The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by taweerak.t, 2020-07-01 22:33:28

เอกสาร ว31207 edt 1

เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 47


ใบงานที 2.4




การเปลยนลกษณะของชนหน




1. ความเคน (stress) คือ
แบงออกเปน 3 ชนิด อะไรบาง


2. หินจะเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะใด ๆ ขึ้นอยูกับอะไร

3. ความเครียด (strain) คือ



4. เมื่อหินถูกความเคนหรือโดยแรงกระทำจนมีความเครียดเกิดขีดพลาสติก (elastic limit) หินจะแตกหักเคลื่อนที่ออกจากกน
เกิดเปน
5. รอยเลือน (fault) คือ



แบงออกเปน


6. จงระบุชนิดของรอยเลื่อน และเขยนทิศทางของแรงที่กระทำกับรอยเลื่อนตอไปนี ้
6.1

6.2
6.3


6.1
6.3
6.2





7. ชั้นหินถูกเปลี่ยนรูปในลักษณะเกินขีดยืดหยุน (elastic limit) ชั้นหินจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามรูปแบบพลาสติก เมื่อมีความเคน

บีบอัดหรือมีหินหนืดดันขึ้นมา เรียกวา


8. รูปรอยคดโคงดานชื่ออะไร























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

48 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



แบบฝกหัดท้ายหน่วยการเรียนร้ที 2



1. จงนำกลุมคำตอไปนี้เติมลงในตารางใหสัมพันธกับทฤษฎีที่กำหนดให (สามารถเติมคำอบ ซ้ำกันได)

ไซโนเนทส การเคลื่อนที่ของตะกอน ธารน้ำแข็ง ความคลายคลึงกันของกลุมหิน

อายุหินบนพื้นสมุทร ภาวะแมเหล็กโลกบรรพกาล สันเขากลางสมุทร
หุบเขาทรุด วงจรการพาความรอน แนวมุดตัวของแผนธรณี

หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคง รอยเลือนในแนวระดับ มีโซซอรัส
ลอเรเซีย พันเจีย กอนดวานาแลนด
สันเขากลางสมุทร หุบเขาทรุด

ทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผขยายพื้นสมุทร ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน





















ี้
2. จงตอบคำถามตอไปน
2.1 เพราะเหตุใด อัลเฟรด เวเกเนอรจึงเชื่อวาทวีปตาง ๆ ในปจจุบันเคยติดกันเปนแผน เดียวมากอน



2.2 การคนพบสิ่งใดของ แฮรี่ เฮส ที่ถูกนำมาใชสนับสนุนทฤษฎีการแผขยายพื้นมหาสมุทร



2.3 ถามีการคนพบเทือกสันเขากลางสมุทรในมหาสมุทรแหงหนึ่ง ในเวลาตอมามหาสมุทร แหงนั้นจะกวางขึ้น หรือแคบลง
เพราะเหตุใด



2.4 สันเขากลางสมุทรแอตแลนติกเกิดจากการเคลื่อนทของแผนธรณีรูปแบบใด




2.5 หมูเกาะภูเขาไฟรูปโคงเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผนธรณีรูปแบบใด








โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 49


3. จงทำเครื่องหมาย  หนาขอความที่ถูก และทำเครื่องหมาย  หนาขอความที่ผิด และแกใหถูกตอง

คำตอบ ขอความ แกไข
3.1 หินบะซอลตที่พบใกลรอยแยกบริเวณเทือกสันเขาใตสมุทรจะ
มีอายุ ออนกวาหินบะซอลตที่อยูไกลจากรอยแยกออกไป
ี่

3.2 เมื่อแผนธรณีมหาสมุทรเกิดรอยแยกและเคลื่อนทออกจากกน
อยาง ชา ๆ จะมีเนื้อหินแกรนิตจากสวนลางแทรกดันขึ้นมา
ตรงรอยแยกเกิด เปนชั้นธรณีภาคใหม
3.3 วงจรการพาความรอนเปนกระบวนการที่ทำใหเกิดการ
เคลื่อนที่ของ แผนธรณี

3.4 อลเฟรด เวเกเนอร เปนผูเสนอทฤษฎีการแผขยายพื้นสมุทร
3.5 บริเวณทะเลแดงเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผนธรณี

มหาสมุทร กับแผนธรณีทวป
3.6 เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผนทวีปยูเร

เซีย และ แผนทวปอนเดีย – ออสเตรเลีย

3.7 ในอดีตประเทศไทยเคยเปนสวนหนึ่งของทวีปลอเรเซีย
3.8 รองลึกกนสมุทรเกิดขึ้นบริเวณกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
3.9 รอยเลื่อนซานแอนเดรียสเกิดจากการเคลื่อนที่เขาหากันของ
แผนทวป

3.10 ภาวะแมเหล็กโลกบรรพกาลของพื้นมหาสมุทรเปนหลักฐาน
ยืนยัน การเคลื่อนที่ออกจากกันของแผนทวีป


ี้
4. พิจารณารูป 1 และ 2 แลวตอบคำถามดังตอไปน
4.1 จงจับคูรอยตอ A B และ C กับ รูป ก ข และ ค ใหมีความสัมพันธกันโดยเขียน คำตอบลงในกลองขอความในรูปที่ 1












4.2 ธรณีสัณฐานที่ปรากฎในรูป 2 ก-ค มีกระบวนการเกิดอยางไร และมีบริเวณใด อีกบางที่มีลักษณะคลายกับในรูป 2 ก-ค
จงยกตัวอยาง














โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี










50 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



5. จากหลักฐานการแผขยายของพื้นมหาสมุทรแอตแลนติกสงผลอยางไรตอการเคลื่อนที่ของ ทวปอเมริกาใตและแอฟริกา



6. ลักษณะของทวีปในปจจุบันเหมือนหรือตางกับทวีปเมื่อประมาณ 200 ลานปกอนอยางไร


7. แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผขยายพื้นมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผนธรณีมีความเหมือน และแตกตาง

กันในเรื่องใดบาง



8. เพราะเหตุใดเมื่อแผนธรณีมหาสมุทรและแผนธรณีทวีปเคลื่อนที่เขาหากัน แผนธรณีสมุทร จึงมุดตัวลงขางใตแผนธรณีทวีป สวนท ี่
มุดตัวจะลงไปอยูที่สวนใดของโครงสรางโลก




9. จากรูปแสดงบริเวณที่ราบสูงทิเบต และแนวเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนทีเขาหา


กันของแผนธรณีอนเดีย-ออสเตรเลียและแผนธรณียูเรเซีย หากแผนธรณีดังกลาวเคลื่อนท ใน
ี่
ทิศทางเดิมตอไปเรื่อย ๆ นักเรียนคิดวาลักษณะของธรณีสัณฐานบริเวณนั้นจะเปน อยางไร







10. นักเรียนคิดวาการเกิดแผนธรณีขึ้นมาใหมจะมีผลทำใหโลกมีขนาดใหญขึ้นหรือไม เพราะ เหตุใด



11. จากรูปบริเวณใดบางที่แผนธรณีเกิดการตอเติมและขยายตัวออก บริเวณใดบางเกิด การหลอมแผนธรณีสูภายใตโลก เพราะเหตุใด

























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี










เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 51


12. จากรูป จงตอบคำถามตอไปน
ี้





























12.1 ตำแหนง ก และ ข เปนธรณีสัณฐานแบบใด
12.2 ธรณีสัณฐานขางตนเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผนธรณีใด และเคลื่อนที่แบบใด

12.3 บริเวณใดคือรอยตอของแผนธรณี




















































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี


52 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



แบบทดสอบกอนเรยน
หนวยการเรียนรูที่ 3








คำชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคำตอบท่ถูกตองท่สุดเพยงขอเดยว
1. นักวิทยาศาสตรใชเครื่องมือใดวัดคลื่นไหวสะเทือน 6. แผนดินไหวที่รูสึกไดในประเทศไทยสวนใหญมีศูนยเกิด
1. ไซสโมแกรม 2. ไซสโมมิเตอร แผนดินไหวอยูในประเทศใด
3. ริกเตอรสเกล 4. มัลติมิเตอร 1. ลาว 2. เมียนมา

5. เมอรคัลลีกราฟ
3. สิงคโปร 4. เวียดนาม
2. ขอใดเปนมาตราวัดขนาดของแผนดินไหว 5. อินโดนีเซีย

1. มาตราเมตริก 2. มาตราอังกฤษ 7. หากเกิดแผนดินไหวในขณะที่นักเรียนกำลังเรียนหนังสือ
3. มาตราริกเตอร 4. มาตราเมอรคัลลี อยูในหองเรียน ควรปฏิบติอยางไร

5. มาตราเมอรคัลลีปรับปรุง
1. มุดตัวอยูใตโตะที่มีความแข็งแรง
3. เหตุการณในขอใดไมไดเปนสาเหตุใหเกิดแผนดินไหว 2. รีบปดประตูและหนาตางใหมิดชิด

ี่


1. การกักเก็บน้ำในเขอนขนาดใหญ 3. รีบวิ่งออกจากหองเรียนใหเร็วทสุด
2. การผุพังทางเคมีของเปลือกโลก 4. หากมีลิฟต ใหรีบใชลิฟตเพื่อออกจากอาคาร

3. การทดลองระเบดปรมาณูใตดิน 5. รีบไปอยูบริเวณใกลกับกำแพงที่มีความแข็งแรง

4. การปะทุของภูเขาไฟอยางรุนแรง
5. การเคลื่อนที่เขาหากันของแผนธรณี 8. เมื่อเกิดเหตุการณภูเขาไฟระเบิด มีหลายสิ่งที่ปะท ุ
ออกมาจากภูเขาไฟ ยกเวนขอใด
4. ขอใดกลาวเกี่ยวกับสึนามิไมถูกตอง

1. ความเร็วของคลื่นจะขึ้นอยูกับความลึก 1. เถาภูเขาไฟ 2. แกส
2. มักเกิดขึ้นบริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก 3. ลาวา 4. เศษหิน

3. เกิดขึ้นทุกครั้งเมื่อเกดแผนดินไหวขนาด 6.5 ตาม 5. หยดน้ำ
ี่
มาตราริกเตอรขึ้นไป 9. บริเวณใดที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิดมากทสุด
4. เปนคลื่นน้ำที่เคลื่อนที่ดวยความเร็วสูงเมื่ออยูกลาง 1. แนวเทือกเขาหิมาลัย
มหาสมุทร 2. บริเวณกลางมหาสมุทรแปซิฟก


5. เมื่ออยูกลางมหาสมุทรจะมีความสูงคลื่นนอย แต 3. แนวสันเขากลางมหาสมุทรแปซิฟก
เมื่อเขาใกลชายฝงความสูงคลื่นจะเพิ่มมากขึ้น 4. บริเวณวงแหวนแหงไฟ
5. แนวสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
5. เหตุการณสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
เกิดจากแผนดินไหวที่มีศูนยเกดแผนดินไหวอยูบริเวณ 10. วงแหวนแหงไฟคือพื้นที่บริเวณใด

ประเทศใด
1. บริเวณรอบมหาสมุทรแปซิฟก
1. ญี่ปุน 2. กัมพูชา 2. บริเวณประเทศอินโดนีเซียที่เกิดสึนามิ
3. สิงคโปร 4. ฟลิปปนส 3. แนวรอยตอของเทอกเขาเอลปในทวีปยุโยป



5. อินโดนีเซีย
4. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก

5. แนวรอยตอของเทอกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชย






โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 53



หน่วยการเรียนรที 3






ธรพิัิภัย
























































“ธรณีพิบัติภย” หมายถง ภยธรรมชาตทีเกดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา

ธรณีพิบัติภัย เปนภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาซึ่งเกิดขึ้นโดยฉับพลัน และรุนแรง กอใหเกิดความ

เสียหายแกชีวิตและทรัพยสินของประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณนน ๆ ดังนั้น การศึกษาขอมูลทางธรณีวิทยาและกระบวนการทาง

ธรรมชาติที่เกี่ยวของกับธรณีพิบัติภัยจะชวยปองกัน และบรรเทาความรุนแรงจากธรณีพิบัติภัยตาง ๆ ได















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย








54 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


กิจกรรม 3.1


ความสัมพันธของตำแหนงการเกิดภูขาไฟบนแผนธรณ



จุดประสงคกิจกรรม

1. วิเคราะหและระบุตำแหนงภูเขาไฟบนแผนธรณี
2. ระบุและอธิบายประเภทแนวรอยตอของแผนธรณีที่สัมพันธกับตำแหนงภูเขาไฟ
3. จัดกลุมตำแหนงภูเขาไฟตามตำแหนงและประเภทแนวรอยตอบนแผนธรณี

วัสดุ-อุปกรณ 

1. แผนที่ตำแหนงภูเขาไฟ


2. แผนทแสดงประเภทแนวรอยตอและลักษณะการเคลือนของแผนธรณี

3. ใบกิจกรรม

วธีการทำกิจกรรม
1. จากแผนที่แสดงตำแหนงของภูเขาไฟ และชื่อภูเขาไฟที่กำหนดในตารางใหวิเคราะหความสัมพันธระหวางตำแหนงของภูเขา
ไฟดังกลาวตั้งอยูบนแผนธรณีใด หรือตั้งอยูบริเวณรอยตอของแผนธรณีคูใด (แผนที่แสดงตำแหนงภูเขาไฟ ประเภทแนว

รอยตอและลักษณะการเคลื่อนของแผนธรณี หนา 24) และบันทึกขอมูลลงในตาราง
2. พิจารณาขอมูลภูเขาไฟที่ตั้งอยูบริเวณรอยตอของแผนธรณีที่บันทึกในตาราง และระบุประเภทแนวรอยตอของแผนธรณีท ี ่

สัมพันธกับตำแหนงภูเขาไฟดังกลาว ลงในตารางบนทึกผล
3. ลากเสนเชื่อมตอตำแหนงภูเขาไฟที่อยูบริเวณรอยตอของแผนธรณีที่เคลื่อนที่เขาหากัน
4. จัดกลุมภูเขาไฟตามตำแหนงและประเภทแนวรอยตอของแผนธรณี และนำเสนอ



ตารางบนทกผล



ประเภทแนวรอยตอของแผน





ภูเขาไฟทพบ ตำแหนงบนแผนธรณ ี ภูเขาไฟทพบ ธรณ ี
เขาหา แยกจาก ผานกัน
กัน กัน

ภูเขาไฟกรากะตัว  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศอินโดนีเซีย .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................
ภูเขาไฟพินาตูโบ  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศฟลิปปนส .................................................. แผนธรณี .....................................

และ .............................................
ภูเขาไฟฟูจิ  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศญี่ปุน .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................

ภูเขาไฟคาริมสก ี  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศรัสเซีย .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................
ภูเขาไฟพาฟลอฟ  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศ .................................................. แผนธรณี .....................................
สหรัฐอเมริกา และ .............................................

โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย











เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 55


ประเภทแนวรอยตอของแผน


ภูเขาไฟทพบ ตำแหนงบนแผนธรณ ี ภูเขาไฟทพบ ธรณ ี





เขาหา แยกจาก ผานกัน
กัน กัน
ภูเขาไฟเซนตเฮเลน  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศ .................................................. แผนธรณี .....................................
สหรัฐอเมริกา และ .............................................

ภูเขาไฟเยลโลวสโตน  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศ .................................................. แผนธรณี .....................................
สหรัฐอเมริกา และ .............................................

ภูเขาไฟคิลาเว  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
เกาะฮาวาย ประเทศ .................................................. แผนธรณี .....................................
สหรัฐอเมริกา และ .............................................

ภูเขาไฟโกลิมา  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศเม็กซิโก .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................

ภูเขาไฟคัลบูโก  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศชิลี .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................

ภูเขาไฟเฮกลา  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศไอซแลนด .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................

ภูเขาไฟเอตนา  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศอตาลี .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................

ภูเขาไฟแคเมอรูน  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ
ประเทศแคเมอรูน .................................................. แผนธรณี .....................................
และ .............................................
ภูเขาไฟเออรตาอัลเล  อยูในแผนธรณี  รอยตอของ

ประเทศเอธโอเปย .................................................. แผนธรณี .....................................


และ .............................................

คำถามทายกิจกรรม
1. บริเวณใดบางของแผนธรณีที่พบภูเขาไฟ



2. บริเวณใดที่พบภูเขาไฟระเบิดหนาแนน



ึ้
3. บริเวณที่พบภูเขาไฟระเบดหนาแนนมีกระบวนการทางธรณีใดเกิดขนลักษณะใด

4. ถาลากเสนเชื่อมตำแหนงของภูเขาไฟบนแผนที่จะมีลักษณะอยางไร







โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย










56 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


































































































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย




เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 57



ภูเขาไฟระเบด (volcano)
ภูเขาไฟระเบิดเปนภัยธรรมชาติที่รายแรงชนิดหนึ่ง การระเบิดของภูเขาไฟแสดงใหเห็นวาใตผิวโลกยังมีความรอนสะสมอยู 

มาก โดยอยูในรูปของหินหลอมละลายหรือที่เรียกวา แมกมา (magma) เมื่อแมกมาเหลานี่ถูกพนออกมาทางปากปลองภูเขาไฟ จะ
เรียกวา ลาวา (lava)



การระเบิดของภูเขาไฟ (volcanic eruption)

• ภายใตเปลือกโลกมีหหินหนืดที่มีความรอนจัดไหลเวียนอยาตลอดเวลา แมกมาเมื่ออยูใตโลกจะมีความดันสูงมากเมื่อ
เปรียบเทยบกับลาวา โดยลาวาที่ออกมาสูผิวโลกจะมีอุณหภูมิสูงในชวง 700 – 1250 องศาเซลเซียส เมื่อความดันและความ

รอนเหลานสะสมไวมากพอ จะถูกระบายออกมาผานชั้นหินในเปลือกโลก และจำใหเกิดการระเบิดขึ้น
ี้

• ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นตามแนวขอบของแผนเปลือกโลก

• บริเวณรอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟกมีภูเขาไฟจำนวนมาก เรียกวา วงแหวนแหงไฟ (ring of fire) นอกจากนียังพบมากในบริเวณ

มหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ และพบเพยงเล็กนอยในทะเลแคริเบยน ทะเลเมดิเตอรเรเนย และประเทศไอซแลนด























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย





58 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



สิ่งทีออกมาจากภเขาไฟ

• ลาวา (lava) หินหนืดที่ดันตัวออกมาสูผิวโลก มีอุณหภูมิประมาณ 900-
1,300 ◦C องคประกอบของซิลิกาออกไซด (SiO2) เปนองคประกอบ

หลัก มีผลตอความหนืดของลาวา

• แกสภูเขาไฟ (Volcanic gas) ไอน้ำ ประมาณ 70% คารบอนไดออกไซด
15% สารประกอบไนโตรเจน 5% ซัลเฟอร 5% HCl และ CO

• ชินสวนของภูเขาไฟ (Pyroclastic Material)


o หนตะกอนภูเขาไฟ (Pyroclastic Rocks) หินที่เกิดจากการทับถม
ของเศษหินที่ไดจากการระเบิดของภูเขาไฟ เมื่อมีการเชื่อมประสาน
ดวยแร จะไดหินที่เรียกวา หินชิ้นภูเขาไฟหรือหินตะกอนภูเขาไฟ
(Pyroclastic rock)

 หินทัฟฟ (Tuff) เถาถานภูเขาไฟ
 หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ (Volcanic Breccia) หินชิ้นภูเขาไฟ มีขนาดเสนผานศูนยกลาง มากกวา 64 มม. มี

ลักษณะเปนเหลี่ยม หรือ บล็อก (Block)

 หนกรวดมนภูเขาไฟ (Agglomerate) หินชิ้นภูเขาไฟ มีรูปรางกลมมนคลายหยดน้ำ (Bomb)
• หินอัคนีภูเขาไฟ (Pyroclastic Material) หินอัคนีที่เกิดจากการเย็นตัวและตกผลึกของหินหลอมเหลวที่ไหลขึ้นมาบนผิว
โลก หรือลาวา (Lava) เย็นตัวลง มีลักษณะเปนเนื้อแกวที่ไมมีรูป ผลึกหรือเล็กมาก

o เย็นตัวภายใตเปลือกโลก เรียกหินอัคนีแทรกซอน มีผลึกใหญ

o เย็นตัวภายนอกเปลือกโลก เกิดจากลาวาเย็นตัวภายนอกเปลือกโลก เรียกวา หินภูเขาไฟหรือหินอัคนีภูเขาไฟ

ประเภทของภูเขาไฟ แบ่งตามระยะเวลาการปะทุ

1. ภูเขาไฟดับสนิท (extinct volcanoes)

• เปนภูเขาไฟที่เคยเกิดการปะทุในชวงมากกวา 5,000 ปกอน แตปจจุบันไมมีสัญลักษณที่แสดงวามีการปะทุ เชน ไมมีไอนำ

รอนขึ้นมา หรือ ไมมีแผนดินไหว

• พบภูเขาไฟชนิดนี้ทั่วโลก ประมาณ 300 ลูก
• เชน ภูเขาไฟกระโดง จังหวัดบุรีรัมย ดอยคอกหินฟู จังหวัดลำปาง ภูเขาไฟคิลิมันจาโร ประเทศแทนซาเนีย

2. ภูเขาไฟสงบ (dormant volcanoes)



• เปนภูเขาไฟที่ดับแลว แตยังสามารถปะทุได (ปะทุครั้งสุดทาย 500-5,000 ป กอน)
• พบภูเขาไฟชนิดนี้ทั่วโลก ประมาณ 400 ลูก
• เชน ภูเขาไฟฟูจิยามา ประเทศญี่ปุน
• ภูเขาไฟเซนตเฮเลน ประเทศสหรัฐอเมริกา

3. ภูเขาไฟมีพลัง (Active volcanoes)
• เปนภูเขาไฟที่ปจจุบันยังมีการปะทุอยู ภูเขาไฟที่เคยถูกบันทึกวามีการปะทุเกิดขึ้นจัดวามีพลังอยู (500 ปกอน)

• พบภูเขาไฟชนิดนี้ทั่วโลก ประมาณ 1,500 ลูก
• เชน ภูเขาไฟที่อยูใน ประเทศสหรัฐอเมริกา (ฮาวาย) ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศญี่ปุน







โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย







เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 59




ประเภทของภูเขาไฟ แบ่งตามรปร่างและสวนประกอบ
1. แบบกรวยสูง (Steep cone)

• เกิดจากลาวาที่เปนกรด (Acid lava cone) ประกอบดวยธาตุซิลิกามากกวาธาตุอื่น ๆ

• ลาวามีความขนและเหนียว จึงไหลเคลื่อนตัวอยางชา ๆ แตแข็งตัวเร็วทำใหไหลเขาชันมาก
• ภูเขาไฟเกิดการปะทุรุนแรง ทำใหเศษหินและเถาถานกระจายไปไกล

2. แบบโล (Shield volcanoes)

• เกิดจากลาวาที่เปนเบส (Basic lava cone) เพราะประกอบดวยแรเหล็กและแมกนีเซียม
• ลาวามีลักษณะเหลวจึงไหลไดเร็วและแข็งตัวชา จึงทำใหไหลเขาลาด ฐานแผกวาง


• ภูเขาไฟเกดการปะทไมรุนแรง มีเถาถาน เศษหินกอนเล็กและควัน พนออกมาบริเวณปากปลอง

3. แบบกรวยกรวด (Ash and cinder cone)

• มีลักษณะเปนกรวยสูงชัน ฐานแคบ (ความสูง > ความยาวฐาน)
• เปนภูเขาไฟที่มีการปะทุรุนแรงที่สุด เถาถานและฝุนละอองพุงออกมาและฟุงกระจายไปทั่ว
• เถาถานจากการปะทุจะตกลงสูพื้นดินใกลบริเวณปากปลอง ทาใหเกิดการสะสมและกอตัวกลายเปนภูเขาไฟแบบกรวยกรวด


4. แบบกรวยภูเขาไฟสลับชัน (Composite cone)
• มีลักษณะรูปรางสมมาตร (Symmetry) มีความกวางของฐานเทากันทั้งสองดาน

• กรวยของภูเขามีหลายชั้น บางชั้นประกอบดวยลาวา บางชั้นประกอบดวยเถาถานสลับกันไป ขึ้นอยูกับการปะทุแตละครั้ง
• ถามีการปะทุรุนแรง ลาวาจะไหลออกมาจากดานขางของไหลเขา ทำใหเกิดเปนภูเขาไฟรูปกรวยขนาดเล็กอยูดานขาง
• เปนภูเขาไฟที่มีปลองขนาดใหญและมีแองปากปลอง (Crater) ขนาดใหญ





สญญาณบอกเหตการณ์เกิดภูเขาไฟระเบิด


1) ภูเขาไฟพนควันมากขึ้น มีแกสมากขึ้น บางครั้งมีนกที่กำลังบินอยูรับแกสพิษที่ลอยขึ้นบนอากาศ แลวตกลงมาตาย
2) ภูเขามีอาการบวมหรือเอียง เพราะมีเนื้อลาวาพนออกมาเสริมเนื้อภูเขา สามารถวัดไดจากกลองสำรวจ

3) พื้นผิวมีการสั่นสะเทือนมากขึ้น มีการสงพลังงานเสียงออกมามากขึ้นกวาปกติ วัดไดจากเครื่องไซสโมกราฟ คอย
รายงานขอมูลอัตราการเพิ่มการสั่นไหว

4) สุนัข หรือสัตวเลื้อยคลานบางชนิดจะตื่นตกใจ เพราะสัตวเหลานี้สามารถรับรูการสั่นสะเทือนของพื้นดินไดดีกวา


มนษย




























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย

60 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 3.1
ภูเขาไฟระเบด




คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิดในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน


























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย





เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 61


ใบงานที่ 3.2

ภูเขาไฟ





1. ภูเขาไฟระเบดเกดจากอะไร




2. กอนการระเบดจะมีสัญญาณบอกเหตุใหรูลวงหนา เชน



3. ภูเขาไฟเกดขึ้นที่บริเวณใดของแผนธรณีภาค



4. ภูเขาไฟที่เกดจากบริเวณจุดรอน (hot spot) เกิดขึ้นไดอยางไร หมูเกาะใดบางที่เกิดจากจุดรอน

5. สิ่งที่แตกตางระหวางลาวาและแมกมาคือ

6. ความรุนแรงของการระเบดของภูเขาไฟขึ้นอยูกับอะไร




7. แมกมาที่มีความหนืดมากกับแมกมาที่มีความหนดนอยความดันของแกสแตกตางกันอยางไร และเมื่อเคลื่อนที่สูผิวโลกจะทำให
เกิดการระเบิดแตกตางกันอยางไร



8. หินชิ้นภูเขาไฟ (pyroclastic rock) คือ

9. หินทัฟฟ (tuff) เกิดจาก
10. บล็อก (bluck) กับบอมบ (bomb) เกิดจากอะไรแตกตางกันอยางไร



11. หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ (agglomerate) เกิดจาก


12. พัมมิส (pumice) เปนแกวภูเขาไฟ (volcanic glass) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะอยางไร




















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย


62 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


13. ใหนักเรียนเติมขอความลงในตารางใหถูกตอง


Shield Volcanoes Cinder Cone Volcanoes Composite Volcanoes



Diagram









Description of
Formation








Lava Type






Type of Eruption









Location







Example
















โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย





เ อ ก ส า รป ระ ก อ บ ก า รเรี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 63






14. พจารณารูปแผนทโลก (world map) ใหนักเรียนใชปากกาสีแดงแสดงตำแหนงภูเขาไฟลงในแผนท ี ่


























14.1 แนวภูเขาไฟอยูบริเวณใดบาง (เขียนชื่อและลากเสนระบุตำแหนง)




14.2 ประเทศใดบางที่เกดภูเขาไฟระเบดบอยครั้ง เพราะเหตุใด







ี่
14.3 ประเทศใดบางทไมเกดภูเขาไฟระเบิดเลย หรือเกิดไมบอยครั้ง เพราะเหตุใด




14.4 แนวแผนดินไหวสัมพันธกับแนวภูเขาไฟหรือไม อยางไร

























โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย









64 | เ อก ส า ร ป ร ะ ก อบ ก า ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1


แผ่นดินไหว (earthquake)



ทฤษฎีการเกิดแผ่นดนไหว
1. ทฤษฎีที่วาดวยการขยายตัวของเปลือกโลก (dilation source theory) แผนดินไหวเกิดจากการที่เปลือกโลกคดโคงโกง
งออยางเฉียบพลัน และเมื่อวัตถุขาดออกจากกันจึงปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปคลื่นแผนดินไหว

2. ทฤษฎีทวาดวยการคนตัวของวัตถุ (elastic rebound theory) แผนดินไหวเกิดจากการสั่นสะเทือนอันเปนเหตุผลมาจาก



การเคลื่อนตัวของรอยเลื่อน (fault) ดังนั้น เมื่อเกิดการเคลื่อนที่ถึงจุดจุดหนึ่งวัตถุจึงขาดออกจากกัน และเสียรูปอยางมาก
พรอมกับการปลดปลอยพลังงานออกมา และหลังจากนั้นวัตถุก็คืนตัวกลับสูรูปเดิม
ทฤษฎีนี้สนับสนุนแนวความคิดที่วา แผนดินไหวมีกลไกการ กำเนิดเกี่ยวของโดยตรงและใกลชดกับรอยเลื่อนที่มี


พลัง (active fault) ทเกิดขนจากผลพวงของการแปรสัณฐานของเปลือกโลก (plate tectonics)




ลักษณะของการเกิดแผ่นดินไหว


• แผนดินไหว คือ การสั่นสะเทือนของแผนดินที่รูสึกได ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิว โลก ซึ่งเปนผลมาจากการปลดปลอย
พลังงานที่สะสมไวอยางฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลือก โลก โดยพลังงานที่ปลอยออกมาจะอยูในรูปของคลื่นไหวสะเทือน
หรือคลื่นแผนดินไหว (seismic wave) ซึ่งมีสาเหตุหลัก 2 ประการ คือ

o สาเหตุจากธรรมชาติ เชน กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน ภูเขาไฟระเบิด อกกาบาตชนโลก เปนตน


o สาเหตุจากมนุษย เชน การทดลองระเบิดนิวเคลียร การกักเก็บน้ำในเขื่อน การระเบิดหิน เปนตน
• การเกิดแผนดินไหวมักเกิดบริเวณรอยแตกภายในหรือตามขอบของแผนที่มีการเคลื่อนตัว

• จุดศูนยกลางการเกิดแผนดินไหว (focus) มักอยูบริเวณรอยเลื่อน ซึ่งจะอยู

ลึกลงไปใตดิน สวนจุดที่อยู เหนือกวา ณ บริเวณผิวโลก จะเรียกวา จุด


เหนือศูนยกลางแผนดินไหว (epicenter)
• คลื่นแผนดินไหวมี 2 ชนิด ไดแก คลื่นภายใน (body wave) และคลื่น
พื้นผิว (surface wave)


o คลืนในตวกลาง (Body wave) » เกิดรอบจุดการเกิดแผนดินไหว

o คลื่นพื้นผิว (Surface wave) » แผออกไปจากจุดเหนือศูนยเกิด
แผนดินไหว


คลืนพื�นผิว (Surface wave)

• คลืนแอล (Love wave: L - wave)

o เปนคลื่นที่ทำใหผิวโลกเกดการสั่นในแนวราบคลายกับการเลื้อยของง ู

o ไมสามารถเคลื่อนทผานตัวกลางที่เปนของเหลว
ี่

ี่
o สามารถเคลื่อนทผานตัวกลางที่เปนของแข็งได
• คลื่นอาร (Rayleigh Wave: R-wave)
ึ้
o เปนคลื่นที่ทำใหผิวโลกเคลื่อนที่ขนลงคลายกับคลื่นน้ำในมหาสมุทร

o พื้นผิวโลกจะเคลื่อนที่ทั้งแบบขึ้นลง และขยับตัวในแนวขวางไปพรอม ๆ กน
o สรางความเสียหายและความสูญเสียเปนอยางมาก



โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย









เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 65


แผ่นดินไหวแบบต่าง ๆ (Types of Earthquakes)





1. แผนดนไหวแบงตามระยะทาง แบงได 2 แบบ
• แผนดินไหวทองถิ่น (Local Earthquakes) เปนแผนดินไหวที่มีศูนยกลางอยูหางจากสถานีตรวจไมเกิน 1,200 กิโลเมตร


หรือแผนดินไหวที่มีระยะหางระหวางคลื่น P กับคลื่น S ไมเกิน 2 นาท
• แผนดินไหวไกล (Teleseismic Earthquakes) เปนแผนดินไหวที่มีศูนยกลางอยูหางจากสถานีตรวจมากกวา 1,200

กิโลเมตร หรือแผนดินไหวที่มีระยะหางระหวางคลืน P กับคลื่น S เกิน 2 นาท ี



2. แผนดินไหวแบงตามความลึก แบงได 3 แบบ
• แผนดินไหวตื้น (Shallow Earthquakes) เปนแผนดินไหวที่มีจุดกำเนิดอยูลึกไมเกิน 70 กโลเมตร


• แผนดนไหวลึกปานกลาง (Intermediate Earthquakes) เปนแผนดินไหวที่มีจุดกำเนิดอยูลึกระหวาง 71-350 กโลเมตร


• แผนดินไหวลึก (Deep Earthquakes) เปนแผนดินไหวที่มีจุดกำเนิดอยูลึกเกิน 350 กโลเมตร


ไซสโมกราฟ (Seismograph)

เครื่องมือตรวจวัดแผนดินไหว หรือไซสโมกราฟ สามารถตรวจหา

• เวลาที่แผนดินไหวเกิด
• จุดเหนือศูนยกลางแผนดินไหว (Epicenter)
• ความลึกของจุดศูนยกลางแผนดินไหว
• ขนาดของพลังงานที่ปลดปลอยออกมา



















ขนาดและความรนแรงของแผ่นดินไหว
• ขนาดแผนดินไหวสามารถตรวจวัดไดดวยเครื่องมือที่เรียกวา เครื่องวัดความไหวสะเทือน (seismograph)


• ขนาดของแผนดินไหว เปนคาของพลังงานที่แผนดินไหวปลดปลอยออกมาในแตละครั้ง


• มาตราวัดขนาดแผนดินไหวที่นิยมใช ไดแก มาตรารกเตอร (Richter Scale) และมาตราขนาดโมเมนต





• มาตราทใชบอกความรนแรงของแผนดินไหวที่วิเคราะหจากความเสียหายที่เกิดขึ้น คือ มาตราเมอรคลลี

• แผนดินไหวในประเทศไทย สวนใหญแผนดินไหวในประเทศไทยเกิดขึ้นจากรอยเลื่อนมีพลัง ซึ่งเปนรอยแตกที่มีการเลื่อนตัวได
ในปจจุบัน เนื่องจาก ประเทศไทยไมไดอยูในแนวรอยตอของแผนเปลือกโลก ทำให ความเสียหายจากแผนดินไหวไมรุนแรง
มากนัก








โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย








66 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ขนาด (ริกเตอร) ลักษณะแผนดินไหว สิ่งที่สังเกตได 

< 3.0 ขนาดเล็กมาก (micro) ตองใชเครื่องมือตรวจจับเทานั้น
3.0 – 3.9 ขนาดเล็ก (minor) รับรูไดจากการแกวงของวัตถุที่แขวนไว 
4.0 – 4.9 ขนาดคอนขางเล็ก (light) เกิดรอยราวของอาคาร มีความเสียหายเล็กนอย

5.0 – 5.9 ขนาดปานกลาง (moderate) เกิดรอยราวของอาคาร มีความเสียหาย
6.0 – 6.9 ขนาดคอนขางใหญ (strong) อาคารพังทลายบางสวน
7.0 – 7.9 ขนาดใหญ (major) อาคารพังทลาย เกิดแผนดินถลมและน้ำทวม
> 8.0 ขนาดใหญมาก (great) อาคารพัง สิ่งกอสรางและวัสดุปลิวสูทองฟา แผนดินทรุด และเกดคลื่นใน

ทะเลรุนแรงมาก




เมอรคัลลี ลักษณะที่ปรากฏ
I ออนมาก ผูคนไมรูสึก ตองทำการตรวจวัดดวยเครื่องมือเฉพาะทางเทานั้น
II คนที่อยูในตึกสูง ๆ เริ่มรูสึกเพียงเล็กนอย

III คนในบานเริ่มรูสึก แตคนสวนใหญยังไมรูสึก
IV ผูอยูในบานรูสึกวามีอะไรบางอยางมาทำใหบานสั่นเบา ๆ
V คนสวนใหญรูสึก ของเบาในบานเริ่มแกวงไกว
VI คนสวนใหญรูสึก ของหนักในบานเริ่มแกวงไหว
VII คนตกใจ สิ่งกอสรางเริ่มมีรอยราว

VIII อาคารธรรมดาเสียหายอยางมาก
IX สิ่งกอสรางที่ออกแบบไวอยางดีตามหลักวิศวกรรม เสียหายมาก
X อาคารพัง รางรถไฟงอเสียหาย
ั้
XI อาคารสิ่งกอสรางพังทลายเกือบทงหมด ผิวโลกปูดนูนและเลื่อนเปนคลื่นบน พื้นดินออน
XII ทำลายหมดทุกอยาง มองเห็นเปนคลื่นบนแผนดิน






































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย










เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 67


กิจกรรม 3.1

กิจกรรม ผลจากการเกิดแผนดินไหว




คำชี้แจง : ใหนักเรียนปฏิบติกิจกรรมตามขั้นตอนที่กำหนดให
วัสดุอุปกรณ
1. อุปกรณชุดรอยเลื่อน

2. ดินน้ำมัน (หลายๆ สี)
3. คัตเตอร


วิธีปฏิบัต ิ
1. กดดินน้ำมันแผใหเต็มบนอุปกรณชุดรอยเลื่อนจำนวน 4-5 ชั้น โดยใชดินน้ำมันชั้นละสี

2. วางอุปกรณตาง ๆ เชน ยางลบ คลิปหนีบกระดาษ เหรียญ เปนตน เพื่อแทนสิ่งปลูก
สรางและสิ่งแวดลอมลงบนดินน้ำมัน
3. ออกแรงดันกรอบไมของอุปกรณชุดรอยเลื่อนตามแนวลูกศร สังเกตและบันทึกการ


เปลียนแปลง
4. ใชคัตเตอรตัดดินน้ำมันตามแนวของรอยแยก สังเกตและบันทึกลักษณะและรูปรางของ
ชั้นดินน้ำมัน

5. อภิปรายผลกิจกรรม และตอบคำถามทายกิจกรรม

บนทกผลการทำกิจกรรม

















สรุปและอภิปรายผลการทำกิจกรรม





คำถามทายกิจกรรม การเปลี่ยนแปลงของแผนดินน้ำมันมีผลตอสิ่งตาง ๆ ที่วางอยูบนดินน้ำมันและหนาตัดของ ดินน้ำมัน

อยางไร













โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย




68 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 3.3
แผ่นดินไหว




คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิดในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน



























































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 4 ลําดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา




เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ดา ร า ศ า ส ตร์ แ ล ะ อ ว กา ศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1 | 69


สึนามิ (tsunami)


• สึนามิ คือ คลื่นหรือกลุมคลื่นที่มีจุดกำเนิดอยูในเขตทะเลลึก ซึ่งเปนคลื่นที่มีความยาวคลื่น ประมาณ 80 - 200 กิโลเมตร โดย


สามารถเคลื่อนที่ในมหาสมุทรไดเปนระยะทางหลายพันกิโลเมตร ดวยความเร็วประมาณ 600 - 1,000 กโลเมตร/ชวโมง

• คลื่นสึนามิเมื่ออยูในทะเลลึกจะมีความสูงคลื่นประมาณ 30 เซนติเมตร แตเมื่อคลื่นเคลื่อนที่เขาสู ชายฝงความสูงคลื่นอาจเพิ่มขึ้น
ไดถึง 15 เมตร ทำใหเกิดความเสียหายตอมนุษยและสิ่งปลูกสราง บริเวณนั้น

• สึนามิเกิดจากสาเหตุตาง ๆ ไดแก แผนดินไหวใตทะเล ซึ่งเกิดจากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวดิ่ง ภูเขาไฟระเบิดใตทะเล


อกกาบาตตกในทะเล แผนดินขนาดใหญถลมใตทะเล และการทดลองระเบด นิวเคลียรใตทองทะเล
• การเกิดสึนามิกระทบชายฝง

1. การเคลื่อนตัวของแผนเปลือกโลกใตสมุทร ทำใหมวลน้ำทะเลถูกยกตัวขึ้นทันทีจากพื้นทะเล
2. อนุภาคของน้ำจะกระเพื่อมขึ้นและลงไปทุกทิศทางในทะเลลึกคลื่นมักมีความสูงไมมากแตมีความเร็วมาก

3. เมื่อเขาใกลชายฝงความเร็วคลื่นจะถูกหนวงใหชาลงอยางฉับพลัน แตมีแรงปะทะมาก
4. คลื่นโถมเขาสูชายฝงทำลายทุกสิ่งที่ขวางหนา




• สึนามิเปนพิบัติภัยที่ไมสามารถปองกันได แตในปจจุบันมีระบบเตือนภัยลวงหนา ซึ่งเปนทุนลอยใน มหาสมุทร สามารถตรวจวด
การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำรวมกับขอมูลการตรวจวัดแผนดินไหว โดยสงสัญญาณ ผานดาวเทียมเพื่อแจงเตือนภัย




















































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 3 ธรณีพิบัติภัย











70 | เ อ กส า ร ป ร ะ กอ บ กา ร เ รี ย น โ ล ก ด าร าศ าส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก าศ : ธ ร ณี วิ ท ย า 1



ใบงานที 3.4

สนามิ



คำชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิดในรูปแบบของแผนผังความคิด และนำเสนอผลงาน






















































โรงเรยนพรหมานุสรณจงหวัดเพชรบรี ช�นมัธยมศกษาปท ่ 4 หน่วยการเรียนร้ท ่ 4 ลําดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา








Click to View FlipBook Version