The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รัชกาลที่ 7 พระราชประวัติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ประสาร ธาราพรรค์, 2021-06-23 08:25:28

รัชกาลที่ 7 พระราชประวัติ

รัชกาลที่ 7 พระราชประวัติ

พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 7

ผู้เรียบเรียงนายประสาร ธาราพรรค์

พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีท่ีมีพระราชประวัติท่ีแปลกน่าศึกษาอีกพระองค์ คือ
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู วั รัชกาลท่ี 7 ซึ่งพระองค์เป็นพระโอรสรชั กาลที่ 5 ซ่ึง
ตามความเปน็ จรงิ โอกาสท่ีพระองค์จะได้ข้ึนครองราชย์เป็นเรื่องท่ีแทบเป็นไปไม่ได้ เพราะ
พระองค์เป็นโอรส ระดับที่ 7 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทรบรมราชินีนาถ(รวมพระโอรส
พระธิดา รชั กาลที่ 7 อยูใ่ นอันดบั ท่ี 14) ซ่ึงรัชกาลที่ 6 เป็นพระโอรส ระดับที่ 1 ในสมเด็จ
พระศรีพัชรินทรบรมราชินี และรัชกาลที่ 7พระองค์ยังมีพระเชษฐา อีก 5 พระองค์ ที่มี
โอกาสขนึ้ ครองราชย์กอ่ นพระองค์แต่ท้ายสุดพระองค์ก็ได้ขน้ึ ครองราชย์ เมื่อได้ครองราชย์
ยงั มีปัญหาการเมอื งตดิ ตามมาถึงขั้นทพ่ี ระองค์จาเปน็ ตอ้ งสละราชสมบตั แิ ละเสดจ็ ไปพานกั
ตา่ งประเทศและส้ินพระชนมท์ ่ีต่างประเทศ พระราชประวัติที่สาคัญของพระองค์ท่ีคนไทย
จดจาไดถ้ งึ ทกุ วนั น้ี คอื การพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับแรกของประทศไทย

พระราชประวตั ิ

พระทนี่ งั่ สทุ ธาศรีอภริ มย์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น
พระมหากษตั รยิ ์ในราชวงศจ์ ักรี ลาดบั ที่ 7 แห่งราชอาณาจกั รสยาม พระองคเ์ สด็จพระราช
สมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่า เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 นาฬิกา หรือตรงกับวันท่ี 8
พฤศจกิ ายน พ .ศ.2436 ณ พระท่ีนั่งสุทธาศรีอภริ มย์
พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ท่ี 76 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจา้ อยหู่ ัว เปน็ ปที ี่ 9 ในสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ สมเดจ็ พระพนั ปหี ลวงมพี ระ
นามเดิมว่า ทรงมีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าชายประชาธิปกศักดิเดชน์ ธเนศรมหา
ราชาธิราชจุฬาลงกรณน์ าถวโรรส อุดมยศอุกฤษฐศักด์ิ อุภัยปักษนาวิล อสัมภินชาติพิสุทธ์ิ
มหามงกุฎราชพงศบรพิ ัตรบรมขตั ติยมหารชั ฎาภษิ ิยจนพรรโษทัย มงคลสมยั สมากร สถาวร
รัจฉริยคุณ อดุลยราชกุมาร” พระนามทั่วไปเรียกว่า “ทูล กระหม่อมเอียดน้อย” สมเด็จ

พระบรมราชชนนีทรงเรียกพระองค์ว่า “เอียดน้อย” และเนื่องจากพระพลานามัยไม่ค่อย
สมบรู ณ์ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงมอบพระองค์ให้อยู่ในพระอภิบาลของเจ้าจอมมารดา
เยื้อน ในรชั กาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงไดร้ ับการศกึ ษาข้นั แรกเมื่อ
พระชนมายุ 7 พรรษา โดยทรงศึกษาวชิ าภาษาไทยกับพระยาอิศรพันธ์ุโสภณ (หนู อิศราง
กูร ณ อยุธยา) ต่อมาสมเด็จพระบรมชนกนาถได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเป็นนักเรียนใน
โรงเรยี นนายรอ้ ยพิเศษ จากนั้นทรงเข้าพิธีโสกันต์ในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2448 ณ พระที่
น่ังดุสติ มหาปราสาทพร้อมกับสถาปนาข้ึนเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปก
ศกั ดิเดชน์ กรมขนุ สโุ ขทยั ธรรมราชา มสุ กิ นาม

การศึกษา

วทิ ยาลยั อตี นั Eton College
พระองค์ทรงเสด็จไปศึกษาวิชาการท่ีประเทศอังกฤษ เม่ือกรกฏาคม พ.ศ. 2449
ในขณะนั้น พระองค์มีพระชนม์มายุเพยี ง 13 พรรษา ทรงศกึ ษาวชิ าสามญั ในวิทยาลยั อตี ัน
ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมช้ันหน่ึงของอังกฤษ เมื่อสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยอีตันแล้วทรง

สอบเข้าศึกษาต่อท่ีโรงเรียนนายร้อยทหารที่เมืองวูลิช (Royal Military Academy
Council) โดยทรงเลือกศึกษาวิชาทหารแผนกปืนใหญ่ม้า แต่ขณะน้ันพระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ.2453 พระองค์จึงเสด็จกลับประเทศไทยเพื่อ
เขา้ ร่วมพิธีพระบรมศพ แล้วจงึ เสดจ็ กลับไปศึกษาตอ่ จนจบการศึกษา

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ต่อมาพระองค์ทรงเข้าประจาการ ณ กรมทหารปืนใหญ่ม้าอังกฤษท่ีเมืองอัลเดอร์
ชอต (Aldershot) และได้รับอนุญาตให้ทรงเคร่ืองแบบนายทหารอังกฤษใน
สงั กดั “Battery Royal Horse Artillery” พระองคท์ รงไดร้ บั สญั ญาบัตรเป็นนายทหาร
ยศร้อยตรีกิตติมศักด์ิแห่งกองทัพอังกฤษ และในการที่พระองค์สาเร็จการศึกษาจากสถาน
ที่นี้ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหด้ ารงตาแหนง่ พระยศนาย
ร้อยตรนี อกกองสังกดั กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ต่อมาได้เลื่อนข้ึนเป็นนายร้อยโท
และนายทหารนอกสงั กดั กรมทหารนอกกองสังกดั กรมทหารปืนใหญร่ ักษาพระองค์

พระวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ จรญู ศกั ดิ์ กฤษดากร

ในปีพ.ศ.2457 ได้เกิดสงครามโลกข้ึนในยุโรป แต่เน่ืองจากพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริว่าสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอยังทรงศึกษาวิชาการ
ทหารไดเ้ พยี งครงึ่ ๆ กลางๆ หากจะกลับเมอื งไทยกย็ งั ทาคณุ ประโยชนใ์ ห้กบั บ้านเมอื งได้ไม่
เตม็ ที่จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจรูญศักดิ์ กฤษดากร ทรงจัดหาครู
เพ่ือสอนวิชาเพิ่มเติมให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ โดยเน้นวิชาท่ีจะเป็นคุณประโยชน์แก่
บา้ นเมือง คือ วิชากฎหมายระหว่างประเทศ พงศาวดารศกึ และยุทธศาสตร์การศึก แต่
ต่อมาสงครามได้ทวีความรุนแรงขึ้นมาก ทาให้การหาครูมาถวายพระอักษรเป็นเร่ือง
ลาบาก เนอ่ื งด้วยนายทหารที่มคี วามสามารถตอ้ งออกรบในสงคราม พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอเสดจ็ กลบั ประเทศไทย ใน
ปพี .ศ. 2458

จอมพลสมเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานารถ

ครั้นเมื่อเสด็จกลับประเทศไทย ทรงเข้ารับ
ราชการในตาแหน่ง นายทหารคนสนิทพิเศษจอมพลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรม
หลวงพษิ ณุโลกประชานารถ ผู้ทรงเป็นพระเชษฐาในพระองค์ซึ่งดารงตาแหน่งเป็นเสนาธิ
การทหารบก จากน้ันพระองค์ทรงเล่ือนเป็นผู้บังคับบัญชาการกองพันน้อยท่ี 2 ใน
ตาแหน่งนายทหารเสนาธิการ และต่อมาเลื่อนเป็นนายพันตรีแล้วเป็นพันโทบังคับการ
โรงเรียนนายร้อยชั้นประถม ภายหลังได้เล่ือนตาแหน่งเป็นลาดับจนเป็นนายพันเอก มี
ตาแหน่งเป็นปลัดกรมเสนาธิการทหารบก ก่อนขึ้นครองราชสมบัติมีตาแหน่งเป็นผู้
บญั ชาการกองพลทหารราบท่ี 2และเป็นผบู้ ังคบั การพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ในคราว
เดยี วกัน และตอ่ มา พระองค์ก็ไดร้ ับการสถาปนาขนึ้ เปน็ สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอเจา้ ฟา้
ฯ กรมหลวงสโุ ขทยั ธรรมราชาในระยะแรกท่ีทรงเข้ารบั ราชการ พระองคป์ ระทบั อยู่ ณ วงั

พญาไทรว่ มกับสมเดจ็ พระบรมราชชนนี และนอกจากวงั พญาไทแลว้ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฯ กรม
หลวงพิษณุโลกประชานารถ ยังประทานบ้านท่าเตียนให้เป็นที่ประทับอีกแห่งหนึ่งด้วย
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอทรงปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณในตาแหน่งหน้าที่การ
งานตา่ ง ๆ เปน็ ที่เรียบรอ้ ยมาโดยตลอด
ทรงผนวช

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงผนวช
ในปี พ.ศ. 2460 จึงทรงลาราชการเพื่อ ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้ว
เสด็จ ประทบั จาพรรษา ณ วดั บวรนิเวศวิหาร เม่ือสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอทรงลาผนวช
และเสด็จเขา้ รบั ราชการอกี ครั้งเป็นท่เี รยี บรอ้ ย

ทรงอภิเษกสมรส

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และหมอ่ มเจา้ หญงิ ราไพพรรณี
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระมหากรุณาธิคุณตรัสขอ หม่อมเจ้า
หญิงราไพพรรณี ให้และประกอบพระราชพิธีมงคลสมรส ณ พระที่นั่งวโรภาส
พิมาน พระราชวังบางปะอนิ พระนครศรอี ยุธยา ในวนั ท่ี 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2461

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และหมอ่ มเจา้ หญงิ ราไพพรรณี

ทรงศกึ ษาตอ่ ในสถานศกึ ษาตา่ งประเทศ

หลังจากท่ที รงอภเิ ษกสมรส และรบั ราชการเปน็ ท่เี รยี บร้อยแล้ว พระองค์ก็ทรง
ประสบปัญหาเก่ียวกับพระพลานามัย จึงจาเป็นต้องลาราชการไปพักรักษาตัวในที่ๆ มี
อากาศเย็นตามความเห็นของคณะแพทย์ พระองค์เสด็จไปพักรักษาตัวท่ียุโรปในปีพ.ศ.
2463 และไปทรงศึกษาวิชาทหารต่อในโรงเรียนเสนาธิการทหาร Ecole de Guerre ที่
ประเทศฝรั่งเศส ทรงสาเร็จการศกึ ษา เม่อื พ.ศ. 2467 ผลการศึกษาของพระองค์จัดอยู่
ระดับดีถึงดีมาก วิชาท่ีทรงทาคะแนนได้ดีมากคือ การวางแผนกลยุทธ์ วิชาปืนใหญ่ วิชาที่
ทรงได้คะแนนนอ้ ยทีส่ ดุ คือขี่ม้า พระอาจารยส์ งั เกตวา่ ทรงมขี ้อจากดั ด้านพระวรกาย จึงทา
ให้ทรงฝึกได้เฉพาะม้าขนาดเล็กและขี่ได้ง่ายเท่าน้ัน แต่ก็ยังทรงมีหลักการทรงม้าที่
ถูกตอ้ ง ทรงน่ิงและวางพระองค์ได้อย่างม่ันคง ไม่ทรงแสดงความกลัว ทรงได้รับความช่ืน
ชมวา่ มีพระสติปญั ญาฉลาด สุขุม อ่อนโยน มีความรู้รอบตัวลึกซึ้ง สนพระทัยความรู้หลาย
ด้าน ไม่เพียงเฉพาะการทหาร แต่เร่ืองการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วรรณกรรม ศาสนา มี

รับสงั่ ภาษาฝรั่งเศสได้อย่างคลอ่ งแคล่วปรีชาสามารถ ทรงปรับพระองคไ์ ดด้ ี เปน็ สภุ าพบรุ ษุ
ทสี่ ารวม วางพระองค์เหมาะสม มีพระวิริยอตุ สาหะในการศกึ ษา

ระหว่างประทบั ทฝี่ รงั่ เศส ทรงมคี วามเปน็ อย่อู ยา่ งนายทหารฝร่ังเศสสามัญชน ยาม
วา่ งจะทรงขับรถชมบา้ นเมอื งท่องเทยี่ วไปในสถานทต่ี ่างๆ ทอดพระเนตรกีฬา เช่น การชก
มวย หมอ่ มเจ้าหญงิ ราไพพรรณี พระชายากท็ รงศกึ ษาภาษาฝรั่งเศส
ทรงสาเร็จการศกึ ษาเสดจ็ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

หลงั จากท่ีทรงสาเรจ็ การศกึ ษาและทรงรับประกาศนียบัตรเปน็ นายทหารฝา่ ยเสนาธิ
การเสมอเหมือนกับนายทหารฝรั่งเศสแล้ว สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนฯ และพระชายาได้เสด็จ
กลับส่สู ยาม โดยเสดจ็ ออกจากกรุงปารีสเม่ือวนั ท่ี 16 กนั ยายน พ.ศ.2467 ไปประทับเรอื เล
ไวอายัน ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปยังฝ่ังตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงมี
ระบอบการปกครองแบบสาธารณรฐั การเสดจ็ กลบั จากยุโรปดว้ ยเสน้ ทางนี้ พระบาทสมเดจ็
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ครั้งท่ียังทรงเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยาม
มกฎุ ราชกุมาร เคยทรงใชม้ าแลว้

เม่ือสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนฯ และพระชายาเสด็จถึงเมืองนิวยอร์กในวันท่ี 22 เดือน
เดียวกันนัน้ ปรากฏวา่ ระหว่างประทบั อยู่ท่เี มืองน้นั บรรดาสื่อมวลชนได้แสดงความสนใจ
ในพระองค์และพระชายาและไดต้ ดิ ตามรายงานตามระยะทางเสดจ็ อยเู่ นืองๆ ครัน้ วนั ที่ 27
ไดเ้ สด็จจากนิวยอรก์ ไปทรงเยอื นเมอื งตา่ งๆ เชน่ ฟิลาเดลเฟีย บอสตัน บัฟฟาโล และชิคา
โก เป็นต้น แล้วเสด็จโดยทางรถไฟมุ่งสู่เมืองลอสแองเจลิสทางตะวันตกของประเทศ โดย
ระหวา่ งทางเสดจ็ ได้ทอดพระเนตรหุบเขาแกรนด์แคนยอน ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอัน
ลือชื่อ ประทับอยู่ที่ลอสแองเจลิส 5 วนั แล้วเสดจ็ ไปทอดพระเนตรอุทยานแหง่ ชาติโยสมิติ
(Yosemite National Park) จากน้ันเสด็จไปทางเหนือยงั เมอื งซานฟรานซสิ โก ประทับอยู่
3 วันจึงประทับเรือเดินสมุทรโตโยมารูในวันท่ี 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 เสด็จไปยัง
ประเทศญี่ปุ่น ระยะรอบเวลาในสหรัฐอเมริกาหน่ึงเดือนกว่า ซ่ึงน่าจะแสดงว่าทรงมีความ
สนพระทัยในกิจการต่างๆ ท่ีรุดหน้าทันสมัยในประเทศนี้ ซ่ึงไม่เคยมาดหมายให้สยามเป็น
อาณานิคมของตน และสยามได้ว่าจ้างชาวอเมริกันเป็นที่ปรึกษาการต่างประเทศอย่าง
ต่อเนื่องมาตลอด การเสด็จคร้งั นเ้ี ป็นการส่วนพระองค์ (private visit) แตก่ ารรบั เสดจ็ ในทงั้
สองประเทศไดเ้ ป็นไปอย่างสมพระเกยี รติ

เสด็จประเทศญ่ีปนุ่

ครั้นวันที่ 22 พฤศจิกายน ได้เสด็จถึงเมืองโยโกฮามา ประเทศญ่ีปุ่น ซึ่งมีพระเจ้า
จักรพรรดิปกครองคล้ายกับของสยามในเวลานั้น ค่าวันน้ันจึงได้เสด็จไปทรงลงพระนาม
เย่ียมเคารพองค์พระจักรพรรดินีและพระยุพราช วันรุ่งขึ้นพระเจ้าจักรพรรดิโปรดฯ ให้
ผแู้ ทนพระองคม์ าเคารพตอบ ชว่ งบ่ายเสดจ็ ไปทอดพระเนตรวดั และศาลเจา้ ดอกเบญจมาศ
เป็นต้น วันท่ี 24 เสด็จไปทรงเคารพอนุสาวรีย์ทหารที่ส้ินชีพในสงครามที่ Yasukuni
Shrine ทรงปลูกต้น Sakaki ไว้เป็นที่ระลึก แล้วเสวยพระกระยาหารกลางวันกับเสนาบดี
กระทรวงกลาโหมของญี่ปุ่น ผู้ได้ถวายดาบญ่ีปุ่นโบราณ 1 เล่ม (ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ท่ี
พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) วันที่ 25 กระทรวงวังของญ่ีปุ่นกราบ
บังคมทูลเชิญเสด็จไปทรงจับนกเป็ดน้าที่วัง Hama Detached Palace แล้วเสวยพระ
กระยาหารกลางวัน ณ ท่ีนั้น บ่ายเสด็จโดยรถไฟพิเศษไปยังเมืองนิกโก ประทับเพ่ือ
ทอดพระเนตรเมืองนั้นอยู่จนวันท่ี 27 จึงเสด็จกลับสู่กรุงโตเกียว สมเด็จพระยุพราชกราบ
บังคมทูลเชิญเสด็จไปเสวยพระกระยาหารกลางวันเป็นการส่วนพระองค์ที่วัง Asaka

Detached Palace เสด็จออกจากกรุงโตเกียวโดยรถไฟพิเศษ ถึงเมืองเกียวโตวันท่ี 28
เสด็จไปทอดพระเนตรสถานที่ต่างๆ คร้ันเวลาค่า ท่านไวส์เคาต์คูโรคากราบบังคมทูลเชิญ
เสดจ็ ไปเสวยพระกระยาหารญปี่ นุ่

วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน เวลาค่า สมุหเทศาภิบาลกราบบังคมทูลเชิญเสวยพระกระยา
หารญปี่ นุ่ อยา่ งหรูหรา และวนั ท่ี 30 กลางวัน นาย K. Inabata แห่งสภาหอการค้าเมืองโอ
ซากากราบบังคมทลู เชิญเสด็จไปเสวยพระกระยาหารญ่ปี นุ่ ทบ่ี า้ นสว่ นตวั ของเขา (เข้าใจว่า
พระบรมรูปท่ีทรงฉลองพระองคก์ โิ มโน ไดฉ้ ายในโอกาสนี้) เสรจ็ แลว้ ถวายหมวกเกราะทหาร
ญป่ี นุ่ โบราณ เวลาค่านายโอกรุ ากราบบงั คมทูลเชญิ เสดจ็ ไปเสวยทเี่ กยี วโตโฮเต็ล แลว้ ถวาย
หบี ลงรักทองราคาสูง วันที่ 1 ธนั วาคม เสด็จโดยรถไฟพิเศษไปเมอื งนารา แลว้ เสดจ็ ตอ่ ไปยงั
เมอื งโอซากา วันท่ี 3 เสด็จตอ่ ไปเมอื งชโิ นโยเซกิ เมืองนางาซากิ เสด็จไปเมืองอุนเซนเพ่ือ
ทอดพระเนตรนา้ พุร้อน ทรงกอล์ฟบนภเู ขา สมหุ เทศาภบิ าลถวาย toilet set (เครื่องทรง
พระสาอาง) ทาด้วยกระ 1 สารบั คนื วันที่ 5 ธนั วาคม ประทับเรือเดินสมุทรเอมเปรสออฟ
เอเชียออกจากเมืองนางาซากิ นับได้ว่าไดเ้ สด็จฯ ไปเมอื งท่สี าคัญๆ ในประเทศญีป่ ุ่น

ในการเสด็จกลับนี้ทรงแวะประทับแรมท่ีฮ่องกง 3 วัน แล้วเสด็จโดยเรือมันตัง
(Mantan) ไปยังสิงคโปร์ ประทับท่สี ถานกงสลุ สยามทนี่ นั่ หน่งึ คนื จงึ เสดจ็ โดยรถยนต์ไปยัง
เกาะปีนัง ประทับแรมอยู่หน่ึงคืน แล้วเสด็จโดยรถไฟกลับสู่กรุงเทพฯ เสด็จถึงในวันที่ 27
ธนั วาคม พ.ศ.2467

เสด็จนิวัตกิ ลับประเทศไทย

เม่ือเสด็จฯ กลับถึงประเทศไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เข้ารับราชการใน
ตาแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก เล่ือนพระยศขึ้นเป็น นายพันเอกทรงดารงตาแหน่ง
ผู้บังคับบัญชาการกองพลทหารบกท่ี 2 และผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ท่ี 2
ตามลาดับ ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ทรงดารงตาแหน่งรัชทายาททรงปฏิบัติ
ราชการแทนพระองค์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราเสด็จแปรพระราชฐานไป
ประทบั นอกพระนคร

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ ัวเสด็จสวรรคต

ในปี พุทธศักราช 2468 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ
สวรรคต สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงษ์วรเดช ได้ทรงเป็น
ประธานในท่ีประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และเสนาบดี เพื่อปรึกษาหารือเร่ืองการ
สืบราชสมบัติ ซึ่งจากการพิเคราะห์พระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัวที่ทรงแสดงไว้ในพระราชหัตถเลขานิติกรรมจะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงไว้วางพระราชหฤทัยในสมเด็จพระอนุชาธิราชมาก ทว่าสมเด็จ
เจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ไม่เต็มพระทัยจะรับราชสมบัติ โดยทรงอ้างว่ายังมี
เจ้านายที่อาวุโสมากกว่าพระองค์ แต่ในท่ีประชุมลงความเห็นเป็นเอกฉันท์ไว้วางใจใน
พระองค์ และต้องการปฏิบัติตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยู่หัว จงึ พร้อมใจกันเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ข้ึนครองราชย์
เป็นพระมหากษตั รยิ ์พระองคท์ ี่ 7 แหง่ กรุงรัตนโกสินทร์

ข้ึนครองราชย์

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์มีพระนามเต็มว่า
"พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก มหันตเดชนดิลกรามาธิบดี เทพยปรียา
มหาราชรวิวงศ์ อสัมภินพงศพีระกษัตรบุรุษรัตนราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิ
ราชสังกาศ อุภโตสชุ าตสังสทุ ธเคราะหณี จกั รีบรมนาถจฬุ าลงกรณ ราชวรางกรู มหมกฏุ วง
ศวรี สรู ชิษฐ ราชธรรมทศพธิ อุต์กฤษฎานบิ ณุ ย์อดลุ ยฤษฎาภินหิ าร บูรพาธกิ ารสสุ าธิต ธันย
ลักษณ์วิจิตรเสาวภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคมานท สนธิมตสมันตสมาคม บรมราช
สมภาร ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณ อดุลยศักดิเดช สรรพเทเวศปริยานุรักษ์ มงคลล
คนเนมาหวัยสุโขทัยธรรมราชา อภเิ นาวศลิ ปศกึ ษาเดชาวุธ วชิ ยั ยทุ ธศาสตรโ์ กศล วมิ ลนรรย
พินติ สจุ ริตสมาจาร ภัทรภิชญาณ ประดภิ านสนุ ทร ประวรศาสโนปสุดมภก มลู มุขมาตยวร
นายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยมจร บรมเชษฏโสทรสมมต เอกราชยยศสธิคม
บรมราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉัตร ศรีรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิศิกต์

สรรพทศทิศวิชิตเดโชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธิราช
วโรดม บรมนาถชาตอิ าชาวศรัย พุทธาธไิ ตรรตั นวศิ ษิ ฎศกั ด์ิอคั รนเรศวราธิบดี เมตตากรณุ า
ศีตลหฤทัย อโนปไมย บุณยการ สกลไพศาลมหารัษฎราธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกมหา
ราชาธริ าช บรมนาถบพติ ร พระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั "

ตราประจารัชกาลที่ 7
พระบรมราชสัญลักษณ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เรียกว่า พระ

ราชลญั จกรพระแสงศรเป็นรูปพระแสงศร 3 องค์ คือ พระแสงศรพรหมาสตร์ พระแสงศร
ประลัยวาต พระแสงศรอคั นีวาต เหนอื ราวพาดพระแสงเป็นดวงตรามหาจักรีบรมราชวงศ์
ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ เบื้องซ้ายและเบื้องขวาของราวพาดพระแสงตั้งบังแทรก
สอดแทรกด้วยลายกนกอยู่บนพ้ืนตอนบนของดวงตรา พระแสงศร 3 องค์นี้ เป็นพระราช
สญั ลกั ษณ์ของพระบรมนามาภิไธยว่า “ประชาธิปกศักดิเดชน์” ซ่ึงมาจากความหมายของ
ศัพท์ คาสุดทา้ ยของวรรคทว่ี า่ “เดชน์” แปลวา่ ลกู ศร

จดั ตงั้ คณะอภริ ฐั มนตรี
เม่ือพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์จัดตั้ง “คณะอภิรัฐมนตรี” ข้ึน เพ่ือ

ทาหน้าที่ถวายคาปรึกษาเก่ียวกับราชการแผ่นดิน และราชการในพระองค์ ด้วยทรง
พระราชดารวิ ่า “ไม่ทรงสันทัดในการแผ่นดินมากนกั ” คณะอภิรัฐมนตรีนปี้ ระกอบไปด้วย
พระบรมวงศานุวงศช์ ั้นผ้ใู หญ่ 5 พระองค์ คือ

1. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฯ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งษว์ รเดช
2. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฯ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ
3. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฯ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์
4. สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ
5. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระจนั ทรบรุ นี ฤนาท

ในช่วงระยะเวลาท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์
สมบัติ เป็นระยะท่ีทุกประเทศทั่วโลกกาลังประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ อันเป็นผล
เนอ่ื งมาจากสงครามโลกครั้งท่ี 1 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรง ต่อสกู้ บั ปญั หา
ดังกล่าวด้วยการประหยัด โดยทรงเร่ิมจากตัดทอนรายจ่ายส่วนพระองค์ก่อน จากน้ันทรง
ตัดทอนรายจ่ายของแผ่นดินลงทุกวิถีทางเท่าท่ีจะกระทาได้ เริ่มด้วยการยุบรวมหน่วย
ราชการที่พอจะรวมกันได้ โดยมกี ารดุล (ปลด) ข้าราชการทล่ี น้ งานออกจากกระทรวง ทบวง
กรมต่างๆ มากมาย ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการเป็นอันมาก และการ
แก้ปัญหาด้วยวิธีการดังกล่าวก็ไม่สามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศให้ดีได้ ประกอบกับ
ขณะนั้นมีพวกข้าราชการและนายทหารท่ีกลับจากการไปศึกษาต่างประเทศ และมีหัวคิด
รุนแรงต้องการจะเปล่ียนแปลงระบบการปกครองเสียใหม่ เพราะเข้าใจว่าจะเป็นหนทาง
แกป้ ัญหาทางบา้ นเมอื งได้

การเปลยี่ นแปลงการปกครอง

คณะราษฎร

เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ พระองคไ์ ดโ้ ปรดเกลา้
ฯ ให้สร้างพระราชวังทีป่ ระทับ ณ จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ พระราชทานนามว่า พระราชวัง
ไกลกังวล

หลังจากที่พระองค์ทรงครองราชย์ได้ 7 ปี ในเช้ามืดของวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.
2475 ระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จไปประทับที่พระราชวังไกล
กังวล “คณะราษฎร” นาโดย พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาก็ได้เข้ายึดอานาจการ
ปกครองแผ่นดินทก่ี รงุ เทพมหานคร โดยเข้าควบคมุ พระบรมวงศานวุ งศบ์ างพระองค์ และ
ขา้ ราชการตาแหน่งสาคัญๆ ไว้เป็นตัวประกัน แล้วส่งหนังสือไปกราบบังคมทูลเชิญเสด็จนิ
วัติกลับพระนครเพ่ือเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญการปกครองที่คณะราษฎรได้
ทาขึ้น ซึง่ แม้ว่าพระองค์จะได้ทรงเตรยี มพระราชทานอานาจอธปิ ไตยนแ้ี กป่ ระชาชนอยแู่ ลว้
แต่เมือ่ คณะราษฎรแสดงออกถงึ ความปรารถนาอันแรงกลา้ เช่นนี้ พระองค์ก็มิได้ทรงถือทิฐิ

มานะ โดยทรงละพระบรมเดชานภุ าพ ยอมรับการเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
และหลังจากเสด็จพระราชดาเนินกลบั คนื สู่พระนครแลว้ ทรงพระราชทานรฐั ธรรมนญู ฉบบั
ชว่ั คราวให้ เม่ือวันท่ี 27 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475

ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามฉบับแรก เม่ือวันที่ 10
ธันวาคม พ.ศ. 2475 เม่ือคณะราษฎร์ยึดอานาจได้แล้ว จึงประกาศใช้หลัก 6 ประการ
บรหิ ารประเทศได้แก่ หลักเอกราช หลกั ความปลอดภยั หลักเศรษฐกิจ หลักเสมอภาค หลกั
เสรภี าพ หลกั การศึกษา

1. จะตอ้ งรกั ษาความเปน็ เอกราชทงั้ หลาย เช่น เอกราชทางการเมอื ง ทางการศาล
ทางเศรษฐกิจของประเทศ ไวใ้ หม้ นั่ คง

2. จะตอ้ งรกั ษาความปลอดภยั ในประเทศ ใหก้ ารประทษุ รา้ ยตอ่ กนั ใหน้ อ้ ยลงมาก
3. จะตอ้ งบารงุ ความสขุ สบายของราษฎรในทางเศรษฐกจิ โดยรฐั บาลจะจดั หางานให้
ราษฎรทาและจดั วางโครงการเศรษฐกจิ แห่งชาติ ไมป่ ลอ่ ยใหร้ าษฎรอดอยาก

4. จะตอ้ งใหร้ าษฎรมสี ทิ ธิเสมอภาคกนั
5. จะตอ้ งใหร้ าษฎรมีเสรภี าพ มคี วามเปน็ อสิ ระ เมอื่ มเี สรภี าพไมข่ ดั ตอ่ หลกั 4
ประการดงั กลา่ วขา้ งตน้
6. จะตอ้ งให้การศกึ ษาแกร่ าษฎรอยา่ งเตม็ ที่
กบฏบวรเดช

พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ บวรเดช
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ.

2475 ได้ทรงวิพากษ์วิจารณ์เรื่องการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างเปิดเผย
คณะราษฎร โดย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรได้ลองทาบทาม
พระองค์ เพื่อดูทา่ ที แตพ่ ระองค์ไดร้ บั ส่ังให้พระยาพหลฯ และพรรคพวกเขียนความเห็นใน
เรื่องการเปล่ียนแปลงการปกครองลงหนังสือพิมพ์ ทานองขอประชามติเช่นเดียวกับ

อารยประเทศในทวีปยโุ รป ซึง่ พระยาพหลฯกราบทลู วา่ ผทู้ ท่ี าเชน่ นน้ั ตดิ คกุ ไปแลว้ หลายคน
วิธีท่ีดีที่สุดคือ ใช้กาลังบุกจู่โจมจับคณะอภิรัฐมนตรีขังไว้ แล้วกราบขอพระราชทาน
รัฐธรรมนูญ กค็ งจะสาเรจ็ แต่ พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ได้ทรงตอบพระยาพหล
ฯไปว่า ตัวพระองคเ์ กิดในพระราชวงศ์จักรี หากทาเช่นนัน้ จะไดช้ ่อื ว่าอกตัญญู

พระยาพหลพลพยหุ เสนา
ในการเปล่ียนแปลงการปกครอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ถือเป็น
เจ้านายระดบั สูงเพยี งไม่กพ่ี ระองค์ทไ่ี ม่ถกู ควบคุมองค์ไวใ้ นฐานะองคป์ ระกนั แตใ่ นเวลาราว
23.00 น. ของคืนวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันป็นวันท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครอง
ณ พระท่ีนั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นสถานท่ี ๆ คณะราษฎรได้ยึดกุมเอาไว้เป็นสถานท่ี
บัญชาการ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก็ยังได้ไปปรากฏพระองค์ที่หน้าพระท่ีน่ัง
อนันตสมาคม ทรงแจง้ ความประสงค์ว่า จะขอพบกับหัวหน้าคณะผู้ก่อการ เม่ือได้พบแล้ว
พระองค์ท่านได้สนทนาเพียงสั้น ๆ ว่า ทาอะไรกัน ทาไมไม่บอกให้รู้กันก่อน เมื่อหัวหน้า

ผู้กอ่ การ คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดท้ ูลตอบวา่ จะให้ทรงทราบไม่ได้ ไม่เช่นน้ันจะไม่
สาเร็จ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช จึงกล่าวว่า เม่ือทาแล้ว ก็ขอให้ทาให้ถึงท่ีสุด
เสร็จแล้วก็เสด็จกลับ

ภายหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกดิ ความแตกแยกในคณะราษฎร
พระยาพหลพลพยหุ เสนา กอ่ รัฐประหารยดึ อานาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา และ
ข้ึนดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับผู้นาในคณะราษฎรหลายครั้งเกี่ยวกับ
แนวทางการเมืองของประเทศ สาเหตุสาคัญมีอาทิการกาหนดสถานภาพของ
พระมหากษัตรยิ ์ในระบอบการปกครองใหม่ จนถงึ ขอ้ เสนอของนายปรีดี พนมยงคท์ เ่ี รยี กวา่
"เค้าโครงเศรษฐกจิ " ซ่ึงนาเสนอรัฐสภาและทลู เกล้า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ฯ เพ่ือมีพระราชวนิ จิ ฉยั ซึง่ ทรงวพิ ากษว์ ิจารณ์ขอ้ เสนอดงั กลา่ วอย่างรนุ แรง โดยทรงเหน็ วา่
จะส่งผลกระทบต่อพื้นฐานทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ซึ่งอาจจะ
นาไปสู่ความวุ่นวายได้ ขณะที่ฝ่ายคณะราษฎรถือว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นการต่อต้านการ

เปล่ียนแปลงและเป็นความต้องการรักษาอานาจของ "ฝ่ายศักดินา" หรือ "ระบอบเก่า"
ความขัดแย้งดังกล่าวขยายตัวชัดเจนมากขึ้นจนมีการอภิปรายในรัฐสภาคัดค้านเค้าโครง
เศรษฐกจิ ดงั กลา่ ว กดดนั ใหน้ ายปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางไปพานกั ในฝร่งั เศส กอ่ นท่ีผู้นา
ฝา่ ยทหารของคณะราษฎรคือ พระพหลพลพยุหเสนา ต้องก่อรัฐประหารเพื่อรักษาอานาจ
ของคณะราษฎรไว้ ทาใหค้ วามขัดแยง้ ของทั้งสองฝ่ายรนุ แรงมากขน้ึ

ทหารฝา่ ยพระองคเ์ จา้ บวรเดช
วนั ท่ี10 ตุลาคม 2476 เวลาประมาณ 09.00 นับเป็นเวลา 1 ปี กับ 4เดือน
เ ท่ า น้ั น ห ลั ง จ า ก ค ณ ะ ร า ษ ฎ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง ส ย า ม ม า เ ป็ น ร ะ บ อ บ
ประชาธิปไตย ทหารกลุ่มหน่ึงพร้อมอาวุธครบมือก็บุกเข้ายึดท่ีทาการเทศาภิบาลจังหวัด
นครราชสีมา แลว้ คุมตวั ผู้รักษาราชการจงั หวดั พร้อมกบั ขา้ ราชการใหญ่น้อยอีกหลายนาย
ไปกกั ขังไว้ ในเวลาเดยี วกนั พลเอกพระองคเ์ จา้ บวรเดช พร้อมด้วยพันโทพระปัจนึกพินาศ
(แปลก เอมะศิริ)ผู้บังคับการจังหวัดทหารบกนครราชสีมาและคณะนายทหารติดตามก็ตบ
เท้าเข้าสู่ศาลา”ร่วมเริงชัย” ในกรมทหารท่ีทุกวันน้ีคือค่ายสุรนารี แล้วเปิดการประชุม

นายทหารและข้าราชการท่ีได้รับเชิญมาเพ่ือแจ้งว่า ทางพระนครเกิดเหตุร้าย รัฐบาลเอา
หลวงประดษิ ฐ์กลับมาเป็นรฐั มนตรี เพอื่ จะเอาระบอบคอมมิวนิสตม์ าใชแ้ ละยกเลิกสถาบัน
พระมหากษัตริย์ คณะกู้บ้านกู้เมืองจงึ จาเปน็ จะตอ้ งนาทหารเขา้ ไปปราบปราม ขอใหบ้ รรดา
ข้าราชการจงปฏิบัติงานไปตามหน้าที่ อยา่ ได้กระทาการใดเปน็ ทขี่ ดั ขวางเปน็ อนั ขาด คณะกู้
บ้านกู้เมอื งได้ยึดนครราชสมี าไว้ในอานาจแลว้ หลงั จากน้ันก็ได้ประกาศกฎอยั การศกึ และ
เ รี ย ก ท ห า ร ก อ ง ห นุ น เ จ้ า ป ร ะ จ า ก า ร ทั น ที
นอกจากกาลงั ทหารอีสานที่กลา่ วไปแลว้ คณะกบู้ า้ นกู้เมอื งยงั มคี วามหวงั ทจ่ี ะไดก้ าลงั ทหาร
ราบจากหวั เมอื ง ครบตามแผนลอ้ มกวาง ส่วนทหารเรือแม้ว่าทาบทามไปแล้วยังไม่ได้ตอบ
ตกลง แต่ก็ม่ันใจว่าจะเข้าร่วมแน่หลังวันดีเดย์เหมือนทหารทางจังหวัดภาคเหนือ เดิม
กาหนดนัดหมายจะเคลื่อนกาลังพลทุกฝ่ายถึงพระนครพร้อมกันในวันที่ 10 แต่ได้เลื่อน
ออกเป็นวันที่ 11 เขา้ ใจว่าองคแ์ มท่ พั อยากจะรอทหารจากอดุ รท่ีรับปากว่าจะมาสมทบ แต่
ยังมาไม่ทัน เพราะต้องเดินทางมาตามทางเกวียนจนถึงขอนแก่นเพ่ือจับรถไฟที่นั่น
การเลื่อนวันนัดหมายออกไปแต่ไม่แจ้งสาเหตุชัดเจนเช่นน้ัน ทาให้ทหารปราจีนบุรีและ
ราชบรุ ีเกดิ ระแวงข้นึ มาทนั ที เลยนิ่งเฉยรอดูสถานะการณ์ไมเ่ ขา้ กรุงมาตามแผน พอเห็นว่า
ทา่ จะไม่ร่งุ แน่ ใครเล่าจะอยากอยขู่ ้างผแู้ พ้ รีบกลบั หลังหันวันทยาวุธไปเข้ากับฝ่ายรัฐบาล
อันที่จริง กาลังพลในเมืองกรุงแม้นับหัวแล้วจะน้อยกว่าแต่ก็ถือว่าไม่เป็นรอง กาลังทหาร
ราบในพระนครมี๘กองพัน แตก่ ม็ หี น่วยพเิ ศษสนับสนุน ทง้ั รถถัง ปนื ใหญ่ และยุทโธปกรณ์
ทนั สมัยอื่นๆที่มีอานาจการยิงเหนือกว่าทหารหวั เมืองมาก ซ้าทหารปนื ใหญท่ ่ีโคกกระเทยี ม
ยังจงรกั ภักดีต่อพระยาพหล พรอ้ มจะสกดั กนั้ ทหารนครสวรรค์และทหารทางภาคเหนือที่
จะยกลงมาสมทบได้ เหตุน้ีเอง เม่ือพลตรีพระยาเสนาสงครามไปนาทหารนครสวรรค์เข้า
พระนครจึงทาไม่ได้ตามแผน ขบวนรถไฟท่ีจ้ีมาต้องหยุดก่อนถึงโคกกระเทียม เพราะปืน
ใหญท่ ีท่ หารฝา่ ยรัฐบาลเขน็ ขนึ้ ตงั้ จงั กา้ ไวบ้ นรางรถไฟ ตนเองกวา่ จะเลด็ ลอดลงเรอื มาสมทบ
กบั พรรคพวกได้ก็สายเกิน

ทหารฝา่ ยพระองคเ์ จา้ บวรเดช

ในวนั ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พลเอก พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงส่ง
กาลังทหารจากหวั เมอื งภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคกลางนครราชสมี า อบุ ลราชธานี
สระบรุ ี พระนครศรอี ยธุ ยา และเพชรบุรี เคล่ือนกาลังทางรถไฟเข้ายึดกองทัพอากาศดอน
เมืองได้เมื่อวันที่ 12 และเคลื่อนกาลังทหารเข้ายึดพ้ืนที่ไปตามแนวคลองบางเขนจนถึง
สถานีรถไฟบางเขน เพอื่ บีบบังคบั ใหร้ ัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา กระทาตามเงอื่ นไข 6
ข้อ ใจความโดยย่อคอื ใหร้ ักษาสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ให้อานาจรัฐสภามากข้ึนและจากัด
อานาจของรฐั บาลมใิ ห้กลายเปน็ คณะเผดจ็ การ อยา่ งไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของพระองค์
เจ้าบวรเดชในคร้ังน้ันถูกมองจากฝ่ายนิยมคณะราษฎรว่าเป็นความพยายามในการฟ้ืน
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยแ์ ละตอ่ ตา้ นระบอบประชาธปิ ไตยในเวลาเดยี วกนั ฝา่ ยรฐั บาล
ไดม้ อบหมายให้ พนั โทหลวงพบิ ลู สงคราม รองผบู้ ญั ชาการทหารบก เปน็ ผบู้ งั คบั กองผสมทา
การรุกตอบโต้ จนทหารบาดเจบ็ ลม้ ตายเปน็ จานวนมาก จนถึงวันท่ี 15 กาลงั ทหารหวั เมอื ง
ไดถ้ อนกาลังออกจากดอนเมือง เคลอื่ นที่ไปยังปากช่องอนั เป็นทมี่ นั่ ด่านสุดทา้ ย ขณะทก่ี อง

หน้าของกองบังคับการผสมได้ติดตามไปจนถึงสถานีปากช่อง และ พันเอกพระยาศรีสิทธิ
สงคราม (ด่นิ ท่าราบ) แมท่ พั ซึง่ รบั หนา้ ท่เี ป็นกองระวังหลงั ถกู ยิงเสยี ชวี ติ บนทางรถไฟใกล้
สถานีหินลับ อาเภอปากช่อง ในเวลาพลบค่าเม่ือท่ีมั่นแห่งสุดท้ายคือสถานีปากช่องถูกยึด
และแมท่ ัพเสียชีวติ

พระองค์เจา้ บวรเดชและพระชายาจงึ เสดจ็ หนีโดยทางเครอื่ งบนิ จากฐานบนิ โคราช มี
หลวงเวหนเหริ เป็นนกั บิน ไปขอลภ้ี ัยทางการเมืองท่ีเมอื งไซง่ อ่ น ประเทศเวยี ดนาม จนหลงั
สงครามโลกคร้ังท่ี 2 จึงย้ายไปประทับท่ีประเทศกัมพูชา และเสด็จกลับประเทศไทยโดย
รถยนต์เข้าทางอาเภออรญั ประเทศ จังหวัดปราจนี บรุ ี พรอ้ ม หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร
พระชายา เมอ่ื วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2491หลงั จากที่รฐั บาลในขณะน้นั ได้ออกกฎหมาย
นริ โทษกรรมให้กบั นักโทษการเมืองทุกคดี โดยท่ีไซง่อนและกัมพูชา ทรงเปิดโรงงานทอผ้า
และค้าขายถ่าน รวมระยะเวลาที่ทรงล้ีภัยนานถงึ 16 ปี

พระราชกรณียกิจ

พระราชกรณียกจิ ด้านการวางรากฐานปกครองในระบอบประชาธิปไตย

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชประสงคแ์ นว่ แนท่ จ่ี ะทรงมอบ
อานาจการปกครองให้แกป่ ระชาชนในรัชกาลของพระองค์ จึงได้มีการจัดตั้งสภากรรมการ
องคมนตรี อนั ประกอบดว้ ยกรรมการ 40 คน อยู่ในตาแหน่งคราวละ 3 ปี ทาหน้าท่ีในการ
ประชุมพิจารณากฎหมายและปัญหาอนื่ ๆ ตามแตจ่ ะโปรด เกล้าฯ อีกทั้งมีพระราช
ประสงค์ให้สภากรรมการองคมนตรเี ปน็ สภาทดลองระดบั ทอ้ งถน่ิ พระองค์ ทรงเปดิ โอกาส
ใหร้ าษฎรมสี ่วนรว่ มในกจิ การสขุ าภบิ าล ซ่งึ พระองคท์ รงโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ รบั ปรงุ กจิ การเปน็
รูปแบบการบริหารงานส่วนท้องถ่ินแบบเทศบาล โดยทรงแต่งตั้งกรรมการจัดการ
ประชาภิบาลคอยสารวจดูงานสุขาภิบาลตามหัวเมือง ทั่วราชอาณาจักร แต่
พระราชบัญญัติเทศบาลท่ีร่างเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2473 ต้องมีข้ันตอนผ่านการพิจารณาจาก
เสนาบดสี ภา สภากรรมการองคมนตรี จงึ ยังมไิ ดป้ ระกาศพระราชบญั ญัติเทศบาลดังกล่าว

พระราชกรณยี กิจด้านการปกครอง

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจัดระเบียบการบริหารงานบุคคลของ
ชาติ ดว้ ยการตราพระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2471 ขึ้นบังคับใช้ โดย
จะมีกลุ่มคนท่ีเรียกว่า คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คอยดูแลการบรรจุแต่งต้ัง การ
เคล่ือนย้าย รวมทั้งควบคุมให้อยู่ใน ระเบียบวินัยของราชการ และโปรดเกล้าฯ ให้มีการ
สอบแข่งขันบุคคลเข้าบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนเป็นคร้ังแรก ซึ่งแตกต่างจากเดิมท่ีใคร
ประสงคจ์ ะเข้ารับราชการก็ไปฝากตวั แก่หัวหน้าสว่ นราชการนั้นโดยตรง

นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวยังโปรดเกล้าฯ ให้ออก
พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือความผาสุกแห่ง
สาธารณชน พ.ศ. 2471 เพ่ือเป็นการคุ้มครองสวัสดิภาพของประชาชนชาวไทย โดยมี
ขอบเขตครอบคลุมการค้าขายท่ีเป็นสาธารณูปโภคและการเงิน เช่น กิจการไฟฟ้า การ
ประปา รถราง รถไฟ ฯลฯ ซงึ่ นับว่าเปน็ รากฐานของระเบียบท่ีใช้กันมาจนทกุ วันนี้

คณะอภริ ฐั มนตรี

พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ เี่ ลอื่ มใสในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย พระองค์ทรงพยายามท่ีจะปรับปรุงแก้ไขระบอบการปกครองจาก
สมบูรณาญาสทิ ธิราชยม์ า เป็นระบอบประชาธปิ ไตย โดยหลังจากเสดจ็ ข้นึ ครองราชยแ์ ลว้ ก็
โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาคณะอภิรัฐมนตรีข้ึน เพ่ือเป็นที่ปรึกษาในการบริหารราชการ
แผ่นดินแทนที่จะทรงตัดสินพระราช หฤทัยแต่เพียงพระองค์เดียว นอกจากน้ียังทรงฟ้ืนฟู
การประชุมเสนาบดีให้มีความสาคัญ และทรงแนะนาให้รู้จักการทางานเป็นคณะและ
รับผิดชอบร่วมกันทั้งยังทรงแต่งตั้ง สภากรรมการองคมนตรี เพ่ือเป็นท่ีปรึกษาข้อราชการ
และฝึกหัดการประชุมแบบรัฐสภา สาหรับ การปูพ้ืนฐานในการปกครองตนเองของ
ประชาชนก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้ร่างพระราชบัญญัติเทศบาลข้ึน แต่กฎหมายดังกล่าวได้ร่าง
เสร็จเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว นอกจากนี้ยังโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้รู้ร่าง
รัฐธรรมนูญขึ้นเพ่ือเตรียมพระราชทานแก่ประชาชนในโอกาสฉลอง กรุงเทพมหานคร
ครบรอบ 150 ปี แตไ่ ดม้ พี ระบรมวงศานุวงศ์บางพระองค์ได้ทรงทูลคัดค้านว่ายังไม่สมควร
แกเ่ วลา จึงต้องรอคอยการพระราชทานรฐั ธรรมนูญไว้กอ่ น

พระราชกรณียกิจด้านการทานบุ ารงุ บ้านเมือง เศรษฐกจิ

สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ แรกใน ประเทศไทย
สืบเน่ืองจากผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศท่ัวโลกประสบปัญหาภาวะ
เศรษฐกิจ ตกต่า ซ่ึงมีผลกระทบกระเทือนมาสู่ประเทศไทย พระองค์ได้ทรงพยายามแก้ไข
การงบประมาณของประเทศให้งบดุลอย่างดีที่สุด โดยทรงเสียสละตัดทอนรายจ่ายส่วน
พระองค์ โดยมิได้ขึ้นภาษี ให้ราษฎร เดือดร้อนการสุขาภิบาลและสาธารณูปโภค โปรดให้
ปรับปรุงงานสุขาภิบาลทั่วราชอาณาจักรให้ทัดเทียมอารยประเทศ ขยายการส่ือสาร และ
การคมนาคม โปรดใหส้ ร้างสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแหง่ แรกใน ประเทศไทย ในส่วนกจิ การ
รถไฟ ขยายเส้นทางรถทางทิศตะวันออกจากทาง จังหวัดปราจีนบุรี จน กระท่ังถึงต่อเขต
แดนเขมร

พระราชกรณียกิจด้านประเพณีและวฒั นธรรม
พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวทรง เปน็ ผู้รเิ รม่ิ ในการสรา้ งคา่ นยิ มใหช้ ายไทย

มีภรรยาเพียงคนเดียว ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงรูปแบบของสังคมไทยแต่โบราณที่ชายไทย
มักนิยมมีภรรยาหลายคนโดยชอบด้วยกฎหมาย โดยโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ
แก้ไขเพมิ่ เตมิ กฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. 2473 และ ทรงริเร่มิ ใหม้ กี ารจดทะเบียนสมรส
ทะเบียนหย่า ทะเบียนรบั รองบุตร อันเป็นการปลูกฝงั คา่ นยิ มใหม่ทีละน้อยตามความสมคั ร
ใจ นอกจากนย้ี งั ทรงปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งโดยมพี ระบรมราชนิ เี พยี งพระองคเ์ ดยี ว และไม่
มสี นมนางในใดๆ ทัง้ สิ้น

การส่งเสริมกิจการสหกรณ์ให้ประชาชนได้มีโอกาสร่วม กันประกอบกิจการทาง
เศรษฐกิจ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2471 ขึ้น
ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างโรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง ซึ่งนับเป็นโรง

ภาพยนตร์ทันสมัยในสมัยน้ัน ติดเครื่องปรับอากาศ เพื่อเป็นสถานบันเทิงให้แก่ผู้คนใน
กรุงเทพมหานคร สาหรับในเขตหัวเมือง ทรงได้จัดตั้ง สภาจัดบารุงสถานท่ีชายทะเลทิศ
ตะวันตกข้ึน เพ่ือทานุบารุงหัวหินและใกล้เคียงให้เป็นสถานที่ตากอากาศชายทะเลแก่
ประชาชน ทีม่ าพักผอ่ นในปี พ.ศ. 2475 เป็นระยะเวลาทีก่ รุงเทพฯ มีอายคุ รบ 150 ปี ทรง
จดั งานเฉลมิ ฉลองโดยทานุบารุง บรู ณปฏสิ งั ขรณส์ ิ่งสาคญั อันเป็นหลักของกรุงเทพฯ หลาย
ประการ คอื บรู ณะวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง สะพาน
ปฐมบรมราชานุสรณ์ ข้ึน ด้วยทรงระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สะพานแห่งนี้เป็นสะพานข้าม
แมน่ ้าเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างฝงั่ พระนครกับฝงั่ ธนบรุ ี พรอ้ มกบั ทรงชักชวนประชาชนชาว
ไทยร่วมกันสร้าง พระบรมรูปของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่
บริเวณเชิงสะพานแห่งน้ีด้วย โดย พระองค์เสด็จไปทาพิธีเปิดด้วยพระองค์เองในวันที่ 6
เมษายน พ.ศ. 2475 และโปรดเกลา้ ฯ ให้มมี หรสพสมโภชเป็นการเฉลมิ ฉลองทก่ี รงุ เทพฯ มี
อายุครบ 150 ปีดว้ ย และพระราชทานนามสะพานแห่งนวี้ ่าสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์

พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการดนตรี

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดการทรงดนตรีเป็นอย่างมาก
พระองค์ทรงต้ังวงดนตรีไทยส่วนพระองค์ข้ึนในปี พ.ศ. 2470 ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้านาย
ชน้ั ผ้ใู หญ่ และข้าราชการที่ใกล้ชิด รวมถึงมีพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลง
อกี ด้วย โดยพระองค์ไดท้ รงพระราชนิพนธ์เพลงไทยเดมิ ไว้ 3 เพลง คือ

1. ราตรีประดับดาว (เถา) ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากเพลงมอญดูดาว 2 ชั้น ของเถา
เม่ือ พ .ศ.2472 ท้ังเนื้อร้องและทานองเพลง เพลงน้ีเป็นเพลงแรกที่ทรงพระราช
นิพนธ์ มีเนื้อหาเรื่องราวเก่ียวกับคู่รักที่ชักชวนกันชมเดือน ดาว ดอกไม้ แต่มีความ
จาเปน็ ที่ตอ้ งจากกันในเวลาอันใกลน้ ี้

2. เพลงเขมรละออองค์ (เถา) ทรงพระราชนิพนธ์ขณะเสดจ็ แปรพระราชฐานไปประทบั
แรม ณ พระที่น่ังเปี่ยมสุข สวนไกลกังวล เมื่อ พ .ศ.2473 โดยทรงพระราชนิพนธ์
ดดั แปลงจากเพลงเขมรเอาบาง 2 ชนั้ ส่วนบทรอ้ งนั้นทรงใชบ้ ทรอ้ งซง่ึ คดั มาจากพระ
ราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว เรอ่ื ง พระร่วง แตไ่ ดท้ รงพระ
ราชนิพนธ์ดัดแปลงแก้ไขบ้างบางส่วน

3. เพลงคล่นื กระทบฝัง่ 3 ชน้ั ทรงพระราชนิพนธ์ในขณะท่ีทรงเสดจ็ ประพาสสตั หบี ทาง
ชลมารคใน พ .ศ. 2473 ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงน้ีให้มีทานองคล้ายเสียง
ระลอกคล่ืน ได้ทรงเลือกทานองเพลงคล่ืนกระทบฝั่ง 2 ช้ัน มาดัดแปลงเป็นเพลง 3
ชน้ั แตม่ ไิ ด้พระราชนพิ นธเ์ นอ้ื เพลง กโ็ ปรดให้ใช้เป็นเพลงโหมโรงไปก่อน และคงใช้
กนั สิบมาจนทุกวันนี้

พระราชกรณยี กจิ ดา้ นความสมั พนั ธก์ ับตา่ งประเทศ

ในต้นรัชสมัย ได้ทรงดาเนินกิจการสาคัญที่ทรงเก่ียวข้องกับต่างประเทศท่ีค้างมา
ต้ังแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้สาเร็จลุล่วงไป เช่น การให้
สัตยาบันสนธิสัญญาต่าง ๆ นอกจากนี้ยังทรงทาสัญญาใหม่ ๆ กับประเทศเยอรมนีหลัง
สถาปนาความสัมพันธ์ขั้นปกติ เม่ือ พ .ศ.2471 และทาสนธิสัญญากับฝร่ังเศสเกี่ยวกับ
ดินแดนในลุ่มแม่น้าโขงเรยี กวา่ สนธสิ ัญญาอินโดจีน พ .ศ.2469 ท่ี กาหนดให้ มีเขตปลอด
ทหาร 25 กโิ ลเมตร ทั้ง สองฝ่ังนา้ โขง แทนที่ จะมเี ฉพาะฝ่ังสยามแต่เพียงฝ่ายเดยี ว

พระราชกรณย๊ กจิ ดา้ นความสมั พนั ธก์ บั ประเทศเพอื่ นบา้ น

พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ ส ด็ จ เ ยื อ น สิ ง ค โ ป ร์
การเสด็จเยือนประเทศใกล้เคียง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรง

สังสรรค์ทาความรู้จักกับชาวต่างประเทศ ภายในพระราชอาณาจักรแล้ว พระองค์ยังหา
โอกาสไปเยอื นประเทศตา่ ง ๆ ทมี่ ีอาณาเขตใกลช้ ิดตดิ ตอ่ กบั ประเทศของเรา เพือ่ ทรงเชอ่ื ม
ความสัมพันธไมตรี ให้ดียิ่งข้ึน อาทิได้เสด็จเมืองสิงคโปร์ ชวา และปัตตาเวีย เม่ือ พ .ศ.
2472 เร่ิมเดินทางออกจากกรุงเทพฯ เม่ือ 24 กรกฎาคม 2472 โดยเรือพระที่นั่งมหา
จกั รี ถึงสิงคโปร์ ในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2472 เจา้ ของเกาะสงิ คโปร์ (ผู้แทนรัฐบาลองั กฤษ)
ทร" มีพระราชโทรเลขถวายบนเรือพระท่ีนั่ง ความว่างหวังว่าพระราชหฤทัย รัชกาลท่ี)7)
คงจะทรงพระสาราญ การเสด็จเยือนสงิ คโปร์ บรรดาชาวเมือง ห้างร้าน ธนาคาร หยุด "...
ทาการ ในวันที่1 สิงหาคม 2472 เพ่ือถวายพระเกียรติ จากสิงคโปร์ได้เสด็จถึงเมือง

ปัตตาเวียในเกาะชวา ในวันท่ี 5 สิงหาคม 2475 ผู้สาเร็จราชการ ขึ้นเฝ้าแล้วเชิญเสด็จ
ประทับทวี่ ังประจาเมอื ง พระองคไ์ ด้เสด็จทอดพระเนตร การอุตสาหกรรมสวนชา และสวน
ยางของชาวเมืองต่าง ๆ อาทิ บันดง การุต สุราบายา ฯลฯ จนถึงวันที่ 9 ตุลาคม 2472
เสดจ็ ขนึ้ ปนี งั ประทับรถไฟกลบั พระนคร ใช้เวลาเดนิ ทางรวม 78 วัน พ .ศ.2473

เสดจ็ เยอื นอนิ โดจนี
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ไดเ้ สด็จประพาสอินโดจีน อย่างเป็นทางการ
ต้งั แต่ วนั ท่ี 5 เมษายน 2473 โดยเรือพระทน่ี ั่งมหาจักรี ถงึ กรุงไซ่ง่อน ขา้ ราชการฝ่ายอินโด
จีนจัดการรับเสด็จ แล้วเสด็จต่อไปถึงเมืองเว้ วันท่ี 22 เมษายน 2473 วันรุ่งขึ้นเสด็จไป
ทอดพระเนตรชมเมืองและพระราชวังจักรพรรดิเบาได๋ ซึ่งขณะน้ันมีพระชนมายุเพียง 16
พรรษา กาลังศึกษาอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ผู้สาเร็จราชการกรุงเว้ ได้ออกมา

ต้อนรับ พรอ้ มด้วยบรรดาพระราชวงศญ์ วน พระราชชนนขี องจกั รพรรดเิ บาได๋ คอยรบั เสดจ็
มีการเล้ียงต้อนรับและถวายพระพรกันตามธรรมเนียม นอกจากนี้ยังได้เสด็จ ประพาส
พิพิธภณั ฑ์ สถานที่ฝังศพพระเจ้าแผน่ ดินญวนทุกแหง่ ตลอดจนพระอารามทส่ี าคญั ในกรงุ เว้
จากนั้นได้เสด็จ ทางรถยนต์มาไซ่ง่อนถึงพนมเปญผ่านพระตะบองกลับประเทศไทยทาง
รถไฟจาก อรัญประเทศถึงกรงุ เทพฯ วันท่ี 8 พฤษภาคม 2473 รวมเวลาเสด็จประพาสอิน
โดจีน 33 วนั
พระราชกรณียกจิ ระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนกลาง

กระทรวงธรรมการ
รชั กาลท่ี 7 ไดโ้ ปรดให้รวมกระทรวงธรรมการไว้ในกระทรวงศึกษาธิการแล้วเปลี่ยน
ช่ือเป็น กระทรวงธรรมการยกเลิกกระทรวงมุรธาธรโดยโอนงานไปอยู่รวมกับ กรมราช

เลขาธิการ รวมกระทรวงพาณิชยแ์ ละกระทรวงคมนาคมจัดเป็นกระทรวงเดียวกันเรียกชื่อ
วา่ กระทรวงพาณชิ ย์และคมนาคม รวมกระทรวงทหารเรอื เข้ากับกระทรวงกลาโหม มีการ
จัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการ ได้แก่อภิรัฐมนตรีสภา เพ่ือเป็นท่ีปรึกษาราชการท้ังปวงใน
พระองค์ สมาชิกของสภาน้ีล้วนเป็นพระบรมวงศา นุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ สภานี้กาหนดให้มีการ
ประชมุ สัปดาหล์ ะ 1 คร้งั ในวันศกุ ร์ โดยมี รชั กาลท่ี 7 เป็นประธาน มีการประชุมคร้ังแรก
เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2468 ณ พระทน่ี งั่ บรมพิมาน
ดา้ นการศาสนา การศกึ ษา ประเพณแี ละวฒั นธรรม

ราชบณั ฑติ ยสภา
ทรงส่งเสริมการศึกษาของชาติท้ังส่วนรวมและส่วนพระองค์ โปรดให้สร้างหอพระ
สมดุ สาหรับพระนคร เพ่อื เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ ศกึ ษา ไดอ้ ยา่ งเสรี ทรงตงั้ ราชบณั ฑติ ย

สภา เพ่ือมีหน้าที่บริหารและเผยแพร่วิชาการด้านวรรณคดี โบราณคดี และศิลปกรรม ใน
ด้านวรรณกรรม โปรด ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรมใน พ .ศ.
2475 พระราชทานเงินส่วนพระองค์ เป็นรางวัลแก่ผู้แต่งหนังสือยอดเยี่ยม และให้ทุน
นักเรียนไปศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์จากต่างประเทศ การศาสนา ทรงปลูกฝังเยาวชนให้มี
คุณธรรมดงี าม โดยยดึ หลักคาสอนของ พระพุทธศาสนา โปรดให้ราชบัณฑติ ยสรา้ งหนังสือ
สอนพระพทุ ธศาสนาสาหรับเด็ก ซ่ึงนบั ว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกท่ี
ทรงสร้าง หนังสือสาหรับเดก็

ส่วนการศึกษาในเนื้อแท้ของพระพุทธศาสนานั้น ทรงโปรดให้สร้างหนังสือ
พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์ เรียกว่าฉบับสยามรัฐ ชุดหนึ่ง ซึ่งใช้สืบมาจนทุกวันน้ี ในด้าน
ศิลปวัฒนธรรมของชาติได้ ทรงวางรากฐานเป็นอย่างดีกล่าวคือได้ทรงสถาปนา
ราชบัณฑิตยสถานสภาข้ึน เพ่ือจัดการหอพระสมุดสาหรับพระนครและสอบสวนพิจารณา
วิชาอกั ษรศาสตร์ เพื่อจัดการพิพธิ ภณั ฑสถานตรวจรกั ษาโบราณสถานและโบราณวตั ถุ และ
เพื่อจัดการบารุงรักษาวิชาช่างผลงานของราชบัณฑิตสภาเป็นผลดีต่อการ อนุรักษ์และ
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติเป็นอย่างมาก เช่นการตรวจสอบต้นฉบับเอกสารโบราณ

ออกตพี ิมพเ์ ผยแพร่ มีการสง่ เสริมสร้างสรรค์วรรณกรรมร่นุ ใหม่ดว้ ยการประกวดเรียบเรยี ง
บทประพนั ธ์ ท้ังรอ้ ย แก้วและรอ้ ยกรอง
พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการถา่ ยภาพยนตร์

เมื่อทรงวา่ งจากพระราชภารกิจ ทรงโปรดในการถา่ ยภาพนงิ่ และถา่ ยภาพยนตร์ ทรง
ทดลองใช้เอง กลอ้ งถ่ายภาพและภาพยนตรจ์ านวน มากทท่ี รงสะสมไว้ สะทอ้ นใหเ้ ห็นพระ
อุปนสิ ัยโปรดการถา่ ยภาพและภาพยนตร์ ภาพยนตรท์ รงถา่ ยมเี นอ้ื หาทง้ั ทเ่ี ปน็ สารคดแี ละที่
ให้ความบันเทิง ในจานวนภาพยนตรเ์ หลา่ นี้ เรือ่ งท่เี ปน็ เกียรติประวตั ขิ องวงการภาพยนตร์
ไทยและแสดงพระราชอัจฉริยภาพดี เย่ยี มในการสร้างโครงเรือ่ ง กากบั ภาพ ลาดบั ฉาก และ
อานวยการแสดง คือ เร่ืองแหวนวิเศษ นับได้ว่าพระองค์เป็นหน่ึงในบุคคลที่บุกเบิกวงการ
ภาพยนตร์ไทยอีกพระองค์หนึ่ง

เหตกุ ารณส์ าคญั ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

ปพี ทุ ธศกั ราช 2468

 ตัง้ อภริ ฐั มนตรสี ภา
 ยบุ มณฑลเพชรบรู ณ์ เนอ่ื งจากสภาพเศรษฐกิจตกตา่
 พมิ พพ์ ระไตรปฎิ กฉบบั สยามรฐั เพอ่ื เปน็ ทร่ี ะลกึ ใหพ้ ระเจา้ อยหู่ วั ในพระบรมโกฐ

(พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) ครบ 45 เลม่ จานวน 1,500 ชดุ และ
พระราชทานแกป่ ระเทศตา่ ง ๆ ประมาณ 500 ชดุ เนอ่ื งจากพระไตรปฎิ กฉบับพมิ พ์ ร.ศ.
112 พมิ พไ์ มค่ รบถว้ นบรบิ รู ณเ์ นอ่ื งจากหาตน้ ฉบับหลวงมาไมท่ นั การณ์ ฉลองรชั ดาภเิ ษก
เมอื่ ร.ศ. 112
 ตัดเงนิ ปสี าหรบั พระเจา้ อยหู่ วั จาก ปีละ 9 ลา้ นบาทเหลอื ปลี ะ 6 ลา้ นบาท และใหย้ บุ กรม
มหาดเลก็ ในรัชการที่ 6 ลงดว้ ย
 ประกอบพธิ บี รมราชาภเิ ษก เมอ่ื 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2468
 งานถวายพระเพลงิ พระบรมศพ 24 มนี าคม พ.ศ. 2468
 โปรดฯใหย้ า้ ยกรมธรรมการกลบั เขา้ มารวมกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเปลย่ี นชอื่
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเปน็ กระทรวงธรรมการอยา่ งเดมิ โดยมพี ระราชดารวิ า่ "การศกึ ษาไม่
ควรแยกออกจากวัด"

ปพี ทุ ธศกั ราช 2469

 ดลุ ขา้ ราชการครง้ั ใหญค่ ราวแรก เนอ่ื งจากเศรษฐกจิ ตกตา่
 ตั้งราชบณั ฑติ สภา
 เปดิ หอพระสมดุ วชริ าวธุ (หอสมดุ แหง่ ชาติในปจั จบุ นั )
 เปดิ ทางรถไฟคขู่ นานกรงุ เทพ - บางซอ่ื

 เปดิ ทางรถไฟจากบางซอื่ ไป ชมุ ทางตลง่ิ ชนั ความยาว 16 กโิ ลเมตร
 เปดิ ทางรถไฟ จากกบนิ ทรบ์ รุ ี ไปถงึ อรญั ประเทศ เมอ่ื 8 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2469
 เปดิ สะพานพระราม 6 เมอ่ื 1 มกราคม พ.ศ. 2469
 สมเดจ็ พระนางเจา้ ราไพพรรณี พระบรมราชนิ ี เสดจ็ พระราชดาเนนิ โดยทางรถไฟ ไปทรง

เยยี่ มราษฎร ในจงั หวดั พษิ ณโุ ลก แพร่ ลาปาง เชยี งราย เชยี งใหม่ และลาพนู (มณฑล
พายพั ) เมอ่ื 6 มกราคม 2469 - 5 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2469 ครง้ั นเ้ี ป็นการใชง้ านรถโบกพี้ ระ
ทนี่ งั่ บรรทมทสี่ งั่ จากบรษิ ทั เครเวนเปน็ ครง้ั แรก
 สง่ั รถจักรไอนา้ สวสิ ลอ้ คอนโซลเิ ดต (2-8-0) 12 คนั แรก ใช้งานกับทางภเู ขาสายเหนอื

ปพี ทุ ธศกั ราช 2470

 แปรสภาพบรษิ ทั ไฟฟา้ สยามจากดั เปน็ บรษิ ทั ไฟฟา้ สยามคอปอเรชนั จากดั เมอื่ 5
พฤษภาคม พ.ศ. 2470 พรอ้ มยบุ บรษิ ทั รถรางไทย จากดั สนิ ใช้ ทไ่ี ดซ้ อ้ื กจิ การจากกรมหมน่ื
นราธปิ ประพนั ธพ์ งศ์ แต่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2450 เขา้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของบรษิ ทั ไฟฟา้ สยาม
คอปอเรชนั จากดั

 ใหแ้ กท้ างรถรางสายดสุ ติ (สเ่ี สาเทเวศน์ - แมน้ ศรี - วดั เลยี บ) ชว่ งทผี่ า่ นเขา้ เขตพระราชวงั
ดสุ ติ (บรเิ วณพระตาหนกั สวนกหุ ลาบ) ใหต้ รงไปตามถนนพษิ ณโุ ลกแลว้ เลยี้ วขวาผา่ นวดั
เบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม เพราะมพี ระราชปรสี งคท์ จี่ ะขยายเขตพระราชฐานออกไป

 จัดงานชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รง้ั แรก ทว่ี งั สราญรมย์
 ได้ชา้ งเผอื ก มพี ธิ สี มโภชนเ์ มอื่ 15-6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2470 และไดพ้ ระราชทานาม

ชา้ งเผอื กวา่ "พระเศวตคชเดชน์ดลิ กฯ" โดยมนี ามเตม็ คอื "พระเศวตคชเดชนด์ ลิ ก ประชาธิ
ปกปทมุ รตั นดาริ เทวอคั นนี ริ ฒุ ชบุ เชดิ กาเหนดิ นภสี ฉี วนเฉลียง ฉวเี ยย่ี งบษุ กรโกมล นขาขน
ขาวผอ่ งแผว้ แกว้ เนตรนา้ เงนิ งามลกึ วนั วณกึ บรรณาการ คชเชนทรยานยวดยง่ิ มง่ิ มงคล
ฉนาเฉลมิ ฉตั ร สตั ตมกษัตรทรงศร อมรรตั นโกสนิ ทร์ รบอื รบนิ บารมที ศ ยนื พระยศธรรม
ราชยั นริ ามยั มนญุ คณุ บณุ ยโศลกเสศิ ฟา้ " พระเศวตคชเดชน์ดลิ กฯ ยนื โรงอยู่ 16 ปแี ลว้ ลม้

(ตาย) 19 มกราคม พ.ศ. 2486 ขณะยนื โรงเมอื่ คนื วนั ที่ 23 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 พระ
เศวตคชเดชน์ดลิ กฯ ไดร้ อ้ งเปน็ อุบาทวข์ นึ้ อยา่ งผดิ ปกติ และ เมอื่ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
สวรรคต พระเศวตมงี างอกขนึ้ ไขวก้ นั แลว้ งวงไปติด ทป่ี ลายงาซง่ึ ไขวก้ นั ทาใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี
กรมคชบาล ตอ้ งเลอ่ื ยเอางาออกไป
 สรา้ งรถจกั รไอนา้ สวสิ ลอ้ คอนโซลเิ ดต (2-8-0) 6 คนั หลงั ใชง้ านกบั ทางภเู ขาสายเหนอื
 สง่ั รถโบกกี้ ลไฟบอลดว์ นิ เพอ่ื ใชแ้ ทนรถราง 4 ลอ้ แตใ่ ชง้ านไมไ่ ดผ้ ลดเี ทา่ ทค่ี วร

ปพี ทุ ธศกั ราช 2471

 ตราพระราชบญั ญตั เิ งนิ ตรา ทาใหต้ อ้ งเปลย่ี นคากากบั ธนบตั รจาก "สญั ญาจะจา่ ยเงนิ ใหแ้ ก่
ผนู้ าธนบตั รมาขน้ึ เปน็ เงนิ ตราสยาม" (ซงึ่ เปน็ การแจง้ ใหท้ ราบวา่ สามารถนาธนบตั รไปแลก
กบั เหรยี ญบาทเงนิ หรอื เหรยี ญเงนิ อนื่ ๆ) เปน็ "ธนบตั รเปน็ เงนิ ทใ่ี ชช้ าระหนไี้ ด้ ตาม
กฎหมาย" (ซงึ่ เปน็ การแจง้ ใหท้ ราบวา่ สามารถนาไปใชช้ าระหนไ้ี ดเ้ ลย ไมต่ อ้ งนามาแลกเป็น
เหรยี ญเงนิ กอ่ น)

 สง่ั รถจกั รดเี ซลกลจากสวสิ มาใชใ้ นงาน ปรบั ขบวนในยา่ นสถานแี ละใชก้ บั รถชานเมอื ง และ
รถจกั รฮาโนแมก็ ลอ้ แปซฟิ กิ (4-6-2) เพอ่ื แทนรถจักรบอลดว์ นิ ในเสน้ ทางสายเหนอื

 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พรอ้ มดว้ ย สมเดจ็ พระนางเจา้ ราไพพรรณี พระบรม
ราชนิ ไี ดเ้ สดจ็ เลยี บมณฑลภเู กต็ ทรงเยย่ี มราษฎรและทอดพระเนตรสถานทตี่ า่ งๆ ในจงั หวดั
ตรงั ระนอง ภเู กต็ และพงั งา โดยทางรถไฟและ ทางเรอื เมอ่ื วนั ที่ 24 มกราคม -11
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2471 ครง้ั นเี้ ปน็ การใชร้ ถจักรฮาโนแมก็ ทาขบวนรถพระทนี่ งั่ เปน็ ครง้ แรก

 กระทรวงธรรมการประกาศเพม่ิ หลกั สตู รทางจรยิ ศกึ ษาสาหรบั นักเรยี น ไดเ้ ปดิ ใหฆ้ ราวาส
ไดม้ าเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกธรรม โดยจดั หลักสตู รใหม่ เรยี กวา่ "ธรรมศกึ ษา" ในรชั
สมยั รชั กาลท่ี 7 ไดม้ ีการเปลยี่ นแปลงการปกครองครงั้ ยง่ิ ใหญข่ องไทย เมอ่ื คณะราษฎรไ์ ด้
ทาการปฏวิ ัติ เปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าช เปน็ ระบอบ
ประชาธปิ ไตย เมอ่ื วนั ที่ 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475

 เสดจ็ ประพาสสงิ คโปร์ ชวา บาหลี เมอื่ วนั ที่ 31 กรกฎาคม - 11 ตลุ าคม พ.ศ. 2472
 เสดจ็ ชมสรุ ยิ ปุ ราคาเตม็ ดวงท่ี สายบรุ ี มณฑลปตั ตานี
 พระราชทานทนุ เลา่ เรยี นหลวงเพม่ิ อกี ปลี ะ 1 ทนุ ในสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์
 สงั่ รถจักรกาแรตต์ 6 คนั เขา้ มาใชก้ บั ทางชว่ งแกง่ คอย - ปากชอ่ ง ทที่ งั้ ชนั (24 ใน 1000)

ทงั้ หักขอ้ ศอก (รศั มี 200 เมตร)

ปพี ทุ ธศกั ราช 2473

 เสดจ็ ประพาสญวน เขมร ระหวา่ งวนั ที่ 6 เมษายน ถงึ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 มกี ารมอบ
ชา้ งสมั ฤทธใ์ิ หเ้ รสดิ งั (ผสู้ าเรจ็ ราชการอาณานคิ มอนิ โดจนี ฝรง่ั เศส) ทน่ี ครฮานอย

 เสดจ็ ฯ พระราชทานปรญิ ญาแพทยศ์ าสตรบ์ ณั ฑติ ซงึ่ เปน็ พธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รครงั้
แรกแหง่ กรงุ สยาม ครง้ั แรก

 เปดิ ทางรถไฟถงึ วารนิ ทรช์ าราบ (ฝง่ั ตรงขา้ มตวั เมอื งอบุ ลราชธานี) เมอ่ื 1 เมษายน พ.ศ.
2473 - สายอบุ ลสาเรจ็ บริบรู ณ์

 เปดิ เสน้ ทางรถไฟจากบุ่งหวาย (สถานสี ดุ ทา้ ยกอ่ นถงึ สถานวี ารนิ ทร์) ถงึ บา้ นโพธม์ ลู เมอื่ 1
สงิ หาคม พ.ศ. 2473 เพอื่ ขนสนิ คา้ จากแมน่ า้ มลู

ปพี ทุ ธศกั ราช 2474

 เสดจ็ เยอื นญปี่ นุ่ ระหวา่ งวนั ที่ 6 ถงึ 9 เมษายน พ.ศ. 2474
 เกดิ เศรษฐกิจตกตา่ ครงั้ ใหญ่ เงนิ ปสี าหรบั ในหลวงเหลอื ปลี ะ 3 ลา้ นบาท
 ยบุ มณฑล จาก 14 มณฑลเหลอื 10 มณฑล ยบุ จงั หวัดจาก 79 จงั หวดั เหลอื 70จงั หวดั
 ยบุ กองทพั จาก 10 กองพล เหลอื 4 กองพล แลว้ เหลอื 2 กองพลในปี พ.ศ. 2474
 ยบุ กระทรวงกลาโหม และ กระทรวงทหารเรอื เปน็ กระทรวงกลาโหม เมอ่ื 8 พฤศจกิ ายน

2474

 เลกิ เกบ็ เงินศกึ ษาพลี คนละ 1 บาท/ปี
 ทปี่ ระชมุ สมหุ เทศาภบิ าลลงมตริ บั หลกั การรา่ ง พระราชบญั ญตั เิ ทศบาลฉบับแรก
 เปดิ ทางรถไฟจาก ถนนจริ ะถงึ บวั ใหญ่ ทางรถไฟคขู่ ยายจากชมุ ทางบางซอื่ ไปถงึ คลองรงั สติ
 รถจกั รดเี ซลของสวสิ ขนาด 450 แรงมา้ จานวน 6 คนั และ รถจกั รดเี ซลฟรกิ ซ์ 2คนั แรก

มาถงึ กรงุ สยาม

 เสดจ็ ประพาสแคนาดา และ อเมรกิ า เพอื่ รกั ษาพระเนตร พรอ้ มใหส้ มั ภาษณน์ กั ขา่ ว
อเมรกิ นั เรอ่ื งโครงการมอบรฐั ธรรมนญู และเรอื่ งเทศบาล ระหวา่ งวนั ที่ 28 เมษายน - 12
กนั ยายน พ.ศ. 2474

ปพี ทุ ธศกั ราช 2475

 ฉลองพระนครครบรอบ 150 ปี พรอ้ มเปดิ สะพานพทุ ธยอดฟา้ เมอื่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475
 คณะราษฎรดาเนนิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง เมอ่ื 24 มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช 2475
 พระราชทานธรรมนญู การปกครองชวั่ คราว เมอื่ ๒๗ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕
 เจา้ พระยาธรรมศกั ดมิ์ นตรี เปน็ ประธานรฐั สภาทา่ นแรก
 พระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา เปน็ นายกรฐั มนตรที า่ นแรก
 ขา้ ราชการเลกิ นงุ่ ผา้ มว่ ง โจงกระเบน
 พระราชทานรฐั ธรรมนญู ฉบบั ถาวร เมอ่ื 10 ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช 2475
 ประกาศใชแ้ ผนการศกึ ษาฉบบั ใหม่
 ยบุ ตาแหนง่ นายพล และ กองพล ใหเ้ หลอื แค่ 18 กองพนั ทหารราบ 4 กองพนั ทหารมา้ 2

กองพนั ทหารปนื ใหญ่ 2 กองพนั ทหารชา่ ง และ 2 กองพนั ทหารสอ่ื สาร สว่ นทหารเรอื ให้
เปน็ ไปตามแบบแผนเดมิ เนอื่ งจากเปน็ กรมทเี่ ลก็

ปพี ทุ ธศกั ราช 2476

 เปดิ ทางรถไฟจากบวั ใหญ่ ไป ขอนแกน่ เมอื่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
 เลกิ พธิ ถี อื นา้ พพิ ฒั นส์ ตั ยา
 เกดิ กบฏบวรเดช (14-23 ตลุ าคม 2476)
 ยบุ กระทรวงวงั เปน็ สานกั พระราชวงั
 เลกิ การปกครองแบบมณฑลเทศาภบิ าล ดว้ ย พ.ร.บ. การปกครองพระราชอาณาจกั รสยาม

พ.ศ. 2477
 ตั้งกรมพลศกึ ษา เมอ่ื 1 เมษายน 2477 นาวาเอกหลวงศภุ ชลาศยั เปน็ อธบิ ดคี นแรกหลงั ถกู

ใหอ้ อกจากราชการกรมทหารเรอื เนอ่ื งจากกอ่ ความวนุ่ วายในกองทพั เรอื เมอื่ ปลายปี พ.ศ.
2476
 ขา้ วปนิ่ แกว้ ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ ในการประกวดทแ่ี คนาดา
 เสดจ็ ทวีปยโุ รปเพอื่ รกั ษาพระเนตรระหวา่ งในประเทศสหราชอาณาจกั รวนั ที่ 12 มกราคม
พ.ศ. 2476 - 27 สงิ หาคม พ.ศ. 2477

ปพี ทุ ธศกั ราช 2477

 แปรสภาพจากกรมทหารเรอื เปน็ กองทพั เรอื
 เปดิ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เมอ่ื 27 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2477

การสละราชสมบตั ิ

หลังจากเหตกุ ารณก์ ารปฏิวัตสิ ยาม พ.ศ. 2475 พระองค์เสด็จพระราชดาเนินพร้อม
ดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ราไพพรรณี พระบรมราชินไี ปเจริญทางพระราชไมตรกี บั ประเทศใน
แถบยโุ รป พร้อมท้งั เสดจ็ ประทับที่ประเทศอังกฤษ เพอ่ื ทรงเข้ารับการผา่ ตัดและรักษาพระ
เนตร ในการน้ีได้แต่งตั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์เป็น
ผู้สาเรจ็ ราชการแทนพระองค์ ในระหว่างน้พี ระองคย์ งั ทรงตดิ ต่อราชการกับรฐั บาลผา่ นทาง
ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ซ่ึงยังคงปรากฏข้อขัดแย้งต่าง ๆ ท่ีไม่สามารถหาข้อยุติกันได้
และไม่เปน็ ไปตามทพี่ ระองคไ์ ด้วางแผนให้เป็น คอื ตอ้ งการมอบประชาธปิ ไตยใหก้ บั คนไทย
ทุกคน ดังน้ันเม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จต่างประเทศเพ่ือผ่าตัดพระ
เนตรแลว้ ก็มิได้เสดจ็ กลบั ประเทศไทย ยงั คงประทับอยู่ ณ ประเทศองั กฤษ

คณะรัฐบาลจัดต้ังกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่งเดินทางไปเฝ้ากราบบังคมทูลเชิญ
พระองค์เสด็จกลบั ประเทศไทย แตก่ ารกราบบงั คมทูลเชิญเสด็จกลับน้ันกลับไม่เป็นผล ทา
ให้พร ะ บา ทส ม เด็จพ ร ะป ก เก ล้า เ จ้า อยู่หัว ท ร งตัดสิน พร ะร า ชห ฤ ทัย ปร ะ กา ศส ล ะร า ช
สมบัติ ในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 และหลังจากท่ีทรงสละราชสมบัติแล้ว
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรม
ราชินี และพระประยูรญาติท่ีสนิทบางพระองค์ ก็ได้เสด็จประทับท่ีรัฐเวอร์จิเนียวอเตอร์
(Virginia Water) อนั เป็นชนบทใกล้กรงุ ลอนดอนเป็นการถาวร

เสดจ็ สวรรคต

พระตาหนกั Compton House ตาบลเวอรย์ เิ นยี วอรเ์ ตอร์
หลงั จากทพ่ี ระองคท์ รงสละราชสมบตั แิ ลว้ พระองคย์ งั คงประทบั อยู่ ณ ประเทศ
องั กฤษพรอ้ มกบั สมเดจ็ พระนางเจา้ ราไพพรรณี พระบรมราชนิ ี และพระประยรู ญาตสิ นทิ
บางพระองค์ จงึ ทรงยา้ ยทป่ี ระทบั จากใจกลางเมอื งไปอยใู่ นชนบท ณ พระตาหนกั
Compton House ตาบลเวอรย์ เิ นยี วอรเ์ ตอร์ ใกลก้ รงุ ลอนดอน
ทรงวางพระองคเ์ ยยี่ งคหบดชี นบท ทรงจดั สวน เลยี้ งนกเลย้ี งปลา เสดจ็ ประพาส
ทศั นศกึ ษาตามโบราณสถานตา่ ง ๆ เปน็ ตน้


Click to View FlipBook Version