91
โอกาสความกา วหนาในอาชีพ
นกั ออกแบบเครื่องเฟอรนิเจอรควรศึกษากลยุทธทางการตลาดเพื่อทําธุรกิจสวนตัว อาจสรางเว็บไซต
แสดงสินคาท่ีออกแบบใหผ ซู ือ้ จากทั่วโลกเขาชมและสั่งซื้อได ควรสงสินคาเครื่องเรือนไปแสดงในงานตาง ๆ
ท่ีจดั ขึน้
อาชีพทเี่ กี่ยวเน่อื ง
ผสู งออกเฟอรนิเจอร ผอู อกแบบสนิ คาของขวัญ หรือของเลนสําหรับเด็กหรือของขวัญงานเทศกาลใน
ตางประเทศ สถาปนกิ
3. นักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชน่ั (Fashion - Designer)
ลกั ษณะภาพแสดงการออกแบบเส้อื ผา แฟช่นั ของนกั ออกแบบอาชีพ
ลักษณะของงานทที่ ํา
ผูประกอบอาชีพนักออกแบบเส้ือผาแฟช่ัน จะมีหนาที่คลายกับนักออกแบบเครื่องประดับหรือ
นักออกแบบเครื่องเรือน โดยมีหนาท่ี วิเคราะห ศึกษาวัสดุที่นํามาออกแบบสิ่งทอ ลายผา และเน้ือวัสดุ เพ่ือตัด
เย็บ และวิธีการตัดเย็บ ควบคุมการตัดเย็บใหเปน ไปตามแบบท่ีออกไวและสามารถใหคําแนะนําในเรื่องการ
แกไ ขขอบกพรอ งของรูปรางแตละบคุ คลโดยมพี ้ืนฐานความเขาใจในศิลปะการแตง กายของไทยโบราณและการ
แตง กายแบบตะวันตกยุคตางๆ ในการออกแบบ ตลอดจนในขน้ั ตอนการผลิตสามารถนาํ เทคนคิ ทางเทคโนโลยี
ที่มตี อ การสรา งงานศลิ ปม าประยุกตใ ชโ ดยจะมีข้ันตอนการทํางานออกแบบใหผูวาจาง ดงั น้ี
92
1. ตองรวบรวมความคิดขอมลู ทเ่ี ปน สดั สว นจากลูกคาหรือผวู าจาง
2. ศึกษารปู แบบงานทมี่ อี ยูถา สามารถนํากลับมาใชใหมหรือดัดแปลงเพื่อลดระยะเวลาการทํางานและ
ตน ทุนการผลิต ในเวลาเดยี วกนั ตองทําการคน ควา วิจยั ดว ย
3. ทาํ การรางแบบครา วๆ โดยคุมใหอยใู นแนวความคดิ ดังกลา วใหไ ดตามความตองการ
4. นําภาพท่ีราง แลวใหผูวาจางพิจารณา เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการผลิตรวมท้ังการใช วัตถุดิบ
และประเมินราคา
5. นําภาพรางที่ผา นการพิจารณาและแกไขแลว มาสรา งแบบ (Pattern) วธิ ีท่ีจะตองตดั เยบ็ ใน รายละเอียด
ปก กุน เดนิ ลาย หรอื อัดพลดี แลว นํามาลงสีตามจริง เขียนภาพและอธิบายวิธีการทําใหละเอียดและชัดเจนท่ีสุด
เทาท่ีสามารถจะทาํ ไดเพ่อื ใหชางทําตามแบบได
6. สงแบบหรือชุดท่ีตัดเนาไวใหฝายบริหารและลูกคา หรือผูวาจาง พิจารณาทดลองใสเพื่อแกไข
ขอ บกพรองข้ันสุดทาย
7. นําแบบที่ผูวา จา งเห็นชอบทาํ งานประสานกบั ชา งตัดเยบ็ ชา งปก เพอ่ื ใหไ ดผลงานตามที่ลกู คา ตอ งการ
สภาพการจางงาน
สาํ หรับนักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชั่นท่มี คี วามสามารถและผลงานเมอื่ เริ่มทํางานกับบรษิ ัทผลิตและ
ออกแบบเส้ือผาอาจไดอตั ราคาจา งเปน เงนิ เดอื นสําหรบั วฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ประโยควิชาชีพและประโยควิชาชีพ
ช้นั สูงหรือเทยี บเทา อาจไดร ับอตั ราคาจางขน้ั ตน เปน เงนิ เดอื นประมาณ 8,000 -10,000 บาท สว นผูส ําเรจ็
การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี จะไดรบั เงินประมาณ 9,000 - 10,000 บาท หรืออาจมากกวา ขึ้นอยูกบั ฝมอื การ
ออกแบบและประสบการณข องนกั ออกแบบแตล ะคน มีสวสั ดกิ าร โบนสั และสิทธิพิเศษอ่นื ๆ ขึน้ อยูก บั ผล
ประกอบการของเจา ของกจิ การ
สวนมากนักออกแบบเสื้อผาหรือแฟช่ันจะมีรานหรือใชบานเปนรานรับออกแบบตัดเส้ือผาเปนของ
ตนเองเปน สวนใหญเ น่ืองจากเปน อาชีพอิสระทีม่ รี ายไดดี
สําหรับนักออกแบบประจําหองเสื้อหรือรานเสื้อใหญๆ หรือโรงเรียนสอนตัดเสื้อที่มีผลงานแสดง
เปนประจาํ นน้ั เปน ผทู มี่ ปี ระสบการณส ูงและตองมผี ูสนับสนนุ คา ใชจา ยในการแสดงผลงานและคอลเล็คช่ันของ
ตนเอง
สภาพการทาํ งาน
ผปู ระกอบการนักออกแบบเสื้อผาแฟช่ันในสถานท่ีประกอบการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปจะปฏิบัติหนาที่
เหมือนในสาํ นักสรา งสรรคท ั่วไปท่คี อ นขา งเปน สัดสว น มอี ปุ กรณ เครื่องใชในการออกแบบ เชน โตะเขยี นแบบ
หนุ ลองเสอ้ื ขนาดตางๆ ตามทต่ี ัดเย็บ ผา กระดาษสรางแพทเทิรน และสสี าํ หรับลงสี เพื่อใหภาพออกแบบเหมือน
จรงิ อาจมีเครอื่ งคอมพวิ เตอรชว ยในการออกแบบและใหส ีไดเ ชน กันหรอื สแกนภาพที่วาดแลวลงในคอมพวิ เตอร
เพ่ือชวยใหการนําเสนอตอ ลกู คาสมบูรณย่ิงขนึ้ ในกรณีผลิตเส้ือผาสําเร็จรูปอาจมีผูชวยทํางานในการสรางแบบ
(Pattern)
93
คุณสมบัตขิ องผูป ระกอบอาชีพ
ผูสนใจในอาชพี นักออกแบบเสอ้ื ผา แฟชน่ั ควรมคี ณุ สมบัตทิ ั่วๆ ไปดังน้ี
1. มีความคิดสรา งสรรค มีความชอบและรักงานดา นออกแบบ มมี ุมมองเร่ืองของศิลปะรักความสวยงาม
อาจมพี ้นื ฐานทางดา นศิลปะบา ง
2. มีความกระตือรือรน ชางสงั เกตวา มีความเปล่ียนแปลงอะไรบาง กลาคิดกลาทาํ กลาที่จะถายทอด
3. มคี วามสามารถในการถายทอดความคดิ หรือแนวคดิ ใหผอู นื่ ฟงได
ผูทจ่ี ะประกอบอาชพี นักออกแบบเสื้อผาแฟช่นั ควรมีการเตรียมความพรอมในดา นตอ ไปน้ี คือ
ผูทม่ี ีคณุ สมบัติขน้ั ตน ดงั กลา ว สามารถเขารบั การอบรมหลกั สูตรระยะสัน้ ในการออกแบบตัดเยบ็ เส้ือผา
ไดทีโ่ รงเรยี นหรือสถาบันการออกแบบตดั เย็บเสื้อผาท่ีมีช่ือเสียงทั่วไป ซ่ึงเปดรับผูสนใจเขาเรียนโดยไมจํากัด
วุฒิการศึกษาเพราะการออกแบบเส้ือผาขึ้นอยูกับความริเริ่มสรางสรรคประสบการณและการฝกหัดสําหรับ
ผูส ําเร็จชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่ตองการศึกษาตอในหลักสูตรปริญญาตรี นอกจากโรงเรียนหรือวิทยาลัย
สาย วิช าชี พแลว ยังสาม าร ถสอบ คัด เลือกเขา ศึก ษา ตอร ะดั บอุ ดม ศึก ษา โดย มีค ณะ ศิลปก รร ม
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ไดเปดสาขาวชิ าการ ออกแบบพสั ตราภรณผูท ี่เขารับการศึกษาในสาขาวิชาทางดานน้ี
จะไดร ับความรูใ นเรอ่ื งของความรพู นื้ ฐานเกีย่ วกบั การพฒั นาสิง่ ทอและเครื่องแตงกายของไทย ตะวันออก และ
ตะวันตก เพ่อื สบื ทอดมรดกและศลิ ปสิ่งทอของไทยในทองถน่ิ ตา งๆนอกจากน้ี ยงั มสี ถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ คณะคหกรรมศาสตรสาขาผา และเครื่องแตงกาย ธุรกิจเส้ือผา ฯลฯ
โอกาสในการมงี านทํา
ผูที่สําเร็จการศึกษาแลวสามารถนําความรูซ่ึงเปนที่ตองการของตลาดในยุคปจจุบัน คือ สามารถ
ออกแบบสิ่งทอสาํ หรบั อุตสาหกรรมระดบั ตา งๆ ได มีความรูในเร่อื งการบรหิ ารการตลาด และการใชเทคโนโลยี
ท่จี าํ เปนตอ อตุ สาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผาสําเร็จรปู
ในวงการแฟชั่นในประเทศไทยยังไมสามารถเปนศูนยกลางของการออกแบบแฟช่ันไดแตกลับเปน
ศูนยกลางของวัตถุดิบอยางเชนผาไหมและการผลิตเส้ือผาเพื่อการสงออกภายใตยี่หอสินคาตางประเทศและ
เสือ้ ผาสาํ เรจ็ รูป เพราะมีคา แรงราคาถกู
อยา งไรก็ตาม ในชวงทศวรรษท่ีผา นมาในวงการออกแบบเสื้อผา ไทยถอื วา มีความสาํ เร็จในระดับหนึ่งที่
การผลติ เส้ือผาสําเร็จรูปภายใตย่ีหอไทยไดมีการสงออกไปขายในตางประเทศบางแลว เชน Fly Now หรือใน
เรือ่ งของการสนบั สนุนการออกแบบลายผาไหมท่ีมลี ายเปนเอกลักษณและการใหสีตามที่ลูกคา ในตางประเทศ
ตองการ และสามารถสงออกได
นักออกแบบแฟชัน่ ในตางประเทศหลายสถาบันตางก็ใหความสนใจแนวการแตงกาย วัฒนธรรมและ
การใชชวี ิตอันเปน เอกลักษณของชาวเอเชียมากขึ้น ดังนั้นนักออกแบบแฟชั่นไทยควรหันมาสนใจ วัตถุดิบใน
ประเทศและคิดสรา งสรรคง านทเ่ี ปน เอกลักษณและโดดเดน เพราะแรงงานและวัตถุดิบในประเทศยังมีราคาถูก
ตลาดสิ่งทอไทยในตางประเทศ เชน เสอ้ื ผาถกั สาํ เร็จรูป เสอ้ื ผาทอสําเรจ็ รูปยังมศี ักยภาพในการสงออกสูง
94
นอกจากนรี้ ฐั บาลและแนวโนม ของคนไทยกาํ ลงั อยูในระหวางนยิ มเลือกใชส ินคาไทยโดยเฉพาะเสื้อผา
สาํ เรจ็ รูปและผลติ ภณั ฑเครอ่ื งนงุ หม ท่ไี ดม าตรฐานการสงออกนบั เปนโอกาสอันดีที่นักออกแบบแฟช่ันสามารถ
สรา งสรรคงานไดเ ตม็ ทหี่ รือมแี นวคดิ รปู แบบการสรา งสรรคงานใหม หรือแนวโนมใหมที่มีเอกลักษณโดดเดน
ในการใชวสั ดุในทองถนิ่ มาประยกุ ตใ ช ขยายแหลงวตั ถุดบิ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตพยายามใหตนทุนการผลิต
ตอ หนวยตํ่ามากที่สุด เพ่ือคงตนทุนการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปของไทยไวเผชิญกับการเปดเสรีสิ่งทอในป 2548
เพราะเวลานั้นผูนําดานการตลาด แฟชั่นและเทคโนโลยีการผลิตเทาน้ันท่ีสามารถจะครองตลาดส่ิงทอได
ในตางประเทศหรือแมแตตลาดเส้ือผาบริเวณชายแดนไทยที่คูแขงขันสามารถนําเสื้อผาเขามาตีตลาดไทยได
นักออกแบบแฟชัน่ จงึ เปน สวนสาํ คญั ที่จะตองรกั ษาฐานตลาดของไทยไวท้งั ในเชิงรกุ ในการผลิต สรางเครือขาย
ทั้งระบบขอมูลขา วสาร และเครือขา ยจาํ หนา ยสินคา
โอกาสความกา วหนาในอาชีพ
ปจจัยท่ีทําใหผูท่ีประกอบอาชีพนักออกแบบแฟชั่น-นักออกแบบเส้ือผา (Fashion-Designer) ประสบ
ความสาํ เร็จและกา วหนาในอาชีพกค็ อื การคงไวซึ่งการเปน นกั ออกแบบเส้อื ผาหรือแฟชน่ั ดีไซเนอรไ ว ซ่ึงตองใช
โอกาสเวลา และคาใชจายในการผลิตและการแสดงผลงานท่ีมีตนทุนตํ่าใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ
เต็มศกั ยภาพ
นกั ออกแบบแฟชนั่ ไมควรย่ําอยูกบั ทีค่ วรมคี วามคิดเชงิ รกุ มากกวารบั เพียงคาํ สั่งจากลูกคา ควรศึกษาหา
ความรทู ีเ่ กย่ี วขอ งกับการประกอบอาชพี และควรสรา งโอกาสใหต นเอง เชน การศึกษาภาษาตางประเทศเพิ่มเติม
ศึกษาดานการตลาด ความตองการของลูกคากลุมเปาหมายลูกคาใหม เสาะหาแหลงตลาดวัตถุดิบเพ่ิม
ประสิทธิภาพการผลิตที่ครบวงจร สรา งแนวโนมแฟชั่น ศึกษารูปแบบของสนิ คาจากตางประเทศ และขอกีดกัน
ทางการคาซง่ึ เปน ปจ จยั ในความกาวหนาทันโลก และยืนอยูในอาชพี ไดนานและอาจสรางผลงานท่ีคนไทยภูมิใจ
หนั มาใสเ ส้อื ผา ท่ผี ลติ โดยนกั ออกแบบเส้ือผาไทยกันท่วั ประเทศ
อาชีพที่เก่ยี วเนอ่ื ง
ครู – อาจารยใ นวิชาท่เี ก่ียวของ เจาของรานหรือหองเส้ือ เจาของโรงเรียนสอนออกแบบตัดเย็บเส้ือผา
นกั ออกแบบเคร่ืองประดับ
95
กจิ กรรม
1. ใหผเู รยี นเขยี นอธิบายลักษณะอาชพี ดานการออกแบบ ตกแตง ที่อยูอาศัย ออกแบบเครื่องเรือน และ
ออกแบบแฟชั่นตามที่ผูเรียนเขาใจ
2. ใหผูเรียนอธิบายถึงคุณสมบัติของผูท่ีจะประกอบอาชีพดานการออกแบบตกแตงท่ีอยูอาศัย
ออกแบบเคร่อื งเรอื น และออกแบบแฟชั่น ตามท่ีผเู รยี นเขาใจ
นาํ คําอธิบายในขอ 1 และ ขอ 2 เขา รวมอภิปรายแสดงความคดิ เห็นในกลมุ การเรียนของผเู รยี น
96
บรรณานกุ รม
กาํ จร สนุ พงษศร.ี ประวตั ศิ าสตรศ ลิ ปะตะวันตก. กรงุ เทพฯ : คาลเดยี เพรสบคุ , ๒๕๕๒.
จรี พนั ธ สมประสงค. ประวัตศิ ิลปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓.
จีรพันธ สมประสงค. ศลิ ปะประจาํ ชาต.ิ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๓๓.
จีรพนั ธ สมประสงค. ทัศนศิลป ม.๑ – ๒. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๓.
จรี พันธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชวี ติ . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๑.
ชะลดู น่ิมเสมอ. องคประกอบศลิ ป. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๙.
ทวีเดช จวิ๋ บาง. ความคดิ สรา งสรรคศลิ ปะ. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๗.
ประเสริฐ ศิลรัตนา. สนุ ทรยี ะทางทัศนศลิ ป. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๔๒.
ประเสรฐิ ศิลรตั นา. ความเขา ใจศลิ ปะ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕.
มานพ ถนอมศรี และคณะ. ศลิ ปะกบั ชวี ติ ๔. กรงุ เทพฯ : บรัท สาํ นกั พิมพแม็ค จาํ กดั , ๒๕๔๒.
มะลฉิ ตั ร เอือ้ อานนท. สุนทรยี ภาพและศลิ ปวิจารณ. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พแหงจุฬาลงลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๓.
วริ ณุ ต้งั เจรญิ , อํานาจ เยน็ สบาย. สรา งสรรคศลิ ปะ ๔. กรุงเทพฯ : อักษราเจรญิ ทัสน, ม.ป.ป.
วชิ าการ, กรม. ทฤษแี ละการปฏบิ ัตกิ ารวิจารณศิลปะ, กรุงเทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๓.
วชิ าการ, กรม. ศลิ ปะกบั ชีวติ ม.๑-๖. กรงุ เทพฯ : องคการคา ครุ สุ ภา, ๒๕๓๖.
วริ ัตน พชิ ญไพบูลย. ความเขา ใจศิลปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๒๔.
วิรตั น พชิ ญไพบลู ย. ความรูเ กยี่ วกบั ศิลปะ, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๐.
วิญู ทรพั ยป ระภา และคณะ. ศิลปะกับชีวติ ม.๑-๖, กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, ๒๕๓๕.
ศลิ ป พรี ะศร.ี ทฤษฎอี งคป ระกอบ, กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๔๔๗.
สดุ ใจ ทศพร และโชดก เกง เขตรกจิ . ศลิ ปะกบั ชีวติ ม.๑-๖. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๖.
อารี สทุ ธิพันธ. ศลิ ปะนิยม. กรุงเทพฯ : กระดาษสา, ๒๕๒๘.
97
ทีป่ รกึ ษา คณะผูจัดทาํ
1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ อิ่มสวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
ทป่ี รกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
3. นายวชั รินทร จาํ ป ผูอ ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ขา ราชการบํานาญ
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ
ขา ราชการบาํ นาญ
ผูเ ขียนและเรียบเรยี ง ขา ราชการบํานาญ
กศน. เฉลมิ พระเกยี รติ จ.บุรีรมั ย
1. นายวิวฒั นไชย จนั ทนสคุ นธ สถาบนั กศน. ภาคใต
สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
2. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผูบรรณาธิการ และพัฒนาปรับปรงุ
1. นายวิวฒั นไ ชย จนั ทนสุคนธ
2. นายจํานง วันวิชยั
3. นางสรญั ณอร พฒั นไพศาล
4. นายชยั ยันต มณสี ะอาด
5. นายสฤษดชิ์ ัย ศิริพร
6. นางชอทพิ ย ศริ พิ ร
7. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป
คณะทาํ งาน
1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวศรญิ ญา กลุ ประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา
98
ผพู มิ พตนฉบบั กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นางสาวปยวดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพฒั น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลนิ ี ธรรมธษิ า กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวอลศิ รา บานชี
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผูออกแบบปก ศรีรตั นศิลป
1. นายศุภโชค
99
ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2
คณะทีป่ รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน.
อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
นายประเสริฐ จําป รองเลขาธิการ กศน.
นายชยั ยศ จนั ทรโอกุล ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา นพัฒนาส่อื การเรียนการสอน
นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หัวหนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก
นางชลุ ีพร งามเขตต ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางอัญชลี
นางศุทธินี
ผพู ฒั นาและปรบั ปรุงคร้ังที่ 2
นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
นายกติ ตพิ งศ จันทวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางสาวผณินทร แซอ งึ้
นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา
100
คณะผปู รับปรงุ ขอมูลเก่ยี วกับสถาบันพระมหากษตั ริยป พ.ศ. 2560
ท่ปี รกึ ษา
1. นายสุรพงษ จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปฏบิ ัติหนาท่รี องเลขาธิการ กศน.
3. นางตรนี ชุ สุขสุเดช ผอู ํานวยการกลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ผูปรับปรงุ ขอมลู ม่ันมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
นายสุรพงษ
คณะทํางาน
1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย