แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1
เรื่อง องคป์ ระกอบของบทละคร
รหสั วิชา ศ23101 ชื่อรายวิชา ศลิ ปะ5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ องคป์ ระกอบของบทละคร
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกติ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
องค์ประกอบของบทละคร ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทัง้ 4 ดังน้ี โครงเรอื่ ง ตัวละครและการวาง
ลักษณะนิสัยของตวั ละคร ความคดิ หรอื แก่นของเรอื่ ง และบทสนทนา
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชว้ี ดั
สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ุณค่า นาฏศิลป์
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั
ม.3/1 ระบโุ ครงสรา้ งของบทละครโดยใช้ศัพทท์ างการละคร
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นกั เรยี นรู้และเขา้ ใจองคป์ ระกอบของบทละคร (K)
2. นักเรียนสามารถเขียนความแตกตา่ งขององค์ประกอบของบทละครได้ (P)
3. นักเรยี นเหน็ คณุ ค่าขององคป์ ระกอบของบทละคร (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
องค์ประกอบของบทละคร
- โครงเรอ่ื ง
- ตวั ละคร
- แก่นของเร่ือง
- บทละคร
5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเ่ี หมาะสมกับกิจกรรม)
✓ ความสามารถในการส่ือสาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กทเ่ี หมาะสมกบั กิจกรรม)
รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สตั ย์สจุ ริต
มีวินยั ✓ ใฝ่เรยี นรู้
อย่อู ยา่ งพอเพียง ✓ มุ่งมน่ั ในการทำงาน
✓ รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ
7. หลักฐานการเรยี นรู้ (ชิน้ งาน/ภาระงาน)
1. ใบงานท1ี่ เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร
8. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
กลยุทธ/์ รปู แบบ/เทคนิคการสอนท่ใี ช้ (การสร้างความรู้ความเขา้ ใจ)
ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
- นักเรยี นชมวดี ที ศั น์การแสดงละครเวที
- นักเรยี นและครรู ่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของการแสดงละคร วา่ ควรมี
องค์ประกอบใดบ้าง
ขั้นสอน
- นักเรยี นรบั ฟงั การบรรยาย เรื่ององคป์ ระกอบของบทละคร โดยใชส้ ื่อการสอน Power Point
เรอื่ งองคป์ ระกอบของบทละคร
- นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
- นกั เรียนทำใบงานท่ี 1 เรอื่ งองคป์ ระกอบของบทละคร
- นกั เรียนออกมานำเสนอ เรื่ององค์ประกอบของบทละคร หนา้ ชน้ั เรียน
ขั้นสรุป
- นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปอภิปรายความรเู้ ก่ียวกับ เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร
การบูรณาการกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
หลักความพอประมาณ
- นักเรียนสามารถแบง่ เวลาในการทำกจิ กรรมตา่ งๆ ในช่ัวโมงเรยี น เพอ่ื ใหต้ รงตอ่ ระยะเวลาท่ี
กำหนด
- นักเรยี นเรยี นรกู้ ารใชว้ สั ดุ – อปุ กรณ์ทีม่ ีอยู่ อยา่ งคุม้ ค่า
- นักเรยี นเรยี นร้กู ารทำงานในรูปแบบท่เี หมาะสมแกว่ ยั ของตนเอง
- นกั เรยี นรู้จกั ใช้แหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรยี นเพื่อประกอบการเรียนรู้
หลกั ความมีเหตุผล
- นักเรยี นมีทักษะกระบวนการคิด และการแก้ปัญหาในการทำงานร่วมกนั ต่อเพ่ือนในชัน้ เรียน
- นกั เรียนรจู้ ักการเลือกใช้วสั ดุ-อปุ กรณ์ในการทำงาน
- พฒั นาผ้เู รยี นตามศักยภาพ
หลกั การมีภมู คิ ุ้มกนั
- นักเรียนสามารถวางแผนการสรา้ งแผนผงั ความคิดอย่างมรี ูปแบบ
- นกั เรยี นแบ่งหน้าท่ีการทำงานเพอ่ื ให้งานเสร็จทนั เวลา อยา่ งมรี ะบบ
- นักเรยี นสามารถปรบั ตวั ที่ดี ต่อการทำงานกลุ่ม
- เกดิ ความตระหนักในการเรียนรู้การทำงานทั้งของตนเองและกลุ่ม
เง่ือนไขความรู้
- องคป์ ระกอบของบทละคร
เงือ่ นไขคุณธรรม
- ความรับผดิ ชอบ, ความใฝเ่ รียนรู,้ ความมงุ่ ม่นั ตัง้ ใจ
9. ส่ือ / แหล่งเรยี นรู้
1. วดี ที ศั นก์ ารแสดงละครเวที
2. Power Point เร่ืององคป์ ระกอบของบทละคร
3. ใบงานที่ 1 เรอ่ื งองคป์ ระกอบของบทละคร
10. การวดั และประเมินผล เคร่ืองมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ดา้ นความรู้ (K) ประเมนิ ผล
นกั เรียนตอบคำถาม ผ่าน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ
70
1. นกั เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง
องค์ประกอบของบทละคร ครผู ู้สอน และนักเรียน
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) การวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ผล
จุดประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมใบงาน เรอ่ื ง นกั เรียนทำกิจกรรมใบงาน
องคป์ ระกอบของบทละคร ใบงาน เรอื่ งองค์ประกอบ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
1. นักเรียนสามารถเขียน ของบทละคร ร้อยละ 70
ความแตกต่าง
องคป์ ระกอบของบทละคร
ได้
ดา้ นทกั ษะคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) เครอ่ื งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ประเมินผล
แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นักเรียนมพี ฤตกิ รรมผา่ น
1. นกั เรียนเห็นคณุ ค่าของ สังเกตพฤตกิ รรมการเห็น เหน็ คุณค่าการแสดง เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คณุ คา่ การแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ไทย 70
ไทย
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2
เรอื่ ง นาฏยศพั ท์
รหัสวิชา ศ23101 ชื่อรายวชิ า ศิลปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ นาฏยศัพท์ และภาษาท่า
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกติ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่ เป็นพื้นฐานเบอ้ื งต้นในการเร่ิมต้นในทกั ษะพืน้ ฐานการปฏิบตั ทิ างการแสดง
นาฏศิลป์ไทยในรูปแบบต่าง ๆ
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัด
สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคดิ อยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน
ม.3/2 ใช้นาฏยศพั ท์ หรือศัพทท์ างการละครท่ีเหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากปั กิรยิ าของ
ผูค้ นในชีวติ ประจำวันและในการแสดง
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นรแู้ ละเข้าใจหมายความและประเภทของนาฏยศัพท์ (K)
2. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิท่านาฏยศพั ท์ได้ถูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. นกั เรยี นเหน็ คณุ คา่ ของการแสดงนาฏศิลป์ไทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
นาฏยศัพท์และภาษาทา่
- นาฏยศพั ท์ (นามศพั ท์/กิริยาศพั ท/์ นาฏศัพท์เบด็ เตลด็ )
5. สมรรถนะสำคญั (เลือกทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรม)
✓ ความสามารถในการสือ่ สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกท่ีเหมาะสมกบั กิจกรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต
มวี นิ ยั ✓ ใฝ่เรียนรู้
อย่อู ย่างพอเพียง ✓ มงุ่ มั่นในการทำงาน
✓ รกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ
7. หลักฐานการเรียนรู้ ( ช้ินงาน/ภาระงาน )
1. สอบปฏบิ ัตนิ าฏยศัพท์ (5 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยทุ ธ์/รปู แบบ/เทคนิคการสอนท่ใี ช้ (การลงมือปฏิบัติ Practice )
บรู ณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย เร่ืองการใช้ ฎ และ ฏ
ครใู ห้ความรู้ความเข้าใจเพ่มิ เตมิ ในการเลือกใช้ ฎ และ ฏ เพ่อื นักเรียนเลอื กใช้สำหรบั การเขียนให้
ถูกต้อง เช่น คำว่า นาฏศลิ ป์ และ นาฏยศัพท์ คำเหลา่ นี้มักเจอในรายวชิ า ศิลปะ เน่อื งจากครูผสู้ อนได้สงั เกต
นักเรยี นจากปีการศึกษาทผ่ี ่านๆมา พบวา่ นักเรียนมกั เขียนคำดังกลา่ วผิดอยบู่ อ่ ยครง้ั ครูบอกเทคนิคการจำให้
นักเรยี นดงั นี้
- ตวั ฎ (ดอ ชะ ดา) ใช้เป็นพยัญชนะตัวสะกดในมาตรากด มกั ใชส้ ำหรบั คำเด่ยี ว ๆ หรืออยู่
หนา้ คำอ่นื เชน่ คำวา่ กฎ กฎระเบยี บ กฎกระทรวง กฎทบวง เปน็ ตน้
- ตวั ฏ (ตอ ปะ ตกั ) ใช้เปน็ พยัญชนะตัวสะกดในมาตรากด มกั ใช้เปน็ ตัวสะกดในคำทีอ่ ยู่ทา้ ย
เช่น ปรากฏ กบฏ เป็นต้น
เช่นเดียวกับคำวา่ นาฏศลิ ป์ นาฏยศพั ท์ นาฏลีลา จึงใชต้ วั สะกดด้วย ฏ เพราะเปน็ คำสะกดทีอ่ ย่ใู นคำทา้ ย
ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น
- นักเรยี นชมการสาธติ ทา่ นาฏยศพั ท์โดยครู พร้อมท้ังตอบคำถามการปฏิบัติท่ารำนั้น ๆ
- นักเรียนและครูร่วมกนั สนทนาเกยี่ วกบั ท่านาฏยศพั ท์
ขนั้ สอน
- นักเรยี นรับฟงั การบรรยาย เรื่องนาฏยศัพท์ โดยใช้สือ่ การสอน Power Point ดังน้ี
นาฏยศพั ท์ หมายถงึ ศัพทท์ ี่ใช้เก่ยี วกบั ลกั ษณะท่ารำ ท่ีใชใ้ นการฝึกหดั เพือ่ แสดงโขน ละคร เป็นคำที่
ใชใ้ นวงการนาฏศิลปไ์ ทย สามารถส่อื ความหมายกนั ไดท้ ุกฝ่ายในการแสดงตา่ งๆ "นาฏย" หมายถึง เก่ยี วกับการ
ฟอ้ นรำ เกย่ี วกบั การแสดงละคร "ศพั ท"์ หมายถงึ เสียง คำ คำยากท่ีต้องแปล เรอื่ ง เมื่อนำคำสองคำมารวมกัน
ทำให้ได้ความหมายข้ึนมา การศกึ ษาทางด้านนาฏศิลปไ์ ทย ไมว่ า่ จะเป็นการแสดงโขน ละคร หรอื ระบำ
เบด็ เตลด็ ตา่ งๆ กด็ ี ท่าทางทผ่ี ู้แสดงแสดงออกมาน้นั ย่อมมีความหมายเฉพาะ ย่งิ หากได้ศึกษาอยา่ งดแี ล้ว อาจ
ทำให้เข้าใจในเร่อื งการแสดงมากย่งิ ขนึ้ ทัง้ ในตัวผู้แสดงเอง และผู้ทช่ี มการแสดงนนั้ ๆ สงิ่ ทเี่ ข้ามาประกอบเป็น
ท่าทางนาฏศลิ ป์ไทยนั้นก็คือ เร่อื งของนาฏยศัพท์ ซึ่งแยกออกได้เปน็ คำว่า "นาฏย" กบั คำวา่ "ศพั ท"์
นาฏยศัพท์ แบง่ ออกได้ 3 ประเภท ดงั นี้
1. นามศพั ท์ หมายถงึ ศัพท์ที่เรยี กชอ่ื ทา่ รำ หรือชอ่ื ทา่ ท่บี อกอาการกระทำของผูน้ นั้ เชน่ วง จีบ สลดั มือ
คลายมอื กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเท้า กา้ วเทา้ ประเท้า ตบเท้า กระทงุ้ กะเทาะ จรดเท้า
แตะเท้า ซอยเท้า ขยัน่ เทา้ ฉายเท้า สะดดุ เท้า รวมเท้า โยต้ วั ยกั ตัว ตไี หล่ กล่อมไหล่
2. กิรยิ าศพั ท์ หมายถงึ ศัพท์ที่ใช้เรยี กในการปฏบิ ตั บิ อกอาการกริ ิยา ซง่ึ แบ่งออกเปน็
ศัพท์เสริม หมายถึง ศัพท์ทใี่ ช้เรยี กเพ่ือปรับปรุงท่าทีให้ถูกต้องสวยงาม เชน่ กนั วง ลดวง ส่งมอื ดึงมือ
หกั ขอ้ หลบศอก เปิดคาง กดคาง ทรงตัว เผ่นตัว ดึงไหล่ กดไหล่ ดงึ เอว กดเกลียวข้าง ทับตวั หลบเขา่ ถีบเขา่
แข็งเขา่ กันเขา่ เปดิ สน้ ชักส้น
ศพั ทเ์ สอื่ ม หมายถงึ ศัพท์ท่ใี ช้เรยี กชือ่ ทา่ รำหรือทว่ งทขี องผู้รำทีไ่ ม่ถูกต้องตามมาตรฐาน เพอื่ ใหผ้ ูร้ ำ
ร้ตู ัว และแก้ไขท่าทขี องตนให้ดีขนึ้ เช่น วงล้า วงคว่ำ วงเหยยี ด วงหัก วงล้น วงแอ้ คอด่ืม คางไก่ ฟาดคอ คอ
หกั เกรง็ คอ หอบไหล่ ทรดุ ตัว ขยม่ ตวั เหล่ียมลา้ รำแอ้ รำลน รำเล้อื ย รำลำ้ จงั หวะ รำหน่วงจงั หวะ
3. นาฏยศพั ทเ์ บ็ดเตลด็
หมายถงึ ศัพทต์ า่ งๆท่ีใชเ้ รียกในภาษานาฏศิลป์ นอกเหนือไปจากนามศัพท์ และกิริยาศพั ท์ เช่น จบี
ยาว จบี สน้ั ลกั คอ เดินมือ เอียงทางวง คนื ตวั อ่อนเหลย่ี ม เหลี่ยมลา่ ง แมท่ า ท่า-ที ขึน้ ท่า ยนื เข่า ทลายท่า
นายโรง พระใหญ่ - พระนอ้ ย นางกษตั ริย์ นางตลาด ผู้เมยี ยืนเครอ่ื ง ศัพท์
- ครสู าธิตการปฏิบตั ิท่านาฏยศัพท์ (การตัง้ วง การจีบ การลอ่ แก้ว การม้วนจีบ การสะบัดจีบ
การประเทา้ การกระทุ้งเท้า การกระดกเท้า การฉายเท้า) พรอ้ มท้ังสอนนกั เรียนปฏิบตั ิท่า
นาฏยศพั ท์
- นกั เรยี นรว่ มกันฝึกซ้อมทา่ นาฏยศัพท์ โดยครผู สู้ อนเปน็ ผู้ควบคุม และคอยให้คำแนะนำ
นักเรยี นจบั คู่ สอบปฏิบตั ิท่านาฏยศพั ท์
ข้นั สรปุ
- นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ อภิปรายเก่ียวกับนาฏยศัพท์
9. ส่อื / แหล่งเรยี นรู้
1. Power Point เรอื่ งนาฏยศพั ท์
10. การวัดและประเมินผล การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ด้านความรู้ (K) ประเมินผล
ทำทดสอบวดั ความรู้ เรอ่ื ง นักเรียนทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรยี นรู้ นาฏยศพั ท์ แบบทดสอบเรื่อง นาฏย ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
ศพั ท์ 10 ข้อ ร้อยละ 70
1. นักเรียนรแู้ ละเข้าใจ
หมายความและประเภท
ของนาฏยศัพท์
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) เครือ่ งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล นกั เรียนสอบปฏบิ ตั ิผ่าน
แบบประเมินทกั ษะการ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ
1. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิ สอบปฏิบัติทา่ นาฏยศัพท์ ปฏิบตั ิ 70
ท่านาฏยศัพทไ์ ด้ถูกต้อง
สวยงาม
ด้านทักษะคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เครือ่ งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล ประเมินผล
แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนมีพฤตกิ รรมผา่ น
1. นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่าของ สงั เกตพฤตกิ รรมการเห็น เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คุณค่าของการแสดง 70
นาฏศิลปไ์ ทย
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3
เร่อื ง ภาษาทา่ จากธรรมชาติ
รหสั วิชา ศ23101 ชื่อรายวชิ า ศลิ ปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกติ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่ เป็นพื้นฐานเบ้ืองตน้ ในการเร่ิมตน้ ในทักษะพ้ืนฐานการปฏบิ ตั ทิ างการแสดง
นาฏศิลปไ์ ทยในรูปแบบต่าง ๆ
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ัด
สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั
ม.3/2 ใชน้ าฏยศพั ท์ หรือศัพทท์ างการละครท่ีเหมาะสมบรรยายเปรยี บเทียบการแสดงอากปั กิริยาของ
ผคู้ นในชีวิตประจำวันและในการแสดง
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรียนร้แู ละเข้าใจความหมายและประเภทของภาษาทา่ จากธรรมชาติ (K)
2. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติทา่ ภาษาทา่ จากธรรมชาติได้ถูกต้องสวยงาม (P)
3. นกั เรียนเหน็ คุณค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
นาฏยศพั ท์และภาษาทา่
- ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศลิ ป์ (ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาต/ิ ภาษาทา่ ท่จี ากการประดิษฐ)์
5. สมรรถนะสำคญั (เลือกทเ่ี หมาะสมกบั กิจกรรม)
✓ ความสามารถในการสอ่ื สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกท่ีเหมาะสมกับกิจกรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
มีวนิ ัย ✓ ใฝ่เรียนรู้
อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ✓ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
✓ รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ( ชิ้นงาน/ภาระงาน )
1. สอบปฏบิ ตั ิภาษาทา่ จากธรรมชาติ (5 คะแนน)
8. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยุทธ/์ รปู แบบ/เทคนิคการสอนทใี่ ช้ (การลงมอื ปฏิบตั ิ Practice )
ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
- นกั เรียนชมวีดีทศั น์การแสดงโขน ตอนนารายณ์ปราบนนทุก พรอ้ มท้งั ตอบคำถามการใช้
ภาษาท่าจากธรรมชาติจากการปฏบิ ตั ทิ า่ รำนน้ั ๆ
- นกั เรียนและครูรว่ มกันสนทนาความแตกตา่ งของภาษาท่า กิริยาทา่ ทางของมนุษยก์ บั ภาษา
ทา่ ทางนาฏศิลป์
ข้นั สอน
- นกั เรียนรับฟังการบรรยาย เรื่องภาษาท่าจากธรรมชาติ โดยครผู ู้สอน
ภาษาท่า
นาฏยภาษาหรอื ภาษาท่าทาง เปน็ สารทีใ่ ช้ในการสื่อสารอย่างหน่ึงทท่ี ้งั ผถู้ ่ายทอดสาร (ผ้รู ำ) และผู้รบั
สาร (ผู้ชม) จำเป็นจะต้องเขา้ ใจตรงกนั จงึ จะสามารถเข้าใจในความหมายของการแสดงออก นั้นไดอ้ ย่างถกู
ตอ้ งการถ่ายทอดภาษาด้วยการเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย
ความหมายภาษาทา่ นาฏศิลป์
ภาษาท่านาฏศิลป์ เป็นการนำท่าทางต่างๆและสีหนา้ ทม่ี ีอยู่ตามธรรมชาติมาใช้แทน เช่นคำพูด กรยิ า
อาการ อารมณ์ ความร้สู กึ มาปฏิบัติเป็นทา่ ทางนาฏศลิ ป์ไทยทีม่ ีความหมายแทนคำพูด สอดคล้องกบั จงั หวะ
เพลงและการขับร้อง การฝกึ ปฏบิ ัติ การฝึกหัดภาษาทา่ จะต้องฝกึ ให้ถูกต้องตามแบบแผน เพ่ือสื่อความหมาย
ไดโ้ ดยตรง ซ่ึงจะทำให้ผู้ชมเข้าใจความหมายทผี่ ู้แสดงต้องจะส่อื ความหมายมากข้นึ
การแสดงนาฏศลิ ป์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท
ภาษาท่าท่ีมาจากธรรมชาติ เป็นทา่ ทางท่ดี ัดแปลงมาจากท่าทางตามธรรมชาติของคนเราแต่ปรบั ปรุงให้ดู
สวยงามออ่ นช้อยมากยิ่งขึน้ โดยใชล้ ักษณะการร่ายรำเบือ้ งตน้ มาผสมผสาน เช่น ทา่ ปฏิเสธ ท่าย้ิม ทา่ เรยี ก
ท่าร้องไห้ ท่าดใี จ ท่าเสยี ใจ ท่าโกรธ
ภาษาท่าทม่ี าจากการประดิษฐโ์ ดยตรง เปน็ ท่าทางที่ประดิษฐ์ ข้นึ เพื่อใหเ้ พียงพอใช้กับคำรอ้ งหรอื คำ
บรรยาย ที่จะต้องแสดงออกเป็นท่ารำ เชน่ สอดสร้อยมาลา เปน็ ตน้
- ครสู าธิตการปฏิบตั ภิ าษาท่าทางนาฏศิลป์ (ท่าตวั เรา ทา่ ปฏิเสธ ท่าเรยี ก ทา่ สวยงาม ทา่ อาย
ท่าเสยี ใจ) พร้อมสอนนักเรียนปฏิบัตภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์
- นกั เรียนรว่ มกันฝึกซ้อมภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ โดยครผู สู้ อนเป็นผู้ควบคุม และคอยให้
คำแนะนำ
- นักเรียนจับคู่ สอบปฏิบัตภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์
ขัน้ สรุป
- นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ อภปิ รายเกย่ี วกับภาษาท่าจากธรรมชาติ
9. สื่อ / แหลง่ เรยี นรู้
1. วีดีทัศนก์ ารแสดงโขน ตอนนารายณป์ ราบนนทุก
10. การวดั และประเมินผล เครือ่ งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ดา้ นความรู้ (K) ประเมินผล
นกั เรียนตอบคำถามผา่ น
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล แบบสงั เกตพฤติกรรมการ เกณฑป์ ระเมนิ ร้อยละ 70
ถาม-ตอบ
1. นักเรยี นรู้และเขา้ ใจ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง
ความหมายและประเภท ครผู ้สู อน และนักเรยี น
ของภาษาทา่ จากธรรมชาติ
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) เคร่ืองมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล นกั เรยี นสอบปฏิบตั ิผ่าน
แบบประเมนิ ทกั ษะการ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
1. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ิ สอบปฏบิ ัตภิ าษาท่าจาก ปฏบิ ตั ิ 70
ภาษาทา่ จากธรรมชาติได้ ธรรมชาติ
ถกู ต้องสวยงาม
ด้านทกั ษะคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เครอ่ื งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล นักเรยี นมพี ฤติกรรมผา่ น
แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
1. นกั เรียนเห็นคณุ ค่าของ สังเกตพฤติกรรมการเหน็ 70
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คณุ ค่าของการแสดง
นาฏศลิ ป์ไทย
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4
เรื่อง ภาษาท่าจากการประดิษฐ์
รหสั วชิ า ศ23101 ชอ่ื รายวชิ า ศิลปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ นาฏยศพั ท์ และภาษาท่า
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 2 คาบเรยี น จำนวน 1 หน่วยกติ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
นาฏยศัพท์ และภาษาท่าเปน็ พน้ื ฐานเบอ้ื งตน้ ในการเริ่มตน้ ในทกั ษะพืน้ ฐานการปฏบิ ตั ิทางการแสดง
นาฏศิลปไ์ ทยในรปู แบบตา่ ง ๆ
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชว้ี ดั
สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่า นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชวี ิตประจำวัน
ม.3/2 ใชน้ าฏยศพั ท์ หรือศัพทท์ างการละครทเ่ี หมาะสมบรรยายเปรยี บเทยี บการแสดงอากัปกิรยิ าของ
ผู้คนในชวี ติ ประจำวันและในการแสดง
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. นกั เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจความหมายและประเภทของภาษาทา่ จากการประดิษฐ์ (K)
2. นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ทิ ่าภาษาท่าจากการประดษิ ฐไ์ ด้ถูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. นักเรียนเห็นคณุ ค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาท่า
- ภาษาทา่ หรอื ภาษาทางนาฏศิลป์ (ภาษาทา่ ที่มาจากธรรมชาติ/ภาษาท่าทจ่ี ากการประดิษฐ์)
5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทีเ่ หมาะสมกับกจิ กรรม)
✓ ความสามารถในการส่อื สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ
มวี นิ ัย ✓ ใฝ่เรยี นรู้
อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ✓ มุ่งมั่นในการทำงาน
✓ รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ
7. หลักฐานการเรียนรู้ ( ชน้ิ งาน/ภาระงาน )
สอบปฏิบตั ภิ าษาทา่ จากการประดษิ ฐ์ (5 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
กลยทุ ธ์/รปู แบบ/เทคนิคการสอนทใี่ ช้ (การลงมือปฏบิ ัติ)
ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน
- นกั เรยี นชมวดี ีทัศน์การแสดงละครใน อเิ หนา ตอน บษุ บาชมศาล พร้อมท้ังตอบคำถามการ
ปฏิบัติท่ารำน้ัน ๆ
- นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สนทนาความหมายของท่ารำแตล่ ะท่า ในการแสดงละครใน อิเหนา
ตอน บุษบาชมศาล
ขนั้ สอน
- นกั เรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองภาษาท่าจากการประดิษฐ์ โดยครูผ้สู อน
- ครสู าธติ การปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ (ท่าพรหมสหี่ นา้ ท่าสอดสร้อยมาลา ทา่ จนั ทร์ทรง
กลด ทา่ กลางอมั พร) พรอ้ มทั้งสอนนกั เรียนปฏิบตั ภิ าษาท่าทางนาฏศิลป์
- นักเรยี นร่วมกันฝึกซ้อมภาษาท่าทางนาฏศิลป์ โดยครูผู้สอนเปน็ ผูค้ วบคุม และคอยให้
คำแนะนำ
- นกั เรียนจับคู่ สอบปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศิลป์
ขัน้ สรปุ
- นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ อภปิ รายเกย่ี วกับภาษาท่าจากการประดิษฐ์
9. สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้
1. วดี ีทัศน์การแสดงละครใน อเิ หนา ตอนบุษบาชมศาล
10. การวัดและประเมินผล
ดา้ นความรู้ (K)
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เคร่อื งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ผล
1. นักเรยี นรู้และเข้าใจ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง นักเรยี นตอบคำถามผา่ น
ความหมายและประเภท ครูผสู้ อน และนักเรยี น แบบสังเกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
ของภาษาท่าจากการ ถาม-ตอบ 70
ประดษิ ฐ์
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
1. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิ สอบปฏิบตั ิ ภาษาทา่ จาก นักเรยี นสอบปฏิบตั ิผ่าน
แบบประเมินทักษะการ เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
ทา่ ภาษาทา่ จากการ การประดิษฐ์ ปฏิบตั ิ 70
ประดิษฐไ์ ดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม
ด้านทกั ษะคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมผ่าน
1. นกั เรียนเห็นคณุ ค่าของ สงั เกตพฤติกรรมการเหน็ แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ
70
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คุณคา่ และความสำคญั ของ
นาฏศิลป์ไทย
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5
เร่อื ง รำวงมาตรฐาน
รหสั วิชา ศ23101 ช่อื รายวิชา ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ นาฏยศพั ท์ และภาษาท่า
ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 4 คาบเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกิต
1. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
นาฏยศัพท์ และภาษาทา่ เปน็ พื้นฐานเบอื้ งตน้ ในการเร่ิมตน้ ในทกั ษะพื้นฐานการปฏิบตั ทิ างการแสดง
นาฏศลิ ปไ์ ทยในรูปแบบต่าง ๆ
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วัด
สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์
ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ประจำวนั
ม.3/2 ใชน้ าฏยศพั ท์ หรือศัพทท์ างการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรยี บเทียบการแสดงอากัปกริ ยิ าของ
ผู้คนในชีวติ ประจำวนั และในการแสดง
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรียนสามารถเลอื กใช้ท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานไดถ้ ูกต้อง(K)
2. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตทิ า่ รำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (P)
3. นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
รำวงมาตรฐาน
- การแสดงรำวงมาตรฐาน
5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกท่เี หมาะสมกับกจิ กรรม)
✓ ความสามารถในการสือ่ สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กท่เี หมาะสมกับกิจกรรม)
รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สตั ยส์ ุจริต
มีวินยั ✓ ใฝ่เรยี นรู้
อยู่อย่างพอเพียง ✓ ม่งุ ม่ันในการทำงาน
✓ รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ( ช้นิ งาน/ภาระงาน )
- สอบปฏบิ ตั ทิ า่ รำรำวงมาตรฐาน (5 คะแนน)
8. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยทุ ธ/์ รูปแบบ/เทคนคิ การสอนที่ใช้ (การลงมือปฏิบัติ)
ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน (คาบที่ 1 – 2)
- นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ
- นกั เรยี นชมภาพชุดการแสดงรำวงมาตรฐานทงั้ 4 แบบ พร้อมทงั้ ตอบคำถามเกย่ี วกบั ภาพ
โดยครเู ปน็ ผู้ต้งั คำถาม
- นกั เรียนและครรู ่วมกนั สนทนาถึงความแตกต่างของการแต่งกายรำวงมาตรฐานทั้ง 4 แบบ
ขั้นสอน
- นักเรียนรบั ฟังการบรรยาย เรื่องประวตั ิความเปน็ มารำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน เป็นการแสดงทีม่ ีวิวฒั นาการมาจาก “ รำโทน “ เปน็ การรำและรอ้ งของชาวบา้ น ซง่ึ
จะมผี รู้ ำท้ังชาย และหญงิ รำกนั เปน็ คู่ ๆ รอบ ครกตำขา้ วทวี่ างควำ่ ไว้ หรือไม่กร็ ำกันเป็นวงกลม โดยมีโทนเปน็
เคร่อื งดนตรปี ระกอบจงั หวะ ลักษณะการรำ และรอ้ งเป็นไปตามความถนดั ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นการ
รำ และร้องง่าย ๆ มงุ่ เน้นที่ความสนกุ สนานร่นื เรงิ เป็นสำคัญ เชน่ เพลงชอ่ มาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหลอ่ จรงิ
นะดารา เพลงตามองตา เพลงใกลเ้ ขา้ ไปอกี นดิ ฯลฯ ด้วยเหตุทก่ี ารรำชนิดนี้มีโทนเป็นเคร่ืองดนตรปี ระกอบ
จังหวะ จึงเรยี กการแสดงชดุ น้ีวา่ “รำโทน”
ตอ่ มาเมื่อปีพ.ศ. 2487 ในสมัยจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี รับบาลตระหนกั ถึง
ความสำคญั ของการละเลน่ รืน่ เรงิ ประจำชาติ และเห็นวา่ คนไทยนิยมเลน่ รำโทนกันอย่างแพร่หลาย ถ้าปรบั ปรงุ
การเลน่ รำโทนใหเ้ ปน็ ระเบยี บทง้ั เพลงร้องลลี าท่ารำ และการแต่งกาย จำทำให้การเลน่ รำโทนเป็นท่นี ่านยิ มมาก
ยง่ิ ขึน้ จึงได้มอบหมายให้กรมศิลปากรปรบั ปรงุ รำโทนเสียใหมใ่ หเ้ ป็นมาตรฐาน มีการแต่งเนอื้ รอ้ ง ทำนองเพลง
และนำท่ารำจากแม่บทมากำหนดเป็นท่ารำเฉพาะแต่ละเพลงอย่างเปน็ แบบแผน
รำวงมาตรฐาน ประกอบด้วยเพลงท้ังหมด 10 เพลง กรมศลิ ปากรแต่งเนื้อร้องจำนวน 4 เพลง คอื
เพลงงามแสงเดอื น เพลงชาวไทย เพลงรำซิมารำ เพลงคืนเดือนหงาย ทา่ นผหู้ ญิงละเอียด พิบลู สงคราม แตง่
เน้อื รอ้ งเพ่มิ อีก 6 เพลง คือ เพลงดวงจันทรว์ ันเพ็ญ เพลงดอกไมข้ องชาติ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลง
หญิงไทยใจงาม เพลงบูชานักรบ เพลงยอดชายใจหาญ สว่ นทำนองเพลงท้ัง 10 เพลง กรมศลิ ปากร และกรม
ประชาสมั พันธ์เปน็ ผู้แต่ง
เม่อื ปรบั ปรุงแบบแผนการเลน่ รำโทนให้มีมาตรฐาน และมีความเหมาะสม จึงมกี ารเปลี่ยนแปลงชื่อ
จากรำโทนเป็น “รำวงมาตรฐาน” อันมลี ักษณะการแสดงที่เปน็ การรำร่วมกันระหวา่ งชาย – หญงิ เป็นคู่ ๆ
เคลื่อนยา้ ยเวียนไปเปน็ วงกลม มีเพลงร้องทแ่ี ต่งทำนองขึ้นใหม่ มกี ารใชท้ ั้งวงป่ีพาทย์บรรเลงเพลงประกอบ
และบางเพลงกใ็ ช้วงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึง่ เพลงร้องทแ่ี ต่งข้ึนใหม่ทง้ั 10 เพลง มีทา่ รำทกี่ ำหนด
ไว้เปน็ แบบแผนคือ
เพลงที่ ชอื่ เพลง ทา่ รำท่ใี ช้
1 เพลงงามแสงเดอื น ท่าสอดสรอ้ ยมาลา
2 เพลงชาวไทย ท่าชกั แป้งผัดหนา้
3 เพลงรำมาซิมารำ ท่ารำส่าย
4 เพลงคนื เดือนหงาย ทา่ สอดสรอ้ ยมาลาแปลง
5 เพลงดวงจนั ทรว์ นั เพ็ญ ทา่ แขกเต้าเข้ารัง และทา่ ผาลาเพียงไหล่
6 เพลงดอกไมข้ องชาติ ท่ารำย่ัว
7 เพลงหญงิ ไทยใจงาม ทา่ พรหมส่หี นา้ และทา่ ยูงฟ้อนหาง
8 เพลงดวงจนั ทรข์ วญั ฟ้า ท่าชา้ งประสานงา และทา่ จันทรท์ รงกลดแปลง
9 เพลงยอดชายใจหาญ หญงิ ท่าชะนีรา่ ยไม้
ชายทา่ จอ่ เพลิงกัลป์
10 เพลงบชู านักรบ หญงิ ท่าขัดจางนาง และท่าลอ่ แกว้
ชายท่าจันทร์ทรงกลดต่ำ และทา่ ขอแกว้
รำวงมาตรฐานนิยมเล่นในงานรน่ื เริงบนั เทงิ ตา่ ง ๆ และยังนิยมนำมาใชเ้ ลน่ แทนการเต้นรำ สำหรบั
เครอื่ งแต่งกายกม็ ีการกำหนดการแตง่ กายของผแู้ สดงให้มีระเบยี บดว้ ยการใช้ชุดไทย และชุดสากลนิยม โดย
แต่งเปน็ คู่ รบั กันท้ังชายและหญงิ อาทิ ผ้ชู ายนุ่งโจงกระเบน สวมเส้ือคอกลม มผี า้ คาดเอว ผหู้ ญงิ นุ่งโจง
กระเบน หม่ สไบอดั จีบ ผู้ชายนงุ่ โจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ผู้หญงิ แต่งชดุ ไทยแบบรชั กาลที่ 5 ผู้ชาย
แตง่ สทู ผหู้ ญงิ แต่งชุดไทยเรือนตน้ หรือไทยจักรี
รำวงมาตรฐาน เปน็ การรำท่ไี ดร้ ับความนิยมสบื มาจนถึงปจั จุบนั มกั นิยมนำมาใชห้ ลงั จากจบการแสดง
หรือจบงานบนั เทิงตา่ ง ๆ เพื่อเชญิ ชวนผู้รว่ มงานออกมารำวงร่วมกนั เปน็ การแสดงความสามัคคีกลมเกลยี ว
อกี ท้ังยังเปน็ ทน่ี ิยมของชาวตา่ งชาติในการออกมารำวงเพอ่ื ความสนกุ สนาน
- นกั เรียนร่วมกนั อภิปราย เรอ่ื งประวตั ิความเป็นมารำวงมาตรฐาน โดยมีครคู อยให้คำแนะนำใน
สว่ นท่ีนกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจ
- ครูสาธิตการปฏิบัตทิ า่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 1 - 5 พร้อมสอนนักเรียน
ปฏิบัติท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
- นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกลมุ่ ละเท่า ๆ กนั จำนวน 5 กลุ่ม ฝึกซ้อมทา่ รำประกอบการแสดงรำวง
มาตรฐาน เพลงที่ 1 - 5 โดยศึกษาเพมิ่ เติมจากสมุดภาพหรรษา ครูผสู้ อนเปน็ ผูค้ วบคุม และคอย
ใหค้ ำแนะนำ
ขนั้ สรปุ
- นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปอภิปรายเกี่ยวกบั ประวัติความเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน
และท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 - 5
ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรยี น (คาบท่ี 3 – 4)
- ทบทวนประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และท่ารำประกอบการแสดงรำวง
มาตรฐาน เพลงที่ 1 – 5
ข้นั สอน
- ครูสาธติ การปฏิบตั ิทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 6 - 10 พร้อมสอนนกั เรียน
ปฏบิ ตั ิทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
- นกั เรียนแบง่ กลุ่มกลุ่มละเทา่ ๆ กนั จำนวน 5 กลมุ่ ฝึกซอ้ มทา่ รำประกอบการแสดงรำวง
มาตรฐาน เพลงท่ี 6 – 10 โดยศึกษาเพิ่มเติมจากสมดุ ภาพหรรษา ครูผ้สู อนเปน็ ผู้ควบคุม
และคอยให้คำแนะนำ
ขัน้ สรปุ
- นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ขอ้
- นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ อภิปรายเกย่ี วกับประวัติความเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน
และทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 – 10
9. ส่อื / แหล่งเรยี นรู้
1. รูปภาพการแต่งกายรำวงมาตรฐาน ทั้ง 4 แบบ
2. สมดุ ภาพหรรษา
10. การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เคร่ืองมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
1. นักเรียนสามารถ ทำแบบทดสอบวัดความรู้ นักเรยี นทำแบบทดสอบ
เลอื กใชท้ ่ารำประกอบ เรื่องรำวงมาตรฐาน แบบทดสอบกอ่ นเรียน ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 70
เพลงรำวงมาตรฐานได้ แบบทดสอบหลังเรียน
ถูกต้อง
ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) เครือ่ งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล นักเรียนสอบปฏบิ ตั ิผา่ น
แบบประเมนิ ทักษะการ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
1. นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิ สอบปฏบิ ัติทา่ รำรำวง ปฏิบัติ 70
ทา่ รำประกอบเพลงรำวง มาตรฐาน
มาตรฐานได้อย่างถูกต้อง
ดา้ นทักษะคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เครอ่ื งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
นักเรยี นมพี ฤติกรรม ผา่ น
1. นักเรียนเห็นคุณค่าของ สังเกตพฤติกรรมการเห็น แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
70
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คุณคา่ และความสำคญั ของ
นาฏศิลป์ไทย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6
เรอ่ื ง รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
รหสั วชิ า ศ23101 ชือ่ รายวชิ า ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ทักษะทางการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 4 คาบเรยี น จำนวน 1 หน่วยกติ
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
นาฏศลิ ปไ์ ทย เปน็ ศิลปวฒั นธรรมทแ่ี สดงถึงความเป็นไทย ท่ีมมี าตงั้ แตช่ ้านาน และได้รับอิทธิพลแบบ
แผนตามแนวคดิ จากตา่ งชาตเิ ขา้ มาผสมผสาน และนำมาปรับปรงุ เปน็ เอกลักษณ์ประจำชาติไทย การแสดง
นาฏศิลป์ไทยเปน็ การแสดงที่มคี วามวจิ ิตรงดงาม ทัง้ เส้อื ผ้าการแต่งกายลลี าท่ารำดนตรปี ระกอบและบทรอ้ ง
นอกจากนก้ี ารแสดงนาฏศลิ ป์ไทยยังเกดิ จากการละเลน่ พน้ื บ้าน วิถีชีวติ ของชาวไทยในแตล่ ะภมู ิภาค
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ัด
สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์
ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวัน
ม.3/3 มที ักษะในการใชค้ วามคิดในการพัฒนารปู แบบการแสดง
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นกั เรียนเห็นความแตกตา่ งของรูปแบบการแสดงนาฏศิลปแ์ ตล่ ะประเภท (K)
2. นักเรยี นนำเสนอความคดิ รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์แต่ละประเภทได้ (P)
3. นักเรยี นเห็นคณุ คา่ ของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
การแสดงนาฏศลิ ป์
- รปู แบบการแสดง (การแสดงหมู/่ การแสดงเด่ียว/การแสดงละคร/การแสดงเปน็ ชดุ เปน็ ตอน)
ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
การแสดงนาฏศลิ ป์สร้างสรรค์
- ระบำนบนารายณ์
5. สมรรถนะสำคญั (เลือกที่เหมาะสมกับกิจกรรม)
✓ ความสามารถในการสือ่ สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกที่เหมาะสมกบั กจิ กรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ย์สุจรติ
มวี ินัย ✓ ใฝ่เรียนรู้
อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ✓ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
✓ รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ
7. หลักฐานการเรยี นรู้ ( ช้ินงาน/ภาระงาน )
1. นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น เรื่องรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ (5 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยทุ ธ/์ รปู แบบ/เทคนิคการสอนท่ีใช้ (นำเสนอหน้าชน้ั เรยี น)
ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น (คาบที่ 1 – 2)
- นกั เรยี นชมตวั อยา่ งการแสดงเดีย่ ว (ฉยุ ฉายพราหมณ)์ ตวั อย่างการแสดงหมู่ (ระบำนบนารายณ์ เปน็
การแสดงนาฏศิลปส์ ร้างสรรค์ทว่ี ทิ ยาลัยนาฏศิลปลพบุรไี ด้คิดริเรมิ่ เมอ่ื ปี 2534) ตัวอยา่ งการแสดง
ละครพันทาง (เรื่องพญาผานอง ตอนรักสามเศร้า) และการแสดงเปน็ ชุดเปน็ ตอน รจนาเส่ยี ง
พวงมาลยั (เร่อื งสงั ขท์ อง ตอนเลอื กคู่)
- นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายถงึ ความแตกตา่ งระหว่างรูปแบบการแสดงแตล่ ะประเภท โดยมคี รเู ปน็
ผู้กระตุน้ หัวข้อในการอภปิ ราย
ข้ันสอน
- นกั เรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองรปู แบบการแสดง โดยใชส้ ่ือการสอน Power Point เรื่องรูปแบบการ
แสดง
- นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม 4 กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน พร้อมตวั แทนกลุ่มละ 1 คน หมุนวงล้อ Online ผ่าน
Application PiliApp แทนการจับฉลากเพื่อสรา้ งความแปลกใหมใ่ ห้แกน่ กั เรียน โดยมีหัวขอ้ ดงั นี้
1.การแสดงเดยี่ ว
2.การแสดงหมู่
3.การแสดงละคร
4.การแสดงเปน็ ชุดเป็นตอน
- นกั เรียนแต่ละกลุ่มสรปุ ความคิดรวมยอดจากองคค์ วามรู้ เรอื่ งรูปแบบการแสดง
ขน้ั สรปุ
- นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ อภิปรายเกี่ยวกับ เรอ่ื งรูปแบบการแสดง
ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรียน (คาบท่ี 3 – 4)
- ทบทวนความรู้เดมิ เร่ืองรปู แบบการแสดงทั้ง 4
ข้ันสอน
- นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม ส่งตวั แทนกลมุ่ ออกนำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน จากหัวข้อที่ไดร้ ับจากการหมุนวงลอ้
ขนั้ สรุป
- นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปอภปิ รายเกย่ี วกับ เรื่องรูปแบบการแสดงทัง้ 4 ประเภท โดยมีครูเปน็ ผคู้ อย
ใหค้ ำแนะนำเพ่ิมเติมในสว่ นที่นักเรียนยังอธบิ ายเนื้อหาไม่ชดั เจน
9. ส่ือ / แหลง่ เรียนรู้
1. รปู ภาพการแสดงรำเด่ียว (ฉุยฉายพราหมณ์)
2. รปู ภาพการแสดงรำหมู่ (ระบำนบนารายณ)์
3. รปู ภาพการแสดงละคร (ละครพันทาง เรื่องพญาผานอง)
4. รูปภาพการแสดงเป็นชุดเปน็ ตอน (เรอ่ื งสังขท์ อง ตอนเลือกคู่ รจนาเสยี งพวงมาลัย)
5. PowerPoint เรื่องรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
6. Application Piliapp (วงล้อสุ่ม)
10. การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
1. นกั เรียนเหน็ ความ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง แบบสังเกตพฤติกรรมการ นกั เรยี นตอบคำถาม ผา่ น
แตกต่างของรปู แบบการ ครผู สู้ อน และนักเรียน ถาม-ตอบ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
แสดงนาฏศิลปแ์ ต่ละ 70
ประเภท
ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
1. นักเรียนนำเสนอ การนำเสนอหน้าชน้ั เรยี น นักเรียนนำเสนอ ผ่าน
แบบประเมนิ การนำเสนอ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ
70
ความคดิ รปู แบบการแสดง
นาฏศลิ ป์แตล่ ะประเภทได้
ด้านทักษะคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เคร่อื งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
นักเรยี นมีพฤติกรรม ผา่ น
1. นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของ สังเกตพฤติกรรมการเหน็ แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
70
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย คณุ คา่ และความสำคญั ของ
นาฏศิลป์ไทย
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7
เรื่อง ประดิษฐ์ทา่ รำ
รหสั วิชา ศ23101 ชื่อรายวิชา ศิลปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ทกั ษะทางการแสดงนาฏศิลป์ไทย
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 8 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต
1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
การประดิษฐ์ทา่ ท่ีใช้ในการแสดง เป็นการสร้างสรรคก์ ารแสดงใหม้ ีความสมบูรณ์ สวยงาม ซง่ึ ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องสรา้ งสรรค์ทา่ รำใหม้ ีความเหมาะสมและสมั พนั ธก์ บั การแสดง เพือ่ ให้เกิดความงดงาม นา่
ชม
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชวี้ ัด
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่า นาฏศลิ ป์
ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั
ม.3/4 มีทักษะในการแปลความและการสอื่ สารผา่ นการแสดง
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรียนสามารถส่ือความหมายประกอบบทรอ้ งได้ถูกต้อง (K)
2. นักเรียนสามารถประดิษฐ์ทา่ รำท่สี ่ือสารผ่านการแสดงได้ (P)
3. นกั เรยี นเห็นคณุ ค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
การประดิษฐท์ า่ รำ
- การประดิษฐท์ า่ รำและทา่ ทางประกอบการแสดง (ความหมาย/ความเป็นมา/ทา่ ทางทใี่ ช้
การประดิษฐท์ า่ รำ)
5. สมรรถนะสำคญั (เลือกท่ีเหมาะสมกบั กิจกรรม)
✓ ความสามารถในการสื่อสาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกทีเ่ หมาะสมกบั กจิ กรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ
มวี นิ ยั ✓ ใฝเ่ รยี นรู้
อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ✓ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
✓ รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ( ชิน้ งาน/ภาระงาน )
- สอบปฏบิ ตั ิการคิดประดษิ ฐ์ทา่ รำ (10 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยทุ ธ์/รูปแบบ/เทคนคิ การสอนท่ใี ช้ (ลงมือปฏิบัติ)
ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน (คาบท่ี 1 – 2)
- ครูปฏบิ ัตทิ ่ารำเพื่อส่ือสารกบั นักเรียน พรอ้ มใหน้ ักเรียนแปลความหมายผ่านการแสดง โดยครูต้งั
ถามใหน้ ักเรยี น ครกู ำลังส่ือสารกับนักเรียนวา่ อย่างไร เชน่ ท่าตัวเรา ท่ารัก ทา่ สูญสิน้ ท่าเรยี ก
ท่าท่นี ่ี ทา่ ท่ีนั้น เปน็ ตน้
- นักเรียนชมวดี ีทัศน์ การรำประกอบบทเพลง
- นักเรยี นและครูรว่ มกันสนทนาเก่ยี วกับการแปลความหมายและตีท่าทางการแสดงนาฏศิลป์
ขนั้ สอน
- นักเรยี นรับฟงั การบรรยาย เรื่องความหมายและความเปน็ มาของการประดิษฐท์ ่ารำ โดย
ครูผสู้ อน
ความหมายและความเป็นมาของการประดษิ ฐ์ทา่ รำ
ผ้ทู ี่มคี วามคิดสร้างสรรค์และมีความสามารถในการตคี วามหมายของบทประพนั ธท์ น่ี ำมาเป็นบทรอ้ ง
และบทละคร ที่จะต้องใหผ้ ู้แสดงได้สือ่ อารมณไ์ ปสผู่ ูช้ ม โดยมีหลกั คิดดังน้ี ผู้ประดษิ ฐ์ท่ารำท่ีสวยงาม
ท่าทางท่ีใช้ในการประดิษฐท์ ่ารำ
การตบี ทรำตามความหมายของบทร้องต้องสรา้ งสรรคท์ ่ารำใหเ้ หมาะสมกบั บท
ร้อง เชน่ บทร้องว่า "ปราโมทแสน..." ผปู้ ระดิษฐ์ทา่ รำใช้ ภาษาทา่ กิริยาดีใจ จีบมือซา้ ย
ข้างปาก เปน็ ต้น
1. การอ่านบทละคร ผ้ปู ระดิษฐ์สร้างสรรคท์ ่ารำท่ีดตี ้องอา่ นบทละครเพ่อื
พจิ ารณาเร่ืองราวบทละครของตัวละครว่าแตล่ ะตวั มอี ารมณค์ วามร้สู ึกอยา่ งไรจงึ นำมา
ประดษิ ฐส์ รา้ งสรรค์ท่ารำใหส้ อดคล้องกับตวั ละคร
2. การสร้างสรรค์ท่ารำในแม่บท คอื การนำทา่ รำในแม่บทมาประดิษฐส์ ร้างสรรคท์ า่ รำ เพอื่ ส่ือ
ความหมายตามบทร้อง ยดึ ให้เปน็ แบบแผนมาตรฐานทางนาฏศลิ ป์
3. การจดั รูปแบบของการแสดง การแสดงนาฏศลิ ป์ ได้แก่ ระบำ รำ ฟ้อน ละคร มีรูปแบบของการ
จัดการแสดงเปน็ เอกลักษณ์และท่าทายความคดิ สรา้ งสรรค์ของผู้ประดิษฐท์ ่ารำ ยกตวั อย่าง เชน่ การจดั การ
แสดงประเภทระบำ ควรมหี ลักเกณฑ์ทตี่ ้องพิจารณา ดงั น้ี
การจัดแถวของการแสดงระบำ
รูปแบบการแปรแถว
1. แถวตอนลกึ ผู้แสดงฝ่ายชายจะอย่ดู า้ นซา้ ย ฝา่ ยหญงิ อยู่ฝ่ายขวา
2. แถวหน้ากระดาน
2.1 แถวเดยี่ ว
2.2 แถวคู่ตรงกนั
2.3 แถวคู่สับหว่าง
3. รูปวงกลม 3.2 วงกลมซ้อน
3.1วงกลมเดยี่ ว
3.3 วงกลมท่มี ตี ัวกลาง 3.4 คร่ึงวงกลม
4. แถวรปู สามเหลี่ยม
5. การจบั คู่
6. รปู ทแยงมุม
7. การเขา้ พูตา่ ง ๆ 7.2 พู 4 7.3 พลู ะเอียด
7.1 พู
ขั้นสรุป
- นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปอภิปรายเก่ียวกับ เรื่องความหมาย และความเปน็ มาการประดษิ ฐ์
ท่ารำ
ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น (คาบที่ 3 – 6)
- ทบทวนความรเู้ ดิม เร่ืองความหมาย และความเป็นมาการประดิษฐท์ า่ รำ
ขั้นสอน
- นักเรยี นแบง่ กลุ่ม 3-4 กลุม่ โดยแบ่งกลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั พร้อมใหแ้ ต่ละกลุ่มเลือกเพลงที่ชอบ
กลุ่มละ 1 เพลง
- นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ตีความหมายของเน้อื เพลงที่เลือก พร้อมทัง้ วิเคราะห์ท่ารำที่
ต้องการนำมาใชส้ ือ่ สารเพ่ือประกอบการแสดง
- นกั เรียนนำเสนอท่ารำทต่ี ้องการนำมาใชส้ อ่ื สารเพ่ือประกอบการแสดง โดยมคี รผู ูส้ อนเป็นผู้
คอยแนะนำและชแี้ นะท่ารำให้ถูกต้องตรงตามความหมายของเนื้อเพลงตามที่แต่ละกล่มุ เลือก
- นกั เรยี นและครูรว่ มกันสนทนาเกีย่ วกับท่ารำท่นี กั เรยี นประดิษฐข์ ึ้นเพ่ือการแสดงประกอบ
เพลง
ขัน้ สรุป
- นักเรียนและครูร่วมกันสรุปอภิปรายเก่ยี วกบั การประดิษฐ์ท่ารำของนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม โดย
ใหค้ ำแนะนำเพิ่มเตมิ กลมุ่ ทย่ี งั มกี ารประดิษฐท์ า่ รำทย่ี งั ไมส่ อดคลอ้ งกบั เนื้อเพลง
ข้ันนำเขา้ ส่บู ทเรียน (คาบท่ี7-8)
- ทบทวนความรู้เดิม เรื่องการประดษิ ฐ์ทา่ รำ
ขัน้ สอน
- นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ซ้อมปฏิบัติท่ารำทตี่ ้องการนำมาใชส้ อ่ื สารเพื่อประกอบการแสดง (30
นาที)
- นักเรียนสอบปฏิบัตกิ ารประดิษฐท์ ่ารำจากเพลงทีน่ ักเรยี นเลอื ก
ขั้นสรปุ
- นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปอภปิ รายเก่ยี วกับ การประดิษฐ์ทา่ รำ ของนกั เรียนแตล่ ะกล่มุ
9. สือ่ / แหลง่ เรียนรู้
1. วดี ที ศั นก์ ารรำประกอบเพลง
10. การวัดและประเมนิ ผล
ด้านความรู้ (K)
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือการวดั และ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
1. นักเรยี นสามารถส่ือ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นกั เรียนตอบคำถาม ผ่าน
ความหมายประกอบบท ครูผู้สอน และนักเรียน ถาม-ตอบ เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
รอ้ งได้ถกู ต้อง 70
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) การวดั และประเมนิ ผล เครื่องมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรียนสอบปฏบิ ตั ิ ผ่าน
สอบปฏบิ ัติการประดษิ ฐท์ า่ แบบประเมนิ ทกั ษะการ เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
1. นกั เรียนสามารถ 70
ประดิษฐท์ า่ รำทสี่ ่ือสาร รำ ปฏิบตั ิ
ผ่านการแสดงได้
ด้านทักษะคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล เคร่อื งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
นักเรียนมีพฤตกิ รรม ผ่าน
1. นักเรียนเหน็ คุณค่าของ สังเกตพฤตกิ รรมการเห็น แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ
70
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คณุ ค่าและความสำคัญของ
นาฏศิลป์ไทย
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8
เรือ่ ง องค์ประกอบนาฏศิลป์
รหัสวชิ า ศ23101 ชอื่ รายวชิ า ศิลปะ5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ทักษะทางการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกิต
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
นาฏศิลป์ คอื การรวมความเปน็ สนุ ทรยี ท์ างสายตาและทางการไดย้ ินไวด้ ว้ ยกัน ซ่งึ มีองค์ประกอบของ
นาฏศิลป์ ดงั นี้ จงั หวะทำนอง การเคลอ่ื นไหว อารมณค์ วามร้สู ึก ภาษาท่านาฏยศัพท์ รูปแบบของการแสดง
และการแตง่ กาย
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้วี ัด
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวนั
ม.3/5 วจิ ารณเ์ ปรียบเทยี บงานนาฏศิลปท์ ม่ี คี วามแตกตา่ งกันโดยใช้ความร้เู ร่อื งองค์ประกอบนาฏศิลป์
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. นักเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจถึงองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ทงั้ 6 (K)
2. นกั เรยี นเขยี นเปรยี บเทียบงานนาฏศลิ ปใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ได้ (P)
3. นักเรยี นเหน็ คุณค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์
- จงั หวะทำนอง
- การเคลอื่ นไหว
- อารมณแ์ ละความรูส้ ึก
- ภาษาท่า นาฏศพั ท์
- รปู แบบของการแสดง
- การแตง่ กาย
5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรม)
✓ ความสามารถในการสอ่ื สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กทเี่ หมาะสมกับกจิ กรรม)
รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
มวี ินยั ✓ ใฝ่เรียนรู้
อย่อู ย่างพอเพียง ✓ ม่งุ มั่นในการทำงาน
✓ รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ
7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ( ชนิ้ งาน/ภาระงาน )
- ใบงาน เร่ืองการเปรยี บเทียบรปู แบบการแสดง (โดยใชอ้ งค์ความรเู้ ร่อื งองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์)
8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
กลยทุ ธ์/รูปแบบ/เทคนิคการสอนท่ใี ช้ (สรปุ องคค์ วามรู้)
ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน
- ครตู ้งั คำถามกบั นักเรียนดังนี้
- นกั เรยี นคดิ ว่าในการแสดงนาฏศิลป์มีสิ่งใดเป็นส่วนประกอบบา้ ง
- นักเรยี นคิดวา่ ในการแสดงแต่ละประเภทมีส่วนประกอบท่แี ตกต่างกันหรือไม่
- นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสนทนาเกี่ยวกับ เรือ่ งองคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์
ขน้ั สอน
- นกั เรยี นรับฟงั การบรรยาย เร่ืององค์ประกอบของนาฏศลิ ป์ โดยครูผสู้ อน
องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ไทย
นาฏศิลปไ์ ทยเปน็ ศิลปะการแสดงทม่ี คี วามงดงาม ออ่ นช้อย และเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยท่ีอยู่คู่
ชาติไทยมาต้ังแต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ ันการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภททม่ี ีความงดงามนน้ั จะตอ้ งมี
องค์ประกอบนาศลิ ป์ทช่ี ว่ ยให้การแสดงมีความงดงามและสมบูรณ์ ดงั นี้
จังหวะทำนอง
จงั หวะถือว่าเปน็ พ้ืนฐานในการฝึกหดั การแสดงนาฏศลิ ป์ ผู้แสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยจะต้องทำความเข้าใจ
กับจังหวะดนตรี เพื่อให้สามารถรา่ ยรำ แสดงท่าทางไดถ้ ูกต้องตามจังหวะ หากแสดงไม่ถูกต้องตามจงั หวะ หรือ
ที่เรยี กว่า บอดจังหวะ จะทำใหก้ ารแสดงไมส่ วยงามและไม่พร้อมเพรียง
การเคล่อื นไหว
การแสดงนาฏศิลป์ไทยเปน็ การแสดงทีม่ ีการร่ายรำสวยงาม โดยการประดษิ ฐ์คิดคน้ ท่ารำต่าง ๆ ให้
เป็นระเบียบแบบแผน ใหเ้ หมาะสมกับการแสดงเพื่อถา่ ยทอดเร่อื งราว และส่ือความหมายในการแสดง เชน่
ระบำพรหมาสตร์ เป็นการรา่ ยรำของเทวดา นางฟ้า ท่มี ีความหมายสวยงาม ดูมีความสขุ
อารมณ์ความร้สู ึก
ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะใช้วงปพี่ าทยบ์ รรเลงประกอบการแสดง บทเพลงทใี่ ชบ้ รรเลงประกอบ
กิรยิ าของตัวละครแบง่ ออกเป็น หนา้ พาทย์ธรรมดาและหน้าพาทยช์ ั้นสงู ส่วนมากบรรเลงโดยไมม่ เี น้ือรอ้ ง การ
บรรเลงเพลงหนา้ พาทย์จะบรรเลงตามความหมายและอารมณ์ของตวั ละครทแี่ ตกตา่ งกันไป
ภาษาท่า นาฏยศัพท์
การแสดงนาฏศิลป์ไทยมีทั้งชดุ การแสดงท่ีมีบทร้องและไม่มบี ทรอ้ งประกอบการแสดงซึ่งในการแสดง
ที่มเี นื้อร้องประกอบการแสดงจะทำให้ผชู้ มเข้าใจการแสดงมากขน้ึ และผู้คิดค้นประดิษฐ์ท่ารำให้เหมาะสมกบั
คำรอ้ งเพ่ือให้ผชู้ มเขา้ ใจการแสดงมากขน้ึ และผ้คู ดิ ค้นประดิษฐท์ ่ารำให้เหมาะสมกับคำร้องเพื่อใหผ้ ูแ้ สดง
สามารถถา่ ยทอดอารมณ์ได้ถูกตอ้ งและมีความสวยงาม เช่น ระบำดาวดึงส์ เปน็ การแสดงที่มีบทร้องประกอบ มี
ท่ารา่ ยรำท่ีสอ่ื ความหมายตามบทรอ้ ง ท่ีมคี วามยนิ ดปี รดี า
รูปแบบของการแสดง
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยมีหลายรูปแบบ ซึง่ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ดังน้ี
โขน เป็นนาฏศลิ ปช์ น้ั สูงอยา่ งหนึง่ ของไทย ปรับปรุงจากการเล่น 3 ประเภท คอื หนงั ใหญ่ ชักนาค ดกึ
ดำบรรพ์ และกระบี่กระบอง เรื่องทใี่ ชโ้ ขนคือ เรอื่ งรามเกยี รต์ิ เน้ือเรื่องสว่ นใหญ่เป็นการทำสงครามระหว่าง
พระราม (กษตั รยิ ธ์ รรมิกราชแหง่ นครอโยธยา) กบั ทศกัณฑ์ (พญายักษแ์ ห่งกรุงลงกา) โขน เป็นศลิ ปะแห่งการ
เต้น ดังมีคำกล่าวว่าเตน้ โขนรำละคร โขนเปน็ การแสดงที่คงนำสว่ นตา่ งๆ มา จากการแสดงหลาย
ประเภท เช่น ท่าต่อสูจ้ ากการรำกระบ่ีกระบอง บทพากย์และคำเจรจาจากการเลน่ หนงั ใหญ่ บทรอ้ งและ
บทรำจากละคร และอาจได้รับท่าเต้นจากกถักกฬขิ องอนิ เดยี มหี ลกั ฐานในวรรณคดที ่ีแสดงวา่ มีการเล่นโขน
ตัง้ แตส่ มัยกรงุ ศรอี ยุธยาและนิยมแสดงโขนจวบจนปัจจบุ ัน เดิมการแสดงโขนคงเปน็ การแสดงทไ่ี ม่มี
องค์ประกอบมากนกั อาจมีเพียงการแต่งกายของตัวละครต่าง ๆ กัน และท่าเต้นประกอบดนตรเี ทา่ นัน้ ต่อมา
เมื่อมีความต้องการของผ้ชู มในด้านตา่ ง ๆ มากขึน้ โขนจงึ มีวิวัฒนาการมาเปน็ ประเภทต่าง ๆ เรื่องของการ
แสดงโขนนั้นมีที่มาจาก เร่ืองรามายณะ ซง่ึ เปน็ เค้าโครงท่ีนำมาแปลจากอนิ เดยี และใชช้ ื่อวา่ “รามเกียรต์”ิ
เนื่องจากโครงเรอ่ื งยาวมากจึงได้มีการแบง่ เรื่องราวออกเปน็ ตอนๆ เพื่อสะดวกท่จี ะนำมาแสดง
ละคร เป็นศิลปะและวฒั นธรรมไทย ซ่ึงมีมาต้ังแตส่ มัยโบราณ แบง่ ออกเป็น ละครรำแบบด้งั เดิม
ได้แก่ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน และ ละครรำที่ประยุกต์ข้นึ ใหม่ ได้แก่ ละครดึกดำบรรพ์ ละครพันทาง
ละครเสภา ละครสงั คีต ละครร้อง ละครพุด ละครเพลง ละครหลวงวจิ ิตรวาทการ
รำและระบำ เปน็ ศลิ ปะแห่งการรา่ ยรำประกอบเพลงดนตรีและบทขับรอ้ ง โดย ไมเ่ ล่นเป็นเรอ่ื งราว ใน
ท่ีนีห้ มายถงึ รำและระบำท่ีมลี ักษณะเปน็ การแสดงแบบมาตรฐาน มคี วามหมายทีจ่ ะอธบิ ายไดพ้ อสังเขปดังนี้
รำ หมายถึง ศิลปะแหง่ การรา่ ยรำทมี่ ผี แู้ สดงตั้งแต่ 1-2 คน เชน่ การรำเด่ยี ว การรำคู่ การ
รำอาวุธ เป็นต้น มลี กั ษณะการแตง่ กายตามรูปแบบของการแสดง ไมเ่ ลน่ เปน็ เรื่องราว อาจมบี ทขับ
รอ้ งประกอบการรำเข้าทำนองเพลงดนตรี มีกระบวนทา่ รำ โดยเฉพาะการรำค่จู ะตา่ งกับระบำ
เน่อื งจากท่ารำจะมีความเชื่อมโยงสอดคล้องตอ่ เนื่องกัน และเป็นบทเฉพาะสำหรบั ผแู้ สดงนั้นๆ เช่น
รำเพลงช้า – เพลงเร็ว, รำแม่บท, รำเมขลา – รามสรู เปน็ ตน้
ระบำ หมายถึง ศลิ ปะแห่งการรา่ ยรำที่มผี ้แู สดงต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป มีลักษณะการแตง่ กาย
คล้ายคลงึ กนั กระบวนทา่ รา่ ยรำคล้ายคลงึ กัน ไม่เลน่ เป็นเร่ืองราว อาจมีบทขับร้องประกอบการรำเข้า
ทำนองเพลงดนตรี ซึง่ ระบำแบบมาตรฐานมกั บรรเลงดว้ ยวงปีพ่ าทย์ การแต่งกายนิยมแต่งกายยนื
เคร่ืองพระ – นางหรือแต่งแบบนางในราชสำนกั เชน่ ระบำสบ่ี ท ระบำกฤดาภินิหาร ระบำฉิง่
การแสดงพื้นเมือง หมายถึง การละเลน่ ทมี่ กี ารแสดง การร่ายรำ มเี พลงดนตรปี ระกอบ ที่ไดว้ างเปน็
แบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอดสบื ต่อกันมาจนแพร่หลาย การแสดงพ้ืนเมอื ง อาจเกดิ จากการบูชา
บวงสรวงส่ิงศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ เชน่ ขอให้สิง่ ท่ตี นนบั ถือประทานส่ิงท่ีตนปรารถนา หรอื ขจัดปัดเป่าสงิ่ ท่ไี ม่
ปรารถนา นอกจากนยี้ ังเป็นการแสดงเพื่อความบันเทงิ รน่ื เรงิ และเป็นศิลปะแหง่ การร่ายรำทม่ี ที ั้งรำ ระบำ
หรอื การละเล่นทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวฒั นธรรมในแต่ละภมู ภิ าค ซึง่ สามารถแบง่ ออกเปน็ 4 ภมู ิภาค
คอื ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้
การแต่งกาย
การแตง่ กายที่ใช้ในการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยจะมีความสวยงามวิจิตรและบ่งบอกถงึ ความเป็นไทยทำให้
การแสดงมีเอกลักษณ์ เช่น การแสดงโขนท่มี ีการแตง่ กายที่งดงาม มีศีรษะโขนท่ตี กแตง่ ลวดลายประดษิ ฐ์ข้ึน
อยา่ งวจิ ิตร ซึ่งศรี ษะโขนกจ็ ะแตกต่างกนั ไปตามลักษณะของตัวละครทำใหผ้ ู้ชมเข้าใจการแสดงไดม้ ากขน้ึ
การแตง่ หนา้ เป็นองค์ประกอบหนึง่ ที่ทำให้ผู้แสดงสวยงาม และอำพรางขอ้ บกพร่องของใบหน้าของผู้
แสดงได้ นอกจากนกี้ ็ยังสามารถใชว้ ิธกี ารแต่งหน้าเพอื่ บอกวัยบอกลักษณะเฉพาะของตัวละครได้ เชน่ แต่งหน้า
คนหนุ่มใหเ้ ป็นคนแกแ่ ตง่ หน้าให้ผ้แู สดงเป็นตวั ตลก เปน็ ต้น
1. นกั เรยี นรับชมวีดที ัศน์การแสดงระบำโบราณคดี ท้งั 4 การแสดง (ระบำสุโขทยั ระบำศรีวชิ ัย ระบำ
ลพบรุ ี และระบำเชียงแสน)
- นักเรียนจบั คทู่ ำใบงาน เรื่องการเปรียบเทียบรปู แบบการแสดง (โดยใช้องค์ความรเู้ รือ่ ง
องคป์ ระกอบนาฏศิลป)์
ข้ันสรุป
- นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปอภิปรายเกีย่ วกับ เรอ่ื งการเปรียบเทียบรูปแบบการแสดงโดยใช้
องค์ความรเู้ รอ่ื งองคป์ ระกอบนาฏศิลป์
9. สื่อ / แหลง่ เรียนรู้
1. วีดีทศั นก์ ารแสดงระบำสุโขทัย
2. วีดีทศั นก์ ารแสดงระบำศรวี ิชยั
3. วดี ีทัศนก์ ารแสดงระบำลพบรุ ี
4. วดี ีทศั นก์ ารแสดงระบำเชียงแสน
10. การวัดและประเมนิ ผล เคร่ืองมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ด้านความรู้ (K) ประเมินผล
แบบสงั เกตพฤติกรรมการ นกั เรียนตอบคำถาม ผา่ น
จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล ถาม-ตอบ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
70
1. นักเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจถงึ การถาม-ตอบ ระหว่าง
องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ท้ัง ครูผสู้ อน และนักเรยี น
6
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินผล
1. นักเรยี นเขียน ทำใบงาน เรื่องการ ใบงาน เรอื่ งการ นักเรยี นทำใบงาน ผ่าน
เปรยี บเทยี บรูปแบบการ เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
เปรียบเทียบงานนาฏศลิ ป์ เปรยี บเทียบรปู แบบการ แสดง 70
ในรูปแบบตา่ งๆ ได้ แสดง
ด้านทักษะคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล เครือ่ งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
นักเรยี นมีพฤตกิ รรม ผ่าน
1. นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าของ สังเกตพฤตกิ รรมการเห็น แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
70
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย คุณค่าและความสำคญั ของ
นาฏศลิ ปไ์ ทย
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9
เรือ่ ง สรา้ งสรรคง์ านแสดง
รหัสวิชา ศ23101 ชอื่ รายวชิ า ศิลปะ5 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ทกั ษะทางการแสดงนาฏศิลป์ไทย
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต
1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด
วธิ ีการเลือกการแสดงในรูปแบบตา่ ง ๆ มคี วามสำคญั และควรใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกับประเภทของ
รูปแบบงาน ซึง่ วธิ ก๊ ารเลอื กการแสดงต้องคำนึงถึง ประเภทของงาน ข้นั ตอนการดำเนินงาน ประโยชนแ์ ละ
คณุ ค่าของการแสดง
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั
สาระท่ี 3 นาฏศิลป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่า นาฏศลิ ป์
ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั
ม.3/6 รว่ มจัดงานการแสดงในบทบาทหนา้ ท่ีต่าง ๆ
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรียนร้แู ละเข้าใจการจดั รปู แบบการแสดงในรปู แบบต่าง ๆ (K)
2. นักเรียนสามารถจัดงานการแสดงในบทบาทท่ตี นเองได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสม (P)
3. นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
สร้างสรรค์งานแสดง
- วธิ ีการเลอื กการแสดง (ประเภทของงาน/ข้นั ตอน/ประโยชน์และคุณคา่ ของการแสดง)
5. สมรรถนะสำคญั (เลือกท่ีเหมาะสมกับกจิ กรรม)
✓ ความสามารถในการสอื่ สาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกท่ีเหมาะสมกับกิจกรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สตั ย์สุจริต
มวี ินยั ✓ ใฝเ่ รียนรู้
อยอู่ ย่างพอเพยี ง ✓ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
✓ รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
7. หลักฐานการเรยี นรู้ ( ชิน้ งาน/ภาระงาน )
1. แสดงบทบาทสมมติการจดั งานแสดง (5 คะแนน)
8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
กลยทุ ธ/์ รปู แบบ/เทคนคิ การสอนที่ใช้ (บทบาทสมมติ)
ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรียน
- นักเรยี นชมวีดที ัศน์การแสดงละครนอก เร่ืองพระสธุ น มโนราห์
- ครูต้งั คำถามกบั นักเรยี นดงั นี้
- นักเรยี นคดิ ว่าก่อนที่จะมีการแสดงให้เราไดช้ ม ผแู้ สดงต้องวางแผนกอ่ นการแสดงอยา่ งไร
บา้ ง
- ถา้ นักเรียนเปน็ คนจัดการแสดงนกั เรยี นคิดวา่ ตนเองเหมาะสมกบั หนา้ ที่ใด เพราะอะไร
ขัน้ สอน
- นักเรยี นรบั ฟงั การบรรยาย เร่ืองวิธีการเลือกการแสดง โดยครูผสู้ อน
วิธีการเลือกการแสดง
ประเภทของงาน การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย เปน็ การแสดงเพ่ืองานมงคล และงานอวมงคล ซ่ึงการแสดง
แต่ละประเภทจะต้องคำนงึ ถงึ ลกั ษณะของงานดังน้ี
- การแสดงที่ใช้ในงานมงคล งานมงคล คือ งานท่มี ีความร่ืนเริง สนกุ สนาน มคี วามสุขการ
แสดงที่เหมาะสม คือ การรำอวยพรต่างๆ เชน่ ระบำกฤษดาภนิ หิ าร ระบำไตรรตั น์
- การแสดงท่ีใช้ในงานอวมงคล งานอวมงคล คือ การจดั งานท่ีมคี วามโศกเศร้า เสียใจ
ผิดหวงั สว่ นมากจะเป็นงานศพ การแสดงจะมที ้งั ในเวลากลางคนื คือชว่ งพระสงฆ์สวด
อภธิ รรมและช่วงฌาปนกจิ เรียกว่า รำหนา้ ไฟ การแสดงท่ีเหมาะสมจะมีทำนองช้า
โหยหวน โศกเศรา้ บรรเลงดว้ ยวงปพี่ าทย์มอญ เชน่ การแสดงมอญร้องไห้
ขั้นตอนการแสดง
- เลอื กการแสดงท่ีใชใ้ นงาน
- จดั หาสถานทีใ่ นการแสดง
- แบ่งหน้าท่ีในการทำงาน
- ฝึกซอ้ มการแสดง
- จดั แสดงจรงิ
- จัดเก็บอุปกรณแ์ ละสถานที่หลงั เลกิ การแสดง
ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการแสดง
ประโยชน์ของการแสดง
- ชว่ ยสรา้ งความสามัคคคี วามร่วมผิดชอบ
- สรา้ งความผ่อนคลายใหก้ ับผู้ชมการแสดง
- สง่ เสรมิ ด้านบุคลกิ ภาพและการแสดงออกทางภาษา
- ช่วยสง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์
- ช่วยสง่ เสริมความรู้รอบตัวในเรอ่ื งดนตรี วรรณคดี
- ส่งเสรมิ ทักษะในด้านการแสดงออกตา่ งๆ
คณุ ค่าของการแสดง
- สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ภูมปิ ญั ญาของคนไทยในการสรา้ งสรรค์การแสดง
- สง่ เสรมิ จรรโลงศลิ ปะและวัฒนธรรมในสังคม
- สะท้อนถงึ วัฒนธรรมประเพณีวิถชี ีวิตของคนในสงั คม
- นักเรียนแบง่ กลุ่ม 2 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กัน
- นกั เรียนสง่ ตัวแทนกลุ่มกลมุ่ ละ 1 คน มาจบั ฉลาก “สถานการณ์การจดั การแสดง”
- นกั เรยี นแบง่ บทบาทหน้าที่ตามสถานการณก์ ารจัดการแสดง (ทกุ คนตอ้ งมีบทบาทหน้าที่ของ
ตนเอง)
- นักเรยี นนำเสนอบทบาทหนา้ ทขี่ องตนเองทีไ่ ดร้ บั ตามสถานการณ์การจัดการแสดงทไี่ ด้รับ
- นักเรียนฝึกซ้อมแสดงบทบาทสมมตุ ิในการจดั การแสดงตามสถานการณ์ที่ไดร้ บั โดยมี
ครผู ้สู อนเป็นผู้คอยใหค้ ำแนะนำในส่วนทน่ี กั เรยี นยังไม่เขา้ ใจ
ข้นั สรุป
- นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปอภิปรายเกยี่ วกบั เรือ่ งวิธีการเลอื กการแสดง และบทบาทหน้าที่ท่ี
ไดร้ บั
9. สือ่ / แหล่งเรียนรู้
1. วดี ีทัศนก์ ารแสดงละครนอก เรอ่ื งพระสุธน มโนราห์
10. การวดั และประเมินผล เครื่องมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ดา้ นความรู้ (K) ประเมินผล
นกั เรยี นตอบคำถาม ผา่ น
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล แบบสังเกตพฤติกรรมการ เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
ถาม-ตอบ 70
1. นักเรยี นรแู้ ละเข้าใจการ การถาม-ตอบ ระหวา่ ง
จดั รูปแบบการแสดงใน ครผู สู้ อน และนักเรยี น
รปู แบบต่างๆ
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) เครอ่ื งมอื การวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล นักเรียนจดั แสดง ผา่ น
แบบประเมินการจัดการ เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ
1. นกั เรียนสามารถจดั งาน การจัดการแสดงภายใน แสดง 70
การแสดงในบทบาทท่ี ห้องเรยี น
ตนเองไดร้ บั อยา่ งถูกตอ้ ง
และเหมาะสม
ดา้ นทักษะคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมอื การวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมินผล
นกั เรียนมีพฤติกรรม ผ่าน
1. นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของ สงั เกตพฤตกิ รรมการเห็น แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ รอ้ ยละ
70
การแสดงนาฏศิลป์ไทย คุณคา่ และความสำคญั ของ
นาฏศลิ ป์ไทย
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 10
เรือ่ ง ละครกบั ชวี ติ
รหัสวิชา ศ23101 ช่ือรายวชิ า ศลิ ปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ ทักษะทางการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 4 คาบเรยี น จำนวน 1 หน่วยกติ
1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด
เรือ่ งราวการดำเนนิ ชีวิตในแต่ละวนั ของมนษุ ยน์ ้นั ย่อมมีความแตกตา่ งกนั ออกไป บางวันอาจเป็น
เร่ืองราวดๆี ของใครบางคน หรือบางวันอาจเป็นเรื่องท่เี ลวร้ายไมม่ ีความสขุ ของใครบางคน ในเรื่องราวนั้นๆ
สามารถสะท้อนแนวคิดการใช้ชีวิตให้แก่ผอู้ นื่ ได้เช่นกนั
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวัด
สาระท่ี 3 นาฏศิลป์
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ อย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั
ม.3/7 นำเสนอแนวตดิ จากเน้ือเร่อื งของการแสดงท่สี ามารถนำไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรียนรูแ้ ละเข้าใจทักษะการใชช้ วี ิตท่ีเหมาะสม (K)
2. นกั เรยี นสามารถถา่ ยทอดเรื่องราวผา่ นการแสดงได้ (P)
3. นักเรยี นเหน็ คุณค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)
4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ละครกับชีวิต
5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเี่ หมาะสมกบั กิจกรรม)
✓ ความสามารถในการสื่อสาร
✓ ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกท่เี หมาะสมกับกิจกรรม)
รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
มวี นิ ยั ✓ ใฝ่เรยี นรู้
อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ มุง่ ม่ันในการทำงาน
✓ รักความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ( ช้ินงาน/ภาระงาน )
1. แสดงละครส้ัน (5 คะแนน)
8. กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
กลยุทธ/์ รูปแบบ/เทคนคิ การสอนท่ีใช้ (ลงมือปฏบิ ตั ิ)
ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรียน (คาบท่ี 1-2)
- นักเรียนรับฟังเร่ืองเลา่ ของครู โดยครูเปน็ ผู้เลา่
- นกั เรยี นและครูร่วมกันวเิ คราะห์สถานการณท์ ่เี กิดขน้ึ ในเรอื่ งเล่าของครู
- เร่ืองทีเ่ กิดข้นึ เกดิ จากสิ่งใด
- ครใู ชว้ ิธีการแกไ้ ขปัญหาถกู ต้องหรือไม่
- ครูควรแก้ไขโดยใชว้ ธิ ีการใดจึงจะเหมาะสม
ข้นั สอน
- นกั เรียนรับฟังการบรรยาย เร่ืองละครกบั ชวี ิต โดยครูผู้สอน
ละครกบั ชวี ติ
ละครส่วนใหญเ่ ปน็ เรื่องราวท่ีสะทอ้ นมาจากชีวติ ขิงคนในสังคม ซง่ึ ผู้ชมสามารถเข้าใจเรือ่ งราวที่
เกิดขึ้นได้งา่ ย และนำข้อคดิ ที่ไดม้ าปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพราะละครส่วนใหญ่จะสอดแทรกเรื่องราวด้าน
จริยธรรมและศีลธรรม ซึง่ ละครสว่ นใหญจ่ ะมีความเก่ยี วข้องกับชวี ิตของคนในสังคม ซ่งึ ผู้เขยี นบทประพนั ธ์จะ