรยี น -แบบบันทึกการเกณฑ์เด็กเขา้

การศึกษาภาคบงั คบั -ผเู้ รียนออกกลางคนั ไม่เกนิ - สารวจการเข้าเรียน เรยี น

อย่างเทา่ เทียมกัน ร้อยละ 0.01 ของนักเรียน -ทะเบียนนกั เรยี น

- กิจกรรมเย่ียมบา้ น -สามะโนผู้เรยี น

- การประชาสัมพนั ธ์

3. เพื่อพัฒนาระบบ - การจัดใหม้ ีฐานข้อมลู -การพฒั นาระบบข้อมูล -ข้อมลู สารสนเทศ

ขอ้ มลู สารสนเทศ ประชากรอายุ 4 – 16 ปที ่ี สารสนเทศนักเรยี น การเกณฑ์เด็กเขา้ เรยี น

เกีย่ วกบั ประชากรใน ถูกต้องเป็นปจั จบุ นั ร้อยละ -ประชมุ ผู้ปกครอง -ทะเบยี นนักเรียน

วยั เรียนในเขต 75 นกั เรยี น -ขอ้ มูลOBEC

บริการ -แบบสารวจข้อมูลเด็กในเขต

บรกิ าร

38

แผนกำรดำเนนิ กจิ กรรม / โครงกำรตำมกลยทุ ธ์ที่ 1

กิจกรรมหลัก โครงกำร ปี พ.ศ. 2565 - 2568
2565 2566 2567 2568
1. ประชมุ กรรมการสถานศึกษา 1. พฒั นาระบบงานสารบรรณภายใน
ขั้นพนื้ ฐาน/ผ้ปู กครองนักเรียน สถานศกึ ษา / // /
2. สารวจข้อมลู เดก็ 2. ศึกษาแหลง่ เรยี นรู้และภมู ิปัญญา
3.จัดทาสามะโนผู้เรยี น ท้องถนิ่ / // /
4. จัดทาทะเบยี นเด็ก 3. พัฒนาปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพการ
5. การประชาสมั พันธ์ จัดการเรียนร้ปู ฐมวัย / // /
6. สนบั สนนุ ปัจจัยพนื้ ฐาน 4. ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มและภูมิทัศน์
ทางการเรียน ในโรงเรียน / // /
5. โรงเรยี นปลอดขยะ / // /

กลยุทธท์ ี่ 2 เร่งรัดพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมผูเ้ รียนใหเ้ ปน็ คนดี มคี ุณธรรม ใช้ชวี ิตตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

เปำ้ หมำย ตัวชว้ี ัดควำมสำเรจ็ กิจกรรมหลัก แหลง่ ข้อมูล
-ทะเบียนการอบรม
1. เพอ่ื พฒั นาครแู ละ -ครมู คี ุณธรรมจรยิ ธรรม -การอบรม -บนั ทกึ การประชมุ
-แบบประเมินพฤติกรรม
บคุ ลากรใหม้ ีคุณธรรม และคุณลักษณะ ประชมุ สัมมนา -ภาพถ่ายกจิ กรรม
-การรายงานผลการปฏบิ ัติ
จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ จรรยาบรรณของครู รอ้ ย -ทศั นศกึ ษาดงู าน หนา้ ท่คี รู

และดาเนนิ ชวี ิตตามหลกั ละ 80 -การนเิ ทศ กากบั และ -ข้อมลู สารสนเทศผเู้ รียน
รายบุคคล
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ตดิ ตามผล -รายงานผลการดาเนนิ งาน
โครงการ
พอเพียง -การประเมนิ ผล -แผนการจัดการเรยี นรู้บันทึก
หลังสอน
2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะ -ครูศึกษาวเิ คราะห์ -การจดั กิจกรรมการ -ทะเบียนการใช้สอื่ และ
เทคโนโลยี
ของครใู นจัดการเรียน ผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล เรียนรู้ การวัดผลและ

การสอนที่เน้นผเู้ รยี น ร้อยละ 100 ประเมนิ ผล

เป็นสาคญั -ครอู อกแบบการเรยี นรู้ -การผลิต จัดหาและใช้

และจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ส่ือเทคโนโลยี

ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ -อบรม/ประชมุ เชงิ

ปฏิบตั ิการ

-ทัศนศกึ ษาดงู าน

39

เป้ำหมำย ตวั ชวี้ ดั ควำมสำเร็จ กจิ กรรมหลกั แหลง่ ข้อมลู
ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีที่ -ทะเบยี นการใช้แหลง่ การ
เหมาะสม และวัดผล เรียนรู้
ประเมินผลทห่ี ลาก -เกียรตบิ ตั ร/ภาพถ่าย
หลายร้อยละ 75 กิจกรรม
-ครจู ัดบรรยากาศทเ่ี อื้อ -การคน้ คว้า วจิ ัยใน
ตอ่ การเรียนรู้ ชน้ั เรียน
รอ้ ยละ 80 -รายงานโครงการ
- ศึกษาค้นควา้ วจิ ยั การ -การรายงานผลการปฏบิ ตั ิ
จดั การเรียนรู้ใน 8 หน้าท่ีครู
กลุ่มสาระร้อยละ 75

แผนกำรดำเนนิ กิจกรรม / โครงกำรตำมกลยุทธ์ที่ 2

กจิ กรรมหลัก โครงกำร ปี พ.ศ. 2565 - 2568
2565 2566 2567 2568
- การอบรม ประชุมสมั มนา 1. จัดหาครูผูส้ อนและบุคลากรเสริม
/ // /
- ทศั นศึกษาดงู าน 2. พฒั นาประสทิ ธิภาพบุคลากรทาง
/ // /
- การนเิ ทศ กากับและติดตามผล การศึกษา
/ // /
- การประเมนิ ผล 3. เสริมสร้างขวญั และกาลงั ใจแก่
/ // /
- การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การ บุคลากร

วดั ผลและประเมนิ ผล 4. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั

- การผลติ จัดหาและใชส้ อ่ื พื้นฐาน

เทคโนโลยี

- อบรม/ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ

40

กลยุทธ์ท่ี 3 เสริมสรา้ งประสทิ ธิภาพระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

เปำ้ หมำย ตวั ช้ีวัดควำมสำเร็จ กิจกรรมหลัก แหลง่ ข้อมูล
1. จัดระบบดูแล
ช่วยเหลอื นักเรยี น -ผูเ้ รียนมีความปลอดภยั - การจดั ระบบดแู ล -รายงานบันทึกการสงั เกต
เพ่อื ให้เกิดความ
ปลอดภยั จากสังคมภายนอก ช่วยเหลอื นักเรียน -สรุปผลการจัดกจิ กรรม

2. ผู้เรยี นมีสขุ ภาพกาย ร้อยละ 80 -ผลงานของผู้เรียน -
และสุขภาพจติ ทดี่ ี
รูปภาพ

-ระเบียบ คาส่ัง

-โล่ เกยี รติบตั ร รางวลั

-รายงานการพฒั นาคุณภาพ

การศกึ ษา

-รายงานคุณลักษณะท่ีพงึ

ประสงค์

-โครงการ/กิจกรรม

- ผ้เู รยี นทีม่ ีสุขภาพดมี ี -ทดสอบสมรรถภาพทาง -แบบบนั ทึกนา้ หนักสว่ นสูงและ

นา้ หนกั สว่ นสงู และ กาย การพฒั นาการ

สมรรถภาพทางกายตาม -กีฬาร่วมใจสายสัมพนั ธ์ -แบบบันทกึ การทดสอบ

เกณฑร์ ้อยละ 80 -กิจกรรมการออกกาลงั สมรรถภาพ

-ผู้เรียนมสี ขุ ภาพจติ ดมี ี กาย -แบบบันทึกการสังเกต

มนษุ ยสมั พันธ์ท่ีดตี อ่ ผู้อ่นื -การปฏิบัตติ นตามสขุ พฤติกรรม การสัมภาษณ์

และมสี นุ ทรียภาพรอ้ ย บญั ญตั ิ 10 ประการ -ขอ้ มลู ในการบนั ทึกและ

ละ 80 สม่าเสมอ ประเมินพฤตกรรม

-ความเป็นผ้นู า รณรงค์ -แบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ

เผยแพรก่ ารดูแลสขุ ภาพ -โครงการ/กจิ กรรม

41

เปำ้ หมำย ตวั ช้ีวดั ควำมสำเร็จ กจิ กรรมหลกั แหลง่ ข้อมลู

3. ผเู้ รยี นมคี วามใฝร่ ู้ - ผู้เรียนมนี ิสยั รกั การ - กิจกรรมศึกษาแหล่ง - ทะเบยี นแหลง่ การเรียนรู้

ใฝ่เรยี น อา่ น สนใจ แสวงหา การเรยี นรทู้ ั้งภายใน - บนั ทึกการใชแ้ หล่งการเรยี นรู้

ความรจู้ ากแหล่งต่าง ๆ ภายนอกสถานศกึ ษา และเทคโนโลยี

รอบตัว และสามารถ - กจิ กรรมส่งเสริมการ -บนั ทกึ การอา่ นการเขียน

เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองได้ ร้อย อา่ น การฟงั การพูดและ -แบบสังเกตพฤติกรรม

ละ 80 การเขียน -โครงงานของผู้เรียน

-ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้ - กิจกรรมการทางาน -แผนการจดั การเรียนรู้

เปน็ ทมี รอ้ ยละ 75 โดยใช้กระบวนการกลุ่ม -โครงการ/กิจกรรม

-ผเู้ รยี นสามารถใช้ - กจิ กรรมการสบื ค้น

เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ขอ้ มลู โดยใช้สื่อ

ร้อยละ 75 เทคโนโลยี

4. ผ้เู รียนคิดเปน็ ทาเปน็ -ผู้เรียนที่มคี วาม - กิจกรรมการเรียนรู้ -โครงงานของผ้เู รียน

สามารถในการคดิ เป็น แบบโครงงาน - ผลงาน ช้นิ งาน

ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์คิด - แผนการจดั การเรียนรู้

แก้ปญั หา -โครงการ/กิจกรรม

รอ้ ยละ 75

5. ผ้เู รยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ - ผ้เู รยี นที่สอบผ่าน -จัดกิจกรรมทเ่ี น้นผูเ้ รยี น รายงานผลทดสอบ

ตามหลกั สตู ร ขีดจากัดล่างใน 8 กล่มุ เป็นสาคัญและ NT O-NET LAS

สาระการเรียนรู้ ระดับ หลากหลาย

ชนั้ ป.3 ป.6 -จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การ

ร้อยละ 75 ใชแ้ หลง่ การเรียนรู้

42

แผนกำรดำเนนิ กิจกรรม / โครงกำรตำมกลยทุ ธ์ท่ี 3

กจิ กรรมหลัก โครงกำร ปี พ.ศ. 2565 - 2568
2565 2566 2567 2568
- จดั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 1. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
/// /

- ทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2. ส่งเสรมิ คุณธรรมและจริยธรรมและ

-การแขง่ ขนั กีฬารว่ มใจสาย คา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ /// /
/// /
สมั พนั ธ์ 3. งานอนามัยนักเรียน /// /

-การปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ 10 4. ออมทรัพยน์ ักเรยี น

ประการ สม่าเสมอ 5. ส่งเสรมิ ประชาธิปไตยใน

-ความเปน็ ผู้นา รณรงค์ เผยแพร่ สถานศกึ ษา /// /

การดูแลสขุ ภาพ 6. ส่งเสริมการออกกาลงั กายและเล่น

-จดั กิจกรรมทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็น กีฬาในโรงเรียน /// /
/// /
สาคญั และหลากหลาย 7. ลกู เสือเนตรนารี /// /
/// /
-จดั กิจกรรมสง่ เสริมการใชแ้ หล่ง 8. กิจกรรมวนั สาคญั

การเรียนรู้ 9. สง่ เสรมิ สขุ ภาพนักเรยี น (งบ อบต.)

-อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม

-การปรับปรุงสภาพแวดล้อม

43

กลยทุ ธ์ท่ี 4 พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรู้

เป้ำหมำย ตัวชีว้ ัดควำมสำเร็จ กิจกรรมหลกั แหล่งข้อมูล

1. บุคลากรมกี ารพัฒนา บคุ ลากรทุกคนได้รบั การ 1. ลงชื่อเข้าอบรม คาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน

ตนเอง เข้ารบั การอบรม อบรมการจัด 2. อบรมทาง Zoom -บนั ทึกการประชมุ

ประชุม สัมมนา กระบวนการเรียนรู้ -แผนการจดั การเรียนรู้

วิทยาการคานวณ, วจิ ัย -สือ่ การเรยี นรู้

ในชัน้ เรยี น รอ้ ยละ 100 -ภาพถา่ ยกิจกรรม

- เกียรติบัตร

-การรายงานโครงการ

2. บุคลากรมกี ารจดั -มีแผนการจัดการเรียนรู้ การลงมอื ปฏิบัติ (Active คาส่งั แตง่ ตั้งคณะทางาน

กระบวนการเรียนรู้แบบ ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ learning) การเรียนรู้แบบ -บนั ทกึ การประชมุ

(Active learning) ตา่ ง ๆ ทกุ ระดบั ชัน้ ลงมือทา(ปฏบิ ัต)ิ Active -แผนการจัดการเรียนรู้

รอ้ ยละ 100 Learning คือกระบวนการ -สื่อการเรียนรู้

-คุณภาพของแผนการ จดั การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนไดล้ ง -ภาพถ่ายกิจกรรม

จัดการเรยี นรู้ ในกล่มุ มือกระทาและไดใ้ ช้ -การรายงานโครงการ

สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กระบวนการคิดเกยี่ วกบั สง่ิ

ร้อยละ 100 ทเี่ ขาได้กระทาลงไป

(Bonwell,1991) เป็นการ

จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ภายใต้สมมติฐานพ้นื ฐาน 2

ประการคือ 1) การเรยี นรู้

เปน็ ความพยายามโดย

ธรรมชาติของมนุษย์, และ

2) แต่ละบุคคลมีแนวทางใน

การเรยี นรทู้ ่แี ตกต่างกนั

(Meyers and Jones,

1993) โดยผเู้ รยี นจะถูก

เปล่ียนบทบาทจากผูร้ บั

ความรู้ (receive) ไปสู่การ

มีส่วนรว่ มในการสร้าง

ความรู้ (co-creators)

44

3.บุคลากรจัดหาสือ่ และ -จัดหา/ผลติ /ใช้/ -จดั หา/ผลติ /ใช้/เผยแพร่ -สือ่ การเรยี นรู้
แหลง่ เรียนรู้ -เครื่องมือวดั ผลและประเมนิ ผล
เผยแพร่ ส่อื การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้
4.บคุ ลากรมกี ารวัดและ
ประเมินผลการจัดการ เพอื่ บูรณาการในการจดั
เรยี นการสอน
กิจกรรมการเรยี นการ

สอน รอ้ ยละ 80

-จัดทา/พัฒนา/เผยแพร่

แหลง่ เรียนร้ใู น

สถานศกึ ษาเพื่อ

สนบั สนุนการเรียนรู้

ร้อยละ 75

-ใชแ้ หลง่ เรยี นร้/ู ภูมิ

ปญั ญาท้องถิ่นในชมุ ชน

ที่สง่ เสริมการเป็นอยู่

อย่างพอเพยี งของผู้เรยี น

รอ้ ยละ 75

-จดั ทาเครื่องมือ และวัด -จัดทาเคร่ืองมอื

และประเมินผลท่ี และวดั และประเมนิ ผล

หลากหลาย และ

สอดคล้องกบั

วัตถปุ ระสงค์ของหน่วย

การเรียนร้ทู ี่บูรณาการ

รอ้ ยละ 75

-ใช้วิธกี ารวัดผลและ

ประเมนิ ผลที่

หลากหลาย และ

สอดคล้องกับการจดั

กิจกรรมการเรยี นการ

สอน รอ้ ยละ 100

45

แผนกำรดำเนนิ กิจกรรม / โครงกำรตำมกลยุทธ์ที่ 4

กิจกรรมหลกั โครงกำร ปี พ.ศ. 2565 - 2568

- การอบรม ประชุมสัมมนา 1. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ระดบั 2565 2566 2567 2568

- ทศั นศกึ ษาดูงาน ประถมศึกษา / // /

- การนเิ ทศ กากบั และติดตามผล 2. สง่ เสริมและพัฒนาเด็กที่มีความ / // /
/ // /
- การประเมนิ ผล ตอ้ งการพเิ ศษ
/ // /
- การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การ 3. วจิ ยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นการสอน / // /
/ // /
วดั ผลและประเมนิ ผล 4. ส่งเสริมทกั ษะความเป็นเลิศทาง / // /
/ // /
- การผลติ จัดหาและใชส้ ื่อ วชิ าการ

เทคโนโลยี 5. การสอนซอ่ มเสริม

- อบรม/ประชมุ เชิงปฏบิ ัติการ 6. เข้าค่ายวิชาการ

7. ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

8. สง่ เสริมการวัดและการประเมินผล

5. พัฒนาคุณภาพระบบบรหิ ารจัดการโดยใชส้ ถานศึกษาเปน็ ฐาน

เป้ำหมำย ตวั ชว้ี ัดควำมสำเร็จ กิจกรรมหลัก แหล่งข้อมูล
- คาสง่ั แตง่ ต้ังคณะทางาน
1. เพอื่ กาหนดขอบเขต -ระดบั ความสาเรจ็ การ -การประชมุ ขา้ ราชการ - บนั ทกึ การประชมุ
-รูปภาพ
บทบาท หนา้ ท่ี ความ กาหนดบทบาทหนา้ ท่ี ครูและบุคลากรทางการ - คู่มือการบริหารจดั การศกึ ษา
- แผนพฒั นาคณุ ภาพ
รับผิดชอบและมาตรฐาน ของบุคลากรใสถาน ศกึ ษา สถานศกึ ษา

การปฏบิ ตั ขิ องผมู้ สี ่วน ศึกษา คณะกรรมการ - การประชมุ

รว่ มใน การบรหิ ารและ สถานศกึ ษา ผูเ้ รียน คณะกรรมการ

จดั การศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน สถานศึกษาข้นั พื้นฐาน

-ระดบั ความสาเรจ็ ของ ผู้ และผู้ปกครองนักเรยี น

มีส่วนร่วมในการเขา้ รว่ ม -การประชุมผู้ปกครอง

บริหารและจัดการศึกษา

ตามบทบาทหนา้ ที่

-ระดบั การเข้ารว่ มจัดทา

แผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา แผนปฏบิ ตั ิ

การประจาปี


Click to View FlipBook Version