The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by taweerak.t, 2020-07-01 22:33:28

เอกสาร ว31207 edt 1

เอกสารประกอบการเรียน






โล ราาสร และอวาศ







ธรวิยา 1


































ช�นมัธยมศึกษาปที 4 ภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2563

กลุมสาระการเรียนร้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบรี




่ ั ่
ชือ-สกุล .............................................................................................. ช�น ม.4/…… เลขที .......

ข | เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ตารางการสงงาน



ครั�งที ่ วนทีส่ง เรอง ลงขือ หมายเหตุ




















































โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศึกษาปที ่ 4 ธรณีวทยา 1

เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | ค



เนื้อหา
ตารางการสงงาน ..................................................................................................................................................................................... ข



แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรูท 1 ........................................................................................................................................... 1

หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรางโลก ........................................................................................................................................................ 2
ความเขาใจเกี่ยวกับโลก ...................................................................................................................................................................... 3



โครงสรางของโลกตามสมบติเชงเคมี .................................................................................................................................................. 4

ใบงานที 1.1 โครงสรางโลกตามองคประกอบทางเคมี ........................................................................................................................ 6
คลื่นและสมบัติของคลื่น ..................................................................................................................................................................... 7

คลื่นไหวสะเทือน ........................................................................................................................................................................... 7
กิจกรรม 1.1 การศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่ผานโครงสรางโลก ........................................................................................................... 9

ใบงานที 1.2 คลื่นไหวสะเทือน ......................................................................................................................................................... 11

โครงสรางโลกตามสมบัติเชิงกล ........................................................................................................................................................ 14

สรุปโครงสรางโลก ............................................................................................................................................................................ 15


ใบงานที 1.3 เรื่อง โครงสรางโลกตามสมบัติเชิงกล .......................................................................................................................... 16
ใบงานที 1.4 เรือง โครงสรางของโลก ............................................................................................................................................... 17


ี่
แบบฝกหัดทายหนวยการเรียนรูท 1 ................................................................................................................................................. 20
แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรูท 2 ......................................................................................................................................... 23



หนวยการเรียนรูที่ 2 การแปรสัณฐานของแผนธรณี .............................................................................................................................. 24
กิจกรรม 2.1 A Plate Tectonic Puzzle ....................................................................................................................................... 25
กิจกรรม 2.2 แบบจำลองการแผขยายของพื้นมหาสมุทร ................................................................................................................. 28

ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผนธรณี ................................................................................................................................................ 30


ทฤษฎีทวีปเลือน (Continental Drift Theory) .......................................................................................................................... 30
ทฤษฎีการแผขยายของพนสมุทร (Theory of sea floor spreading) ....................................................................................... 32


ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน (Plate tectonics theory) ................................................................................................................... 33
กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน ..................................................................................................................................................... 34

ใบงานที 2.1 ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ............................................................................................................................................... 35

กิจกรรม 2.3 กิจกรรมธรณีสัณฐานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผนธรณี .......................................................................................... 36

รูปแบบการเคลือนทของแผนธรณี .................................................................................................................................................... 37




ใบงานที 2.2 การเคลื่อนที่ของแผนธรณี ........................................................................................................................................... 39

ใบงานที 2.3 ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผนธรณีภาค .................................................................................................................... 40
การเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน .......................................................................................................................................................... 43







โรงเรยนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบร ช�นมธยมศึกษาปท ่ ี 4 ธรณีวิทยา 1

ง | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


ชั้นหินคดโคง (Folds) .................................................................................................................................................................. 44

รอยเลือน (fault) ......................................................................................................................................................................... 46

ใบงานที 2.4 การเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน ..................................................................................................................................... 47

แบบฝกหัดทายหนวยการเรียนรูท 2 ................................................................................................................................................. 48
ี่

แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรูท 3 ......................................................................................................................................... 52



หนวยการเรียนรูที่ 3 ธรณีพิบติภัย ........................................................................................................................................................ 53
กิจกรรม 3.1 ความสัมพันธของตำแหนงการเกิดภูขาไฟบนแผนธรณี .............................................................................................. 54

ภูเขาไฟระเบด (volcano) ................................................................................................................................................................ 57



ประเภทของภูเขาไฟ แบงตามระยะเวลาการปะท ....................................................................................................................... 58
ประเภทของภูเขาไฟ แบงตามรูปรางและสวนประกอบ ............................................................................................................... 59

ใบงานที 3.1 ภูเขาไฟระเบิด ............................................................................................................................................................. 60
ใบงานที 3.2 ภูเขาไฟ ....................................................................................................................................................................... 61

แผนดินไหว (earthquake) .............................................................................................................................................................. 64

ทฤษฎีการเกิดแผนดินไหว ........................................................................................................................................................... 64

ลักษณะของการเกิดแผนดินไหว .................................................................................................................................................. 64

คลื่นพื้นผิว (Surface wave) ....................................................................................................................................................... 64
แผนดินไหวแบบตาง ๆ (Types of Earthquakes) ..................................................................................................................... 65

กิจกรรม 3.1 กิจกรรม ผลจากการเกิดแผนดินไหว ........................................................................................................................... 67


ใบงานที 3.3 แผนดินไหว ................................................................................................................................................................. 68
สึนามิ (tsunami) ............................................................................................................................................................................. 69

ใบงานที 3.4 สึนามิ .......................................................................................................................................................................... 70

































โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศึกษาปที ่ 4 ธรณีวทยา 1

เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 1


แบบทดสอบก่อนเรียน


หน่วยการเรียนร้ที 1






คำชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคำตอบท่ถูกตองท่สุดเพยงขอเดยว


1. ขอใดไมใชขอมูลที่ใชในการการศึกษาโครงสรางโลก 6. ถาแบงโครงสรางโลกตามหลักฐานจากการวัดคลื่นไหวสะเทือน
1. องคประกอบทางเคมีของอุกกาบาต จะแบงโครงสรางโลกไดตามขอใด
2. องคประกอบของหินจากดวงจันทร 1. เปลือกโลก เนื้อโลก และแกนโลก
3. องคประกอบทางเคมีของหินและแร 2. ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค และไตรภาค
4. วัดอุณหภูมิภายในโลกจากการขุดเจาะหลุม 3. เปลือกโลก ฐานธรณีภาค ไตรภาค และแกนโลก
5. การเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผานโลก 4. ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค




2. ขอใดเปนวิธีการศึกษาโครงสรางโลกโดยทางออม แกนโลกชนนอก และแกนโลกชนใน
5. เปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค ไตรภาค
1. ศึกษาจากหินภูเขาไฟ แกนโลกชนนอก และแกนโลกชนใน




2. เจาะสำรวจภายในโลก
3. ศึกษาจากชุดหินโอฟโอไลต 7. ถาแบงโครงสรางโลกตามองคประกอบทางเคมีของหินและแร
4. ศึกษาคลื่นไหวสะเทือนจากแผนดินไหว จะแบงโครงสรางโลกไดตามขอใด
5. ศึกษาสวนประกอบทางเคมีของอุกกาบาตที่ตกมา 1. เปลือกโลก เนื้อโลก และแกนโลก
ยังพื้นโลก 2. ฐานธรณีภาค ไตรภาค และแกนโลก

3. ขอใดเปนคลื่นไหวสะเทือนที่ใชในการศึกษาโครงสรางโลก 3. ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค และไตรภาค
4. ธรณีภาค ฐานธรณีภาค และมัชฌิมภาค
1. คลื่นเลิฟและคลื่นเรยลี 5. เปลือกโลก เนือโลกชนนอก และเนือโลกชนใน






2. คลื่นเลิฟและคลื่นฮารท
3. คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทติภูมิ 8. ขอใดเปนธาตุหลักที่เปนองคประกอบของเปลือกโลกทวีป

4. คลื่นทุติยภูมิและคลื่นตติภูมิ 1. ซิลิคอน และทองแดง
5. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง 2. ซิลิคอน และอะลูมิเนียม
4. คลื่นปฐมภูมิสามารถเคลื่อนทผานตัวกลางสถานะใดได 3. ซิลิคอน และแมกนีเซียม
ี่
4. ซิลิคอน ทองแดง และเหล็ก
1. ของเหลว แกส 5. ซิลิคอน ทองแดง และอลูมิเนยม


2. ของไหล พลาสมา
3. ของแข็งผลึกอัญรูป 9. ขอใดเปนธาตุหลักที่เปนองคประกอบของเปลือกโลกมหาสมุทร
4. ของแข็ง พลาสมา แกส 1. ซิลิคอน และทองแดง 2. ซิลิคอน และอะลูมิเนยม


5. ของแข็ง ของเหลว แกส 3. ซิลิคอน และแมกนีเซียม 4. ซิลิคอน ทองแดง และเหล็ก


5. ซิลิคอน ทองแดง และอลูมิเนยม
5. คลื่นทุติยภูมิสามารถเคลื่อนทผานตัวกลางสถานะใดได
ี่



1. แกส 2. ของแข็ง 10. ชนแกนโลกประกอบดวยธาตุหลักในขอใด
3. ของเหลว 4. พลาสมา 1. เหล็กและนิกเกิล 2. เหล็กและซิลิคอน
5. ของไหล 3. เหล็กและออกซิเจน 4. นิกเกิลและออกซิเจน
5. นิกเกิลและซิลิคอน








โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก







2 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



หน่วยการเรียนรที 1




โรรางโล













































วิทยาศาสตร์โลก (earth science)


• วิทยาศาสตรโลก หรือ โลกศาสตร หมายถึง วิทยาศาสตรที่อธิบายเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับโลก ซึ่งเกี่ยวของกบสภาวะแวดลอม

ทางธรรมชาติที่ประกอบดวย 4 ภาคหลัก ดังน ี้
- ธรณีภาค (geosphere หรือ lithosphere) ไดแก

สวนที่เปนของแข็ง เชน ดิน หิน แร

- อากาศภาค (atmosphere) ไดแก สวนท เปนแกสซึง
ี่
ปกคลุมพื้นผิวโลก เชน ฝุนละออง ไอนำ อากาศ


- อุทกภาค (hydrosphere) ไดแก สวนที่เปน น้ำ เชน



แมน้ำ ลำธาร ทะเล มหาสมุทร นำในเขือน ธารนำแขง



(ในบางครั้งอาจจะแยก ธารนำแข็งออกมาเปนอีกภาค
หนึ่ง ซึ่งเรียกวา หิมะภาค (cryosphere))


- ชีวภาค (biosphere) ไดแก สวนที่เปน สิ่งมีชีวิต เชน

คน สัตว พช




โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 3




ความเขาใจเกียวกับโลก
โลก (Earth) เปนดาวเคราะหที่มีกำเนิดมาจากกลุมแกสและธาตุตาง ๆ จากเนบิวลาสุริยะ
พรอมกับ ดาวเคราะหดวงอื่น ๆ ในระบบสุริยะ โลกและดาวเคราะหดวงอื่น ๆ โลกเปนดาวเคราะหหิน
8
(terrestrial planet) ลำดับที่ 3 ในระบบสุริยะ อยูหางจากดวงอาทิตย 1.496 × 10 กิโลเมตร เกิดขึน

เมื่อประมาณ 4,500 ลานปกอน โลกเริ่มกำเนิดโดยการพอกพูนมวลจากการปะทะและหลอมรวมกันของ
วัตถุที่เหลือ จากการกอตัวของดวงอาทิตย โดยโลกมีวิวัฒนาการมาอยางตอเนื่อง แบงไดดังน ี้

• ขั้นเริ่มตน (initial state) เปนชวงที่เริ่มมีการรวมตัวของเศษดาวเคราะห

• ขั้นกอเหล็ก (iron catastrophic state) ชวงตนของการกำเนิดโลก โลกมีลักษณะเปนลูกบอลไฟที่เปน
ของเหลวรอนในอวกาศ ซึ่งเปนชวงที่โลกมีอุณหภูมิสูง สสารที่ประกอบ เปนโลกยังหลอมรวมกันดวย


ื่

ความรอนเนื่องจากการปะทะของวัตถุอน ๆ ที่หลงเหลือจากการกอตัว ของดวงอาทตย การทโลกถูกวัตถุ

ที่หลงเหลือจากการกอตัวของดวงอาทิตยพงชนนั้น นอกจากจะ ทำใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นแลว ยังทำใหโลกมี
ุ


ขนาดใหญขึ้นจึงมีแรงโนมถวงเพิ่มมากขึ้น สามารถดึงดูดวัตถุอื่น ๆ เขามาปะทะมากขึ้น โลกในขณะนน
เปรียบเหมือนลูกบอลไฟขนาดใหญที่เปนสารเหลว รอน ที่ผิวมีอุณหภูมิสูงถึง 2,000 องศาเซลเซียส ธาตุ
ที่มีความหนาแนนมากจะจมลงสูใจกลางโลก สวนธาตุที่มีความหนาแนนนอยกวาจะรวมตัวกันอย  ู
ดานบน ทำใหเกิดกระบวนการแยกชั้นของโลก (planetary differentiation) ในขั้นถัดไป ในชวงน ี ้
ใชเวลาประมาณ 30 ลานป โลกจึงมีขนาดเทากับปจจุบัน



• ขั้นแยกชั้น (planetary differentiation state) โลกในชวงที่ไมมีการปะทะกับวัตถุอื่นแลวใหอณหภูมิ
ภายนอกของโลก ลดลงอยางชา ๆ สวนนอกสุดของโลกเกิดการแข็งตัวจนกลายเปนชั้นของแข็งบาง ๆ
หอหุมโลก แตภายในยังมีอุณหภูมิสูงและความดันสูง และมีการอัดตัวของธาตุทำใหเกิดโครงสรางภายใน




แบงเปนชน ๆ ไดแก เปลือกโลก เนือโลก และแกนโลก ซึงชนแกนโลกประกอบดวยธาตุหนักไดแก เหล็ก






และนิเกิล เปนสวนใหญ ชนเปลือกโลกประกอบดวยธาตุที่เบากวา ไดแก ซิลิกอน อลูมิเนียม แมกนีเซียม


และแคลเซียม สวนชั้นเนื้อโลกเปนสารผสมระหวางสารชนในเปลือกโลกกับแกนโลก
• ขั้นเกิดใหม (earth-reborn state) เกิดการพาความรอนและการถายเทความรอนของหินในชั้นเน้อ


โลก ทำใหอุณหภูมิของโลกเย็นตัวลงจนชั้นเนื้อโลกแขงตัว
• ขั้นเย็นตัวลง (engine-down state) โลกในปจจุบันที่มีทั้งสวนที่ปกคลุมดวยน้ำและสวนท ี ่


เปนแผนดิน ท เกิดขึ้นภายหลังที่โลกมีอุณหภูมิลดลงแลว สภาพของโลกในปจจุบันเกิดจากทง ้ ั
กระบวนการ เปลียนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก


























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก



4 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


ี่
การศึกษาโครงสรางโลกมีขอจำกดของเทคโนโลยีทไมสามารถเจาะเขาไปใจกลางโลกได จึง จำเปนตองศึกษาจากขอมูล


หลายดาน เชน องคประกอบทางเคมีของหิน อุกกาบาตเหล็ก ขอมูล คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผานโลก
โครงสร้างของโลกตามสมบัติเชงเคมี





























นักวิทยาศาสตรศึกษาโครงสรางของโลกโดยใชทฤษฎีการกำเนิดโลกและองคประกอบทางเคมี แบงโลกเปนชั้นตาง ๆ ดังน ี้

เปลือกโลก (Crust)

• เปนชั้นนอกสุดและบางที่สุดของโลก มีความหนาประมาณ





5 - 70 กโลเมตร แบงเปน 2 สวน ดังน
- เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (continental crust) บริเวณท ่ ี
องคประกอบสวนใหญเปนซิลิคอนและอะลูมิเนียม จึงเรียก

สวนนี้วา ไซอล (SIAL มาจาก Silicon กับ Aluminium)
- เปลือกโลกภาคพนมหาสมุทร (oceanic crust) บริเวณท ี่


อยูใตมหาสมุทรตาง ๆ หนาประมาน 5-10 กิโลเมตร
องคประกอบสวนใหญเปนซิลิคอนและแมกนีเซียม จึงเรียก
สวนนี้วา ไซมา (SIMA มาจาก Silicon และ Magnesium)
และสวนใหญเปนหินบะซอลท 




• ถดจากชนเปลือกโลกลงไปจะเปนเนื้อโลก ซึ่งรอยตอระหวางชั้น

ทั้งสองจะมีแนวที่เรียกวา แนวไมตอเนื่องโมโฮโรวิซก

(mohorovicic discontinuity) หรือ โมโฮ (moho)
• เปลือกโลกภาคพื้นทวีปจะมีความหนาแนนนอยกวาเปลือกโลก
ภาคพื้นสมุทร

















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก


เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 5


เนื�อโลก (Mantle)




• เปนสวนที่อยูลึกถัดจากชั้นเปลือกโลก ซึ่งมีความหนา ประมาณ 2,900 กโลเมตร แบงเปน 2 สวน ดังน



- เนื้อโลกสวนบน (upper mantle) มีความหนาประมาณ 300 กิโลเมตร และมีลักษณะเปนหินแข็งอยูใตชัน เปลือกโลกไป
ถึงระดับประมาณ 400 กิโลเมตร ถัดลงมา เปนหินที่อยูในสภาพหลอมละลายบางสวน เรียกวา หินหนืด (magma) ที่มี
อุณหภูมิประมาณ 2,000 - 2,500 °C


- เนื้อโลกสวนลาง (lower mantle) มีความหนา ประมาณ 2,300 กิโลเมตร ประกอบดวยหินหนืดท มีความหนืดนอยกวา

เนือโลกสวนบน มีอุณหภูมิสูง ประมาณ 2,500 - 4,000 °C


• ระหวางชั้นเนื้อโลกสวนบนกับเนื้อโลกสวนลาง เรียกวา ชั้นทรานซิชัน (transition zone) ซึ่งอยูที่ชวงความลึก 400 - 660


กโลเมตรจากผิวโลก

แก่นโลก (Core)
• เปนชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,500 กิโลเมตร แบงเปน 2 สวน ดังน ี้

- แกนโลกสวนนอก (outer core) สวนที่อยูตอจาก เนื้อโลกสวนลาง หนาประมาณ 2,500 กโลเมตร ประกอบดวยเหล็กและ

นิกเกิลที่อยูในสภาพ หลอมละลาย มีอุณหภูมิสูงประมาณ 4,000 °C

- แกนโลกสวนใน (inner core) สวนที่อยูใจกลางโลก หนาประมาณ 1,000 กโลเมตร ประกอบดวย เหล็กและนิกเกิลที่อยูใน



สภาพของแข็ง เนองจากมี ความดันสูงมากและมีอุณหภูมิสูงมากที่สุด ประมาณ 6,000 °C


• ระหวางชนแกนโลกกับชนเนือโลก มีแนวทเรียกวา แนวไมตอเนื่องกูเทนเบิรก (Gutenberg discontinuity)







ส่วนประกอบทางเคมีของโลก

ชั�น สวนประกอบทางเคมี สารประกอบ
ภาคพื้นทวีป ซิลิคอน (Si) และอลูมิเนยม (Al) เปนสวนใหญ

เปลือกโลก แข็ง
ภาคพื้นมหาสมุทร ซิลิคอน (Si) และแมกนีเซียม (Mg) เปนสวนใหญ
สวนบน

เนื�อโลก ซิลิคอน (Si) เหล็ก (Fe) และ แมกนเซียม (Mg) แข็ง
สวนลาง
สวนนอก เหลว
แก่นโลก เหล็ก (Fe) และนิกเกิล (Ni)
สวนใน แข็ง

























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









6 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 1.1

โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี




คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับโครงสรางโลกตามองคประกอบทางเคมีในรูปแบบของแผนผัง ความคิด และนำเสนอ
ผลงาน






























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก





เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 7





คลืนและสมบัติของคลน



• การจําแนกคลืนตามลักษณะการเคลือนที

















1. คลืนตามยาว (Longitudinal wave) เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ไปมาในแนวเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
ตัวอยางของคลื่นตามยาวไดแก คลื่นเสียง คลื่นในขดลวดสปริง

2. คลื่นตามขวาง (Transverse wave) เปนคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ในทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลืน
ตัวอยางของคลื่นตามขวางไดแก คลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นในเสนเชือก


คลืนไหวสะเทือน

คลื่นไหวสะเทือน (Seismic waves) เปนคลื่นที่ถายทอดพลังงานผานภายในโลก อาจเกิดจากแผนดินไหว การระเบิด หรือ
กิจกรรมอื่น ๆ ที่กอใหเกิดคลื่นความถี่ต่ำ ความเร็วของการกระจายของคลื่นมีความสัมพันธกับความหนาแนนและความยืดหยุนของ
ตัวกลาง นักธรณีฟสิกสใชสมบัติของการสะทอนและการหักเหของคลื่นไหวสะเทือนผานชั้นหินตาง ๆ เพื่อวิเคราะหและตรวจสอบ

โครงสรางใตดิน


ี่
• คลืนในตวกลาง (Body wave) เปนคลื่นทเดินทางผานเขาไปในเนือโลกในทุกทิศทาง


o คลื่นปฐมภูมิ (Primary wave: P wave) เปนคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหว
สะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวแบบอัดขยาย ในแนว
เดียวกับที่คลื่นสงผานไปผานตัวกลางที่เปนของแข็ง ของเหลว และกาซ มี

ความเร็วประมาณ 6–8 กิโลเมตร/วินาท
o คลื่นทุติยภูมิ (Secondary wave: S wave) เปนคลื่นตามขวางที่เกดจากความ

ไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางท ี ่
คลื่นผาน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผานไดเฉพาะตัวกลางที่เปน

ของแข็งเทานั้น มีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาท ี

• คลื่นพื้นผิว (Surface wave) เปนคลื่นทเดินทางบนผิวโลก ในลักษณะเดียวกับการ
ี่
โยนหินลงไปในน้ำแลวเกิดระลอกคลื่นบนผิวน้ำ คลื่นพื้นผิวเคลื่อนที่ชากวาคลื่นใน

ตัวกลาง
o คลื่นเลิฟ (L wave) เปนคลื่นที่ทำใหอนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวราบ โดยมี

ี่
ทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนทของคลื่น

o คลื่นเรยลี (R wave) เปนคลื่นที่ทำใหอนภาคตัวกลางสั่นมวนตัวขึ้นลงเปนรป



วงรี ในแนวดิง โดยมีทศทางเดียวกับการเคลื่อนทของคลื่น




โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









8 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ความเร็วของคลืนไหวสะเทือน


คลื่นไหวสะเทือนแตละชนิดสามารถเดินทางผานชั้นหินตาง ๆ ไดดวยความเร็วท แตกตางกันขึ้นอยูกับสมบัติทางกายภาพ
ของหินแตละชนิด เชน ระหวางดินแหงกับดินเปยก คาความหนาแนนยอมไมเทากัน ดังนั้นคาความเร็วคลื่นไหวสะเทือนภายในดินแหง

จึงแตกตางจากดินเปยก หรือระหวางหินทรายกับหินปูน คาความหนาแนนของหินทรายที่มีควอตซเปนองคประกอบ กับหินปูนที่มี

แคลไซดเปนองคประกอบแตกตางกน ดังนั้นคาความเร็วคลื่นไหวสะเทือนยอมแตกตางกัน ตารางดานลางแสดงคาความเร็วคลื่นพและ

คลื่นเอสของดินและหินที่สำคัญ





ตารางแสดงคาความเรวของคลืนไหวสะเทอนของวัตถุชนิดตาง
ชนิดของวัสดุ ความเรวคลืนปฐมภูมิ (เมตร/วินาท) ความเรวคลืนทติยภูมิ (เมตร/วินาท)







อากาศ 332 -
น้ำ 1,400 - 1,500 -
ปโตรเลียม 1,300 - 1,400 -

เหล็ก 6,100 3,500
คอนกรีต 3,600 2,000
หินแกรนิต 5,500 - 5,900 2,800 - 3,000
หินบะซอลต 6,400 3,200
หินทราย 1,400 - 4,300 700 - 2,800
หินปูน 5,900 - 6,100 2,800 - 3,000
ทราย (ยังไมแข็งตัว) 200 - 1,000 80 - 400
ทราย (แข็งตัว) 800 - 2,200 320 - 880

ดินหรือเคลย 1,000 - 2,500 400 - 1,000
ตะกอนธารนั้าแข็ง 1,500 - 2,500 600 - 1,000




การเปลียนโหมดของคลืนไหวสะเทือน (Mode conversion)
เมื่อคลื่น P หรือคลื่น S กระทบกับรอยตอของ

ตัวกลางตางชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะทอนและหัก
เหของทั้งคลื่น P และ S เอสดังแสดงในรูป

จากรูปจะพบวาเมื่อคลื่น P หรือคลื่น S ตกกระทบ
รอยตอของชั้นตาง ๆ จะปรากฎคลื่นสะทอนและหักเหท้ง ั

คลื่น P และ คลื่น S ปรากฎการณนี้เราเรียกวาการเปลี่ยน
โหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให เราสามารถ
อธิบายไดวาทำไมจึงพบคลื่น S บริเวณรอยตอของชั้นแกน รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะทอนและคลื่นหักเหแบบทำมุม

(ก) เมื่อคลื่น P ตกกระทบ (ข) เมื่อคลื่น S ตกกระทบ
โลกชั้นนอกและแกน โลกชั้นใน คลื่น S ดังกลาวเปนคลื่นท ี ่
แตกตัวออกมาจากคลื่น P ที่ตกกระทบรอยตอระหวางแกนโลกชั้นนอกและแกนโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเปนคลื่นตามยาวตก
กระทบที่รอยตอของวัสดุ พลังงานบางสวนทำใหอนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเปนคลื่น S การเปลี่ยนโหมดของคลื่นเกดขนเมื่อคลื่น

ึ้
เคลื่อนที่กระทบกับรอยตอระหวางวัสดุตางชนิดกัน (ที่มีความตานทานตอการสะทอนตางกัน)












โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก


เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 9


กิจกรรม 1.1



การศึกษาคลนไหวสะเทือนทีผ่านโครงสร้างโลก




จุดประสงคกิจกรรม
แปลความหมายและอธิบายขอมูลการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนตามระดับความลึกของโครงสรางโลกจากกราฟท ี่
กำหนดให

ระดับความลึก คลื่น P คลื่น S สถานะของ
(กิโลเมตร) ชวงของความเรว ชวงของความเรว ตัวกลาง



(กิโลเมตรตอวินาท) (กิโลเมตรตอวินาท)


0-100


100-660



660-2,900


2,900–5,150



5,150-6,370

คำถามทายกิจกรรม

โครงสรางโลกแตละระดับความลึกมีสถานะเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทราบไดอยางไร






















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก







10 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



































































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก




เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 11



ใบงานที 1.2


คลนไหวสะเทือน

ตอนที่ 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคลื่น

1. คลื่น หมายถึง


2. จากรูป จงระบุสวนประกอบตาง ๆ ของคลื่นจากคำที่กำหนดให (แอมพลิจูด, ความยาวคลื่น, สันคลื่น, ทองคลื่น)










3. เมื่อความยาวคลื่นมาก ความถี่ของคลื่นจะ และ เมื่อความยาวคลื่นมาก ความถี่ของคลื่นจะ


ตอนที่ 2 คลืนไหวสะเทอน (Seismic Waves)


4. คลื่นไหวสะเทือน หมายถึง


5. ทำไมจึงตองศึกษาคลื่นไหวสะเทือน


6. คลื่นไหวสะเทือนแบงออกเปนกีชนิด อะไรบาง




7. คลื่นในตัวกลางแบงออกเปนกีชนิด อะไรบาง



8. คลื่นไหวสะเทือนชนิดใดที่เดินทางบนพื้นผิวของโลก




9. จงอธิบายลักษณะการเดินทางของคลื่นปฐมภูมิ คลื่นทติยภูมิ และคลื่นพื้นผิว





10. คลื่นไหวสะเทือนที่เดินทางไดเร็วที่สุด ไดแกคลื่นใด














โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก


12 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


11. คลื่นไหวสะเทือนชนิดใดที่สามารถเดินทางผานชั้นตาง ๆ ในโครงสรางของโลกได




12. คลื่นไหวสะเทือนชนิดใดที่สามารถเดินทางไดในชั้นเนื้อโลก แตไมสามารถเดินทางไดในแกนโลกชนนอก และเพราะเหตุใด





13. คลื่นไหวสะเทือนที่เดินทางผานแกนโลกชั้นนอกไปจนถึงแกนโลกชั้นในได คือคลื่นใด




14. จงเติมคำ “คลื่น P, คลื่น S, คลื่น L หรือ คลื่น R” ลงในชองวางดังตอไปนี้ เพื่อใหคำตอบที่สมบูรณ

14.1 14.2

_______ _______


14.3 14.4

_______ _______




14.5 14.6

_______ _______




14.7 _______ และ ________ เปนคลื่นพื้นผิว 14.8 _______ และ ________ เปนคลื่นในตัวกลาง

14.9 _______ เปนคลื่นพื้นผิวที่เร็วที่สุด 14.10 _______ เปนคลื่นในตัวกลางที่เร็วที่สุด


14.11 _______ และ _______ อนุภาคเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศ 14.12 _______ อนุภาคเคลื่อนที่เปนวงกลมเมื่อคลื่น
ทางการเคลื่อนที่ของคลื่น เดินทางผาน


14.13 _______ เปนคลื่นตามยาว 14.14 _______ เปนคลื่นตามขวาง

15. กราฟแสดงเวลาที่คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ เคลื่อนที่มาถึงเครื่องวัดความไหวสะเทือน

จงเรียงลำดับความเร็วของคลื่นแตละชนิดที่เคลื่อนที่มาถง

เครื่องวัดความไหวสะเทือน พรอมใหเหตุผลประกอบ










โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก










เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 13


ตอนที่ 3 ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนกับโครงสรางของโลก

16. ใหนักเรียนอธิบายความแตกตางของคลื่น P กับคลื่น S และความสัมพันธกับระดับความลึก โดยใชขอมูล จากแผนภาพตอไปนี ้


















17. จากขอ 16. การตรวจวัดคลื่นแผนดินไหว พบวา คลื่น P สามารถตรวจวัดไดกอนคลื่น S เสมอ จากขอมูลที่ไดสามารถสรุปผล
เกี่ยวกับอัตราเร็วของคลื่น P และคลื่น S ไดอยางไร






18. ฐานธรณีภาคและธรณีภาคมีสมบัติแตกตางกันหรือไม ทราบไดอยางไร





19. บริเวณใดที่คลื่น S ไมสามารถเคลื่อนที่ผานได เพราะเหตุใด





ึ้

20. คลื่น S ทปรากฏอยูในแกนโลกชนในเปนคลืน S เดียวกับคลื่น S ที่ปรากฏอยูในชั้นมีโซสเฟยรหรือไม และคลื่น S ดังกลาวเกดขน




ไดอยางไร


21. นักวิทยาศาสตรศึกษาโครงสรางของโลกดวยวิธีการใด อยางไร









โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









14 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


โครงสร้างโลกตามสมบัติเชงกล


นักวิทยาศาสตรไดศึกษาคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่จากศูนยเกด

แผนดินไหวและพบวา บางบริเวณสามารถตรวจวัดไดทั้งคลื่นปฐมภูมิและ
ทุติยภูมิบางบริเวณไมสามารถตรวจวัดคลื่นปฐมภูมิไดบางบริเวณไมสามารถ
ตรวจวัดคลื่นทุติยภูมิได และบางบริเวณไมสามารถตรวจวัดไดทั้งคลื่นปฐมภูมิ
และคลื่นทุติยภูมิ เรียกบริเวณนี้วา เขตอับคลื่น (shadow zone) ซึ่งเปนผล


มาจากการสะทอนและ/หรือหักเห ของคลื่น จากการตรวจพบเขตอบคลื่นทำ
ใหนักวิทยาศาสตรคาดวาภายในโลกไมไดเปนเนื้อเดียวกัน นอกจากนี้การ
เคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วที่ระดับลึกตาง ๆ
นักวิทยาศาสตรจึงนำขอมูลทั้งหมดขางตนมาใชในการแบงชั้นโครงสรางโลก

1. ธรณีภาค (Lithosphere) ชั้นนอกสุดของโลก มีความหนาประมาณ


100 กโลเมตร ประกอบดวยเปลือกโลกทวป และ เปลือกโลกมหาสมุทร

ี่
คลื่น P wave และ S wave เคลื่อนทดวยความเร็วคอนขางคงตัวจนถง ึ
แนวแบงเขตโมโฮโรวซิก ซึ่งอยูที่ระดับลึกประมาณ 100 กโลเมตร คลื่น


ทั้งสองจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นฉับพลัน


2. ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) อยูใตแนวแบงเขตโมโฮโรวซิกลงไป

จนถึงระดับ 700 กิโลเมตร เปนบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็ว
เพิ่มขึ้นตามระดับลึก แบงเปน 2 เขต ดังน


• เขตความเร็วต่ำ (Low velocity zone หรือ LVZ) ที่ระดับลึก
100 - 400 กโลเมตร คลื่นทั้งสองมีความเร็วลดลงอยางไมสม่ำเสมอ

เนื่องจากบริเวณนี้เปนของแข็งเนื้อออน อุณหภูมิที่สูงมากทำใหแร

บางชนิดเกิดการหลอมละลายเปนหินหนืด
• เขตการเปลี่ยนแปลง (Transitional zone) อยูบริเวณเนื้อโลก
ตอนบน ระดับลึก 400 - 700 กิโลเมตร คลื่นทั้งสองมีความเร็ว

เพิ่มขึ้นมาก ในอัตราไมสม่ำเสมอ เนื่องจากบริเวณนี้มี

การเปลียนแปลงโครงสรางของแร

3. มัชฌิมภาค หรือ เมโซสเฟยร (Mesosphere) อยูบริเวณเนื้อโลก
ตอนลาง ที่ความลึก 700 - 2,900 กิโลเมตร เปนบริเวณที่คลื่นไหว
สะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ เนื่องจากเปนของแข็ง และมีความ
หนาแนนเพิ่มขึ้นตามความลึก

4. แกนชั้นโลกนอก (Outer core) ทีระดับลึก 2,900 - 5,150 กิโลเมตร
P wave ลดความเร็วลงฉับพลัน ขณะที่ S wave ไมปรากฏ เนื่องจาก
บริเวณนี้เปนเหล็กหลอมละลาย
5. แกนโลกชันใน (Inner core) ที่ระดับลึก 5,150 กิโลเมตร จนถึงความ


ลึก 6,371 กิโลเมตร P wave มีความเร็วขึนทีบริเวณรอบตอ เนื่องจาก

ความกดดันแรงกดดันภายในทำใหเหล็กเปลี่ยนสถานะเปนของแขง ทำ

ใหมี S wave เกิดขึ้น คลื่นทั้งสองเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว












โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก


เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 15



สรปโครงสร้างโลก


เปลือกโลกภาคพนทวป เปลือกโลกภาคพนมหาสมทร



























































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก

16 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 1.3

เรือง โครงสร้างโลกตามสมบัตเชงกล




คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับโครงสรางโลกตามสมบติเชิงกลในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน



























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก




เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 17


ใบงานที 1.4


เรอง โครงสรางของโลก



1. จงระบุวา ตำแหนงที่ลูกศรช หมายถึง สวนประกอบใดของโลก หรือแนวไมตอเนื่องใด
ี้




















































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก





18 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


2. จากภาพใหนักเรียนเติมตัวอักษร A – K หนาคำตอไปนลงในชองวางใหสัมพันธกันสวนประกอบของโลก
ี้


































A. เปลือกโลก หนา 0 – 70 กโลเมตร B. เนื้อโลก
C. แกนโลก D. ภาคพื้นทวีป


E. ธรณีภาค F. ฐานธรณีภาค





G. แกนโลกทเปนของแขง H. แกนโลกทเปนของเหลว
I. แกนโลกชนนอก J. แกนโลกชนใน





K. ลึกจากผิวโลกลงไป 6,360 กโลเมตร

3. ใหนักเรียนอธิบายลักษณะของชั้นและรอยตอตาง ๆ ของโลก ตอไปนี
ก. ธรณีภาค (Lithosphere) มีลักษณะเปน

ข. ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) มีลักษณะเปน



ค. แนวแบงเขตโมโฮโรวชก (Mohorovicic) มีลักษณะเปน




ง. มีโซสเฟยร (Mesosphere) มีลักษณะเปน


จ. เนื้อโลก (Mantle) มีลักษณะเปน


ฉ. แกนโลก (Core) มีลักษณะเปนโครงสรางโลกแตละชั้น มีสถานะและความหนาแนนแตกตางกันอยางไร เพราะเหตุใด







โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก








เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 19


4. อธิบายความแตกตางระหวางเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร


ลักษณะโครงสราง เปลือกโลกทวป (continental crust) เปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic crust)
ความหนาเฉลี่ย
สวนประกอบคลายหิน
ความถวงจำเพาะ
สารประกอบ

5. ชั้นเนื้อโลกมีลักษณะสำคัญอยางไร





6. แกนโลกชนนอกและแกนโลกชนในมีความแตกตางกันในลักษณะใด



7. ลักษณะสำคัญของสวนฐานธรณีภาคคืออะไร


8. แกนโลกมีความสัมพันธกับการเกิดปรากฏการณทางธรณีวิทยาและสนามแมเหล็กโลกในลักษณะใด



9. ภาพเปรียบเทียบการแบงชั้นโครงสรางภายในของโลก ทางซายใชสมบัติทางกายภาพเปนเกณฑและทางขวาใชสมสมบัติทางเคมี
เปนเกณฑ



























9.1 การแบงโครงสรางโลกโดยใชสมบติของคลื่นไหวสะเทือน (สมบัติทางกายภาพ) แบงออกเปนกี่ชน อะไรบาง

ั้




9.2 การแบงโครงสรางโลกโดยใชองคประกอบทางเคมีเปนเกณฑแบงออกไดกี่ชั้น อะไรบาง


9.3 โครงสรางใดบางที่มีสถานะเปนของแข็ง


โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก











20 | เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1





แบบฝกหัดท้ายหน่วยการเรียนร้ที 1

1. จงลากเสนเชื่อมโยงชื่อชั้นโครงสรางโลกกับขอความดานขวาที่มีความสัมพันธกัน


1) ธรณีภาค ก. เปนของแข็ง อุณหภูมิต่ำ ความหนาแนนนอยที่สุด

2) ฐานธรณีภาค หนาประมาณ 100 กโลเมตร
ข. เปนของแข็ง อุณหภูมิสูง ความหนาแนนมาก หนาประมาณ
3) มัชฌิมภาค 2,240 กโลเมตร



4) แกนโลกชนนอก ค. เปนของแข็งอุณหภูมิสูงมาก ความหนาแนนมากที่สุด

5) แกนโลกชนใน หนาประมาณ 1,230 กโลเมตร


ง. เปนของแข็งที่มีสมบัติเปนพลาสติก อุณหภูมิสูง


หนาประมาณ 600 กโลเมตร
จ. เปนของเหลว อุณหภูมิสูงมาก ความหนาแนนมาก

หนาประมาณ 2,255 กโลเมตร

2. จงเติมชื่อชั้นโครงสรางโลกใหสัมพนธกับสมบัติและองคประกอบของโครงสรางโลก


ชันโครงสรางโลก องคประกอบทางเคมี ความหนาแนนเฉลีย ( / )




ประกอบดวยแรทเปนสารประกอบของ ขลิกอน ออกซิเจน แมกนีเซียม
2.1 ……………………. 4.5
และเหล็ก
2.2 ……………………. ประกอบดวยเหล็กและนิกเกิล 13
2.3 ……………………. ประกอบดวยหินแกรนิต หรือหินบะซอลต เปนสวนใหญ 2.8





3. จากรูปโครงสรางโลก บริเวณ ก และ ข ทงสองบริเวณ คือสวนใดของโครงสรางโลก และ บริเวณทั้งสองมีลักษณะเหมือนกันหรือ

แตกตางกันอยางไร และมีองคประกอบทางเคมีเปนอยางไร จงอธิบาย




















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 21



4. จงทำเครื่องหมาย  หนาขอความที่ถูก และทำเครื่องหมาย  หนาขอความที่ผิด และแกใหถูกตอง
คำตอบ ขอความ แกไข


1) การศึกษาองคประกอบทางเคมีของชั้นเนื้อโลกสวนหนึ่งไดตัวอยาง

มา จากหินแปลกปลอมในระดับลึกที่ลาวาพาขึ้นมาบนผิวโลก

2) ผลจากการศึกษาอุกกาบาตเหล็กที่ตกลงมายังโลก เปนหลักฐาน

ี่
หนึ่งท ทำใหทราบองคประกอบของแกนโลก

3) ถาแบงโครงสรางโลกตามองคประกอบทางเคมี แกนโลกเปน


โครงสราง ชั้นที่มีความหนามากที่สุด


4) เ ปลือกโลกทวปประกอบดวยหินบะซอลตเปนสวนมาก



5) เปลือกโลกทวีปมีความหนาแนนเฉลี่ยมากกวาเปลือกโลก

มหาสมุทร



6) แหลงกำเนิดคลื่นไหวสะเทือนมีทงที่มาจากปรากฏการณธรรมชาติ
ั้

และ จากการกระทำของมนุษย
7) คลื่นปฐมภูมิมีความเร็วเพิ่มขึ้นเมื่อเคลื่อนที่ผานธรณีภาคและ
ฌิมภาค และมีความเร็วเปนศูนยเมื่อเคลื่อนที่ผานแกนโลก
ม ัช


ชนนอก

8) คลื่นทุติยภูมิไมสามารถเคลื่อนที่ผานโครงสรางโลกที่มีสถานะเปน

ของเหลวได
9) คลื่นปฐมภูมิมีความเร็วนอยกวาคลื่นทุติยภูมิ เมื่อคลื่นทั้งสอง

เคลื่อนท ผานชั้นฐานธรณีภาค
ี่

10) เขตความเร็วต่ำ อยูในชั้นธรณีภาค และเขตเปลี่ยนแปลง อยูในชน
ั้

ฐานธรณีภาค



5. จงตอบคำถามตอไปน
ี้
5.1 หากผลการวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของหินกอนหนึ่งพบวาเปนหินแกรนิต หินกอนนี้มีกำเนิดมาจากสวนใดของ
โครงสรางโลก



5.2 ชนเนือโลกประกอบดวยสสารในสถานะใด เปนสวนใหญ















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก




22 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


5.3 หลักฐานใดที่นำมาใชยืนยันวาแกนโลกชั้นนอกเปนของเหลว




5.4 เพราะเหตุใดผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กจึงใชเปนขอมูลอธิบายองคประกอบ ของแกนโลกได


5.5 นอกจากผลการศึกษาอกกาบาตเหล็กแลว หลักฐานใดชวยสนับสนุนวาแกนโลก ประกอบดวยเหล็กเปนสวนมาก





5.6 เพราะเหตุใดคลื่นไหวสะเทือนจึงเกิดการสะทอนและหักเหเมื่อเคลื่อนที่ผาน โครงสรางโลก



5.7 เปรียบเทียบลักษณะโครงสรางภายในโลกที่ไดจากการแปลความหมายแนว การเคลื่อนที่ของคลื่นปฐมภูมิในภาพ ก และ ข











5.8 ลาวาที่ปะทุขึ้นมาบนผิวโลก มีแหลงกำเนิดมาจากชั้นโครงสรางใด



5.9 เขตความเร็วต่ำ มีสมบัติแตกตางจากชั้นธรณีภาคอยางไร



5.10 คลื่นทุติยภูมิที่เกิดขึ้นใหมเมื่อคลื่นปฐมภูมิเคลื่อนทีผานแกนโลกชั้นนอกเขาไป ยังแกนโลกชั้นใน สามารถเดินทางออกมา
ที่ผิวโลกไดหรือไม เพราะเหตุใด

























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 1 โครงสร้างโลก









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 23


แบบทดสอบก่อนเรียน



หน่วยการเรียนร้ที 2







คำชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคำตอบท่ถูกตองท่สุดเพยงขอเดยว
1. ขอใดไมใชหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน 6. ขอใดไมใชคำอธิบายของทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน
1. ซากดึกดำบรรพกลอสโซพเทรีส 1. ธรณีภาคแตกออกเปนแผนธรณี
2. รูปรางของขอบทวีป 2. แผนธรณีมีการเคลื่อนที่ 3 รูปแบบ
3. กลุมหินและแนวเทอกเขา 3. มหาสมุทรมีการแผขยายออกตลอดเวลา




4. การสะสมตัวของตะกอนธารนำแข็ง 4. การเคลื่อนที่ของแผนธรณีทำใหเกดธรณีสัณฐาน



5. ซากดึกดำบรรพฟวซูลินด 5. การเคลื่อนที่ของแผนธรณีทำใหเกดธรณีพิบติภัย
2. จากทฤษฎีทวีปเลื่อน ทวีปใดเคยอยูติดกันมากอน 7. ขอใดเปนธรณีสัณฐานที่เกิดจากแผนธรณีเคลื่อนที่แยกออก
1. อเมริกาใตกบออสเตรเลีย จากกัน

2. อเมริกาเหนือกับยุโรป 1. หุบเขาทรุด
3. ยุโรปกับแอนตรากติกา 2. วงแหวนไฟ

4. ออสเตรเลียกบอเมริกาเหนอ 3. รองลึกกนสมุทร

5. อเมริกาใตกับยุโรป 4. แนวเทอกเขาสูง

3. ขอใดเปนขอมูลที่สนับสนุนวามหาสมุทรมีการแผขยายออก 5. หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง

1. ซากดึกดำบรรพ  8. ประเทศใดที่อยูในบริเวณแนวแผนธรณีเคลื่อนที่หากัน
2. แนวภูเขาไฟบริเวณขอบทวีป 1. จีน 2. อียิปต
3. กลุมหินและแนวเทอกเขา 3. ไอซแลนด 4. อินโดนีเซีย


4. อายุหินบนพื้นมหาสมุทร 5. ซาอุดิอาระเบีย

5. การสะสมตัวของตะกอนธารนำแข็ง 9. ธรณีพิบัติภัยใดที่สามารถเกดขึ้นไดจากเคลื่อนที่ของแผนธรณี


4. มหาสมุทรมีการแยกตัวออกจากกนที่บริเวณใด ทัง 3 รูปแบบ

1. รองลึกกนสมุทร 1. สึนามิ 2. ดินถลม
2. หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง 3. แผนดินไหว 4. ภูเขาไฟระเบด

3. สันเขากลางสมุทร 5. แผนดินทรุด
4. แนวภูเขาไฟบริเวณขอบทวีป 10. การเคลื่อนที่ของแผนธรณีแบบใดที่ทำใหเกิดสึนามิ
5. แนวเทือกเขาสูงบริเวณชายฝง
1. แผนธรณีมหาสมุทรเคลื่อนทผานกน

ี่
5. กระบวนการใดที่ทำใหแผนธรณีมีการเคลื่อนท ี่
2. แผนธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่แยกออกจากกัน



1. วงจรการพาความรอน 3. แผนธรณีทวปเคลือนทแยกออกจากกัน

2. การปรับสมดุลของเปลือกโลก 4. แผนธรณีทวีปเคลื่อนทผานกัน
ี่
3. การเกิดแผนดินไหวขนาดใหญ 5. แผนธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่หาแผนธรณีทวีป

4. การเพมและลดของระดับนำทะเล


5. การเปลียนแปลงรูปรางวงโคจรของโลก




โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี








24 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



หน่วยการเรียนรที 2




รแปรัฐานขแผธร



















































การศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกดวยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส (theory of plate tectonics) ประกอบกับรองรอยทาง
ธรณีวิทยาในอดีตพบวา เมื่อ 200 ลานปกอน ทุกทวีปอยูชิดติดกันเปนแผนดินขนาดใหญเรียกวา “พันเจีย” (Pangaea)

โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ “ลอเรเซีย” (Lawresia) และดินแดนทางใตชื่อ “กอนดวานา” (Gonwana) ซึ่งแบงแยกดวย
ทะเลเททิส (Tethys ocean)


• Plate หมายถึงแผนหรือจาน สวน tectonics มาจากภาษากรีกวา tekton แปลวา ชางไม

• Plate tectonics จึงหมายถึงชางแปรรูปรางลักษณะวัสดุของโลก tectonics ในความหมายนี้หมายถึง ลักษณะการเปลียนแปลง
รูปรางและการเกิดขบวนการทางธรณีวิทยาบริเวณกวางในระดับมาตราสวนของโลก
















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี






เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 25


กิจกรรม 2.1

A Plate Tectonic Puzzle






วตถุประสงคของกิจกรรม

1. เพื่อใหนักเรียนใชตรรกะและหลักฐานในการสรางตำแหนงของทวีปตาง ๆ เมื่อครั้งอดีต 220 ลานปกอน
2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจทฤษฎีของการเคลื่อนที่ของทวีป
3. เพื่อใหนักเรียนเขาใจการที่นักวทยาศาสตรใชหลักฐานประเภทตาง ๆ ในการสรางทฤษฎี

สื่อ – อุปกรณ 
1. แบบจำลองจิ๊กซอวทวีป
2. กรรไกร
3. กาว
4. ไมบรรทัด

วิธีทำกิจกรรม

1. สังเกตชิ้นสวนของแผนธรณีจากแบบจำลองจิ๊กซอวทวีป
2. นำชิ้นสวนของแบบจำลองมาตอกัน โดยเชื่อมโยงกับขอมูลการคนพบซากดึกดำบรรพ ธารน้ำแข็ง และกลุมหิน

3. รวมกันอภิปรายและตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับลักษณะของแผนธรณีตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบน
พรอมทั้งใหเหตุผลสนับสนุน

























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี


26 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


































































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี




เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 27




ตารางบนทกผล การสำรวจหลักฐานสนับสนุนวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน
ทวีป/ประเทศ


หลักฐานทีใชสนับสนุน อเมริกา แอนตาร์
ยุโรป
อินเดีย

เอเชย
เหนือ อเมริกาใต ้ ออสเตรเลีย แอฟริกา กตกา

ซากดึกดำ มีโซซอรัส
บรรพ  ไซโนเนทส

ลิสโทรซอรัส
กลอสโซพเทริส

แนวเทอกเขา แอปพาเลเชยน

คาเลโดเนียม
ธารน้ำแข็ง พบ/ไมพบ
บรรพกาล

คำถามทายกิจกรรม
1. จากกิจกรรมมีทวีปใดบางที่เคยอยูติดกันมากอน







2. มีหลักฐานใดบางที่นำมาสนับสนุนวาทวีปเคยอยูติดกันมากอน







3. หลักฐานใดบางที่สามารถนำมาใชระบุชวงเวลาที่ทวีปตาง ๆ เคยอยูติดกันมากอน และหลักฐานดังกลาวนำมาใชอธิบายไดวา 
อยางไร


















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี









28 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


กิจกรรม 2.2


แบบจาลองการแผขยายของพืนมหาสมทร






จุดประสงคกิจกรรม
ศึกษาและสรางแบบจำลองเพื่ออธิบายกระบวนการแผขยายของพื้นมหาสมุทร


สถานการณ
นักวิทยาศาสตรไดสำรวจพื้นมหาสมุทรพบขอมูลดังน ี้
1. มีแมกมาแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกกลางมหาสมุทร
2. เมื่อเจาะสำรวจหินบริเวณพื้นมหาสมุทร และนำมาตรวจสอบ วิเคราะหหาชนิดหินและอายุพบวา
2.1 หินบริเวณพื้นมหาสมุทรเปนหินบะซอลต
2.2 หินบริเวณพื้นมหาสมุทรมีอายุออนกวาหินที่อยูบนพื้นทวีป
2.3 หินพื้นมหาสมุทรบริเวณรอยแยกมีอายุที่สมมาตรกันทั้งดานซายและขวาของรอยแยก โดยหินใกลรอยแยกจะมีอายุนอย
ที่สุด และหินมีอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อหางออกจากรอยแยก
3. นักวิทยาศาสตรนำขอมูลตาง ๆ มาสรางแบบจำลองและแผนที่ไดดัง รูป 1 และ 2







รูปที่ 1














รูปที่ 2

























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี




เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 29


คำถามทายกิจกรรม


1. องคประกอบตาง ๆ ของแบบจำลองที่นักเรียนสรางขึ้น เปรียบไดกับสิงใดบางในกระบวนการการแผขยายพนมหาสมุทร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ขอมูลจากรูป 1 และรูป 2 สามารถนำมาใชในการสรางแบบจำลองไดอยางไร


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………






3. จากรูป กระบวนการใดบางทเกิดขนในบริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


4. จากรูป หินที่พบบนพื้นมหาสมุทรเปนหินชนิดใด และอายุของหินแตละบริเวณเหมือนหรือตางกันอยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


5. หินบริเวณใดบางที่มีอายุเทากัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ี่
6. หินบริเวณใดมีอายุมากทสุด และบริเวณใดมีอายุนอยที่สุด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


7. นักวิทยาศาสตรตั้งสมมติฐานวา "พื้นมหาสมุทรมีการแผขยายตัว" นักเรียนเห็นดวยหรือไม อยางไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี







30 | เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณ
















































• ทฤษฎีทวปเลือน (Continental Drift Theory)


ทฤษฎีนี้เกิดในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 จากการศึกษาแผนที่โลกของ ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) โดยคาดเดาวา
ทวีปอเมริกาใต และทวีปแอฟริกา หากดันเขามาประกอบกัน สามารถเชื่อมตอกันไดพอดี

ในป ค.ศ.1915 อลเฟรด เวเกเนอร (Alfred Wegener) ไดนำเสนอเกียวกับทฤษฎีทวีปเลื่อนวา เมื่อประมาณ 200 - 300 ลานปท ี่


ผานมา แผนดินทั้งหมดในโลกรวมเปนผืนเดียวกัน เรียกวา “พันเจีย” (Pangaea : แปลวา ผืนแผนดินเดียวกัน) สวนทะเลที่อยู 
รอบ ๆ พันเจีย เรียกวา “แพนทาลัสซา” (Panthalassa) ตอมาในยุคไทรแอสสิก ทวีปที่เดิมเปนผืนแผนเดียวกันจะเริ่มคอย ๆ

มีการแยกตัวออกจากกันเปน 2 สวน ตอนเหนือของพันเจียเรียกกวา “ลอเรเซีย” (Laurasia) สวนตอนใตเรียกกวา “กอนดวานา”
ื้
(Gondwana) และคอย ๆ เคลื่อนออกจากกันเนื่องจากการขยายตัวของพนมหาสมุทร จนกลายเปนแบบปจจุบัน เรียกการเคลื่อนไหว
ดังกลาววา “ทวีปเลื่อน” (Continental Drift)

ทฤษฎีทวปเลื่อนนี้เปนที่ยอมรับกันทั่วไป ในป ค.ศ.1960 จากทฤษฎีดังกลาว กลาวถึงการที่ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต

รวมเปนแผนเดียวกันเรียกวา “แผนอเมริกา” และมักพบวาสวนบริเวณที่เปนขอบของแผนทวีป เชน แผนทวีปแปซิฟก จะพบแนว
การเกิดภูเขาไฟและแผนดินไหวอยูเสมอ เนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของ แผนทวีป (plate) อยูตลอดเวลา นักธรณีวิทยาสันนิษฐานวา

การเคลื่อนที่ของหินหลอมละลายและกระบวนการพาความรอนภายในโลกที่เกิดขึ้น เปนผลมาจากความแตกตางของอุณหภูมิและ
ความหนาแนนทำใหเกิดการหมุนเวียน














โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี


เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 31



โดยเมื่อ 200 ลานปกอน ทางตอนใตของทวีปอเมริกาใต แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยูชิดติดกบทวีปแอนตารกติกใน
บริเวณขั้วใต ซึ่งเปนเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเปนรองรอยของธารน้ำแข็งในอดีต ในขณะที่ตอนใตของทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป และ
เอเชีย มีหลักฐานบงชี้วา เคยเปนเขตรอนแถบศูนยสูตรมากอน เนื่องจากอุดมสมบูรณดวยถานหินและน้ำมัน ซึ่งเกิดจากการทบถมของ

พืชในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิล แสดงใหเห็นวา เมื่อครั้งกอนแผนดินเหลานี้เคยอยูชิดติดกัน พืชและสัตวบางชนิดจึงแพร

ขยายพันธุบนดินแดนเหลานี้ในอดีต

เวเกเนอรไดคนควาและรวบรวมหลักฐานขอมูลตาง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดของเขา แตเวเกเนอรไมไดอธิบายถึงสาเหตุวา อะไรเปน
เหตุทำใหทวีปตาง ๆ มีการเคลื่อนที่ได































• หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน

1. หลักฐานรองรอยจากซากดึกดำบรรพ




2. ความคลายกันของกลุมหิน แนวเทอกเขา และรอยตอบริเวณขอบทวีป





3. หลักฐานจากอายุหินบริเวณพื้นสมุทร



4. หลักฐานภาวะแมเหล็กโลกบรรพกาล





5. หลักฐานจากธารน้ำแขงบรรพกาล








โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี








32 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1




• ทฤษฎีการแผ่ขยายของพนสมทร (Theory of sea floor spreading)

ทฤษฎีการแผขยายของพื้นสมุทรเสนอโดย แฮรรี แฮมมอนด เฮสส
(Harry Hammond Hess) เปนทฤษฎีที่ตอยอดจากทฤษฎีทวีปเลื่อนของ


อัลเฟรด เวเกเนอร โดยทฤษฎีนี้อธิบายถึงสาเหตุของการขยายตัวของพน
มหาสมุทรวา พื้นมหาสมุทรมีการแผขยายออกไปจากแนวสันเขากลาง
มหาสมุทร เนื่องจากแรงดันของแมกมาที่แทรกตัวขึ้นมาบนเปลือกโลก

สันเขากลางมหาสมุทร (mid-ocean ridge) เปนบริเวณที่แมกมาแทรก


ดันขนมาบนเปลือกโลกมหาสมุทร ทำใหเปลือกโลกโกงตัวและแตกออกจากกัน
( ) ซึ่งเปลือกโลกสวนที่บางจะทรุดตัวลงเกิดเปนหุบเขาทรุด (rift valley) ( )

แมกมาทีแทกรดันขึ้นมาที่ผิวโลกจะเรียกวา ลาวา (lava) ซึ่งเมื่อลาวามีอุณหภูมิ
ลดลงจะแข็งตัวและกลายเปนสวนหนึ่งของเปลือกโลก โดยการแทรกดันนี้จะ
เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ประกอบกับมีน้ำไหลมาสะสมทำใหเกิดการแข็งตัวของ
ลาวาตลอดเวลา ( ) และการแทรกตัวนี้ทำใหเกิดแรงดัน สงผลใหเปลือกโลก


มหาสมุทรที่เกิดขึ้นมากอนเคลื่อนทแยกออกจากแนวสันเขากลางมหาสมุทร
( ) กระบวนการดังกลาวทำใหสามารถอธิบายการแตกออกของแผนพันเจีย
และการที่แผนธรณีเคลื่อนที่ออกจากกันได

การสำรวจพื้นมหาสมุทรดวยเครื่องวัดสนามแมเหล็ก (magnetometer) ทำใหทราบวาพื้นมหาสมุทรมีรูปแบบการเรียงตัวของ
สารแมเหล็กในหินที่สมมาตรกันระหวางสองขางของสันเขากลางมหาสมุทร ซึ่งเกิดจากในขณะที่ลาวายังไมแขงตัวเปนหิน สารแมเหล็ก

ในหินจะถูกเหนี่ยวนำใหเรียงตัวตามทิศทางของสนามแมเหล็กโลกในขณะนน เมื่อลาวาแข็งตัวเปนหิน การเรียงตัวของสารแมเหล็กจะ
ั้
ไมมีการเปลี่ยนแปลงตามการกลับขั้วของสนามแมเหล็กโลก สภาพการเรียงตัวของสารแมเหล็กนี้ เรียกวา ภาวะแมเหล็กโลกบรรพกาล
(paleomagnetism) ซึ่งขอมูลนี้สนับสนุนแนวคิดการแผขยายของพื้นมหาสมุทร













































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 33



• ทฤษฎีธรณีแปรสณฐาน (Plate tectonics theory)



ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานหรือทฤษฎีเพลตเทคโทนิกส อธิบายวาการเคลือนที่และปฏิสัมพันธระหวางกันของแผนเปลือกโลก นั้นมี
ความเกี่ยวของอยางมากกับการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวโลกตลอดชวงธรณีกาล แผนเปลือกโลกเหลานี้หมายถึง แผนธรณีภาค
(lithosphere) ที่ประกอบดวยแผนเปลือกโลก (crust) และเนื้อโลกสวนบน (upper mantle) โดยแผนธรณีภาควางตัวอยูบนชั้นหิน
หนืดรอนที่สามารถไหลได คลายของเหลว เรียกวา ฐานธรณีภาค (asthenosphere) และแผนธรณีภาคนเคลื่อนที่อยางชา ๆ อยูบน


ฐานธรณีภาค เนื่องจากการพาความรอนของแมกมาในฐานธรณีภาค การเคลื่อนทเชนนี้ทำใหเกิดธรณีสัณฐานและปรากฏการณทาง


ธรณีวิทยาตาง ๆ เชน แนวเทือกเขา ภูเขาไฟ รองลึกกนมหาสมุทร แผนดินไหว


























ขอบเขตแผนเปลือก ทิศทางการมดตัว ทิศทางการเคลื ่ อนที ่



รอยแยกใต้พนมหาสมทร เขตรอยเลื ่ อนชนกัน เขตรอยเลื ่ อนตามแนวระดับ



ร่องลึกก้นสมทร



















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี











34 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



• กระบวนการธรณีแปรสณฐาน

หินหนืด (Magma) เปนวัสดุเนื้อออนเคลื่อนที่หมุนเวียนดวยการพาความรอนภายในโลก คลายการเคลื่อนตัวของน้ำเดือดใน

กาตมน้ำ การเคลื่อนตัวของวัสดุในชนแอสทีโนสเฟยรทำใหเกิดการเคลื่อนตัวของแผนธรณี กระบวนการนีเรียกวา “ธรณีแปรสัณฐาน”
ั้
หรือ “เพลตเทคโทนคส” (Plate Tectonics)




















การพาความรอนจากภายในของโลกชั้นฐานธรณีภาค เรียกวา วงจรการพาความรอน (Convection cell) วงจรนี้จะทำใหวสดุ


ในชั้นฐานธรณีภาคลอยตัวดันพื้นมหาสมุทรขึ้นมากลายเปน “สันกลางมหาสมุทร” (Mid-ocean ridge) หินหนืดรอนหรือแมกมาซึง ่
โผลขึ้นมาผลักพื้นมหาสมุทรใหเคลื่อนที่ขยายตัวออกทางขาง เมื่อหินหนืดสัมผัสและดันแผนธรณีจะมีการสูญเสียพลังงานและมี
อุณหภูมิลดลง หินหนือดจะจมตัวลงอีกครั้ง แลวเคลื่อนที่ไปแทนที่หินหนืดสวนที่ลอยขึ้นมา เปนลักษณะเชนนี้ไปเรื่อย ๆ

เนื่องจากเปลือกมหาสมุทรมีความหนาแนนมากกวาเปลือกทวีป ดังนั้นเมื่อเปลือกมหาสมุทรชนกับเปลือกทวีป เปลือก

มหาสมุทรจะมุดตัวต่ำลงกลายเปน “เหวมหาสมุทร” (Trench) และหลอมละลายในแมนเทิลอีกครั้งหนึ่ง เกิดกระบวนการรีไซเคิล


มวลหินหนืดที่เกิดจากการรีไซเคิลของเปลือกมหาสมุทรที่จมตัวลง เรียกวา “พลูตอน” (Pluton) มีความหนาแนนนอยกวาเปลือกทวป


จึงลอยตัวแทรกขึ้นมาเปนแนวภูเขาไฟ เชน เทือกเขาแอนดีสทางฝงตะวนตกของทวปอเมริกาใต








































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี







เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 35


ใบงานที 2.1

ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน




คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับทฤษฎีธรณีแปรสัณฐานในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน




































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี


36 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


กิจกรรม 2.3





กิจกรรมธรณีสณฐานทีเกิดจากการเคลอนทีของแผนธรณี



คำชี้แจง : ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่ให แลวบันทึกผลที่ไดพรอมกับสรุปและอภิปรายผลที่ไดการทำกิจกรรม
ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม


1) ใหนักเรียนศึกษาภาพทิศทางการเคลื่อนที่ของแผนธรณี
2) ใหนักเรียนใชโปรแกรม google earth สำรวจธรณีสัณฐานบริเวณแนวรอยตอของแผนธรณี

3) วิเคราะหขอมูลที่สำรวจได และหาความสัมพันธระหวางธรณีสัณฐานกับรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผนธรณี
4) พิจารณาขอมูลที่สำรวจไดทั้งหมด แลวนำมาสรุปเปนรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผนธรณี และธรณีสัณฐานที่เกิดขึ้นจากการ



เคลือนทของแผนธรณีแตละรูปแบบ ในรูปแบบแผนภาพ หรือ infographic



บนทกผลการทำกิจกรรม
























สรุปและอภิปรายผลการทำกิจกรรม












โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี










เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 37





รปแบบการเคลอนทีของแผ่นธรณี


• แผนธรณเคลื่อนที่เขาหากัน (Convergent plate boundaries) เมื่อแผนธรณีเคลื่อนที่เขาชนกัน แผนธรณีที่มีความหนาแนน



สูงกวาจะมุดตัวลงและหลอมละลายในแมนเทิล สวนแผนธรณีที่มีความหนาแนนนอยกวาจะถกเกยสูงขึ้นกลายเปนเทือกเขา เชน
เทือกเขาหิมาลัย เกิดจากการชนกันของแผนธรณีอินเดีย-ออสเตรเลียกับแผนธรณียูเรเชีย แผนธรณีเคลื่อนที่เขาหากันแบงไดเปน


3 รูปแบบ
แผนธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่เขาหากัน (ocean-ocean
convergent boundary) เมื่อแผนธรณีมหาสมุทรสองแผน
เคลื่อนที่มาชนกัน แผนที่อายุมากกวา อุณหมูมิต่ำกวา และมีความ
หนาแนนมากกวา จะจมตัวลงในเขตมุดตัว ทำใหเกิดเปน

รองลึกกนมหาสมุทร (trench) และเมื่อเปลือกโลกมหาสมุทร

บางสวนหลอมละลายกลายเปนหินหนืดที่มีความหนาแนนต่ำกวา


ชั้นฐานธรณีภาค หินหนืดนั้นจะลอยตัวขนและดันเปลือกโลก ทำให
เกิดหมูเกราะภูเขาไฟรูปโคง (volcanic-island arc) เรียงตัว
ขนานกับแนวรองลึกกนมหาสมุทร



แผนธรณีทวีปเคลื่อนทเขาหาแผนธรณีมหาสมุทร (continent-
ocean convergent boundary) แผนธรณีมหาสมุทรที่มี
องคประกอบสวนใหญเปนหินบะซอลต มีความหนาแนนมากกวา

แผนธรณีทวีปซึ่งมีองคประกอบสวนใหญเปนหินแกรนิต เมื่อแผน
ทั้งสองชนกัน แผนธรณีมหาสมุทรจึงจมตัวและหลอมละลาย
กลายเปนหินหนืด หินหนืดเหลานี้จะลอยตัวและดันเปลือกโลกทวป



ทำใหเกิดเปนแนวเทอกเขาสูงตามแนวชายฝงขนาดกับแนวรองลึก
กันมหาสมุทร

แผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน (continent-continent

convergent boundary) เมื่อแผนธรณีทวีปเคลื่อนท่เขาชน
กัน แผนหนึ่งจะมุดตัวลง สวนอีกแผนจะถูกยกตัวเกยขึ้น เกิด

เปนเทอกเขาขนานตามแนวปะทะ





เปลือกโลกภาคพนมหาสมทร เปลือกโลกภาคพนทวีป เปลือกโลกภาคพนมหาสมทร






ื�
กับ เปลือกโลกภาคพนมหาสมทร กับ เปลือกโลกภาคพนทวีป กับ เปลือกโลกภาคพนทวีป
ื�



ื�









โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี







38 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



• แผนธรณีเคลื่อนทแยกจากกัน (Divergent plate boundaries)

เมือแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคดันตัวขึ้น ทำใหแผนธรณีจะขยายตัวออก

จากกัน แนวแผนธรณีแยกจากกันสวนมากเกิดขึ้นในบริเวณสันกลาง
มหาสมุทร

































• แผนธรณีเฉือนกัน (Transform and strike-slip plate boundaries) เปนรอยเลื่อนขนาดใหญ มักเกิดขึ้นในบริเวณ


เทือกเขากลางมหาสมุทร แตบางครั้งก็เกิดขึ้นบริเวณชายฝง เชน รอยเลื่อนแอนเดรียส ที่ทำใหเกิดแผนดินไหวในรัฐแคลิฟอรเนย

ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการเคลื่อนที่สวนกันของแผนธรณีอเมริกาเหนือและแผนธรณีแปซิฟก










































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี




เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 39


ใบงานที 2.2



การเคลอนทีของแผนธรณี



คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผนธรณีในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน



























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี




40 | เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 2.3
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค







1. ภาพวงจรการพาความรอนของแมกมาภายในฐานธรณีภาคทำใหแผนธรณีเกดการเคลือนท แลวนำไปตอบคำถามขางลาง























1.1 วงจรการพาความรอน (convection cell) เคลื่อนที่ไดอยางไร




1.2 นักเรียนคิดวาแมกมาภายในฐานธรณีภาคเคลื่อนที่ไดอยางไร




1.3 อะไรเปนเปนสาเหตุทำใหแผนธรณีภาคแตกออก




1.4 ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผนธรณีภาค (theory of plate tectonic) เปนทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับ





1.5 การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงธรณีตาง ๆ เชน



ี่
2. การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคมีกลักษณะ แตละลักษณะมีการเคลื่อนที่อยางไร








โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี








เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 41


3. เพราะเหตุใดขณะที่แผนธรณีภาคมหาสมุทรและแผนธรณีภาคทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน แผนธรณีมหาสมุทรจึงมุดตัวลงขางใตแผน

ธรณีภาคทวีป และจะมุดตัวไปทสวนใดของสรางโลก





4. การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคแตละลักษณะทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาใดไดบาง และการเปลียนแปลงธรณีวทยา

ี่
ดังกลาวเกิดขึ้นทสวนใดของแผนธรณีภาค






5. เพราะเหตุใดบางประเทศจึงเกดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบอยครั้ง แตบางประเทศไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ตาง ๆ ดังกลาว




6. ภาพการเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคบริเวณตางของโลก
1 2 3 4 5 6 7
























6.1 การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคคูใดเปนสาเหตุการเกดเทือกเขากลางมหาสมุทร


6.2 การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคคูใดเปนสาเหตุการเกดหมูเกาะญี่ปุน ฟลิปปนส นิวซีแลนด

ี้
6.3 การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคคูใดเปนสาเหตุการเกดเทือกเขาแอนดีส เทือกเขาร็อกก
6.4 การเคลื่อนที่ของแผนธรณีภาคคูใดเปนสาเหตุการเกดรอยเลื่อนแซนแอนเดรียส

6.5 เทือกเขาหิมาลัย และเทือกเขาแอลปเกิดขึ้นไดอยางไร





















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

42 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


7. พิจารณาแผนธรณีภาคบริเวณตาง ๆ ของโลก































7.1 แผนธรณีภาคคูใดบางเคลื่อนที่แยกออกจากกัน

7.2 แผนธรณีภาคคูใดชนแลวมุดไปยังอีกแผนธรณีภาคหนึ่ง

7.3 แผนธรณีภาคนาสกากับแผนธรณีภาคอเมริกาใตเคลื่อนที่แบบใด

7.4 แผนธรณีภาคใดรองรับมหาสมุทร

7.5 แผนธรณีภาคใดรองรับทวีป

8. ใหนักเรียนระบุชื่อแผนธรณีภาคตามหมายเลขตอไปน ี้

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8. 9. .

10. 11.

12. 13.

14. 15.










โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี







เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 43





การเปลยนลักษณะของชนหิน
กระบวนการเคลื่อนที่ของแผนธรณี ทำใหเกิดแรงตาง ๆ กระทำตอหินในชั้นเปลือกโลก สงผลใหเกิดความเคนในชั้นหิน





ซึ่งความเคนนี้ ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปราง และ/หรือ ปริมาตรของหิน และทำใหหนอยในภาวะความเครยด
ความเค้น (stress)
• การเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลกทำใหเกิดแรงมากระทำตอหินบนเปลือกโลก และเมื่อมีแรงภายนอก มากระทำบนพื้นที่หนาตัด
ของหินจะทำใหเกิดความเคน




• ความเคน หมายถึง แรงทีกระทำตอตวหินตอพื้นที่หนาตัด ปกติความเคนที่กระทำตอตัวหินจะไมเทากันทุกทิศทาง

• ความเคนแบงเปน 3 แบบ ตามลักษณะของแรงที่มากระทำ
ความเคนดึง (tensile stress) แรงดึงตอหนวยพื้นที่หนาตัดของวัตถ ุ


ความเคนอด (compression stress) แรงอัดในทิศที่ตั้งฉากกับพื้นที่ตัดขวาง ทำใหวัตถุหดสั้นลง






ความเคนเฉือน (shear stress) แรงทีกระทำกับวัตถุ ตามแนวระนาบทขนานไปกับทศทางของแรง










ความเครียด (strain)



• การเปลี่ยนแปลงรูปรางของหินเมื่อถูกแรงมากระทำ เกิดจากหินไดรับความเคนมากเกินกวาที่หิน จะสะสมไวได จึงเกิด

ความเครียด ซึ่งเปนการเปลียนแปลงทงรูปรางและปริมาตรของหิน



• ความเครียดทำใหหินเกิดการเปลียนแปลงได 2 ลักษณะ ดังน
ี้

การบิดเบี้ยว (distortion) คือ การเปลียนแปลงรูปรางของหิน

การยืดหด (dilation) คือ การเปลี่ยนแปลงขนาดและปริมาตรของหิน

• หินแตละชนิดจะมีการเปลียนแปลงรูปรางไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับสมบัติของหินแตละชนด




หินบนผิวโลกมีสมบัติ คือ แข็งแกรงและเปราะ เมือเกดความเครียดจะแตกออกเปนรอยแตก และรอยเลือน



หินใตผิวโลกมีสมบัติ คือ เปนพลาสติก เมื่อเกิดความเครียดจะคดโคงโกงงอเปนชั้นหินคด ซึ่งอาจกลับคืนสูสภาพเดิมเมือ

แรงที่มากระทำหมดไป หรืออาจเปลี่ยนสภาพไปอยางถาวร











โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี







44 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1





การวางตัวของชนหน
• โดยทั่วไปชั้นหินตะกอนจะวางตัวขนานกับพื้นโลก เมื่อชั้นหินถูกแรงภายนอกมากระทำจะทำใหเกิดการเอียงเท

• การบันทึกขอมูลการสํารวจภาคสนามและการทำแผนที่ธรณีวิทยา จะมีการกำหนดคาทิศการวางตัว (strike) และมุมเท (dip)
เพื่อใชบอกขอมูลการเอียงเทของชั้นหิน

o ทิศการวางตัว คือ แนวทางหรือทิศทางที่ตั้งฉากกับแนวการไหลของน้ำบนระนาบชั้นหิน ปจจุบัน นิยมบอกคาแนวระดับ
เปนมุมแอซิมัท (azimuth) เนื่องจากจดบันทึกไดงาย และผิดพลาดนอยกวาการกำหนดแบบอื่น

o มุมเท คือ มุมที่เกิดจากระนาบของโครงสรางตัดกับระนาบแนวนอน โดยทิศทางของมุมเทจะตั้งฉาก กับทิศการวางตัว
o วิธีการบันทึกคาทิศการวางตัวและมุมเทสามารถทำไดโดยใชเข็มทิศธรณีวิทยาวัดทิศทางของแนวระดับ และคาของมุมเท
แลวบันทึกในระบบแอซิมัท เชน ระนาบชั้นหินวางตัวทิศทาง 20 องศา และมีมุมเท 30 องศาไปทางทิศตะวันออกเฉยงใต


จะบันทกไดเปน 020° /30° SE




















ชนหินคดโค้ง (Folds)


• ชั้นหินคดโคง เกิดจากชั้นหินที่วางตัวอยูในแนวราบถกแรงมากระทำ จึงทำให
ชั้นหินเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะไปจากเดิมอยางถาวร โดยชั้นหินจะ
แสดงการบิดเบี้ยวในรูปของการคดโคง โกงงอ หรือบิดพับ

ั้
ี่
• ชั้นหินคดโคงมีรูปรางหลายแบบและหลายขนาด ซึ่งจะเกิดขึ้นในขณะทชนหิน
นั้นมีสภาวะของ ความออนนิ่มคลายพลาสติก


• กระบวนการที่ทำใหเกิดการคดโคง ไดแก แรงอัดจากดานขางทำใหเกด

การโกงตัว แรงกดตั้งฉากทำให เกิดการแอนตัว และการเลื่อนไถลที่ทำมุมกบ
ชั้นหินทำใหเกิดการพับงอ




• Syncline (โคงรปประทุนหงาย) ( ) มีลักษณะเปนชั้นหินที่โคงตัวเหมือน
เอาประทุนเรือมาวางหงาย ชั้นหินที่อยูบริเวณใจกลางของโคงประทุนหงาย
จะมีอายุออนที่สุด


• Anticline (โคงรูปประทุน) ( ) มีลักษณะเปนชั้นหินที่โคงเหมือนเอา
ประทุนเรือมาวางคว่ำ ชั้นหินที่อยูบริเวณใจกลางของโคงประทุนคว่ำ จะมี
อายุแกที่สุด





โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี










เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 45




ส่วนประกอบของชนหินคดโค้ง


















1. จุดยอดชั้นหินคดโคง (hinge point) คือ จุดที่มีคาการโคงมากที่สุด
2. สันหรือยอดของชั้นหินคดโคง (fold crest) คือ บริเวณที่สูงสุดของภูมิประเทศของสันชั้นหินคดโคงที่ปรากฏ

3. ทองของชั้นหินคดโคง (fold trough) คือ บริเวณที่ตํ่าสุดของภูมิประเทศของทองรอยโคงที่ปรากฏ
4. เสนพับการคดโคง (hinge line) คือ เสนที่ลากจากจุดยอดรอยโคงผานไประหวางผิวหนาของรอยโคง
5. แขนการคดโคง (fold limb) คือ บริเวณที่อยูระหวางสันและทองของรอยโคง

6. ระนาบแกนการคดโคง (axial plane) คือ ระนาบสมมติที่แบงแขนของรอยโคงออกเทา ๆ กน


7. จุดเปลี่ยนความโคง (inflection point) คือ บริเวณที่มีการเปลี่ยนแนวการคดโคงปรากฏ
8. พลันจ (plunge) คือ มุมเทของแนวการคดโคง
9. ไมมีพลันจ (no plunge) คือ ไมมีมุมเทของแนวการคดโคง






































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี





46 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



รอยเลือน (fault)
• รอยเลือน คือ รอยแตกหรือแนวรอยแตกของหินสองฝงที่เคลื่อนที่สัมพันธกัน ตามระนาบ รอยเลื่อนในหินและมักอยูในแนวเอยง



เท ซึ่งการเลื่อนของหินจะเกิดจากความเคนและความเครียด ในเนื้อหิน
• การเลื่อนของระนาบรอยเลื่อนสามารถเกิดขึ้นไดทุกทิศทาง ซึ่ง
ระยะการเลื่อนมีตั้งแต 2 - 3 เซนติเมตร ถงหลายสิบกโลเมตร โดย


ผลของการเลื่อนอาจทำใหเกิดแผนดินไหว

• หินที่อยูดานบนเหนือรอยเลื่อน เรียกวา หินเพดาน หรือผนัง


ดานบน (hanging wall) สวนหินที่อย ดานลางใตรอยเลื่อน
เรียกวา หินพื้น หรือผนังดานลาง (foot wall)


• รอยเลือนสามารถจําแนกออกเปน 3 ประเภท ดังน





o รอยเลือนปกต (normal fault) เปนรอยเลื่อนทหนเพดานเลือนลง เมือเปรียบเทียบกับหินพื้น


ี่

ี่



o รอยเลือนยอน หรือรอยเลื่อนผิดวิสัย (reverse fault) เปนรอยเลื่อนทหนเพดานเลือนขึน เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น ถา

รอยเลือนยอนมีคามุมเทเทากับหรือนอยกวา 45 องศา เรียกวา รอยเลื่อนยอนมุมตํ่า (thrust fault) หรือรอยเลื่อนตามแนว


เฉยง (oblique - slip fault)
o รอยเลื่อนตามแนวระดับ (strike-slip fault) หรือรอยเลื่อนเหลื่อมขาง (transcurrent fault) เปนรอยเลื่อนที่หินทง ั ้
สองฟากของรอยเลือนเคลือนตัวในแนวราบ หากมองภาพที่ตัดขวาง หินที่อยูผนงดานบนเคลือนเขาหา เรียกวา รอยเลื่อน









ขวาเขา (dextral หรือ right - lateral fault) ถาหินที่อยูผนังดานลางเลื่อนเขาหา เรียกวา รอยเลื่อนซายเขา (sinistral

หรือ left - lateral fault)























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี









Click to View FlipBook Version