The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.1หลักสูตรรายวิชา ศ23101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mickey4512, 2022-09-08 02:32:56

1.1หลักสูตรรายวิชา ศ23101

1.1หลักสูตรรายวิชา ศ23101

0

หลักสูตรรายวิชา โรงเรียนชัยบาดาลพิทยาคม
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

รหสั วิชา ศ23101 ช่ือวิชา ศิลปะ5
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3

จัดทำโดย
นางสาวพรรณราย เพิ่มพูล

โรงเรียนชัยบาดาลพิทยาคม อำเภอชยั บาดาล จงั หวัดลพบุรี
สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาลพบุรี
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

1

คำนำ
หลักสูตรรายวิชา ศ23101 ชื่อวิชา ศิลปะ5 (รายวิชาพื้นฐาน) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้รวมทั้งสิ้น จำนวน 5 หน่วย ซึ่งผู้สอนได้จัดทำเป็นคู่มือการเรียนการสอน
รายวิชา ศิลปะ5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 โดยยึดแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์และกระบวนการฝึกปฏิบัติ มีเน้ือหาสอดคล้องกับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 ขอขอบคุณ คณะครู โรงเรียน
ชยั บาดาลพทิ ยาคม โดยท่านผอู้ ำนวยการวรี ะวฒั น์ วฒั นา ซ่ึงเป็นท่ปี รกึ ษาและใหค้ ำแนะนำ
ข้าพเจ้าหวังว่าแผนการจัดการการเรียนรู้รหัสวิชา ศ23101 ชื่อวิชา ศิลปะ5 (รายวิชาพื้นฐาน)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่มนี้จะอำนวยประโยชน์แก่ครูผู้สอน ได้เกิดความเข้าใจและเห็นแนวทางในการ
พฒั นาการเรียนการสอนที่เปน็ กระบวนการ อันเกดิ ประโยชน์แก่เยาวชนท่กี ำลังศกึ ษาเล่าเรียนตอ่ ไป

. นางสาวพรรณราย เพิ่มพูล
ครูโรงเรียนชัยบาดาลพิทยาคม

2

สารบญั
คำนำ
สารบัญ

ความสำคัญ ............................................................................................................................................... 3
คณุ ภาพผเู้ รยี น........................................................................................................................................... 4
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชว้ี ดั ...................................................................................................... 5
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้ .................................................................................... 6
วเิ คราะห์ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ .................................................................................................................. 8
คำอธบิ ายรายวิชา.................................................................................................................................... 11
โครงสรา้ งรายวชิ า.................................................................................................................................... 12
โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ .............................................................................................................. 16
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ................................................................................................................................ 18
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ................................................................................................................................ 23
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3............................................................................................................................... 37
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4............................................................................................................................... 53
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5............................................................................................................................... 57

3

ความสำคญั

กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ
ทำไมต้องเรียนศลิ ปะ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ชว่ ยพัฒนาใหผ้ ้เู รียนมีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์
มจี นิ ตนาการทางศลิ ปะ ช่นื ชมความงาม มสี นุ ทรยี ภาพ ความมคี ณุ ค่า ซง่ึ มีผลต่อคุณภาพชวี ติ มนษุ ย์
กิจกรรมทางศลิ ปะช่วยพฒั นาผูเ้ รียนท้ังดา้ นร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญา อารมณ์ สงั คม ตลอดจนการนำไปส่กู าร
พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง อันเป็นพ้นื ฐานในการศึกษาตอ่ หรอื ประกอบ
อาชพี ได้
เรียนรู้อะไรในศลิ ปะ

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ มุ่งพัฒนาใหผ้ เู้ รยี นเกิดความรคู้ วามเขา้ ใจ มที ักษะวิธีการทางศลิ ปะ เกดิ
ความซาบซ้งึ ในคุณคา่ ของศลิ ปะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย
สาระสำคัญ คือ

ทัศนศลิ ป์ มคี วามรคู้ วามเข้าใจองคป์ ระกอบศลิ ป์ ทัศนธาตุ สรา้ งและนำเสนอผลงานทางทศั นศลิ ป์
จากจินตนาการ โดยสามารถใชอ้ ปุ กรณ์ที่เหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้เทคนิค วธิ ีการของศลิ ปินในการสรา้ งงาน
ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์คุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทัศนศลิ ป์
ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเหน็ คณุ ค่างานศลิ ปะทีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทย
และสากล ชื่นชม ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

ดนตรี มคี วามร้คู วามเขา้ ใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ทางดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั
เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม
ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล รอ้ งเพลง และเลน่ ดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเหน็
เก่ยี วกบั เสยี งดนตรี แสดงความร้สู กึ ที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรยี ะ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรกี ับประเพณี
วฒั นธรรม และเหตกุ ารณใ์ นประวตั ศิ าสตร์

นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศลิ ป์ แสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ ใช้
ศัพท์เบ้ืองตน้ ทางนาฏศิลป์ วิเคราะหว์ พิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ อย่างอสิ ระ
สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหวา่ ง
นาฏศลิ ปก์ บั ประวตั ศิ าสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ปท์ ่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภมู ปิ ัญญาไทย และสากล

4

คุณภาพผเู้ รียน

จบช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
รแู้ ละเข้าใจการใชน้ าฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและสื่อสารผา่ นการแสดง

รวมทั้งพฒั นารูปแบบการแสดง สามารถใชเ้ กณฑง์ า่ ย ๆ ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดง วจิ ารณ์เปรยี บเทยี บ
งานนาฏศลิ ป์ โดยใชค้ วามร้เู รือ่ งองคป์ ระกอบทางนาฏศลิ ป์รว่ มจัดการแสดง นำแนวคิดของการแสดงไปปรบั
ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

ร้แู ละเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของนาฏศิลปไ์ ทย
นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น ละครไทย และละครพนื้ บา้ น เปรียบเทยี บลกั ษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศลิ ปจ์ าก
วัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทง้ั สามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เคร่ืองแตง่ กายในการแสดงนาฏศลิ ป์และ
ละคร มีความเข้าใจ ความสำคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชวี ติ ประจำวัน

5

สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ 3.1

เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั

มาตรฐาน ศ 3.2
เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศิลปท์ ่เี ป็น

มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

6

มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้

รหัสวชิ า ศ23101รายชือ่ วิชา ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ จำนวน 1 หน่วยกิต

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์

มาตรฐาน ศ3.1

เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้

1. ระบุโครงสรา้ งของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร องค์ประกอบของบทละคร

- โครงเรอ่ื ง

- ตวั ละครและการวางลักษณะนสิ ยั ของตวั

ละคร

- ความคิดหรือแก่นของเรื่อง

- บทสนทนา

2. ใชน้ าฏยศัพท์ หรอื ศัพท์ทางการละครทเี่ หมาะสม ภาษาท่าหรอื ภาษาทางนาฏศิลป์

บรรยายเปรียบเทยี บการแสดงอากปั กริ ยิ าของผคู้ น - ภาษาทา่ ทมี่ าจากธรรมชาติ

ในชวี ติ ประจำวนั และในการแสดง - ภาษาท่าทีม่ าจากการประดิษฐ์

- รำวงมาตรฐาน

3. มที ักษะในการใชค้ วามคิดในการพัฒนารปู แบบการ รปู แบบการแสดง

แสดง - การแสดงเป็นหมู่

- การแสดงเด่ยี ว

- การแสดงละคร

- การแสดงเป็นชุดเป็นตอน

4. มีทักษะในการแปลความ และการสื่อสารผา่ นการ การประดิษฐท์ ่ารำและท่าทางประกอบการ

แสดง แสดง

- ความหมาย

- ความเปน็ มา

- ท่าทางทใ่ี ชใ้ นการประดิษฐ์ท่ารำ

5. วจิ ารณเ์ ปรยี บเทยี บงานนาฏศิลปท์ ่มี คี วามแตกตา่ ง องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์

กนั โดยใชค้ วามร้เู ร่อื งองค์ประกอบนาฏศิลป์ - จังหวะทำนอง

- การเคลือ่ นไหว

7

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้

- อารมณ์และความรสู้ ึก

- ภาษาทา่ นาฎยศัพท์

- รูปแบบของการแสดง

- การแตง่ กาย

6. รว่ มจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าท่ตี ่าง ๆ วิธีการเลือกการแสดง

- ประเภทของงาน

- ขนั้ ตอน

- ประโยชนแ์ ละคุณค่าของการแสดง

7. นำเสนอแนวคดิ จากเน้อื เร่ืองของการแสดงทสี่ ามารถ ละครกบั ชวี ติ

นำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป์

มาตรฐาน ศ 3.2

เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศิลปท์ ีเ่ ปน็

มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้

1. ออกแบบ และสรา้ งสรรค์อปุ กรณ์ และเครื่องแต่ง การออกแบบและสรา้ งสรรค์อุปกรณ์ และ

กาย เพื่อแสดงนาฏศลิ ป์ และละครที่มาจาก เคร่ืองแตง่ กายเพ่ือการแสดงนาฏศลิ ป์

วฒั นธรรมตา่ ง ๆ

2. อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และ ความสำคัญและบทบาทของนาฏศลิ ป์ และ

การละครในชีวติ ประจำวนั การละครในชวี ิตประจำวนั

3. แสดงความคดิ เห็นในการอนุรักษ์ การอนรุ ักษน์ าฏศิลป์

หมายเหตุ สาระการเรยี นรู้ หมายถึง สาระการเรียนร้แู กนกลาง + สาระการเรียนร้ทู ้องถิน่

8

วเิ คราะหต์ ัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้

รหัสวิชา ศ23101ช่ือรายวิชา ศลิ ปะ5 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 2 คาบ/สปั ดาห์ จำนวน 1หนว่ ยกิต

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์

มาตรฐาน ศ3.1

เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอด

ความรสู้ กึ ความคิดอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะผูเ้ รียน
(K) (P) (A)

ม.3/1 ระบโุ ครงสร้างของบท รู้และเข้าใจถึง อธบิ ายถงึ ความ เห็นคณุ ค่าของ -ความสามารถใน

ละครโดยใช้ศัพท์ทางการ องคป์ ระกอบของบท แตกตา่ งของ องค์ประกอบของบท การสอื่ สาร

ละคร ละคร องค์ประกอบของบท ละคร -ความสามารถใน

ละครได้ การคิด

-ความสามารถใน

การแกป้ ัญหา

ม.3/2 ใชน้ าฏยศพั ท์ หรือ -รูแ้ ละเขา้ ใจ -ปฏบิ ัติทา่ นาฏย เหน็ คุณค่าของการ -ความสามารถใน

ศัพท์ทางการละครท่ี หมายความและ ศพั ท์ไดถ้ ูกต้อง แสดงนาฏศิลป์ไทย การสอ่ื สาร

เหมาะสมบรรยาย ประเภทของนาฏย สวยงาม -ความสามารถใน

เปรียบเทยี บการแสดง ศพั ท์ -ปฏบิ ัติท่าภาษาท่า การคิด

อากัปกิริยาของผูค้ นใน -รู้และเขา้ ใจ จากธรรมชาติได้ -ความสามารถใน

ชวี ติ ประจำวัน และในการ ความหมายและ ถูกต้องสวยงาม การแก้ปัญหา

แสดง ประเภทของภาษา -ปฏบิ ัตทิ า่ ภาษาทา่

ทา่ จากธรรมชาติ จากการประดษิ ฐ์ได้

-รู้และเขา้ ใจ ถูกต้องสวยงาม

ความหมายและ -ปฏบิ ตั ิท่ารำ

ประเภทของภาษา ประกอบเพลงรำวง

ทา่ จากการประดิษฐ์ มาตรฐานได้อยา่ ง

-เลอื กใชท้ า่ รำ ถูกต้อง

ประกอบเพลงรำวง

มาตรฐานได้ถูกต้อง

9

ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ สมรรถนะผู้เรยี น
(K) (P) (A)
ม.3/3 มีทักษะในการใช้ -ความสามารถใน
ความคดิ ในการพฒั นา เห็นความแตกตา่ ง นำเสนอความคดิ เหน็ คุณคา่ ของการ การส่อื สาร
รูปแบบการแสดง ของรูปแบบการ รปู แบบการแสดง แสดงนาฏศิลป์ไทย -ความสามารถใน
แสดงนาฏศิลปแ์ ตล่ ะ นาฏศิลปแ์ ตล่ ะ การคิด
ประเภท ประเภทได้ -ความสามารถใน
การแกป้ ัญหา
ม.3/4 มีทักษะในการแปล สอ่ื ความหมาย ประดิษฐท์ า่ รำท่ี เหน็ คณุ ค่าของการ -ความสามารถใน
ความ และการสอื่ สารผ่าน ประกอบบทร้องได้ สื่อสารผา่ นการแสดง แสดงนาฏศลิ ป์ไทย การสอ่ื สาร
การแสดง ถูกต้อง ได้ -ความสามารถใน
การคดิ
ม.3/5 วจิ ารณ์เปรยี บเทียบ รแู้ ละเข้าใจถึง บรรยายเปรยี บเทยี บ เห็นคุณคา่ ของการ -ความสามารถใน
งานนาฏศิลป์ท่มี ีความ องคป์ ระกอบ งานนาฏศลิ ป์ใน แสดงนาฏศิลปไ์ ทย การแก้ปัญหา
แตกตา่ งกนั โดยใช้ความรู้ นาฏศลิ ปท์ ัง้ 6 รูปแบบตา่ งๆ ได้ -ความสามารถใน
เรือ่ งองคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ การสอื่ สาร
-ความสามารถใน
ม.3/6 รว่ มจดั งานการแสดง รู้และเขา้ ใจการ จัดงานการแสดงใน เห็นคุณค่าของการ การคิด
ในบทบาทหนา้ ท่ตี า่ ง ๆ จัดรปู แบบการแสดง บทบาททต่ี นเอง แสดงนาฏศิลป์ไทย -ความสามารถใน
ในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้รบั อย่างถูกต้อง การแก้ปัญหา
-ความสามารถใน
และเหมาะสม การสือ่ สาร
-ความสามารถใน
ม.3/7 นำเสนอแนวคดิ จาก รแู้ ละเขา้ ใจทักษะ ถา่ ยทอดเรอื่ งราว เหน็ คณุ คา่ ของการ การคิด
เนอื้ เร่อื งของการแสดงท่ี การใช้ชีวติ ท่ี ผ่านการแสดงได้ แสดงนาฏศลิ ป์ไทย -ความสามารถใน
สามารถนำไปปรับใช้ใน เหมาะสม การแก้ปัญหา
ชีวิตประจำวนั -ความสามารถใน
การส่ือสาร
-ความสามารถใน
การคดิ
-ความสามารถใน
การแก้ปัญหา

10

สาระที่ 3 นาฏศิลป์

มาตรฐาน ศ 3.2

เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่า ของนาฏศลิ ปท์ ่เี ป็น

มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ สมรรถนะผูเ้ รียน
(K) (P) (A)

ม.3/1 ออกแบบ และ เข้าใจความแตกต่าง สรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์ เห็นคณุ คา่ ของการ -ความสามารถใน

สร้างสรรค์อปุ กรณ์ และ ระหว่างอปุ กรณ์ ประกอบการแสดงท่ี แสดงนาฏศลิ ป์ไทย การสอ่ื สาร

เคร่ืองแตง่ กาย เพื่อแสดง ประกอบการแสดง เหมาะสมกบั -ความสามารถใน

นาฏศิลป์ และละครท่ีมาจาก ของแตล่ ะวัฒนธรรม วฒั นธรรมได้ การคิด

วัฒนธรรมตา่ ง ๆ -ความสามารถใน

การแก้ปัญหา

ม.3/2 อธบิ ายความสำคญั เข้าใจความสำคญั นำเสนอความสำคญั เหน็ คณุ คา่ ของการ -ความสามารถใน

และบทบาทของนาฏศลิ ป์ บทบาทนาฏศลิ ป์ ของนาฏศิลป์และ แสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย การสือ่ สาร

และการละครใน การละคร และการ การอนรุ ักษ์นาฏศิลป์ -ความสามารถใน

ชวี ติ ประจำวัน อนุรักษน์ าฏศิลปไ์ ทย ไทย การคิด

-ความสามารถใน

การแกป้ ัญหา

ม.3/3 แสดงความคดิ เห็นใน เขา้ ใจการอนุรกั ษ์ นำเสนอการอนุรักษ์ เหน็ คณุ ค่าของการ -ความสามารถใน

การอนุรักษ์ นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลปไ์ ทย แสดงนาฏศิลปไ์ ทย การสื่อสาร

-ความสามารถใน

การคิด

-ความสามารถใน

การแกป้ ัญหา

หมายเหตุ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์และสมรรถสำคัญของผูเ้ รยี น แต่ละแผน เลอื กให้เหมาะกับกิจกรรมการ
เรียนการสอนและธรรมชาตวิ ชิ า

11

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ศ23101 ช่ือรายวชิ า ศิลปะ5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 40 คาบ จำนวน 1 หน่วยกติ

ศึกษาดา้ นนาฏศลิ ป์ ระบโุ ครงสรา้ งของบทละคร ใช้นาฏยศพั ท์ หรอื ศัพท์ทางการละครทเี่ หมาะสม มี
ทักษะในการใช้ความคิดในการพฒั นารูปแบบการแสดง การแปลความและการส่อื สารผา่ นการแสดง วจิ ารณ์
เปรียบเทียบงานนาฏศิลปท์ ี่มีความแตกตา่ งกนั โดยใช้ความรู้เรื่ององคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ร่วมจัดงานการแสดง
ในบทบาทหนา้ ท่ีตา่ ง ๆ นำเสนอแนวคดิ จากเนอ้ื เรื่องของการแสดงท่สี ามารถนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน
ออกแบบ และสรา้ งสรรค์อปุ กรณ์ และเคร่ืองแต่งกาย เพอื่ แสดงนาฏศลิ ป์ อธบิ ายความสำคญั และบทบาทของ
นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร และรว่ มแสดงความคิดเห็นในการอนุรกั ษ์นาฏศิลปไ์ ทย

โดยใช้ทักษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการแก้ปญั หา ทักษะการใช้ชีวิต ทักษะการสอื่ สาร และทกั ษะการ
ใชเ้ ทคโนโลยี

เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ กลา้ คิด กล้าแสดงออกทางศลิ ปะอยา่ งสร้างสรรค์ การ
นำไปใช้ การแปลความหมาย ตีความ การวจิ ารณ์เพ่ือการเปรยี บเทยี บ การมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรม เหน็
คุณค่าในการธำรงรักษาความเปน็ นาฏศิลปไ์ ทย และตระหนักในการอนุรกั ษ์นาฏศิลปไ์ ทยอย่างเหมาะสมศึกษา

รหสั ตัวชีว้ ัด 1,2,3,4,5,6,7
สาระที่ 3 นาฏศิลป์ 1,2,3
- มาตรฐาน ศ 3.1
- มาตรฐาน ศ 3.2

รวมทง้ั หมด 10 ตัวชี้วดั

12

โครงสร้างรายวิชา

รหสั วชิ า ศ23101ชือ่ รายวชิ า ศิลปะ5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 คาบ จำนวน 1 หนว่ ยกิต

ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ ภาระงาน/ เวลา คะแนน
ตวั ช้ีวดั ช้ินงาน 2 -
20
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ศ3.1 ม.3/1 ระบโุ ครงสร้าง องคป์ ระกอบของบทละคร ใบงานท1ี่ 10
5
ช่ือหนว่ ย องคป์ ระกอบ ของบทละครโดยใชศ้ ัพท์ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทัง้ เร่อื ง

ของบทละคร ทางการละคร 4 ดงั นี้ โครงเรอ่ื ง ตัวละคร องคป์ ระกอบ

และการวางลกั ษณะนิสยั ของ ของบทละคร

ตัวละคร ความคิดหรือแก่น

ของเร่ือง และบทสนทนา

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ศ3.1 ม.3/2 ใชน้ าฏยศัพท์ นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่ เปน็ -สอบปฏิบัติ
ช่ือหน่วย นาฏยศพั ท์ หรอื ศพั ทท์ างการละครท่ี
และภาษาท่า เหมาะสมบรรยาย พื้นฐานเบือ้ งต้นในการเริ่มตน้ นาฏยศัพท์
เปรียบเทียบการแสดง
อากปั กริ ิยาของผคู้ นใน ในทักษะพนื้ ฐานการปฏบิ ัติ (5 คะแนน)
ชีวติ ประจำวันและในการ
แสดง ทางการแสดงนาฏศิลป์ไทย -สอบปฏิบตั ิ

ในรปู แบบต่าง ๆ ภาษาท่าจาก

ธรรมชาติ (5

คะแนน)

-สอบปฏิบัติ

ภาษาทา่ จาก

การประดิษฐ์

(5 คะแนน)

-สอบปฏบิ ตั ิ

ท่ารำรำวง

มาตรฐาน (5

คะแนน)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ศ3.1 ม.3/3 มีทักษะในการ นาฏศลิ ป์ไทย เป็น -นำเสนอ 4
ใชค้ วามคิดในการพัฒนา
รปู แบบการแสดง ศิลปวัฒนธรรมทแี่ สดงถงึ หน้าชั้นเรยี น

ความเป็นไทย ทมี่ ีมาตง้ั แตช่ ้า เรอื่ งรปู แบบ

13

ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั ภาระงาน/ เวลา คะแนน
ตัวชีว้ ดั ช้นิ งาน

ชอ่ื หน่วย ทกั ษะ นาน และไดร้ ับอทิ ธิพลแบบ การแสดง 8 10
ทางการแสดงนาฏศิลป์ แผนตามแนวคิดจากตา่ งชาติ นาฏศิลป์ (5
ไทย เขา้ มาผสมผสาน และนำมา คะแนน)
ปรับปรงุ เปน็ เอกลกั ษณ์
ศ3.1 ม.3/4 มที ักษะในการ ประจำชาตไิ ทย การแสดง
นาฏศลิ ป์ไทยเปน็ การแสดงที่
มีความวิจติ รงดงาม ทั้ง
เสือ้ ผา้ การแต่งกายลลี าทา่ รำ
ดนตรปี ระกอบและบทร้อง
นอกจากนกี้ ารแสดงนาฏศลิ ป์
ไทยยงั เกิดจากการละเลน่
พื้นบา้ น วิถีชีวิตของชาวไทย
ในแต่ละภูมิภาค
การประดิษฐท์ า่ ที่ใชใ้ นการ -สอบ

แปลความและการส่อื สาร แสดง เปน็ การสรา้ งสรรค์การ ปฏบิ ัติการ
ผา่ นการแสดง แสดงใหม้ คี วามสมบูรณ์ คิดประดิษฐ์
สวยงาม ซงึ่ ในการประดิษฐ์ ทา่ รำ (10
ท่ารำจะต้องสร้างสรรค์ทา่ รำ คะแนน)
ให้มีความเหมาะสมและ
สมั พนั ธก์ บั การแสดง เพื่อให้
เกิดความงดงาม นา่ ชม

ศ 3.1 ม.3/5 วิจารณ์ นาฏศลิ ป์ คือ การรวมความ ใบงาน เรื่อง 2 -

เปรยี บเทยี บงานนาฏศลิ ปท์ ่ีมี เปน็ สุนทรีย์ทางสายตาและ การ

ความแตกต่างกันโดยใช้ ทางการได้ยินไวด้ ้วยกัน ซึ่งมี เปรยี บเทยี บ

ความรเู้ รื่ององค์ประกอบ องคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ รูปแบบการ

นาฏศลิ ป์ ดงั น้ี จังหวะทำนอง การ แสดง (โดย

เคล่อื นไหว อารมณ์ความรู้สกึ ใช้องค์

ภาษาท่านาฏยศัพท์ รปู แบบ ความรู้เรอื่ ง

ของการแสดง และการแต่ง องค์ประกอบ

กาย นาฏศิลป)์

14

ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคัญ ภาระงาน/ เวลา คะแนน
ตัวชี้วัด ชิ้นงาน

ม.3/6 ร่วมจัดงานการแสดง วิธีการเลอื กการแสดงใน แสดง 2 5
ในบทบาทหนา้ ท่ีต่าง ๆ รูปแบบตา่ ง ๆ มคี วามสำคญั บทบาท 4 5
และควรให้มีความสอดคล้อง สมมตกิ ารจัด
ม.3/7 นำเสนอแนวคิดจาก กบั ประเภทของรูปแบบงาน งานแสดง
เน้ือเรอ่ื งของการแสดงท่ี ซึง่ วิธ๊การเลือกการแสดงต้อง
สามารถนำไปปรบั ใช้ใน คำนงึ ถึง ประเภทของงาน
ชีวิตประจำวนั ข้ันตอนการดำเนนิ งาน
ประโยชน์และคุณคา่ ของการ
แสดง
เรื่องราวการดำเนินชีวติ ในแต่ แสดงละคร
ละวนั ของมนษุ ย์น้ันย่อมมี ส้ัน
ความแตกตา่ งกันออกไป บาง
วันอาจเป็นเรือ่ งราวดๆี ของ
ใครบางคน หรือบางวันอาจ

เป็นเรือ่ งทเ่ี ลวร้ายไม่มี
ความสุขของใครบางคน ใน
เรอ่ื งราวน้ันๆสามารถสะท้อน
แนวคดิ การใชช้ ีวิตให้แก่ผู้อน่ื
ไดเ้ ช่นกนั

สอบกลางภาค ศ3.2 ม.3/1 ออกแบบ และ การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยใน ประดษิ ฐ์ 4 20
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 อุปกรณ์ 10
ชื่อหน่วย การ ประกอบการ
สร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ สร้างสรรค์อุปกรณ์ และ รปู แบบต่าง ๆ มีการใช้ แตง่ กาย
ประกอบการแสดง
เคร่ืองแต่งกาย เพื่อแสดง อปุ กรณ์การแสดงในการ

นาฏศลิ ป์ และการละครท่ีมา ประกอบการแสดง เพ่ือให้

จากวฒั นธรรมต่าง ๆ ผู้ชมเกดิ ความสนใจใน

รปู แบบของการใชว้ สั ดุ

อปุ กรณ์ประกอบการแสดง

น้ัน ๆ เชน่ ในการแสดง

ภาคใต้มีการใช้พดั รม่ มา

ประกอบการแสดง สว่ น

15

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั ภาระงาน/ เวลา คะแนน
ตัวช้ีวัด ช้นิ งาน 25

ภาคเหนอื มีการใช้ร่มเหนือ 20
100
เทยี น มาเปน็ สว่ นประกอบ

การแสดงเชน่ กัน

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 ศ3.2 ม.3/2 อธิบาย การแสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละคร ใบงานเร่ือง

ชื่อหน่วย คุณคา่ ในงาน ความสำคญั และบทบาทของ เป็นส่ิงท่แี สดงถึงเอกลักษณ์ คุณคา่ ของ

นาฏศิลป์ นาฏศิลปแ์ ละการละครใน ของชาติอนั ทรงคุณค่า สร้าง นาฏศิลป์

ชีวิตประจำวัน ความผอ่ นคลายให้กับคนใน ไทย

ศ3.2 ม.3/3 แสดงความ ชาติ และเปน็ ศิลปวัฒนธรรม
คดิ เห็นในการอนุรักษ์ ของชาตทิ ่ีควรอนรุ ักษไ์ ว้
สืบไป

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียนที่ 2

16

โครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้
รหสั วิชา ศ23101 รายชื่อวชิ า ศิลปะ5 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ กลยทุ ธ์ รูปแบบ เทคนิควิธกี ารสอน เวลา
การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ 2
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 1.เรื่ององคป์ ระกอบของบทละคร
การลงมือปฏิบัติ 2
ชอ่ื หนว่ ย การลงมือปฏบิ ตั ิ 2
การลงมือปฏบิ ตั ิ 2
องค์ประกอบของบท การลงมือปฏิบตั ิ 4
นำเสนอหนา้ ช้ันเรียน 4
ละคร การลงมอื ปฏิบัติ 8
สรุปองค์ความรู้ 2
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 1.เรอ่ื งนาฏยศัพท์ บทบาทสมมติ 2
การลงมือปฏิบัติ 4
ชอื่ หนว่ ย นาฏยศัพท์ 2.เรื่องภาษาท่าจากธรรมชาติ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ 4

และภาษาท่า 3.เร่ืองภาษาทา่ จากการประดิษฐ์ รับฟงั การบรรยาย 2

4.เร่ืองรำวงมาตรฐาน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 1.เร่ืองรปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์

ช่ือหนว่ ย ทักษะ 2.เร่ืองประดิษฐ์ทา่ รำ

ทางการแสดง 3.เรอ่ื งองค์ประกอบนาฏศิลป์

นาฏศิลปไ์ ทย 4.เรื่องสรา้ งสรรค์งานแสดง

5.เร่ืองละครกบั ชวี ิต

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 1.เรื่องออกแบบและสร้างสรรค์

ชอ่ื หน่วย การ อปุ กรณ์การแสดง

สรา้ งสรรคอ์ ปุ กรณ์

ประกอบการแสดง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 1.เรื่องนาฏศิลป์และการละคร

ชอื่ หนว่ ย คุณค่าใน

งานนาฏศิลป์

17

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
ดังนี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซือ่ สตั ย์สุจรติ
3. มวี ินัย
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 5 ข้อ ตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช
2551 คุณภาพผูเ้ รยี นดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 5 ข้อ ดังนี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

18

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1

ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ องค์ประกอบของบทละครเรอ่ื ง องค์ประกอบของบทละคร

รหสั วิชา ศ23101 ชอื่ รายวชิ า ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 คาบเรียน จำนวน 1 หน่วยกิต

1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด

องค์ประกอบของบทละคร ประกอบด้วยองค์ประกอบท้ัง 4 ดังนี้ โครงเรอ่ื ง ตัวละครและการวาง
ลกั ษณะนสิ ัยของตัวละคร ความคิดหรือแกน่ ของเรือ่ ง และบทสนทนา
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชวี้ ัด

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์

ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณค์ ุณค่า นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั

ม.3/1 ระบุโครงสรา้ งของบทละครโดยใชศ้ ัพท์ทางการละคร
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. นกั เรยี นรู้และเข้าใจองค์ประกอบของบทละคร (K)
2. นกั เรียนสามารถเขียนความแตกต่างขององคป์ ระกอบของบทละครได้ (P)
3. นักเรียนเหน็ คุณค่าขององค์ประกอบของบทละคร (A)

4. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. องค์ประกอบของบทละคร

- โครงเร่ือง
- ตัวละคร
- แกน่ ของเร่ือง
- บทละคร

19

5. สมรรถนะสำคญั (เลือกที่เหมาะสมกบั กจิ กรรม)

✓ ความสามารถในการส่อื สาร

✓ ความสามารถในการคิด

✓ ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ

✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกทเ่ี หมาะสมกับกจิ กรรม)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ

 มวี นิ ยั ✓ ใฝเ่ รียนรู้

 อยู่อย่างพอเพียง ✓ มุ่งม่นั ในการทำงาน

✓ รกั ความเปน็ ไทย  มจี ิตสาธารณะ

7. หลกั ฐานการเรียนรู้ (ชน้ิ งาน/ภาระงาน)

1. ใบงานท1ี่ เรอ่ื งองค์ประกอบของบทละคร

8. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้

กลยทุ ธ/์ รปู แบบ/เทคนิคการสอนทใ่ี ช้ (การสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ)

คาบท่ี 1 - 2

ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน

- นกั เรยี นชมวีดที ศั น์การแสดงละครเวที
- นกั เรียนและครรู ่วมกนั สนทนาเกย่ี วกบั องค์ประกอบของการแสดงละคร ว่าควรมี

องค์ประกอบใดบ้าง
ขั้นสอน

- นักเรยี นรับฟงั การบรรยาย เร่ืององคป์ ระกอบของบทละคร โดยใชส้ ่ือการสอน Power Point
เร่อื งองค์ประกอบของบทละคร

20

- นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3 คน
- นกั เรียนทำใบงานที่ 1 เรื่ององค์ประกอบของบทละคร

21

- นกั เรยี นออกมานำเสนอ เร่ืององคป์ ระกอบของบทละคร หน้าชัน้ เรยี น
ข้นั สรุป

- นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ อภิปรายความรเู้ ก่ียวกับ เร่ืององคป์ ระกอบของบทละคร
การบูรณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หลกั ความพอประมาณ
- นักเรียนสามารถแบ่งเวลาในการทำกจิ กรรมต่างๆ ในชว่ั โมงเรยี น เพอื่ ให้ตรงตอ่ ระยะเวลาที่
กำหนด
- นักเรยี นเรยี นรู้การใชว้ สั ดุ – อุปกรณ์ท่มี ีอยู่ อย่างคุม้ คา่
- นกั เรยี นเรยี นรกู้ ารทำงานในรูปแบบทีเ่ หมาะสมแก่วยั ของตนเอง
- นกั เรยี นรู้จกั ใช้แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียนเพื่อประกอบการเรียนรู้

หลักความมีเหตุผล
- นักเรยี นมีทักษะกระบวนการคดิ และการแก้ปัญหาในการทำงานรว่ มกันต่อเพื่อนในช้ันเรียน
- นกั เรียนร้จู ักการเลือกใช้วสั ดุ-อปุ กรณ์ในการทำงาน
- พฒั นาผูเ้ รียนตามศักยภาพ

หลกั การมีภูมคิ ุ้มกัน
- นักเรยี นสามารถวางแผนการสรา้ งแผนผังความคดิ อย่างมีรูปแบบ
- นกั เรียนแบง่ หน้าท่ีการทำงานเพอื่ ใหง้ านเสรจ็ ทันเวลา อยา่ งมีระบบ
- นักเรยี นสามารถปรบั ตัวที่ดี ต่อการทำงานกลุ่ม
- เกิดความตระหนกั ในการเรียนร้กู ารทำงานท้งั ของตนเองและกลุ่ม

22

เงื่อนไขความรู้

- องคป์ ระกอบของบทละคร
เงอ่ื นไขคุณธรรม

- ความรบั ผิดชอบ, ความใฝเ่ รยี นร,ู้ ความมุง่ มนั่ ต้งั ใจ
9. สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้

1. วีดที ัศน์การแสดงละครเวที
2. Power Point เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร
3. ใบงานที่ 1 เร่อื งองคป์ ระกอบของบทละคร
10. การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
1. นักเรียนร้แู ละเขา้ ใจ การถาม-ตอบ ประเมนิ ผล
องค์ประกอบของบทละคร นักเรียนผ่านเกณฑ์
แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ประเมนิ พฤติกรรมการ
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ถาม-ตอบ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ผล
1. นกั เรยี นสามารถเขียน ใบงาน เรื่ององค์ประกอบ นักเรยี นทำกิจกรรมใบงาน
ใบงาน เร่อื งองค์ประกอบ เร่ืององคป์ ระกอบของบท
ความแตกตา่ ง ของบทละคร ของบทละคร ละคร ผ่านเกณฑ์ร้อยละ

องคป์ ระกอบของบทละคร 70

ได้

ดา้ นทักษะคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

จุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เคร่ืองมือการวัดและ เกณฑ์การประเมนิ
สังเกตพฤตกิ รรม ประเมินผล
1. นักเรียนเหน็ คณุ ค่าของ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย แบบสังเกตพฤติกรรมการ ประเมนิ การเห็นคุณคา่
เหน็ คณุ ค่าและความสำคัญ และความสำคญั ของ
นาฏศิลปไ์ ทย รอ้ ยละ 70
ของนาฏศลิ ป์ไทย

23

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2

ช่อื หน่วยการเรียนรู้ นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่

รหัสวชิ า ศ23101 ช่ือรายวิชา ศิลปะ5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 10 คาบเรยี น จำนวน 1 หนว่ ยกิต

1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด

นาฏยศัพท์ และภาษาท่าเป็นพน้ื ฐานเบ้ืองต้นในการเริ่มตน้ ในทักษะพนื้ ฐานการปฏิบัติทางการแสดง
นาฏศลิ ปไ์ ทยในรูปแบบตา่ ง ๆ

2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ัด

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป์

ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั

ม.3/2 ใช้นาฏยศพั ท์ หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทยี บการแสดงอากปั กิริยา
ของผ้คู นในชวี ิตประจำวันและในการแสดง

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. นกั เรยี นรู้และเข้าใจหมายความและประเภทของนาฏยศัพท์ (K)
2. นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิทา่ นาฏยศพั ท์ไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. นกั เรียนรแู้ ละเขา้ ใจความหมายและประเภทของภาษาท่าจากธรรมชาติ (K)
4. นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิท่าภาษาท่าจากธรรมชาตไิ ด้ถูกต้องสวยงาม (P)
5. นกั เรียนรแู้ ละเข้าใจความหมายและประเภทของภาษาท่าจากการประดิษฐ์ (K)
6. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิท่าภาษาทา่ จากการประดิษฐ์ได้ถูกต้องสวยงาม (P)
7. นกั เรียนสามารถเลือกใช้ท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานได้ถูกต้อง(K)
8. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐานไดอ้ ย่างถูกต้อง (P)
9. นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่าของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย (A)

24

4. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

1. นาฏยศัพทแ์ ละภาษาท่า
- นาฏยศพั ท์ (นามศพั ท/์ กิริยาศพั ท์/นาฏศัพท์เบด็ เตล็ด)

- ภาษาท่าหรอื ภาษาทางนาฏศิลป์ (ภาษาทา่ ที่มาจากธรรมชาต/ิ ภาษาท่าทีจ่ ากการประดิษฐ)์

2. รำวงมาตรฐาน
- การแสดงรำวงมาตรฐาน

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทีเ่ หมาะสมกับกจิ กรรม)

✓ ความสามารถในการสื่อสาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

✓ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กทเ่ี หมาะสมกับกิจกรรม)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ซือ่ สัตย์สุจรติ

 มวี นิ ยั ✓ ใฝเ่ รียนรู้

 อยู่อย่างพอเพยี ง ✓ มุ่งมั่นในการทำงาน

✓ รกั ความเป็นไทย  มีจิตสาธารณะ

7. หลกั ฐานการเรียนรู้ ( ชน้ิ งาน/ภาระงาน )

1. สอบปฏบิ ัตนิ าฏยศัพท์ (5 คะแนน)
2. สอบปฏิบัตภิ าษาท่าจากธรรมชาติ (5 คะแนน)
3. สอบปฏบิ ตั ภิ าษาทา่ จากการประดิษฐ์ (5 คะแนน)
4. สอบปฏิบตั ิทา่ รำรำวงมาตรฐาน (5 คะแนน)

25

8. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้

กลยทุ ธ์/รูปแบบ/เทคนคิ การสอนท่ใี ช้

1. การลงมือปฏบิ ัติ Practice
คาบที่ 1 - 2

ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น

- นักเรียนชมการสาธติ ทา่ นาฏยศัพท์โดยครู พรอ้ มทั้งตอบคำถามการปฏบิ ัติทา่ รำนั้น ๆ
- นกั เรียนและครรู ว่ มกันสนทนาเกยี่ วกบั ท่านาฏยศพั ท์
ขน้ั สอน

- นักเรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองนาฏยศัพท์ โดยใชส้ อื่ การสอน Power Point ดังน้ี

26

นาฏยศพั ท์ หมายถึง ศัพทท์ ี่ใชเ้ กีย่ วกบั ลักษณะท่ารำ ทีใ่ ชใ้ นการฝกึ หดั เพือ่ แสดงโขน ละคร เปน็ คำท่ี
ใชใ้ นวงการนาฏศลิ ป์ไทย สามารถสื่อความหมายกนั ได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่างๆ "นาฏย" หมายถงึ เกย่ี วกับการ
ฟอ้ นรำ เก่ยี วกับการแสดงละคร "ศพั ท"์ หมายถึง เสียง คำ คำยากที่ต้องแปล เรือ่ ง เมื่อนำคำสองคำมารวมกนั
ทำให้ได้ความหมายข้ึนมา การศึกษาทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย ไมว่ ่าจะเปน็ การแสดงโขน ละคร หรอื ระบำ
เบด็ เตลด็ ตา่ งๆ ก็ดี ทา่ ทางท่ผี ู้แสดงแสดงออกมาน้นั ย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิง่ หากได้ศึกษาอยา่ งดแี ลว้ อาจ
ทำใหเ้ ขา้ ใจในเรื่องการแสดงมากยิ่งข้ึนท้งั ในตัวผ้แู สดงเอง และผทู้ ่ีชมการแสดงน้นั ๆ ส่งิ ทเ่ี ขา้ มาประกอบเป็น
ท่าทางนาฏศิลป์ไทยนั้นกค็ ือ เรือ่ งของนาฏยศัพท์ ซ่งึ แยกออกไดเ้ ปน็ คำวา่ "นาฏย" กบั คำวา่ "ศัพท์"
นาฏยศัพท์ แบง่ ออกได้ 3 ประเภท ดังน้ี

1. นามศัพท์ หมายถึง ศัพท์ทีเ่ รียกชื่อท่ารำ หรือชื่อท่าท่บี อกอาการกระทำของผนู้ ั้น เช่น วง จบี สลดั
มอื คลายมือ กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเทา้ ก้าวเท้า ประเท้า ตบเท้า กระทุง้ กะเทาะ จรด
เทา้ แตะเท้า ซอยเทา้ ขย่ันเท้า ฉายเทา้ สะดดุ เท้า รวมเทา้ โย้ตวั ยกั ตัว ตไี หล่ กล่อมไหล่

2. กิรยิ าศัพท์ หมายถงึ ศัพท์ทใ่ี ช้เรยี กในการปฏบิ ตั ิบอกอาการกิริยา ซึ่งแบ่งออกเป็น
ศพั ท์เสรมิ หมายถึง ศพั ท์ท่ีใช้เรียกเพ่ือปรบั ปรงุ ท่าทีให้ถูกต้องสวยงาม เช่น กันวง ลดวง สง่

มอื ดงึ มือ หกั ข้อ หลบศอก เปิดคาง กดคาง ทรงตัว เผน่ ตวั ดงึ ไหล่ กดไหล่ ดงึ เอว กดเกลียวขา้ ง ทบั
ตวั หลบเข่า ถบี เข่า แข็งเข่า กันเขา่ เปดิ ส้น ชักสน้

ศพั ทเ์ สื่อม หมายถึง ศัพท์ท่ีใช้เรยี กชอ่ื ทา่ รำหรือท่วงทีของผูร้ ำท่ไี ม่ถกู ต้องตามมาตรฐาน
เพือ่ ใหผ้ ู้รำร้ตู วั และแก้ไขท่าทีของตนให้ดีข้ึน เช่น วงลา้ วงควำ่ วงเหยยี ด วงหกั วงลน้ วงแอ้ คอด่ืม
คางไก่ ฟาดคอ คอหัก เกร็งคอ หอบไหล่ ทรดุ ตัว ขย่มตวั เหลยี่ มลา้ รำแอ้ รำลน รำเล้อื ย รำลำ้
จงั หวะ รำหนว่ งจงั หวะ

27

3. นาฏยศัพทเ์ บ็ดเตล็ด หมายถึง ศพั ทต์ า่ งๆที่ใช้เรียกในภาษานาฏศลิ ป์ นอกเหนอื ไปจากนามศัพท์
และกิริยาศพั ท์ เช่น จบี ยาว จบี สนั้ ลกั คอ เดนิ มือ เอยี งทางวง คนื ตวั ออ่ นเหลย่ี ม เหลีย่ มลา่ ง แมท่ า ทา่ -ที ขน้ึ
ทา่ ยนื เข่า ทลายท่า นายโรง พระใหญ่ - พระน้อย นางกษัตริย์ นางตลาด ผูเ้ มีย ยนื เคร่ือง

- ครสู าธติ การปฏบิ ตั ิท่านาฏยศัพท์ (การตง้ั วง การจบี การลอ่ แก้ว การมว้ นจีบ การสะบัดจีบ การ
ประเท้า การกระทุ้งเท้า การกระดกเทา้ การฉายเทา้ ) พร้อมทัง้ สอนนักเรยี นปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศัพท์

- นกั เรยี นร่วมกันฝึกซ้อมทา่ นาฏยศพั ท์ โดยครผู ู้สอนเปน็ ผู้ควบคุม และคอยให้คำแนะนำ
- นกั เรียนจับคู่ สอบปฏบิ ัตทิ ่านาฏยศพั ท์
ขน้ั สรปุ
- นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ อภิปรายเกี่ยวกบั นาฏยศัพท์
คาบที่ 3 - 4
ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น
- นักเรยี นชมวดี ที ัศน์การแสดงโขน ตอนนารายณ์ปราบนนทุก พรอ้ มท้ังตอบคำถามการใชภ้ าษาท่าจาก

ธรรมชาติจากการปฏบิ ตั ทิ า่ รำน้นั ๆ

28

- นกั เรียนและครรู ว่ มกันสนทนาความแตกต่างของภาษาท่า กริ ิยาทา่ ทางของมนุษยก์ บั ภาษาท่าทาง
นาฏศิลป์

ข้ันสอน
- นกั เรยี นรบั ฟงั การบรรยาย เร่ืองภาษาท่าจากธรรมชาติ โดยครูผูส้ อน
ภาษาทา่

นาฏยภาษาหรอื ภาษาท่าทาง เปน็ สารท่ีใชใ้ นการส่ือสารอย่างหน่งึ ที่ทั้งผู้ถ่ายทอดสาร (ผรู้ ำ) และผู้รบั
สาร (ผูช้ ม) จำเป็นจะตอ้ งเขา้ ใจตรงกนั จงึ จะสามารถเข้าใจในความหมายของการแสดงออก นั้นได้อย่างถกู
ตอ้ งการถา่ ยทอดภาษาด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ความหมายภาษาทา่ นาฏศลิ ป์

ภาษาทา่ นาฏศิลป์ เปน็ การนำทา่ ทางตา่ งๆและสหี นา้ ทมี่ ีอยู่ตามธรรมชาติมาใชแ้ ทน เช่นคำพดู กริยา
อาการ อารมณ์ ความรูส้ ึก มาปฏบิ ตั เิ ปน็ ท่าทางนาฏศิลป์ไทยท่มี คี วามหมายแทนคำพูด สอดคล้องกบั จังหวะ
เพลงและการขับร้อง การฝึกปฏบิ ตั ิ การฝกึ หดั ภาษาท่าจะต้องฝึกให้ถกู ต้องตามแบบแผน เพ่ือสอื่ ความหมาย
ไดโ้ ดยตรง ซ่งึ จะทำให้ผชู้ มเข้าใจความหมายท่ีผูแ้ สดงต้องจะสื่อความหมายมากขน้ึ
การแสดงนาฏศลิ ป์ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท

ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ เป็นท่าทางที่ดดั แปลงมาจากท่าทางตามธรรมชาติของคนเราแตป่ รบั ปรุง
ใหด้ สู วยงามอ่อนช้อยมากยิง่ ข้ึน โดยใชล้ กั ษณะการรา่ ยรำเบื้องตน้ มาผสมผสาน เช่น ท่าปฏเิ สธ ทา่ ย้มิ ท่า
เรียก ท่ารอ้ งไห้ ทา่ ดีใจ ท่าเสียใจ ท่าโกรธ

ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์โดยตรง เป็นทา่ ทางทป่ี ระดิษฐ์ ขนึ้ เพื่อใหเ้ พยี งพอใช้กับคำร้องหรือคำ
บรรยาย ทจี่ ะต้องแสดงออกเป็นท่ารำ เช่น สอดสร้อยมาลา เปน็ ต้น

29

- ครสู าธิตการปฏิบัตภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ (ทา่ ตวั เรา ท่าปฏิเสธ ทา่ เรยี ก ท่าสวยงาม ทา่ อาย ทา่
เสียใจ) พร้อมสอนนักเรียนปฏิบัติภาษาท่าทางนาฏศิลป์

- นักเรียนร่วมกนั ฝึกซ้อมภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ โดยครผู ู้สอนเปน็ ผคู้ วบคมุ และคอยให้คำแนะนำ
- นักเรยี นจบั คู่ สอบปฏบิ ตั ิภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์
ขนั้ สรุป
- นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปอภิปรายเก่ยี วกบั ภาษาทา่ จากธรรมชาติ

30

คาบที่ 5 – 6
ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรยี น
- นกั เรียนชมวดี ที ัศน์การแสดงละครใน อเิ หนา ตอน บษุ บาชมศาล พร้อมท้ังตอบคำถามการปฏบิ ตั ทิ ่า
รำนัน้ ๆ

- นกั เรียนและครูร่วมกนั สนทนาความหมายของทา่ รำแต่ละท่า ในการแสดงละครใน อเิ หนา ตอน
บษุ บาชมศาล

ขน้ั สอน
- นักเรียนรบั ฟังการบรรยาย เร่ืองภาษาท่าจากการประดิษฐ์ โดยครูผสู้ อน
- ครสู าธิตการปฏิบตั ภิ าษาทา่ ทางนาฏศิลป์ (ท่าพรหมสหี่ น้า ท่าสอดสร้อยมาลา ทา่ จนั ทร์ทรงกลด ท่า

กลางอัมพร) พรอ้ มทั้งสอนนักเรยี นปฏิบัติภาษาท่าทางนาฏศิลป์

31

- นกั เรียนรว่ มกนั ฝกึ ซ้อมภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ โดยครผู สู้ อนเปน็ ผู้ควบคมุ และคอยใหค้ ำแนะนำ
- นักเรยี นจับคู่ สอบปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์
ข้ันสรุป
- นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปอภปิ รายเกยี่ วกบั ภาษาทา่ จากการประดิษฐ์
คาบที่ 7 - 8
ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น
- นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จำนวน 10 ข้อ
- นกั เรียนชมภาพชดุ การแสดงรำวงมาตรฐานทง้ั 4 แบบ พรอ้ มทงั้ ตอบคำถามเก่ยี วกับภาพ โดยครเู ป็น

ผู้ตั้งคำถาม

32

- นกั เรียนและครูรว่ มกนั สนทนาถงึ ความแตกตา่ งของการแต่งกายรำวงมาตรฐานทั้ง 4 แบบ
ขั้นสอน
- นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เร่อื งประวตั ิความเป็นมารำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน เป็นการแสดงท่มี ีวิวฒั นาการมาจาก “ รำโทน “ เปน็ การรำและร้องของชาวบ้าน ซึง่ จะมีผู้
รำทั้งชาย และหญงิ รำกันเป็นคู่ ๆ รอบ ครกตำขา้ วทีว่ างคว่ำไว้ หรอื ไม่กร็ ำกันเปน็ วงกลม โดยมโี ทนเปน็ เครือ่ ง
ดนตรปี ระกอบจงั หวะ ลักษณะการรำ และรอ้ งเปน็ ไปตามความถนดั ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเปน็ การรำ
และร้องงา่ ย ๆ มงุ่ เน้นทค่ี วามสนุกสนานร่ืนเริงเป็นสำคญั เช่น เพลงช่อมาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหลอ่ จริงนะ
ดารา เพลงตามองตา เพลงใกลเ้ ข้าไปอกี นดิ ฯลฯ ด้วยเหตุท่กี ารรำชนดิ นม้ี ีโทนเปน็ เครอื่ งดนตรปี ระกอบ
จังหวะ จงึ เรยี กการแสดงชุดน้ีวา่ “รำโทน”
ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2487 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี รบั บาลตระหนกั ถงึ
ความสำคญั ของการละเล่นรื่นเรงิ ประจำชาติ และเห็นวา่ คนไทยนิยมเลน่ รำโทนกนั อย่างแพร่หลาย ถ้าปรับปรุง
การเลน่ รำโทนใหเ้ ปน็ ระเบยี บทง้ั เพลงร้องลีลาท่ารำ และการแตง่ กาย จำทำใหก้ ารเล่นรำโทนเปน็ ท่นี ่านยิ มมาก
ยง่ิ ขนึ้ จึงได้มอบหมายให้กรมศลิ ปากรปรับปรุงรำโทนเสียใหม่ใหเ้ ป็นมาตรฐาน มีการแต่งเนอื้ รอ้ ง ทำนองเพลง
และนำทา่ รำจากแม่บทมากำหนดเปน็ ท่ารำเฉพาะแตล่ ะเพลงอยา่ งเป็นแบบแผน
รำวงมาตรฐาน ประกอบด้วยเพลงทั้งหมด 10 เพลง กรมศลิ ปากรแตง่ เน้ือร้องจำนวน 4 เพลง คอื เพลง
งามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงรำซมิ ารำ เพลงคืนเดอื นหงาย ทา่ นผ้หู ญงิ ละเอยี ด พบิ ูลสงคราม แตง่ เน้ือรอ้ ง
เพ่มิ อกี 6 เพลง คือ เพลงดวงจันทรว์ นั เพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงหญงิ ไทยใจงาม
เพลงบูชานักรบ เพลงยอดชายใจหาญ สว่ นทำนองเพลงทั้ง 10 เพลง กรมศิลปากร และกรมประชาสมั พนั ธเ์ ป็น
ผแู้ ต่ง
เมอ่ื ปรับปรุงแบบแผนการเลน่ รำโทนให้มมี าตรฐาน และมีความเหมาะสม จงึ มกี ารเปลย่ี นแปลงชื่อจากรำ
โทนเป็น “รำวงมาตรฐาน” อันมลี กั ษณะการแสดงท่เี ปน็ การรำร่วมกนั ระหวา่ งชาย – หญงิ เปน็ คู่ ๆ
เคลอื่ นย้ายเวยี นไปเป็นวงกลม มีเพลงร้องท่ีแต่งทำนองข้ึนใหม่ มกี ารใชท้ ั้งวงป่พี าทยบ์ รรเลงเพลงประกอบ

33

และบางเพลงก็ใช้วงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึง่ เพลงรอ้ งทีแ่ ตง่ ขนึ้ ใหม่ทง้ั 10 เพลง มที ่ารำทก่ี ำหนด
ไว้เป็นแบบแผนคือ

เพลงท่ี ชื่อเพลง ทา่ รำท่ใี ช้

1 เพลงงามแสงเดือน ท่าสอดสร้อยมาลา

2 เพลงชาวไทย ท่าชกั แป้งผัดหนา้

3 เพลงรำมาซิมารำ ท่ารำสา่ ย

4 เพลงคนื เดือนหงาย ทา่ สอดสร้อยมาลาแปลง

5 เพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ ท่าแขกเต้าเข้ารงั และท่าผาลาเพยี งไหล่

6 เพลงดอกไม้ของชาติ ทา่ รำย่ัว

7 เพลงหญิงไทยใจงาม ท่าพรหมสีห่ น้า และท่ายงู ฟ้อนหาง

8 เพลงดวงจันทรข์ วัญฟ้า ท่าชา้ งประสานงา และทา่ จันทรท์ รงกลดแปลง

9 เพลงยอดชายใจหาญ หญงิ ทา่ ชะนรี ่ายไม้
ชายท่าจ่อเพลงิ กลั ป์

10 เพลงบชู านักรบ หญงิ ทา่ ขัดจางนาง และท่าลอ่ แกว้
ชายท่าจันทรท์ รงกลดต่ำ และทา่ ขอแกว้

รำวงมาตรฐานนยิ มเลน่ ในงานร่ืนเริงบนั เทิงตา่ ง ๆ และยังนิยมนำมาใช้เล่นแทนการเต้นรำ สำหรับ

เครอ่ื งแต่งกายก็มีการกำหนดการแต่งกายของผู้แสดงให้มีระเบียบด้วยการใชช้ ดุ ไทย และชดุ สากลนิยม โดย

แต่งเป็นคู่ รบั กนั ทงั้ ชายและหญิง อาทิ ผ้ชู ายนงุ่ โจงกระเบน สวมเสอ้ื คอกลม มผี ้าคาดเอว ผู้หญิงน่งุ โจง

กระเบน หม่ สไบอดั จีบ ผชู้ ายนงุ่ โจงกระเบน สวมเสือ้ ราชประแตน ผหู้ ญิงแต่งชุดไทยแบบรัชกาลท่ี 5 ผูช้ าย

แต่งสทู ผหู้ ญิงแต่งชุดไทยเรือนตน้ หรือไทยจักรี

รำวงมาตรฐาน เปน็ การรำท่ีไดร้ ับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจบุ นั มักนยิ มนำมาใช้หลังจากจบการแสดง

หรือจบงานบนั เทิงต่าง ๆ เพื่อเชิญชวนผ้รู ว่ มงานออกมารำวงร่วมกัน เปน็ การแสดงความสามคั คีกลมเกลยี ว

อกี ท้ังยงั เป็นทนี่ ยิ มของชาวตา่ งชาตใิ นการออกมารำวงเพ่ือความสนกุ สนาน

- นกั เรียนร่วมกนั อภิปราย เรือ่ งประวัตคิ วามเป็นมารำวงมาตรฐาน โดยมคี รคู อยให้คำแนะนำในส่วนท่ี
นกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจ

- ครสู าธติ การปฏบิ ัติทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 - 5 พร้อมสอนนักเรียนปฏิบัติ
ท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน

- นักเรียนแบง่ กลุ่มกลุม่ ละเทา่ ๆ กนั จำนวน 5 กลมุ่ ฝึกซ้อมทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงที่ 1 - 5 โดยศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากสมดุ ภาพหรรษา 1 ครูผสู้ อนเป็นผคู้ วบคุม และคอยให้คำแนะนำ
ขั้นสรปุ

34

- นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปอภปิ รายเก่ยี วกับประวัติความเปน็ มาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และทา่
รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 1 - 5

คาบท่ี 9 - 10

ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน

- ทบทวนประวัติความเป็นมาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงท่ี 1 – 5

ขน้ั สอน

- ครูสาธติ การปฏบิ ตั ทิ ่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงที่ 6 - 10 พร้อมสอนนักเรียนปฏบิ ัติ
ทา่ รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน

- นักเรียนแบง่ กลุ่มกล่มุ ละเท่า ๆ กัน จำนวน 5 กลุ่ม ฝึกซ้อมท่ารำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน
เพลงที่ 6 – 10 โดยศึกษาเพิม่ เติมจากสมดุ ภาพหรรษา 2 ครูผู้สอนเปน็ ผู้ควบคุม และคอยให้
คำแนะนำ

ข้นั สรปุ

- นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ข้อ
- นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ อภิปรายเกยี่ วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของการแสดงรำวงมาตรฐาน และท่า

รำประกอบการแสดงรำวงมาตรฐาน เพลงท่ี 1 – 10
บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เรอ่ื งการใช้ ฎ และ ฏ

- ครูใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจเพมิ่ เติมในการเลือกใช้ ฎ และ ฏ เพอ่ื นักเรียนเลอื กใช้สำหรับการเขียนให้
ถูกต้อง เช่น คำวา่ นาฏศิลป์ และ นาฏยศพั ท์ คำเหล่านี้มักเจอในรายวิชา ศลิ ปะ เนอ่ื งจากครผู ู้สอน
ไดส้ ังเกตนักเรียนจากปีการศึกษาทีผ่ ่านๆมา พบวา่ นักเรียนมกั เขยี นคำดังกล่าวผดิ อยบู่ อ่ ยครั้ง ครบู อก
เทคนคิ การจำให้นักเรียนดังนี้

- ตวั ฎ (ดอ ชะ ดา) ใชเ้ ปน็ พยัญชนะตัวสะกดในมาตรากด มกั ใช้สำหรบั คำเด่ยี ว ๆ หรืออยหู่ น้าคำอื่น
เช่นคำวา่ กฎ กฎระเบียบ กฎกระทรวง กฎทบวง เป็นตน้

- ตวั ฏ (ตอ ปะ ตัก) ใช้เป็นพยัญชนะตวั สะกดในมาตรากด มกั ใช้เป็นตวั สะกดในคำทอ่ี ยู่ท้าย เชน่
ปรากฏ กบฏ เปน็ ตน้

- เช่นเดยี วกับคำว่านาฏศลิ ป์ นาฏยศพั ท์ นาฏลลี า จงึ ใช้ตัวสะกดดว้ ย ฏ เพราะเป็นคำสะกดท่อี ยู่ในคำ
ทา้ ย

35

9. สื่อ / แหล่งเรยี นรู้

1. Power Point เร่ืองนาฏยศัพท์
2. วีดีทัศนก์ ารแสดงโขน ตอนนารายณ์ปราบนนทุก
3. วดี ที ัศนก์ ารแสดงละครใน อิเหนา ตอนบษุ บาชมศาล
4. รูปภาพการแต่งกายรำวงมาตรฐาน ท้งั 4 แบบ
5. สมดุ ภาพหรรษา 1
6. สมดุ ภาพหรรษา 2
10. การวัดและประเมินผล

ดา้ นความรู้ (K)

จุดประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล เครอื่ งมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
ทำทดสอบวดั ความรู้ เรื่อง ประเมินผล
1. นักเรยี นรแู้ ละเข้าใจ นักเรียนทำแบบทดสอบ
หมายความและประเภท นาฏยศพั ท์ แบบทดสอบเรื่อง นาฏย เรอ่ื งนาฏยศัพทผ์ า่ นเกณฑ์
ของนาฏยศัพท์ การถาม-ตอบ ศัพท์ 10 ข้อ
2. นักเรียนรแู้ ละเขา้ ใจ รอ้ ยละ 70
ความหมายและประเภท การถาม-ตอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการ นักเรยี นผา่ นเกณฑ์
ของภาษาทา่ จากธรรมชาติ ถาม-ตอบ ประเมนิ พฤติกรรมการ
3. นักเรยี นรู้และเขา้ ใจ ทำแบบทดสอบวัดความรู้ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
ความหมายและประเภท เร่อื งรำวงมาตรฐาน แบบสังเกตพฤติกรรมการ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การ
ของภาษาท่าจากการ ถาม-ตอบ ประเมินพฤติกรรมการ
ประดษิ ฐ์ ถาม-ตอบ ร้อยละ 70
4. นักเรยี นสามารถ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เลอื กใชท้ ่ารำประกอบ แบบทดสอบหลังเรยี น นกั เรียนผา่ นเกณฑ์
เพลงรำวงมาตรฐานได้ แบบทดสอบวัดความรู้
ถกู ต้อง เรือ่ งรำวงมาตรฐาน ร้อย

ละ 70

36

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมือการวัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมนิ ผล
1. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติ สอบปฏิบตั ทิ ่านาฏยศัพท์ นักเรียนผ่านเกณฑก์ าร
ทา่ นาฏยศัพทไ์ ด้ถูกต้อง แบบประเมินทกั ษะการ ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ
สวยงาม สอบปฏิบัติภาษาท่าจาก ปฏบิ ัติ
2. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิ ธรรมชาติ รอ้ ยละ 70
ภาษาท่าจากธรรมชาติได้ แบบประเมินทกั ษะการ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การ
ถูกต้องสวยงาม สอบปฏิบตั ิ ภาษาท่าจาก ปฏบิ ัติ ประเมนิ ทักษะการปฏิบตั ิ
3. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิ การประดิษฐ์
ทา่ ภาษาทา่ จากการ แบบประเมินทักษะการ ร้อยละ 70
ประดิษฐไ์ ดถ้ ูกต้องสวยงาม สอบปฏิบตั ิทา่ รำรำวง ปฏบิ ตั ิ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ าร
4. นักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิ มาตรฐาน ประเมนิ ทักษะการปฏิบัติ
ท่ารำประกอบเพลงรำวง แบบประเมินทักษะการ
มาตรฐานได้อยา่ งถูกต้อง ปฏบิ ตั ิ รอ้ ยละ 70
นกั เรียนผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ
ทา่ รำรำวงมาตรฐาน รอ้ ย

ละ 70

ด้านทักษะคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล เคร่ืองมือการวดั และ เกณฑ์การประเมนิ
สังเกตพฤติกรรม ประเมินผล
1. นกั เรียนเห็นคุณค่าของ นักเรยี นผ่านเกณฑ์การ
การแสดงนาฏศิลป์ไทย แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ประเมินการเหน็ คุณคา่
เหน็ คณุ คา่ และความสำคัญ และความสำคญั ของ
นาฏศลิ ปไ์ ทย ร้อยละ 70
ของนาฏศิลป์ไทย

37

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3

ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ทักษะทางการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย

รหัสวิชา ศ23101 ชือ่ รายวชิ า ศิลปะ5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 คาบเรียน จำนวน 1 หนว่ ยกิต

1. สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด

นาฏศิลป์ไทย เปน็ ศิลปวฒั นธรรมที่แสดงถึงความเปน็ ไทย ทมี่ มี าตง้ั แต่ชา้ นาน และไดร้ ับอิทธพิ ลแบบ
แผนตามแนวคดิ จากตา่ งชาติเขา้ มาผสมผสาน และนำมาปรับปรุงเปน็ เอกลักษณป์ ระจำชาติไทย การแสดง
นาฏศิลป์ไทยเปน็ การแสดงที่มีความวิจิตรงดงาม ทัง้ เสื้อผ้าการแตง่ กายลีลาทา่ รำดนตรีประกอบและบทร้อง
นอกจากน้กี ารแสดงนาฏศลิ ป์ไทยยงั เกดิ จากการละเลน่ พื้นบา้ น วิถชี วี ติ ของชาวไทยในแต่ละภมู ิภาค

การประดิษฐท์ า่ ที่ใชใ้ นการแสดง เปน็ การสร้างสรรค์การแสดงใหม้ ีความสมบรู ณ์ สวยงาม ซ่งึ ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องสร้างสรรค์ทา่ รำใหม้ ีความเหมาะสมและสมั พันธก์ ับการแสดง เพื่อให้เกดิ ความงดงาม นา่
ชม

นาฏศิลป์ คือ การรวมความเป็นสนุ ทรียท์ างสายตาและทางการได้ยนิ ไว้ด้วยกัน ซง่ึ มีองค์ประกอบของ
นาฏศิลป์ ดังน้ี จังหวะทำนอง การเคล่อื นไหว อารมณ์ความรูส้ ึก ภาษาท่านาฏยศัพท์ รูปแบบของการแสดง
และการแต่งกาย

วิธีการเลือกการแสดงในรูปแบบตา่ ง ๆ มีความสำคญั และควรใหม้ คี วามสอดคล้องกบั ประเภทของ
รูปแบบงาน ซึ่งวธิ ก๊ ารเลือกการแสดงต้องคำนงึ ถึง ประเภทของงาน ขัน้ ตอนการดำเนินงาน ประโยชน์และ
คณุ คา่ ของการแสดง

เรอื่ งราวการดำเนินชีวิตในแต่ละวันของมนุษยน์ ัน้ ย่อมมีความแตกตา่ งกันออกไป บางวันอาจเปน็
เรอื่ งราวดีๆ ของใครบางคน หรือบางวันอาจเป็นเร่ืองท่ีเลวร้ายไมม่ ีความสขุ ของใครบางคน ในเร่อื งราวนั้นๆ
สามารถสะท้อนแนวคิดการใช้ชีวติ ให้แก่ผอู้ ่นื ได้เชน่ กัน

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์

ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ประจำวัน

ม.3/3 มที กั ษะในการใช้ความคิดในการพฒั นารปู แบบการแสดง

38

ม.3/4 มที ักษะในการแปลความและการส่อื สารผ่านการแสดง

ม.3/5 วิจารณเ์ ปรยี บเทยี บงานนาฏศิลปท์ ่มี คี วามแตกตา่ งกันโดยใช้ความร้เู ร่ืององคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์

ม.3/6 ร่วมจดั งานการแสดงในบทบาทหนา้ ที่ต่าง ๆ

ม.3/7 นำเสนอแนวตดิ จากเน้ือเรอื่ งของการแสดงทสี่ ามารถนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นกั เรยี นเหน็ ความแตกต่างของรปู แบบการแสดงนาฏศิลปแ์ ตล่ ะประเภท (K)
2. นักเรยี นนำเสนอความคดิ รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์แตล่ ะประเภทได้ (P)
3. นักเรยี นสามารถสื่อความหมายประกอบบทร้องไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
4. นกั เรียนสามารถประดษิ ฐท์ ่ารำท่ีส่ือสารผ่านการแสดงได้ (P)
5. นักเรยี นรู้และเขา้ ใจถึงองคป์ ระกอบนาฏศลิ ปท์ ้งั 6 (K)
6. นักเรยี นเขยี นเปรยี บเทียบงานนาฏศิลปใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ได้ (P)
7. นกั เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจการจดั รูปแบบการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ (K)
8. นักเรยี นสามารถจดั งานการแสดงในบทบาททต่ี นเองไดร้ บั อย่างถูกต้อง และเหมาะสม (P)
9. นักเรียนรแู้ ละเขา้ ใจทักษะการใชช้ ีวติ ท่ีเหมาะสม (K)
10. นักเรียนสามารถถ่ายทอดเรอื่ งราวผ่านการแสดงได้ (P)
11. นกั เรยี นเหน็ คณุ คา่ ของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย (A)
4. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

1. การแสดงนาฏศิลป์

- รปู แบบการแสดง (การแสดงหม่/ู การแสดงเดย่ี ว/การแสดงละคร/การแสดงเปน็ ชดุ เปน็
ตอน)

2. การประดิษฐ์ท่ารำ

- การประดิษฐ์ท่ารำและทา่ ทางประกอบการแสดง (ความหมาย/ความเปน็ มา/ทา่ ทางที่ใช้
การประดิษฐท์ ่ารำ)

3. องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

- จงั หวะทำนอง

39

- การเคลอ่ื นไหว

- อารมณ์และความรู้สกึ

- ภาษาทา่ นาฏศัพท์

- รูปแบบของการแสดง

- การแต่งกาย

4. สร้างสรรค์งานแสดง

- วิธีการเลอื กการแสดง (ประเภทของงาน/ข้นั ตอน/ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของการแสดง)

5. ละครกับชวี ติ

ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น

- ระบำนบนารายณ์

5. สมรรถนะสำคัญ (เลือกทเี่ หมาะสมกับกจิ กรรม)

✓ ความสามารถในการสอื่ สาร

✓ ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

✓ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กทเี่ หมาะสมกับกิจกรรม)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  ซ่อื สัตยส์ จุ ริต

 มีวินยั ✓ ใฝเ่ รียนรู้

 อยอู่ ย่างพอเพยี ง ✓ มุ่งมน่ั ในการทำงาน

✓ รักความเป็นไทย  มีจิตสาธารณะ

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ( ช้ินงาน/ภาระงาน )

1. นำเสนอหนา้ ชั้นเรียน เร่ืองรปู แบบการแสดงนาฏศิลป์ (5 คะแนน)
2. สอบปฏิบตั กิ ารคิดประดิษฐ์ท่ารำ (10 คะแนน)

40

3. ใบงาน เร่อื งการเปรยี บเทยี บรูปแบบการแสดง (โดยใช้องค์ความรเู้ ร่อื งองค์ประกอบนาฏศิลป์)
4. แสดงบทบาทสมมตกิ ารจัดงานแสดง (5 คะแนน)
5. แสดงละครสน้ั (5 คะแนน)
8. กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้

กลยุทธ/์ รูปแบบ/เทคนิคการสอนท่ีใช้

1. นำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น
2. ลงมือปฏบิ ัติ
3. สรุปองค์ความรู้
4. บทบาทสมมติ
คาบท่ี 1 – 2

ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน

- นกั เรียนชมตัวอยา่ งการแสดงเด่ยี ว (ฉยุ ฉายพราหมณ)์ ตวั อย่างการแสดงหมู่ (ระบำนบนารายณ์ เปน็
การแสดงนาฏศลิ ปส์ รา้ งสรรค์ที่วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปลพบรุ ไี ด้คิดริเรม่ิ เมือ่ ปี 2534) ตวั อยา่ งการแสดง
ละครพนั ทาง (เรื่องพญาผานอง ตอนรักสามเศร้า) และการแสดงเป็นชดุ เป็นตอน รจนาเสีย่ ง
พวงมาลยั (เร่ืองสังขท์ อง ตอนเลือกคู่)

41

- นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายถงึ ความแตกต่างระหว่างรูปแบบการแสดงแตล่ ะประเภท โดยมีครเู ปน็
ผู้กระตุ้นหวั ข้อในการอภปิ ราย

ขน้ั สอน
- นกั เรียนรับฟังการบรรยาย เร่ืองรูปแบบการแสดง โดยใชส้ อ่ื การสอน Power Point เร่อื งรปู แบบการ

แสดง

42

- นักเรียนแบง่ กลุ่ม 4 กล่มุ กลุ่มละเท่า ๆ กัน พร้อมตวั แทนกลมุ่ ละ 1 คน หมนุ วงล้อ Online ผ่าน
Application PiliApp แทนการจับฉลากเพ่ือสรา้ งความแปลกใหม่ใหแ้ ก่นกั เรยี น โดยมหี ัวขอ้ ดังน้ี
1.การแสดงเด่ยี ว
2.การแสดงหมู่
3.การแสดงละคร
4.การแสดงเป็นชุดเปน็ ตอน

- นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สรปุ ความคิดรวมยอดจากองค์ความรู้ เรอ่ื งรปู แบบการแสดง
ขัน้ สรปุ
- นักเรียนและครูร่วมกันสรุปอภิปรายเก่ียวกบั เรอื่ งรปู แบบการแสดง
คาบท่ี 3 – 4
ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
- ทบทวนความรูเ้ ดิมเรอื่ ง รูปแบบการแสดงท้ัง 4
ข้นั สอน
- นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ ออกนำเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ในหวั ขอ้ ท่ีตนเองได้รบั
ขัน้ สรุป
- นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ อภปิ รายเกีย่ วกบั เร่อื งรปู แบบการแสดงทง้ั 4 ประเภท โดยมีครูเป็นผคู้ อย

ใหค้ ำแนะนำเพ่ิมเติมในส่วนทนี่ ักเรียนยังอธิบายเน้ือหาไม่ชดั เจน

43

คาบที่ 5 - 6

ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

- ครปู ฏบิ ัติท่ารำเพื่อสื่อสารกับนักเรยี น พร้อมให้นกั เรยี นแปลความหมายผา่ นการแสดง โดยครตู ้งั
ถามใหน้ ักเรียน ครูกำลังสื่อสารกับนกั เรยี นวา่ อย่างไร เช่น ท่าตวั เรา ท่ารกั ท่าสญู ส้ิน ทา่ เรยี ก
ท่าทน่ี ่ี ท่าทนี่ น้ั เปน็ ตน้

- นักเรียนชมวีดที ัศน์ การรำประกอบบทเพลง
- นักเรยี นและครรู ่วมกนั สนทนาเกีย่ วกับการแปลความหมายและตีท่าทางการแสดงนาฏศิลป์
ข้ันสอน

- นักเรยี นรบั ฟงั การบรรยาย เร่ืองความหมายและความเปน็ มาของการประดิษฐ์ทา่ รำ โดย
ครูผู้สอน

ความหมายและความเปน็ มาของการประดษิ ฐ์ท่ารำ

ผ้ทู มี่ ีความคิดสรา้ งสรรค์และมคี วามสามารถในการตคี วามหมายของบทประพันธ์ทน่ี ำมาเป็น
บทรอ้ งและบทละคร ท่จี ะตอ้ งให้ผแู้ สดงไดส้ ่ืออารมณ์ไปสูผ่ ู้ชม โดยมีหลักคดิ ดังนี้ ผูป้ ระดษิ ฐท์ า่ รำท่ี
สวยงาม

ท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐท์ ่ารำ

การตีบทรำตามความหมายของบทร้องต้องสร้างสรรคท์ ่ารำให้
เหมาะสมกับบทร้อง เชน่ บทรอ้ งว่า "ปราโมทแสน..." ผ้ปู ระดษิ ฐท์ า่ รำใช้ ภาษา
ท่า กริ ยิ าดีใจ จีบมือซา้ ยขา้ งปาก เปน็ ต้น

1. การอ่านบทละคร ผู้ประดิษฐส์ รา้ งสรรค์ทา่ รำท่ีดตี ้องอ่านบทละคร
เพอื่ พจิ ารณาเรื่องราวบทละครของตวั ละครว่าแตล่ ะตัวมีอารมณ์ความรู้สึก
อยา่ งไรจึงนำมาประดิษฐ์สรา้ งสรรค์ทา่ รำใหส้ อดคลอ้ งกบั ตวั ละคร

2. การสรา้ งสรรคท์ ่ารำในแม่บท คอื การนำทา่ รำในแม่บทมาประดิษฐ์สร้างสรรคท์ ่ารำ เพ่อื
สื่อความหมายตามบทร้อง ยึดใหเ้ ปน็ แบบแผนมาตรฐานทางนาฏศิลป์

3. การจัดรูปแบบของการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ ได้แก่ ระบำ รำ ฟ้อน ละคร มรี ูปแบบ
ของการจดั การแสดงเป็นเอกลกั ษณแ์ ละท่าทายความคดิ สร้างสรรคข์ องผ้ปู ระดิษฐ์ทา่ รำ ยกตัวอยา่ ง
เชน่ การจัดการแสดงประเภทระบำ ควรมีหลักเกณฑท์ ตี่ ้องพจิ ารณา ดงั น้ี

การจดั แถวของการแสดงระบำ

44

รปู แบบการแปรแถว
1. แถวตอนลกึ ผูแ้ สดงฝ่ายชายจะอยู่ดา้ นซ้าย ฝ่ายหญิงอยู่ฝ่ายขวา

2. แถวหนา้ กระดาน
2.1 แถวเด่ยี ว
2.2 แถวคตู่ รงกนั
2.3 แถวคู่สับหวา่ ง

45

3. รปู วงกลม 3.2 วงกลมซอ้ น
3.1วงกลมเดี่ยว

3.3 วงกลมทม่ี ตี วั กลาง 3.4 คร่งึ วงกลม

4. แถวรูปสามเหลย่ี ม

5. การจับคู่

6. รูปทแยงมมุ

46

7. การเขา้ พูต่าง ๆ 7.2 พู 4 7.3 พลู ะเอยี ด
7.1 พู

ข้นั สรุป

- นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ อภปิ รายเกย่ี วกับ เร่ืองความหมาย และความเป็นมาการประดษิ ฐ์
ทา่ รำ

คาบที่ 7 - 10

ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น

- ทบทวนความร้เู ดิม เร่ืองความหมาย และความเปน็ มาการประดษิ ฐท์ ่ารำ
ขั้นสอน

- นักเรยี นแบ่งกลุ่ม 3-4 กลุ่ม โดยแบง่ กลุ่มละเท่า ๆ กนั พร้อมให้แตล่ ะกลุ่มเลือกเพลงที่ชอบ
กล่มุ ละ 1 เพลง

- นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันตีความหมายของเนือ้ เพลงท่ีเลือก พรอ้ มทง้ั วเิ คราะหท์ ่ารำท่ี
ตอ้ งการนำมาใช้สอื่ สารเพื่อประกอบการแสดง

- นกั เรยี นนำเสนอท่ารำทต่ี ้องการนำมาใชส้ ่อื สารเพือ่ ประกอบการแสดง โดยมคี รผู ูส้ อนเป็นผู้
คอยแนะนำและช้ีแนะท่ารำให้ถูกต้องตรงตามความหมายของเน้ือเพลงตามท่ีแต่ละกลมุ่ เลือก

- นักเรยี นและครูร่วมกันสนทนาเก่ยี วกบั ท่ารำที่นักเรียนประดิษฐข์ ้นึ เพ่ือการแสดงประกอบ
เพลง

ขน้ั สรุป

- นักเรยี นและครูรว่ มกันสรปุ อภิปรายเกี่ยวกับ การประดิษฐ์ทา่ รำของนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ โดย
ใหค้ ำแนะนำเพ่ิมเตมิ กล่มุ ทย่ี ังมีการประดษิ ฐ์ทา่ รำทีย่ ังไม่สอดคล้องกับเนือ้ เพลง

47

คาบท่ี 11 - 12

ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น

- ทบทวนความร้เู ดมิ เรื่องการประดิษฐท์ า่ รำ
ขน้ั สอน

- นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ซ้อมปฏิบตั ิทา่ รำทต่ี ้องการนำมาใชส้ ือ่ สารเพอ่ื ประกอบการแสดง (30
นาท)ี

- นกั เรยี นสอบปฏบิ ตั กิ ารประดิษฐท์ ่ารำจากเพลงที่นักเรียนเลือก
ขน้ั สรปุ

- นักเรียนและครรู ่วมกนั สรุปอภปิ รายเกี่ยวกับ การประดิษฐ์ทา่ รำ ของนักเรยี นแต่ละกลุ่ม
คาบท่ี 13 - 14

ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรียน

- ครตู ั้งคำถามกับนกั เรียนดังน้ี
- นักเรยี นคดิ ว่าในการแสดงนาฏศลิ ป์มีส่งิ ใดเปน็ สว่ นประกอบบ้าง
- นักเรยี นคดิ วา่ ในการแสดงแต่ละประเภทมสี ่วนประกอบทแ่ี ตกตา่ งกันหรอื ไม่
- นักเรียนและครรู ่วมกันสนทนาเกยี่ วกับ เรื่ององค์ประกอบของนาฏศลิ ป์
ขน้ั สอน
- นักเรยี นรับฟงั การบรรยาย เร่ืององค์ประกอบของนาฏศลิ ป์ โดยครูผูส้ อน
องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ไทย

- นักเรยี นรบั ชมวดี ที ศั น์การแสดงระบำโบราณคดี ทง้ั 4 การแสดง (ระบำสุโขทัย ระบำศรีวชิ ัย
ระบำลพบรุ ี และระบำเชียงแสน)

48

- นักเรียนจับค่ทู ำใบงาน เรอ่ื งการเปรยี บเทียบรูปแบบการแสดง (โดยใชอ้ งค์ความรู้เร่ือง
องค์ประกอบนาฏศลิ ป)์

ขั้นสรุป
- นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปอภิปรายเก่ยี วกับ เร่อื งการเปรียบเทยี บรปู แบบการแสดงโดยใช้องค์

ความรเู้ รื่ององค์ประกอบนาฏศลิ ป์
คาบที่ 15 - 16

ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น
- นกั เรยี นชมวีดที ศั น์การแสดงละครนอก เรอื่ งพระสุธน มโนราห์
- ครูตั้งคำถามกบั นกั เรยี นดงั นี้
- นักเรียนคดิ ว่าก่อนที่จะมีการแสดงใหเ้ ราได้ชม ผ้แู สดงต้องวางแผนกอ่ นการแสดงอย่างไร
บ้าง
- ถา้ นักเรียนเปน็ คนจัดการแสดงนกั เรยี นคดิ วา่ ตนเองเหมาะสมกับหน้าท่ีใด เพราะอะไร

ขน้ั สอน
- นักเรียนรบั ฟังการบรรยาย เรื่องวธิ ีการเลอื กการแสดง โดยครูผูส้ อน
- นักเรยี นแบง่ กลุ่ม 2 กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน
- นกั เรียนส่งตัวแทนกลุ่มกลมุ่ ละ 1 คน มาจับฉลาก “สถานการณ์การจัดการแสดง”
- นกั เรียนแบ่งบทบาทหนา้ ท่ีตามสถานการณ์การจดั การแสดง (ทกุ คนตอ้ งมีบทบาทหน้าท่ีของ
ตนเอง)
- นักเรยี นนำเสนอบทบาทหน้าทข่ี องตนเองทีไ่ ด้รบั ตามสถานการณก์ ารจดั การแสดงทีไ่ ด้รบั
- นกั เรยี นฝึกซ้อมแสดงบทบาทสมมุตใิ นการจัดการแสดงตามสถานการณ์ทีไ่ ดร้ ับ โดยมี
ครูผู้สอนเป็นผ้คู อยใหค้ ำแนะนำในสว่ นท่นี กั เรียนยงั ไม่เข้าใจ

ขั้นสรุป
- นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ อภิปรายเก่ียวกบั เรื่องวธิ ีการเลือกการแสดง และบทบาทหน้าท่ีที่
ได้รบั

49

คาบท่ี 17 - 18

ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น

- นักเรยี นรบั ฟังเร่ืองเลา่ ของครู โดยครูเป็นผูเ้ ล่า
- นกั เรียนและครรู ว่ มกนั วิเคราะหส์ ถานการณท์ ่เี กิดข้ึนในเรอื่ งเลา่ ของครู

- เรอ่ื งทีเ่ กดิ ขน้ึ เกิดจากสิง่ ใด
- ครูใช้วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาถูกต้องหรือไม่
- ครูควรแก้ไขโดยใช้วิธีการใดจึงจะเหมาะสม
ขั้นสอน

- นักเรียนรับฟงั การบรรยาย เรื่องละครกบั ชวี ิต โดยครูผู้สอน
ละครส่วนใหญเ่ ป็นเรอ่ื งราวที่สะทอ้ นมาจากชีวิตขงิ คนในสังคม ซ่ึงผชู้ มสามารถเขา้ ใจ

เร่อื งราวท่ีเกิดขน้ึ ไดง้ ่าย และนำข้อคิดท่ีไดม้ าปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพราะละครส่วนใหญ่จะสอดแทรก
เรื่องราวด้านจรยิ ธรรมและศลี ธรรม ซ่ึงละครส่วนใหญจ่ ะมคี วามเกีย่ วข้องกับชวี ิตของคนในสังคม ซง่ึ ผเู้ ขยี นบท
ประพันธจ์ ะสอดแทรกเร่ืองราว ข้อคิดตา่ งๆ ไว้ในเน้ือเรอื่ ง ซึ่งผู้ประพนั ธ์จะตอ้ งคำนงึ ถึงคุณค่าของละครกบั
ชีวิตของคนในสงั คมและคำนึงถงึ สิ่งต่างๆ ดงั นี้

ด้านสติปัญญา คณุ คา่ ทางอารมณ์ คณุ ค่าทางอารมณ์

คอื มีขอ้ คิดปรชั ญาอะไรท่แี ฝง ละครหรอื ภาพยนตร์เป็นส่งิ ท่ี คอื คุณคา่ ท่ีสัมผัสได้ทางหู ตา
อยใู่ นละครบ้าง เช่น การ มนุษย์นำมาชมเพื่อความผ่อน สิง่ เหลา่ น้อี าจเปน็ คุณคา่ ที่
สอดแทรกความรู้ ข้อคิดต่างๆ ท่ี คลายทางอารมณ์ เพ่ือความ กอ่ ใหเ้ กิดความซาบซึง้ ในด้าน
นำมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันได้ สบายใจ คลายเครียด ทำใหเ้ กิด สุนทรียก์ ไ็ ด้
ความสขุ เมื่อได้ชม

- นักเรียนคิดวเิ คราะห์ เรอื่ งราวท่เี คยเกิดขน้ึ จริงในชีวิตของตนเอง พร้อมท้ังจดบนั ทึกลงในกระดาษ
(เรอ่ื งท่ีเกิดขนึ้ เกดิ เปน็ อยา่ งไร เกิดจากสง่ิ ใด ใช้วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร ถูกต้องหรือไม่ และ
ควรแกไ้ ขโดยใช้วธิ ีการใดจงึ จะเหมาะสม)

- นกั เรียนนำเสนอเร่ืองราวของตนเองหนา้ ช้นั เรยี น
- นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ ในการเลอื กเร่อื งราวของเพ่ือนในชัน้ 1 เร่ือง เพื่อนำมาจัดแสดง

ละครส้ัน


Click to View FlipBook Version