The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน
เอกสารเผยแพร่เพื่อส่งเสริมความรู้สู่เกษตรกร
โครงการความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation Project-TCP)
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
ความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตร (DOA) และศูนย์โคเปีย (KOPIA) ประจำประเทศไทย สถาบันพัฒนาชนบท (RDA) สาธาราณรัฐเกาหลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน
เอกสารเผยแพร่เพื่อส่งเสริมความรู้สู่เกษตรกร
โครงการความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation Project-TCP)
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
ความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตร (DOA) และศูนย์โคเปีย (KOPIA) ประจำประเทศไทย สถาบันพัฒนาชนบท (RDA) สาธาราณรัฐเกาหลี

Keywords: โรคอ้อย,ศัตรูอ้อย,การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

ความเป็นมา

โครงการผลิตและขยายพันธ์ุอ้อยที่สะอาดในไร่เกษตรกร (Mass Production
of Clean Planting Materials in Sugarcane and Field trials) เป็นโครงการความ
ร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation Project-TCP) ระหว่างกรมวิชาการ
เกษตร (Department of Agriculture, DOA) และสถาบันพัฒนาชนบทสาธารณรัฐ
เกาหลี (Rural Development Administrative, RDA) โดยมีศูนย์โคเปีย (Korea
Project on International Agriculture, KOPIA) เ ป็ น ผู้ ด า เ นิ น ก า ร ส นั บ ส นุ น
งบประมาณ สานักวิจัยพัฒนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ และศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
เปน็ ผดู้ าเนนิ งานผลิตท่อนพันธุ์ปลอดเชือ้ โรคไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคใบขาว และทดลอง
ขยายผลเป็นแปลงใหญ่ในไร่เกษตรกร โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้ได้ท่อนพันธ์ุอ้อยท่ีสะอาด
ปราศจากโรคใบขาวในปรมิ าณมากเพียงพอต่อพ้ืนท่ีการผลิตและเป็นการลดแหล่งสะสม
เช้ือไฟโตพลาสมา อีกทั้งเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพการขยายพันธุ์ให้ได้เป็นสายพันธ์ุ
สะอาด เพื่อสนับสนุนการขยายอ้อยพันธุ์ท่ีสะอาดปราศจากโรคใบขาวสาหรับเกษตรกร
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตท่อนพันธุ์สะอาดให้กับผู้นาเกษตรกร ใช้หลักการจัดการ
ศัตรูพชื แบบผสมผสาน และการทาเกษตรดีทีเ่ หมาะสม

เอกสารเผยแพรน่ ้จี ัดทาขนึ้ เพอ่ื เป็นคมู่ ือเกษตรกรในโครงการฯ รวมทั้งผู้ที่สนใจ
ขอขอบคุณศูนย์โคเปีย สาธารณรัฐเกาหลี ศูนย์โคเปีย ประจาประเทศไทย ที่ให้การ
สนับสนุนงบประมาณ และกรมวิชาการเกษตรที่สนับสนุนการจัดทาโครงการ คณะ
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรชาวไร่อ้อย
สามารถนาวิธีการไปประยุกต์ใช้ในการผลิตท่อนพันธุ์สะอาด และเป็นจุดเริ่มต้นทิศทาง
ใหมใ่ นการพ่งึ พาตัวเอง และนาไปสู่การผลติ พืชอยา่ งย่ังยืนต่อไป

การจัดการศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน ก

คานา

อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสาคัญพืชหน่ึงของประเทศไทย ที่สร้างรายได้
ให้แก่ประเทศ และเกษตรกร ผู้ปลูกเป็นจานวนมาก แต่การผลิตอ้อยยังประสบปัญหา
จากโรคและแมลงศัตรูอ้อย ซ่ึงเป็นปัญหาสาคัญที่เป็นข้อจากัดทั้งทางด้านผลผลิตและ
คุณภาพอ้อย ส่งผลให้มีต้นทุนการผลิตสูงข้ึน และทาให้ผลผลิตและคุณภาพอ้อยลดลง
ซ่ึงโรคอ้อยท่เี ปน็ ปญั หาหลักในปัจจุบันมีมากกว่า 40 โรค ท่ีเป็นปัญหาสาคัญ ได้แก่ โรค
ใบขาว โรคเห่ียวเน่าแดง โรคแส้ดา โรคกอตะไคร้ และโรคเน่าคออ้อย ส่วนแมลงศัตรู
อ้อยมปี ระมาณ 70 ชนดิ และทีพ่ บวา่ เปน็ ปัญหาสาคัญมีประมาณ 10 ชนิด ได้แก่ หนอน
กอชนิดต่าง ๆ ด้วงหนวดยาว แมลงนูนหลวง และปลวก หากเกิดการระบาดของโรค
และแมลงอย่างรุนแรง จะทาความเสียหายอย่างมาก ทาให้ผลผลิตและคุณภาพอ้อย
ลดลง ไม่สามารถไว้ตอได้ วิธีการแก้ไขปัญหาโรคและแมลงศัตรูอ้อยท่ีสามารถทาได้ง่าย
และมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด คือ การใช้พันธุ์อ้อยที่มีความต้านทานต่อโรคและแมลง แต่
ต้องใช้เวลานานนับสิบปีกว่าจะได้พันธ์ุต้านทาน ดังน้ัน แนวทางที่ดีที่สุดและมี
ประสิทธิภาพในการปอ้ งกันกาจัดโรคและแมลงศตั รอู อ้ ย ตอ้ งเป็นการบริหารจัดการแบบ
ผสมผสานทง้ั ดา้ นโรค แมลงและการเขตกรรม ท่สี ง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โตของอ้อย

การจัดการศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน เป็นการจัดการและเลือกสรรวิธีการมาใช้
ร่วมกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการควบคุมศัตรูพืช และไดรับผลตอบแทนสูงสุดท้ัง
ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสภาพแวดล้อม โดยใช้วิธีการควบคุมศัตรูพืชต้ังแต่ 2 วิธีข้ึนไป
มาใช้ร่วมกัน ได้แก่ วธิ ีเขตกรรมวธิ ีกล วธิ ีทางกายภาพ ชวี วิธี และการใช้สารเคมี

ข การจดั การศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน

สารบัญ

คานา หนา้
สารบญั ก
โรคออ้ ยและการปอ้ งกนั กาจดั ค
ความสาคญั ของโรคอ้อย 4
โรคใบขาว 4
โรคกอตะไคร้ 5
โรคเนา่ แดง เหีย่ วเน่าแดง และโรคเสน้ กลางใบแดง 7
โรคแสด้ า 9
ใบขีดแดง (โรคยอดเนา่ ) 11
โรคใบลวก 13
โรคใบจดุ วงแหวน 14
โรคใบขีดสนี า้ ตาล 15
โรคใบดา่ ง 16
แมลงศตั รอู อ้ ยและการป้องกันกาจัด 18
หนอนกออ้อย 20
หนอนกอลายจุดเลก็ 20
หนอนกอสขี าว 20
หนอนกอสีชมพู 22
หนอนกอลายใหญ่ 23
หนอนกอลายจดุ ใหญ่ 24
หนอนกอลายแถบแดง 25
ไรแมงมุมอ้อย 26
ดว้ งหนวดยาว 30
แมลงหวี่ขาวออ้ ย 12
31

การจัดการศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน ค

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
32
ดว้ งหนวดยาวอ้อย 35
แมลงนนู หลวง 37
ปลวก 41
การจัดการดินและปุ๋ยออ้ ย 46
เคร่ืองจกั รกลการเกษตรในไรอ่ อ้ ยทส่ี าคญั 56
เอกสารอา้ งองิ

ง การจดั การศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน

โรคอ้อยและการป้องกนั กาจดั

ความสาคัญของโรคอ้อย

โรคอ้อยเป็นปัญหาสาคัญอย่างหน่ึงซ่ึงทาความเสียหายให้แก่ผลผลิต ท้ังด้าน
ปริมาณและคุณภาพ มีรายงานความเสียหายเนื่องจากโรคต่าง ๆ เช่น การระบาดของ
โรคเห่ียวเน่าแดง ในแหล่งปลูกอ้อยในภาคกลาง โรคแส้ดาแม้จะไม่มีการระบาดรุนแรง
มาหลายปี แต่ก็ยังคงพบอยู่เป็นประจา การควบคุมโรคอ้อยไม่ให้เกิดการระบาดจนเกิด
ความสูญเสีย ต้องอาศัยการวินิจฉัยท่ีถูกต้องแม่นยา เพื่อให้ทราบสาเหตุ และชนิดของ
โรค จึงจะสามารถหาวิธีการป้องกันกาจัดท่ีถูกต้องและเหมาะสม ซ่ึงแต่ละโรคจะมี
วิธีการควบคุมต่างกัน ในประเทศไทยพบโรคอ้อยรวม 34 ชนิด (สานักงาน
คณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย, ม.ป.ป.) แต่โรคท่ีสาคัญและทาความเสียหายแก่
อ้อยมากมดี ังนี้

การจดั การศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน 1

โรคใบขาว

สาเหตุ
เช้ือไฟโตพลาสมา (sugarcane white leaf phytoplasma)

ลกั ษณะอาการโรค
เกิดได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของอ้อย ใบอ้อยจะเปล่ียนเป็นสีเขียวอ่อน

หรือขาวซีด แคบเรียวเล็กกว่าปกติ บางครั้งจะเป็นแถบขาวขนานไปตามความยาวของ
ใบขนาดต่างๆ กัน ต่อมาจึงจะขยายจนเต็มใบ ลาอ้อยส้ัน ปล้องถ่ี แตกหน่อมาก คล้าย
กอตะไคร้ ระยะอ้อยตอจะแตกเป็นกอสีขาวเป็นฝอย หากอาการรุนแรงอ้อยจะแห้งตาย
ในท่ีสุด ทาให้ผลผลิตลดลงมากกว่า 50 % ในปี 2552-2553 มูลค่าความเสียหายทาง
เศรษฐกจิ นับ 1,000 ล้านบาท (ยุพา, 2555)

การแพรร่ ะบาด
- ตดิ เชอ้ื ไปทางท่อนพันธจ์ุ ากกอทีเ่ ปน็ โรค
- มีแมลงเปน็ พาหะ คอื เพลีย้ จกั จนั่ สนี ้าตาล Matsumuratettix

hiroglyphicus และYamatotettix flavovisttatu

ลักษณะใบออ้ ยเปลยี่ นเปน็ สขี าว

2 การจดั การศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน

อาการโรคใบขาว ทอ่ นพันธ์ุเปน็ โรค

กข

ก เพลีย้ จกั จัน่ M…atsumura.tettix hiroglyphicus
ข เพลี้ยจกั จัน่ Y.a.matotettix flavovisttat

การปอ้ งกนั กาจดั .. d
1. หมน่ั ตรวจแปลง
และขดุ หรอื ทาลายต้นทdี่เป็นโรค
2. ไม่ควรใชท้ ่อนพันธ์ุจากแหล่งทdม่ี โี รคระบาด
3. จัดทาแปลงพนั ธข์ุ องตนเอง d

4. การปลูกออ้ ยข้ามแลง้ ช่วยลดการเกิดโรค

5. การบารุงอ้อยให้เจริญเติบโตอย่างดีไม่ให้เกิดสภาพความเครียด เช่น มีการให้

นา้ เม่ือจาเป็น มีการปรับปรุงดินโดยการไถกลบใบอ้อย หรือปลูกพืช ปุ๋ยสดเม่ือ

แปลงว่างกอ่ นการปลกู อ้อยใหม่

การจัดการศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน 3

โรคกอตะไคร้

สาเหตุ
เชือ้ ไฟโตพลาสมา (green grassy shoot phytoplasma)

ลักษณะอาการ
อ้อยท่ีเป็นโรคจะแตกกอมากลาต้นแตกกอฝอยและใบอ้อยมีลักษณะเรียวเล็ก

เป็นฝอยคล้ายกอตะไคร้ ใบจะมีสีเขียวปกติ ถึงเขียวอ่อน หรืออาจมีสีซีดบ้าง แต่ไม่ซีด
ขาว ในอ้อยปลกู ออ้ ยท่ีเป็นโรคจะให้ลาตามปกติ แต่อาจสงั เกตเหน็ อาการลักษณะลาเล็ก
หรือคล้ายกอตะไคร้ในภายหลังบริเวณโคนกอ จานวนลาอ้อยจะน้อยกว่าอ้อยปกติ ซ่ึง
เปน็ ผลใหผ้ ลผลิตต่อไร่ลดลง อาการของโรคจะรุนแรงข้ึนในอ้อยตอ ในพันธ์ุที่อ่อนแอจะ
ตายได้

การแพร่ระบาด
ตดิ เชื้อไปทางท่อนพนั ธุ์จากกอทีเ่ ปน็ โรค

ลักษณะอาการโรคกอตะไคร้

4 การจัดการศตั รอู ้อยแบบผสมผสาน

ลักษณะลาต้นแตกกอฝอย

การปอ้ งกนั กาจดั
ทาเชน่ เดียวกบั โรคใบขาว คือ
1. หมนั่ ตรวจแปลง และขุดหรอื ทาลายต้นท่ีเปน็ โรค
2. ไมค่ วรใช้ทอ่ นพนั ธจุ์ ากแหล่งทม่ี ีโรคระบาด
3. จัดทาแปลงพนั ธข์ุ องตนเอง
4. การปลกู ออ้ ยขา้ มแลง้ ช่วยลดการเกดิ โรค
5. การบารุงอ้อยให้เจริญเติบโตอย่างดีไม่ให้เกิดสภาพความเครียด เช่น มีการให้

น้าเมื่อจาเป็น มีการปรับปรุงดินโดยการไถกลบใบอ้อย หรือปลูกพืชปุ๋ยสด
เมอ่ื แปลงว่างก่อนการปลูกออ้ ยใหม่

การจดั การศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน 5

โรคเน่าแดง เหี่ยวเนา่ แดง และโรคเส้นกลางใบแดง

สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum falcatum

ลักษณะอาการ
เช้ือสาเหตุของโรคสามารถเข้าทาลายอ้อยทุกส่วน ต้ังแต่เป็นท่อนพันธ์ุ ทาให้

ท่อนพันธ์ุเน่าไม่งอก ส่วนที่สาคัญและเสียหายมากที่สุดคือ การเข้าทาลายท่ีลาตัน โดย
บริเวณปลอ้ งที่เช้ือเข้าทาลายจะเกิดเป็นสีม่วงที่ภายนอกต่อมาจะมีอาการใบเหลืองและ
แห้งตาย เมื่อผ่าดูตามความยาวของลาเห็นอาการภายในเน้ืออ้อยมีสีแดง ในพันธ์ุท่ี
อ่อนแอจะมีจุดแต้มสีขาวเป็นจ้าค่ันในรอยแผลในลักษณะต้ังฉากกับความยาวลาอ้อย
และส่งกล่ินเหมน็ เปรย้ี ว รอยแต้มจะมขี นาดไม่แน่นอนจะผันแปรตามความต้านทานของ
พันธ์อุ อ้ ย ในสภาพธรรมชาติมักพบเชื้อ Fusarium moniliformeae ซึ่งเชื้อนี้โดยปกติเป็น
สาเหตุของโรคเหี่ยวเขา้ รว่ มทาลายด้วย จงึ เรยี กวา่ เหยี่ วเนา่ แดง

สาหรับอาการบนใบ จะเร่ิมต้นเป็นจุดยาวบนเส้นกลางใบด้านบนของใบ จุดน้ี
อาจมีสนี ้าตาลแดงเขม้ แล้วเปลย่ี นเป็นสีฟางท่ีมีขอบสีม่วง และมีจุดดาเล็ก ๆ ในบางคร้ัง
เชื้ออาจเข้าทาลายใบอ้อย ทาให้เกิดเป็นจุดแดงเล็กๆ บนเนื้อใบแต่อาการนี้เกิดข้ึนน้อย
มาก อีกอาการท่ีพบคือ อาการเป็นรอยปื้นแดงบนกาบใบ อาการเส้นกลางใบแดงจะไม่
ทาใหอ้ ้อยเสยี หายมาก

การแพรร่ ะบาด
- ระบาดไปกบั ทอ่ นพันธ์ุ
- เช้ือรา Colletotrichum falcatum เข้าทาลายได้ตามรอยแผลท่ีเกิดจาก
หนอน หรอื แผลแตกของลา
- โรคจะระบาดรุนแรงในพ้นื ทที่ ม่ี ีความช้ืนสูง เชน่ ในเขตชลประชานหรือที่นา

6 การจดั การศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน

อาการโรคเหี่ยวเนา่ แดง อาการเนา่ แดงภายในลา

อาการโรคเส้นกลางใบแดง

การป้องกนั กาจดั
1. ไถแปลงออ้ ยท่ีเปน็ โรครุนแรงทิ้ง และคราดตอออ้ ยเกา่ ออกใหห้ มด
2. ใช้พันธุ์ต้านทานในพื้นท่ีที่เป็นโรคควรปลูกพันธ์ุต้านทานเช่น LK92-11 หรือ

K84-200 กอ่ นนาพันธุอ์ น่ื มาปลูก
3. ปลูกพืชหมุนเวียน ยกเว้นพืชอาศัยของเช้ือสาเหตุ เช่น ข้าวฟ่าง ข้าวโพด

ถั่วเขยี ว

การจัดการศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน 7

โรคแส้ดา

สาเหตุ
เกิดจากเชือ้ รา Ustilago scitamineae

ลกั ษณะอาการ
ส่วนยอดของลาอ้อยหรือหน่อท่ีงอกจากตาข้างของลาต้นท่ีเป็นโรคมีลักษณะ

คลา้ ยแส้ยาวสดี า ซง่ึ เกดิ จากเช้อื ราสรา้ งสปอรส์ ดี าจานวนมาก ชนั้ ของสปอร์สีดาของเชื้อ
ท่ีอัดแน่นอยู่มีเน้ือเยื่อสีเงินห่อหุ้มสปอร์ไว้อีกชั้นหน่ึง เม่ือแส้มีอายุมากข้ึนเน้ือเย่ือบางๆ
ท่ีห่อหุ้มสปอร์จะแตกออกปลดปล่อยสปอร์ของเชื้อออกไป แส้น้ีมีขนาดยาวต้ังแต่ 1-2
เซนตเิ มตร จนถึง 1.5 เมตร แส้ที่เกิดจากตาข้างจะมีขนาดเล็กกว่าแส้ที่เกิดจากจุดเจริญ
ท่ียอดท่ีมีลักษณะเป็นก้านแข็งตั้งตรงหรือม้วนเป็นวง กออ้อยที่เป็นโรครุนแรงจะแคระ
แกรน แตกกอมาก เมื่อเป็นรุนแรงอ้อยจะแห้งตายในที่สุด ทาให้ผลผลิตลดลงมากกว่า
กวา่ 10 % ในออ้ ยตอจะเปน็ โรครนุ แรงกวา่ ออ้ ยปลูก

ลกั ษณะแส้สีดา

8 การจัดการศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน

การแพร่ระบาด
- ระบาดไปกับทอ่ นพันธุ์ จากกอทีเ่ ป็นโรค
- เชื้ออยใู่ นดนิ และสามารถเขา้ ทาลายอ้อยท่ีปลูกใหม่ได้
- เช้ือสามารถแพรก่ ระจายได้โดยลม และเขา้ ทาลายพันธุท์ ีอ่ อ่ นแอได้

ลกั ษณะกอเปน็ โรค

การป้องกนั กาจัด
1. ใชท้ อ่ นพันธสุ์ ะอาดและไม่ควรใช้ท่อนพันธ์ุจากแหลง่ ท่ีมโี รคระบาด
2. ใชพ้ นั ธต์ุ า้ นทาน เชน่ พันธุ์ในตระกูลอู่ทอง พันธข์ุ อนแก่น 3
3. ในแปลงทีเ่ ปน็ โรครุนแรง ควรไถทิ้ง ไม่ควรปลูกซา้ ทันที อาจทาให้ดินมีความช้ืน

ระยะหนึ่งก่อนปลูกอ้อย จะทาให้สปอร์ของเชื้องอกและตายไปเองเม่ือไม่พบ
พืชอาศยั

การจดั การศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน 9

ใบขดี แดง (โรคยอดเนา่ )

สาเหตุ
เกดิ จากเช้ือแบคทีเรยี Acidovorac avenae subsp. Avenae

ลักษณะอาการ
ใบมีเส้นสีแดงเป็นขีดตามความยาวของใบบางครั้งต่อกันเป็นป้ืน เม่ือรุนแรงทา

ให้มีอาการใบยอดเน่า ดึงออกง่ายมีกลิ่นเหม็น ภายในลาช้าเน่าเป็นสีชมพูถึงสีน้าตาล
แดง เนอ้ื อ้อยเน่ากลวง ตาอ้อยด้านข้างงอกเปน็ หน่อบนตน้

อาการของโรคใบขดี แดง

การปอ้ งกันกาจดั
1. ทาลายกอทเ่ี ป็นโรค เอาออกนอกพนื้ ที่
2. ทารอ่ งระบายนา้ เพ่ิม เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโดยน้า
3. งดปุ๋ยไนโตรเจนจนกวา่ อ้อยจะฟนื้ ตวั
4. ในอ้อยเลก็ อาจพ่นสารป้องกันกาจดั ศตั รูพืช คอปเปอร์ออกซค่ี ลอไรด์

10 การจัดการศตั รอู ้อยแบบผสมผสาน

โรคใบลวก

สาเหตุ
เชื้อแบคทเี รีย Xanthomomas albilineans

ลักษณะอาการ
อาการใบเหลืองซดี ขาว จะมเี ส้นขดี ขาวยาวขนานกับเส้นกลางใบ (pencil line)

ใบแห้งงุ้มเข้าหากัน อ้อยจะแห้งตายทั้งกอโดยเริ่มแห้งจากยอด แตกตาข้างมากโดย
เฉพาะที่ยอด บางคร้ังเม่อื ผา่ อ้อยตามยาวจะพบเสน้ ขีดแดงในเนื้อออ้ ย

อาการของโรคใบลวก

การป้องกันกาจัด
1. ใช้ทอ่ นพันธ์ุสะอาด และไมค่ วรใช้ท่อนพันธุ์จากแหลง่ ท่ีมีโรคระบาด
2. พันธต์ุ ้านทาน

การจดั การศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน 11

โรคใบจดุ วงแหวน

สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Leptosphaeria sacchari

ลกั ษณะอาการ
มกั จะพบในอ้อยโตในชว่ งใกลเ้ กบ็ เกี่ยว เชื้อเข้าทาลายใบอ้อย ทาให้เกิดเป็นจุด

แผลเล็กๆ รูปไข่ สีเขียวเข้มฉ่าน้าในระยะแรก ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลขอบแผลสี
น้าตาลเข้ม มวี งสเี หลอื งล้อมรอบ เมื่อแผลแกบ่ ริเวณกลางแผลจะแห้งเป็นสีฟางข้าวและ
มี fruiting body ของเช้ือเห็นเป็นจุดสีดาเล็ก ๆ กระจายอยู่กลางแผล แผลมักมีรูปร่าง
ไมแ่ นน่ อน ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม อาจรนุ แรงแห้งทัง้ ใบได้

อาการของโรคใบจดุ วงแหวน

การปอ้ งกันกาจดั
- ใช้พันธุ์ต้านทาน

12 การจัดการศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน

โรคใบขดี สนี าตาล

สาเหตุ
เช้ือรา Biploaris stenospilum

ลักษณะอาการ
อาการเริ่มต้นจะปรากฏบนใบอ่อน โดยเป็นจุดช้าๆ เล็กๆ มีสีแดงตรงกลาง

หลงั จากนน้ั แผลจะขยายยาวข้นึ ขนานกบั เส้นใบ และมสี ีน้าตาลปนแดงล้อมรอบด้วยรอย
แผลสีเหลือง ความยาวแผลไม่แน่นอน มีต้ังแต่ 2-50 มิลลิเมตร กว้าง 2-4 มิลลิเมตร
ถ้าอ้อยเปน็ โรครนุ แรงมาก แผลจะติดต่อกันทาใหใ้ บอ้อยแหง้ ตายไดเ้ ร็วข้นึ ในอ้อยพันธุ์ท่ี
อ่อนแอต่อโรคจะทาให้เกิดอาการยอดเน่าได้เช่นกัน เช้ือสาเหตุโรคสามารถอยู่ข้ามฤดูได้
ในเศษซากอ้อยท่ีเป็นโรค และเม่ือมีความช้ืนสูง เช้ือราจะสร้างสปอร์ปลิวไปตามลม
โดยดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์และที่ขาดปุ๋ยโปแตสเซียม ฟอสฟอรัส จะยิ่งทาให้โรคมี
ความรนุ แรงมากยิง่ ข้ึน

อาการของโรคใบขดี สนี าตาล

การป้องกันกาจัด
1. พนั ธ์ตุ ้านทาน
2. จัดการฤดูปลูกทเ่ี หมาะสม หรือไม่ปลูกอ้อยแน่นเกนิ ไป
3. ใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ ตามคา่ วเิ คราะห์ดิน

การจัดการศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน 13

อาการทีป่ นกนั ของโรคใบขดี สีนาตาล
และโรคใบจดุ วงแหวนบนออ้ ยพนั ธุ์ขอนแกน่ 3

14 การจดั การศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน

โรคใบดา่ ง

สาเหตุ
เกิดจากเช้อื ไวรัส Sugarcane Mosaic Virus หรอื SCMV

ลกั ษณะอาการ
จะพบเกือบทุกแปลงในทุกพื้นท่ี พบท้ังในระยะแตกกอและย่างปล้องส่วนใหญ่

จะมคี วามรุนแรงนอ้ ยมาก ไม่ทาใหอ้ ้อยเกิดความเสียหายอย่างใด ลักษณะใบอ้อยจะด่าง
เป็นเป็นรอยขีดส้ันๆ สเี ขยี วออ่ นสลับสีเขียวเข้มท่วั ท้ังใบ เม่ือส่องดูใบกับแสงแดดจะเห็น
รอยด่างชัดเจน การสังเกตท่ีสาคัญอยู่ท่ีใบยอดที่เริ่มคลี่ จะเห็นอาการชัดเจนกว่าใบแก่
ใบอ่อนมีสีเขียวซีด ที่สาคัญคือใบบนจนถึงใบอ่อนใบมีสีเขียวซีดจนถึงเหลืองอ่อนด่างไม่
สม่าเสมอ อาการซดี ดา่ งจะไมเ่ หน็ ขอบชดั เจน

การแพร่ระบาด
- ระบาดไปกบั ท่อนพนั ธ์ุ
- เพล้ียออ่ นเปน็ แมลงพาหะ

ลกั ษณะอาการใบด่าง ลกั ษณะลาตน้ เปน็ โรค

การจดั การศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน 15

การปอ้ งกันกาจัด
1. คดั เลือกอ้อยทสี่ มบูรณ์ ไม่เป็นโรคสาหรบั ใช้ทาพนั ธุ์
2. ใชพ้ ันธ์ตุ า้ นทาน
3. กาจัดวชั พชื ในไรอ่ อ้ ย เพอ่ื ไม่ให้เปน็ แหล่งอาศยั ของแมลงพาหะนาโรค
4. ทาการเขตกรรมอย่างเหมาะสม ให้อ้อยเจริญเติบโตดี แข็งแรง ลดความ

เสียหายของโรค

16 การจดั การศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน

แมลงศัตรูอ้อยและการป้องกนั กาจัด

ความสาคัญของแมลงศตั รอู อ้ ย

ปัญหาสาคัญอีกประการหน่ึงในการปลูกอ้อยคือปัญหาแมลงศัตรูอ้อย ซ่ึงทา
ใหผ้ ลผลติ และคณุ ภาพออ้ ยลดลง ในปีท่ีมีการระบาดรุนแรงเช่นปี 2544-45 หนอนเจาะ
ลาต้นทาให้ผลผลิตลดลงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ (ณัฐกฤต พิทักษ์, 2553) นับว่า
ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อ แมลงศัตรูอ้อยสร้างความเสียหาย
ให้แก่อ้อยท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยทางตรงแมลงกัดกินทาลายอ้อยทาให้เกิดความ
เสยี หาย ผลผลิตตกตา่ และทางออ้ มคอื เปน็ แมลงพาหนะนาโรคพืชต่าง ๆ มาสู่อ้อย การ
ระบาดของแมลงอาจจะพบเพียงบางท้องท่ีและบางฤดูกาลเท่าน้ัน ทั้งน้ีเน่ืองจาก
ธรรมชาติเป็นตัวควบคุมปริมาณของแมลงศัตรูอ้อยเหล่าน้ีไม่ให้ระบาดสร้างความ
เสียหายแก่อ้อยดังน้ันจึงต้องทาความเข้าใจเก่ียวกับธรรมชาติของแมลง สภาพดินฟ้า
อากาศท่ีแมลงชอบอาศัย และลักษณะการทาลาย เพ่ือเป็นแนวทางในการควบคุมที่มี
ประสิทธภิ าพต่อไป

หนอนกอออ้ ย

หนอนกออ้อยหรือหนอนเจาะลาต้นอ้อยเป็นแมลงศัตรูท่ีสาคัญ โดยในระยะ
หนอนจะอาศัยกัดกินอยู่ภายในหน่อหรือลาต้นอ้อย ทาให้ยอดเหี่ยวและแห้งตาย หาก
หนอนเขา้ ทาลายมากในระยะย่างปล้องจะทาให้เป็นแผลภายใน อ้อยหักล้มเสียหาย พบ
ระบาดทาความเสียหายให้กับอ้อยในพื้นท่ีปลูกทั่วประเทศ หนอนกออ้อยที่เป็นศัตรู
สาคัญของอ้อยท่ีพบในประเทศไทยมี 6 ชนิด คือ หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีขาว
หนอนกอสีชมพู หนอนกอลายใหญ่ หนอนกอลายจุดใหญ่ และหนอนกอลายแถบแดง

การจดั การศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน 17

 หนอนกอลายจดุ เลก็

เป็นแมลงศัตรูอ้อยท่ีสาคัญที่สุด เข้าทาลายอ้อยให้เสียหายได้มากและยากแก่
ป้องกันกาจัด การเข้าทาลายในระยะแรกจะเห็นได้ยาก จะทราบต่อเมื่ออ้อยถูกทาลาย
ไปแล้ว หนอนเจาะเข้าทาลายทั้งหน่อ ส่วนยอด และลาต้นอ้อย ขณะท่ีอ้อยยังเป็นหน่อ
หนอนเจาะเข้าไปตรงส่วนโคนระดับผิวดิน เข้าไปกัดกินส่วนท่ีกาลังเจริญเติบโต ภายใน
และส่วนฐานของใบอ้อยที่ยังไม่คล่ี ทาให้เกิดอาการยอดแห้งตาย ส่วนในระยะอ้อยแตก
กอ หนอนจะเจาะเข้าทาลายหน่ออ้อยทาให้เกิดอาการยอดแห้งตาย หน่อแม่จะถูก
ทาลายมากที่สุด เม่ืออ้อยโตมีลา หนอนจะเจาะเข้าทาลายอยู่ภายในลาต้น มีผลให้ค่า
ความหวาน (ซีซีเอส) ลดลงประมาณ 7 % (ณัฐกฤต พิทักษ์, 2544) และหากนาอ้อยที่
ถูกหนอนเจาะทาลายลาต้นมากไปเป็นท่อนพันธุ์ จะทาให้เปอร์เซ็นต์การงอกต่า และ
งอกไมส่ มบูรณ์

การแพรร่ ะบาด
พบได้ทั่วไปในแหล่งปลูกอ้อยท่ัวประเทศ เข้าทาลายอ้อยเกือบตลอดอายุการ

เจรญิ เตบิ โต ระบาดมากเม่ืออุณหภูมิสูง ความช้นื ตา่ และไมม่ ฝี น

หนอนกอลายจดุ เล็ก ลกั ษณะการเข้าทาลาย

18 การจัดการศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน

สภาพแปลงอ้อยทถ่ี ูกทาลาย

ศัตรธู รรมชาติ
พบแมลงศตั รูธรรมชาติเขา้ ช่วยทาลายไข่หนอนกอลายจุดเล็ก 2 ชนดิ คือ

Trichogramma chilonis Ishii และ Telenomus beneficiens Zehntner
นอกจากนี้ ยังพบแตนเบยี นที่เข้าช่วยทาลายหนอน 2 ชนดิ คือ Cotesia sp. และ
Bracon chinensis Szepl.

การจดั การศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน 19

 หนอนกอสีขาว

เป็นแมลงท่ีมีความสาคัญมากพอ ๆ กับหนอนกอลายจุดเล็ก ส่วนใหญ่หนอน
เข้าทาลายมากในระยะแตกกอ แต่ถา้ ปใี ดฝนตกมาก และสม่าเสมอ หนอนจะเข้าทาลาย
ในระยะย่างปลอ้ งมากเชน่ กนั หนอนเจาะเข้าเส้นกลางใบอ้อยที่เพ่ิงคล่ีใบ ทาลายใบอ้อย
ที่กาลังเจริญเติบโต มีผลทาให้ใบยอดมีรูพรุน ยอดสั้น และแห้งตาย ในระยะอ้อยย่าง
ปล้อง หนอนจะเข้าทาลายส่วนที่กาลังเจริญเติบโต ทาให้ลาอ้อยแตกหน่อข้าง เรียกว่า
ยอดพุ่ม จงึ ทาใหไ้ มส่ ามารถสร้างปล้องอ้อยให้สูงข้ึนได้อีก

การแพร่ระบาด
พบทั่วไปในแหล่งปลูกอ้อยท่ัวประเทศ เข้าทาลายอ้อยเกือบตลอดอายุการ

เจริญเติบโต

หนอนกอสขี าว ลักษณะการทาลาย

20 การจัดการศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน

สภาพแปลงออ้ ยท่ถี กู ทาลาย

ศตั รูธรรมชาติ
ศัตรธู รรมชาติที่เข้าทาลายไขห่ นอนกอสขี าว คือ แตนเบียนไข่ Trichogramma

chilonis Ishii และTelenomus beneficiens Zehnter และพบแตนเบียนท่ีเข้าช่วย
ทาลายหนอน คือ Cotesia sp. Crameron

การจดั การศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน 21

 หนอนกอสีชมพู

เป็นแมลงท่ีสาคัญอีกชนิดหนึ่งของอ้อย ในระยะท่ีอ้อยยังเล็ก หนอนจะเข้า
ทาลายหนอ่ ออ้ ยได้มากพอๆกบั หนอนกอลายจดุ เล็ก ทาให้ยอดอ้อยเห่ียวหรือเจาะลาต้น
อ้อยด้วย ลักษณะการเข้าทาลายหนอนจะเจาะเข้าไปตรงส่วนโคนของหน่ออ้อยแล้วกัด
กนิ ส่วนทีอ่ อ่ นภายในหน่ออ้อย จะเข้าทาลายหนอ่ ออ้ ยท่ีมขี นาดใหญ่กว่าปกติ เพราะเป็น
ตัวใหญ่ กินอ้อยโดยไม่ต้องเคล่ือนย้ายออกมา และเข้าดักแด้ภายในหน่ออ้อย การเข้า
ทาลายของหนอนกอสชี มพูจะเห็นหนอ่ อ้อยมีรูเจาะ 2 รู (ณัฐกฤต พิทกั ษ,์ 2553)

การแพร่ระบาด
พบทั่วไปในแหล่งปลกู ออ้ ยของประเทศไทย เขา้ ทาลายอ้อยในระยะแตกกอ

หนอนกอสชี มพู

ลกั ษณะการทาลายของหนอนกอสชี มพู

ศตั รูธรรมชาติ
ตัวเบียนไข่ของหนอนกอสชี มพู ได้แก่ Tetrastichus sp. และTelenomus sp.

สว่ นแตนเบียนหนอน ไดแ้ ก่ Cotesia sp. และ Bracon chinensis Szepligeti

22 การจดั การศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน

 หนอนกอลายใหญ่

หนอนกอลายใหญ่เข้าทาลายอ้อยท้ังระยะแตกกอและระยะอ้อยเป็นลา จาก
การสารวจพบว่า ในระยะอ้อยแตกกอหนอนกอลายใหญ่เข้าทาลายน้อยประมาณ 1-2 %
ในระยะออ้ ยเปน็ ลาพบการเขา้ ทาลายเป็นกลุ่ม พบในแหล่งปลูกออ้ ยท่ัวประเทศ

การแพร่ระบาด
พบท่ัวไปในแหล่งปลูกอ้อยทั่วประเทศ ระบาดในฤดูฝน พบมากท่ีสุดในเดือน

กรกฎาคมถงึ เดอื นมกราคม สว่ นมาก พบการทาลายท่ีข้อในลา เพยี งประมาณ 1-2 ตวั

หนอนกอลายใหญ่ ลกั ษณะการเขา้ ทาลาย

การจัดการศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน 23

 หนอนกอลายจุดใหญ่

เป็นแมลงศตั รูอ้อยชนิดท่รี ะบาดทาความเสียหายให้กับอ้อยในระยะอ้อยเป็นลา
ระบาดมากในช่วงฝนชุก ถ้าเกิดการระบาด จะทาให้อ้อยสูญเสียท้ังน้าหนักและความ
หวาน พันธุ์ท่ีอ่อนแอมากจะสูญเสียมาก เช่น มาร์กอส ช่วงที่อ้อยอายุประมาณ 5-6
เดือน อยู่ในระยะย่างปล้อง ผีเสื้อวางไข่ท่ีใบ เม่ือฟักออกเป็นตัวจะเดินมาเจาะที่ยอด
อ้อยห่างที่วางไข่ประมาณ 1 ปล้อง เจาะเข้าไปอยู่ข้างในลาต้นท้ังหมด ประมาณ 300-
400 ตัว โดยเจาะรูเข้าไปรูเดียว และกดั ทาลายทาให้ออ้ ยเสยี หาย

การแพรร่ ะบาด
พบในแหล่งปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากท่ีสุด เพราะเป็นการปลูก

อ้อยในนาขา้ ว มคี วามชื้นสูงอยู่ตลอด

หนอนกอลายจุดใหญ่

หนอนเจาะเข้าไปในลาอยกู่ ันเป็นกลมุ่ ลักษณะการเจาะรูของหนอน
24 การจดั การศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

ศัตรธู รรมชาติ
พบศัตรูธรรมชาติท่ีเข้าทาลายไข่หนอนกอลายจุดใหญ่ คือ แตนเบียนไข่

Trichogramma sp. และTelenomus sp. พบตัวห้าไข่ 2 ชนิด คือ มด Anticus
ruficollis Saund และ Formicmus braminus และพบแตนเบียนท่ีเข้าช่วยทาลาย
หนอน คือ Cotesia sp.

การจัดการศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน 25

 หนอนกอลายแถบแดง

พบการระบาดครัง้ แรกในประเทศไทย ระบาดท่จี งั หวัดนครสวรรค์ จากรายงาน
มีแหล่งกาเนิดที่ประเทศญี่ปุ่นและจีนตอนใต้ พบเข้าทาลายอ้อยในระยะแตกกอ และ
ระยะเป็นลา ลักษณะการทาลายของหนอนกอลายแถบแดงมีพฤติกรรมผสมผสาน
ระหวา่ งหนอนกอลายจดุ เลก็ หนอนกอสขี าว และหนอนกอลายจุดใหญ่ คือ หลังจากฟัก
ออกเปน็ ตัว จะท้ิงสายใยลงมาเหมือนหนอนกอลายจุดเล็ก เม่ือไม่มีลมก็จะกลับไปที่เดิม
และรวมกันอยู่เป็นกลุ่มแบบหนอนกอลายจุดใหญ่ และเข้าไปอาศัยทางยอดเหมือน
หนอนกอสีขาวแทะผิวใบท่ียอดเป็นขุยเห็นชัดเจน หนอนอยู่รวมกันประมาณ 10 – 30
ตวั และกนิ อยบู่ นยอดอ้อยกอ่ น บางตัวเจาะลงไปกนิ สว่ นโคน ทาให้ยอดแหง้ ตายในที่สดุ

ศตั รูธรรมชาติ
แมลงศัตรูธรรมชาติท่ีเข้าทาลายไข่ คือ แตนเบียนไข่ Trichogramma spp.

แตนเบียนท่ีพบเข้าทาลายหนอน คือ Cotesia sp. และพบแมลงตัวห้า เช่น มด และ
แมลงหางหนบี

หนอนกอลายแถบแดง

หนอนกอลายแถบแดงเจาะเขา้ ท่โี คนหน่อออ้ ย หนอนกอลายแถบแดง แทะผิวใบออ้ ย
26 การจดั การศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน

การปอ้ งกันกาจดั หนอนกออ้อย
1. ในการเกบ็ เกยี่ วอ้อยไม่ควรเผาใบ เนื่องจากพบว่าในแปลงที่มีการเผาใบอ้อยจะ

ทาให้มีหนอนกอเขา้ ทาลายมากกว่าแปลงที่ไม่มีการเผาใบ
2. ในฤดูฝนหรือเขตชลประทาน อาจใช้สารกาจัดแมลง เช่น cypermethrin

(Ripcord 15%) อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร หรือ deltamethirn
(Decis 3%) อัตรา 15 มลิ ลิลิตร ตอ่ นา้ 20 ลิตร ตอนปลกู หรือ 45 วันหลงั งอก
3. หม่ันสารวจแปลง ในลาที่มีการเข้าทาลาย ควรตัดออกท้ิงนอกแปลง สามารถ
ลดความเสียหาย และการแพร่ระบาดได้ โดยเฉพาะในหนอนกอลายใหญ่
สามารถลดได้ 50-80%
4. ระยะแตกหน่อ จะพบการทาลายของหนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีขาว และ
หนอนกอสีชมพู ส่วนหนอนกอลายจุดใหญ่ยังอยู่ในระยะพักตัวท่ีตออ้อย ถ้า
สารวจพบการทาลายหน่อมากกว่า 10% ให้ใช้สารฆ่าแมลง ถ้าพบการทาลาย
หน่อน้อยกว่า 10% ให้ปล่อยแตนเบียนไข่ อัตรา 12,000 - 20,000 ตัวต่อไร่
หนอนกออ้อยท้ังสามชนิดน้ีมีวงจรชีวิตที่คละกัน การวางไข่จะไม่พร้อมกัน
สามารถใช้แตนเบียนไข่ได้ และใช้แตนเบียนหนอน อัตรา 500 ตัวต่อไร่ ปล่อย
เพอ่ื ทาลายหนอน
5. ระยะอ้อยเป็นลา เป็นระยะที่อันตรายที่สุด เพราะเป็นช่วงที่หนอนกอลายจุด
ใหญ่ออกจากระยะพักตัว และเร่ิมวางไข่ ถ้าเริ่มพบการเข้าทาลายให้รีบตัด
ทาลายทิ้งทันที หากพบการเข้าทาลายมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ลา ให้ใช้สารฆ่า
แมลง อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร และถ้าพบการเข้าทาลายน้อยกว่า
20 เปอร์เซ็นต์ลา ให้ปล่อยแตนเบียนหนอน 20,000 ตัว/ไร่ หรือตัดทาลายทิ้ง
หากพบเริม่ ออกเปน็ ตัวเตม็ ตวั ให้ใช้สารฆ่าแมลงฉีดพ่นตอนเย็น หลังจากน้ัน 5-
7 วัน ให้ปล่อยแตนเบียนไข่ตามอีกคร้ัง และเกษตรกรต้องหมั่นตรวจแปลงอยู่
เสมอ ถา้ พบการเขา้ ทาลายให้รีบกาจดั ทันที

การจัดการศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน 27

 สรปุ วธิ กี ารป้องกนั กาจดั หนอนกอ

ในระยะออ้ ยแตกกอใหต้ ดั หนอ่ ในระยะออ้ ยเป็นลาให้ตดั ยอดอ้อย

กาจดั พชื อาศัยพวก พง หญ้าคา ท่ีถกู
ทาลายทิงออกจากแปลง

ตัวอยา่ งแมลงศัตรูธรรมชาติ ของหนอนกอออ้ ย

แตนเบยี นไข่ Trichogramma sp.

แตนเบยี นไข่ Telenomus sp.

28 การจัดการศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

แตนเบียนหนอน Cotesia sp.

มวนพิฆาต ตัวเตม็ วัย มวนเพชฌฆาตทล่ี อกคราบใหม่ มวนเพชฌฆาตตวั เตม็ วยั
แมลงหางหนีบ

การจัดการศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน 29

 ไรแมงมมุ อ้อย

ไรชนิดน้ีทาลายอ้อยและข้าวฟ่าง โดยตัวอ่อนและตัวเต็มวัย จะดูดกินน้าเลี้ยง
อยูท่ บ่ี ริเวณใตใ้ บ และมักจะรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ สร้างเส้นใยเป็นเส้นบางๆ ข้ึนปกคลุมผิว
ใบบริเวณท่ีไรดูดทาลายอยู่ ใบอ้อยที่ถูกทาลายในระยะแรกจะมีลักษณะเป็นจุดประสี
ขาวเล็กๆ กระจายอยู่ตามแนวเส้นกลางใบ ต่อมาแผลบริเวณดังกล่าวนี้จะค่อยๆ
เปล่ียนเปน็ สีน้าตาลแดง หากการทาลายยังคงดาเนินอยู่ต่อไปอย่างรุนแรง และต่อเนื่อง
รอยแผลก็จะขยายขึ้น และใบอ้อยจะมีอาการแห้งตลอดท่ัวท้ังใบ ซ่ึงอาจมีผลทาให้ต้น
อ้อยชะงักการเจริญเติบโตได้ พืชอาหารนอกจากอ้อย แล้วยังมี มะละกอ หม่อน และ
หญ้า

ลักษณะแปลงอ้อยทถี่ กู ไรแมงมมุ อ้อยเขา้ ทาลาย

ศัตรธู รรมชาติ
ด้วงเต่า Coccinellidae เช้ือรา Neozygites sp. และแบคทีเรีย Bacillus

thuringiensis ไรตัวห้า Amblyseius longispiosus (Evans)

30 การจัดการศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน

การปอ้ งกนั กาจดั
1. ทาลายพืชอาศยั ของไรแมงมมุ ออ้ ย โดยเฉพาะพชื ตระกูลหญ้า
2. ไมจ่ าเปน็ ต้องใช้สารฆา่ ไรในฤดูฝน แต่ถ้าเป็นฤดูแล้ง หรือระยะท่ีฝนทิ้งช่วงและ

มีการระบาดของไรแมงมุมมาก ให้ใช้สารฆ่าไร amitraz 20%EC อัตรา 40
มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร หรือ triazophos 40%EC อัตรา 25 มิลลิลิตร ต่อน้า
20 ลติ ร
3. ในกรณที เี่ กิดการระบาดของไรแมงมุมและพบด้วงตัวห้าอยู่เป็นจานวนมากควร
พิจารณาใชส้ ารฆ่าไรที่ไมเ่ ปน็ อันตรายตอ่ ดว้ งตวั หา้
4. ในพื้นที่มีการระบาดของไรศัตรูอ้อยอยู่ประจา ก่อนปลูกอ้อยควรแช่ท่อนพันธ์ุ
อ้อยทีจ่ ะนาไปปลูกดว้ ยสารฆา่ ไรทีก่ ล่าวไว้ข้างตน้

การจดั การศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน 31

 แมลงหวขี่ าวอ้อย

แมลงหวข่ี าวทพี่ บในประเทศไทย มี 3 ชนิด คือ Aleurolobus barodensis
(Maskell) Neomaskelliabergii (signoret) Neomaskellia and ropognis
Corbette แตช่ นดิ แรกพบมากกวา่

การแพร่ระบาด
ตวั อ่อนและตัวเต็มวยั ของแมลงหวี่ขาวอ้อยดูดกินน้าเล้ียงอยู่ใต้ใบอ้อย แต่ระยะ

ตัวอ่อนทาความเสียหายแก่อ้อยมาก มีผลทาให้ใบอ้อยมีสีซีดลง และกลายเป็นสีเหลือง
ระบาดเป็นหย่อมๆ ผลจากการเข้าทาลายนอกจากจะทาให้ปริมาณน้าตาลในอ้อยลดลง
แลว้ ยงั ทาให้ออ้ ยชะงักการเจรญิ เติบโต ซ่งึ อาจจะทาใหผ้ ลผลิตของอ้อยลดลงอีกด้วย

อาการจากการทาลายของแมลงหว่ขี าวอ้อย ตวั ออ่ นและดักแดแ้ มลงหวขี่ าว

32 การจัดการศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน

การป้องกันและกาจดั
1. ส่งเสริมการเจริญเติบโตของอ้อย ทาให้ต้านทานการเข้าทาลายแมลงหว่ีขาวได้

เป็นอย่างดี
2. ถ้าพบแมลงเริ่มเข้าทาลาย ถ้าเป็นแหล่งให้น้าได้ควรให้น้าทันที ส่วนพื้นที่นอก

เขตชลประทานเมื่อฝนตกออ้ ยจะสามารถฟน้ื ตวั ขน้ึ มาเองได้
3. ถ้าอ้อยมีอายเุ กนิ 6 เดือนขน้ึ ไป ไมค่ วรจะใช้สารฆ่าแมลงถ้าอ้อยเล็ก และไม่พบ

การเข้าทาลายของศัตรูธรรมชาติ อา จใช้สารฆ่าแมลงท่ีใช้ได้ผล คือ
formothion (Anthio-33 %EC) อัตรา 30 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร ซึ่งเป็น
สารฆ่าแมลงท่ีค่อนข้างปลอดภัยต่อผู้ใช้ ราคาไม่แพง มีพิษน้อยต่อแมลงศัตรู
ธรรมชาติ และไม่ทาลายสภาพแวดล้อม ในกรณีที่แมลงระบาดมากควรใช้
carbosulfan (Posse 20% EC) อัตรา 50 มิลลิลติ ร ต่อน้า 20 ลติ ร
4. ถ้าระบาดมากใชน้ ้าส้มควันไม้ อัตรา 40-50 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร ฉีดพ่นใต้
ใบอ้อย โดยใชเ้ ครือ่ งพ่นแรงดนั น้าสงู ได้ผลดี
5. การแก้ปัญหาระยะยาวคือ หลีกเลี่ยงการปลูกอ้อยที่อ่อนแอกับแมลงหวี่ขาว
พันธอ์ุ ทู่ อง 8

การจัดการศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน 33

 ดว้ งหนวดยาวออ้ ย

เป็นแมลงในดินท่ีเข้าทาลายอ้อย โดยเจาะเข้าไปในส่วนของลาต้นอ้อยที่อยู่ใต้
ดิน และทาให้อ้อยท่ีถูกเจาะตาย มักพบระบาดมากในสภาพดินร่วนปนทราย ทาความ
เสียหายแพร่กระจายไปท่ัวไร่อ้อยที่ถูกทาลายในบริเวณกว้าง ผลจากการเข้าทาลายของ
หนอนชนิดน้ีทาให้ผลผลิตอ้อยปลูกลดลง 13-43 % และน้าตาลลดลง 11-46 % ส่วน
อ้อยตอ 1 จะสูญเสียผลผลิตประมาณ 54 % และน้าตาลลดลง 57 % (ณัฐกฤต พิทักษ์,
2547) โดยที่หนอนจะเข้าทาลายต้ังแต่ระยะท่อนพันธุ์ เจาะไชเข้าไปกัดกินเน้ืออ้อย
ภายในท่อนพันธ์ุ ทาให้ไม่งอก ส่วนหน่ออ้อยอายุ 1-3 เดือน จะถูกกัดกินตรงส่วนโคนที่
ติดกับเหง้าให้ขาดออก ทาให้หน่ออ้อยแห้งตาย เม่ืออ้อยโตมีลาแล้วอาการเริ่มแรก
พบว่า กาบใบและใบอ้อยจะแห้งมากผิดปกติต้ังแต่ใบล่างข้ึนไปจนแห้งตายไปท้ังกอ
ขณะที่หนอนยังเล็กจะกัดกินอยู่ตรงบริเวณเหง้าอ้อย เมื่อหนอนขนาดยาวประมาณ 40
มม. จะเริ่มเจาะไชจากส่วนโคนลาต้นอ้อยขึ้นไปเพื่อกินเน้ืออ้อย บางต้นเจาะข้ึนไปสูงทา
ใหอ้ ้อยหักลม้ และแห้งตาย

ตวั เต็มวยั วยั หนอนท่เี ขา้ ทาลาย

34 การจดั การศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน

กาบและใบออ้ ยแหง้ ตงั แต่ใบล่างขนึ ไป

ลักษณะการเข้าทาลาย

การแพรร่ ะบาด
พบมากในดินร่วนทราย เขา้ ทาลายอ้อยและมันสาปะหลัง เข้าทาลายอ้อยเกือบ

ตลอดอายกุ ารเจรญิ เตบิ โต
ศัตรธู รรมชาติ
สุนัข นก และไก่ เข้าช่วยกินหนอนเป็นอาหาร พบเช้ือราพวก Metarhizium

sp. ทาลายหนอน หนอนที่ถกู เช้ือราชนดิ น้ีเข้าทาลายจะมีเชื้อราสีเขยี วขนึ้ อยู่ตลอดลาตัว
จนในทส่ี ุดหนอนจะแข็ง และแหง้ ตาย

การจัดการศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน 35

เชือราพวก Metarhizium sp. เขา้ ทาลายหนอน

การป้องกนั กาจดั
1. ขณะไถไร่ เดินเกบ็ หนอนตามรอยไถออกให้ไดม้ ากทส่ี ุด
2. ปลูกพืชหมนุ เวียน
3. ในแหล่งระบาด หลังวางท่อนพันธุ์อ้อย โรยในร่องอ้อยด้วย endosulfan +

fenobucarb (Thiocorb 4.5 % G) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วกลบดิน หรือ
ฉีดพ่นด้วยสาร fipronil (Ascend 5 %) อัตรา 80 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร
แลว้ กลบดนิ
4. ในช่วงปลายมีนาคม-เมษายน ดว้ งหนวดยาวเรม่ิ ออกเปน็ ตัวเต็มวัย ใช้วิธีกล คือ
ขุดหลุมดักจับ โดยตัวเมียหลังจากออกเป็นตัวเต็มวัยจะปล่อยสารล่อเพศ
ออกมา ตัวผู้จะเดินเมื่อตกลงไปในหลุมจะไม่ขึ้นมา เก็บออกจากหลุมไปกาจัด
ทิ้ง

36 การจัดการศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน

 แมลงนูนหลวง

เป็นแมลงท่ีมักพบการระบาดในสภาพดินทราย การเข้าทาลายอ้อยมักปรากฏ
เป็นหย่อมไม่แพร่กระจายไปท้ังไร่ อ้อยกอท่ีถูกหนอนเข้าทาลาย ทาให้อ้อยตายทั้งกอ
หรือทาให้ผลผลิตลดลงมาก จนเก็บผลผลิตไม่ได้ หากปีใดแล้งติดต่อกันนาน ทาให้การ
ระบาดเข้าทาลายรุนแรงย่ิงข้ึน โดยหนอนจะเข้ากัดกินรากอ้อยเป็นอาหาร อาการ
เริ่มแรกของอ้อยที่ถูกทาลายดูคล้ายกับว่าอ้อยขาดน้า คือใบอ้อยมีสีเหลืองต่อมาใบอ้อย
จะแห้งตายมากผิดปกติ จนในท่ีสุดกออ้อยจะแห้งตายไปท้ังกอ กออ้อยที่ถูกหนอนเข้า
ทาลายจะดึงออกมาจากพนื้ ดินได้งา่ ย เน่อื งจากรากถูกทาลายหมด

การแพรร่ ะบาด
พบเข้าทาลายออ้ ยมากในเขตดนิ ทราย จังหวัดชลบุรี ระยอง กาญจนบุรี ราชบุรี

และกาแพงเพชร

ตวั เต็มวยั บินขึนตน้ ไม้ใหญ่ จบั คู่ผสมพนั ธ์ุ

ตัวหนอนที่เข้าทาลาย อาการเริ่มแรกท่ถี กู ทาลาย
การจดั การศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน 37

ลักษณะการเข้าทาลายและความเสยี หาย

การป้องกันกาจดั
1. จับตวั เตม็ วัยไปทาลายกอ่ นทีจ่ ะวางไข่ แมลงนนู ออกเป็นตัวเต็มวัยประมาณช่วง

เดือนมิถุนายน เริ่มจับเมื่อตัวเต็มวัยเร่ิมออกมาและจับต่อเนื่องกันประมาณ
15-20 วัน จับในช่วงเวลาประมาณ 18.30-19.00 น. ดาเนินการต่อเน่ืองกัน
2-3 ปี แมลงชนิดน้ีจะเริ่มลดน้อยลงไปเอง ทั้งนี้เกษตรกรควรหม่ันสังเกตและ
ตรวจแปลงอยา่ งสมา่ เสมอ
2. ไร่อ้อยที่ถูกทาลายมากจนไม่สามารถเก็บเก่ียวผลผลิตได้ ควรรีบไถพรวน
หลายๆครงั้ เพื่อทาลายไขแ่ ละหนอนในดินก่อนปลกู ออ้ ย
3. ถ้าจาเป็นต้องใช้สารฆ่าแมลง ระยะเวลาที่เหมาะสมคือระยะท่ีหนอนเร่ิมฟัก
ออกจากไข่ประมาณกลางเดือนมีนาคม สารฆ่าแมลงท่ีได้ผลดี คือ fipronil
(Ascend 5 % SC) อัตรา 80 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร ฉีดไปตามร่องอ้อย
สาหรับอ้อยตอให้เปิดหน้าดินออกให้ห่างจากกออ้อยประมาณ 8 นิ้ว ทั้งสอง
ดา้ นของแถวออ้ ย แล้วฉดี สารฆ่าแมลงไปตามรอ่ งออ้ ยที่เปดิ หน้าดินออกแล้วเอา
ดินกลบ

38 การจัดการศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน

 ปลวก

เป็นแมลงท่ีเข้าทาลายอ้อยได้ทุกระยะการเจริญเติบโต เริ่มเข้าทาลายต้ังแต่
ท่อนพันธ์อุ อ้ ยตอนปลูก โดยเข้าไปกัดกินอยู่ภายในท่อนพันธุ์ ทาให้อ้อยไม่งอก และแห้ง
ตายไป เมื่ออ้อยโตมีลาแล้วจะเข้าไปกัดตรงระดับต่ากว่าผิวดินเล็กน้อยอยู่ภายในลาตัน
ออ้ ย ทาเปน็ โพรงสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เมอ่ื เข้าทาลายมากๆ ทาให้ลาต้นอ้อยหักล้มลง การเข้า
ทาลายของปลวกในแหล่งที่มีการระบาดอยู่เสมอมักทาให้ผลผลิตของอ้อยลดลงถึง
ครง่ึ หน่งึ

การแพรร่ ะบาด
พบการระบาดมากในเขตจังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี กาแพงเพชร และ

อดุ รธานี การระบาดเขา้ ทาลายออ้ ยรนุ แรงย่ิงขน้ึ เมื่อเกิดภาวะแหง้ แลง้ ติดต่อกนั นาน

ปลวก

ลกั ษณะการเข้าทาลายเปน็ โพรงมดี นิ อยู่ภายใน ลักษณะลาออ้ ยทีถ่ กู ปลวกทาลาย
การจดั การศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน 39

การป้องกนั กาจดั
1. ไถพรวนดินหลายๆ คร้ังก่อนปลูก เพื่อทาลายรังให้พวกมดและนกเข้าช่วยกิน

ปลวก
2. ใชส้ ารเคมี fipronil (Ascend 5 % SC) อัตรา 80 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร ฉีด

ไปตามรอ่ งออ้ ย หลังจากวางท่อนพันธุแ์ ลว้ กลบดนิ
3. ในอ้อยตอ การคลุมใบดว้ ยใบออ้ ย สามารลดการเขา้ ทาลายของปลวกลงได้

40 การจดั การศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

การจัดการดินและป๋ยุ ออ้ ย

การเจริญเติบโตของอ้อยมี 6 ปัจจัยที่จาเป็น คือ แสงสว่าง ท่ียึดราก ความร้อน
อากาศ น้า และธาตุอาหาร ใน 6 ปัจจัยน้ี อ้อยได้จากดินถึง 4 ปัจจัย ดินดีจะทาให้อ้อย
มีผลผลิตสูง และลดต้นทุนการผลิตลงได้ จึงควรมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการปรับปรุง
ดิน ซึ่งมี 2 ลักษณะท่ีจะต้องพิจารณาปรับปรุง คือ ลักษณะโครงสร้าง หรือลักษณะทาง
กายภาพ เชน่ ความรว่ น ความเหนียว ความโปรง่ ความแน่นทึบ การปรับปรุงต้องอาศัย
วิธีการจัดการดิน ส่วนอีกลักษณะหนึ่งเป็นความอุดมสมบูรณ์ หรือลักษณะทางเคมี คือ
ปริมาณธาตุอาหาร และความเป็นกรดเป็นด่างของดิน การปรับปรุงต้องอาศัยปุ๋ยเคมี
หรือปุ๋ยอินทรีย์ ท้ัง 2 ลักษณะดังกล่าวเป็นสิ่งที่ควรมีความรู้ความเข้าใจพอสมควร
มิฉะนนั้ จะเปน็ การส้ินเปลือง เป็นการลงทนุ โดยให้ผลตอบแทนไม่คมุ้ คา่

การวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน ทาให้ทราบว่ามีปริมาณธาตุอาหารในดิน
เพียงพอกับความต้องการของอ้อยหรือไม่ หากยังไม่เพียงพอก็จะเพ่ิมให้โดยการใส่
ปุ๋ยเคมี แต่หากมีมากพอแล้วก็ไม่ต้องใส่เพ่ิมเติมในปริมาณที่เหมาะสม ข้ันตอนสาคัญ
เร่ิมต้นจากการเก็บตัวอย่างดิน เพราะเก็บตัวอย่างดินไม่ถูกต้องก็จะไม่ได้ตัวแทนดินที่
ถูกตอ้ งของพ้ืนที่น้นั ผลการวิเคราะห์ดินกจ็ ะไมส่ ามารถใช้ประเมินปริมาณธาตุอาหารพืช
ทม่ี ีอย่ใู นดินนัน้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

 การเก็บตวั อยา่ งดิน

เวลาท่ีเหมาะสมท่ีสุดในการเก็บตัวอย่างดิน คือ หลังเก็บเก่ียวผลผลิตหรือ
ก่อนปลกู พืชประมาณ 1 เดือน ไม่ควรเกบ็ ดินขณะที่ดินเปยี กเพราะอาจทาให้ตัวอย่างดิน
ปนเปื้อนกันหรือไม่สะดวกต่อการผสมคลุกเคล้าดินให้เข้ากัน รวมถึงต้องใช้เวลาในการ
ผ่ึงดินนานจนกว่าดินจะแห้ง ก่อนเก็บดินควรแบ่งพ้ืนท่ีท่ีจะเก็บตัวอย่างตามลักษณะ
พื้นที่ เช่น เน้ือดิน สีดิน ความลาดเอียง หรือสังเกตจากการเจริญเติบโตของพืช โดย
แต่ละแปลงย่อยท่ีมีขนาด 5-10 ไร่ จะเก็บตัวอย่างประมาณ 10 จุด แต่ถ้าแปลงย่อยมี
ขนาดเล็กกว่า 5 ไร่ อาจเก็บตัวอย่างน้อยกว่า 10 จุดก็ได้ โดยสุ่มจุดเก็บตัวอย่างให้
ท่ัวแปลงย่อยน้ัน ให้นาเศษซากพืชหรือส่ิงเจือปนอื่นๆ ท่ีบริเวณผิวดินออกให้หมด

การจัดการศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน 41

จงึ เกบ็ ดินท่ีระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร จากผิวดินหรือระดับชั้นไถพรวนสาหรับพืช
ที่มีระบบรากต้ืน เช่น พืชไร่ ข้าว แต่พืชที่มีระบบรากลึกต้องเก็บท่ีระดับความลึก
มากกว่า 15 เซนติเมตรด้วย แล้วแต่ความยาวรากของพืชนั้น โดยใช้จอบ เสียม พลั่ว
ขดุ ดนิ ให้เปน็ หลมุ รูปตัววี (V) ให้ได้ความลึกตามท่ีกาหนด นาดินในหลุมออกให้หมดแล้ว
แซะดินด้านข้างด้านใดด้านหนึ่งหนาประมาณ 2– 3 เซนติเมตรและกว้างประมาณ 5
เซนติเมตร เมื่องัดดินขึ้นมาจะมีหน้าดินติดมาด้วย ใช้มีดตัดดินด้านบนออกเล็กน้อยให้
เหลือความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร และตัดด้านข้างทั้ง 2 ด้านออกให้เหลือความ
กวา้ งประมาณ 3 เซนติเมตร ทาเชน่ เดยี วกนั ในทุกจดุ หรอื จะใช้สวา่ นเจาะดินก็ได้ ซึ่งดิน
ในแต่ละจุดควรเก็บในปริมาณท่ีเท่ากันคือ 100-200 กรัมหลังจากเก็บครบทุกจุดแล้ว
นามารวมกันในถงั พลาสติกที่สะอาด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วแบ่งดินมาประมาณ 1
กิโลกรัม ใส่ถุงพลาสติกท่ีสะอาด มัดปากถุงและเขียนรายละเอียด เช่น ชื่อและท่ีอยู่
เจ้าของพ้ืนที่ พ้ืนที่เก็บตัวอย่าง (หมู่ท่ี ตาบล อาเภอ และจังหวัด) ขนาดพื้นที่ท่ีเก็บ
ตัวอย่าง (ไร่) พืชท่ีปลูก สีดิน/เน้ือดินความลาดชันของพื้นท่ี (ลุ่ม/ดอน/เอียง) ประวัติ
การใช้ป๋ยุ เคมปี ระวตั ิการใชป้ ุ๋ยอินทรียเ์ ปน็ ตน้

 การใชป้ ๋ยุ ตามคา่ วเิ คราะห์ดิน

เน่ืองจากพืชมีความต้องการธาตุอาหารแตกต่างกัน ดังน้ันปริมาณธาตุอาหาร
พืชในดินท่ีใช้เป็นเกณฑ์ในการให้คาแนะนาปุ๋ยจึงมีความจาเพาะเจาะจงในแต่ละพืช
โดยการใช้ระดับวิกฤตของพืช (Critical level) เป็นเกณฑ์ในการแบ่งระดับสูงต่าของ
ค่าวิเคราะห์ดิน กล่าวคือ หากค่าวิเคราะห์ดินต่ากว่าระดับวิกฤต การใส่ปุ๋ยจะทาให้
ผลผลติ เพม่ิ ข้นึ อย่างชัดเจนหรือเรียกว่าพชื ตอบสนองต่อปุ๋ย แต่ถ้าระดับค่าวิเคราะห์ดิน
สูงกว่าระดับวิกฤต พืชจะตอบสนองต่อปุ๋ยน้อยมากหรือไม่ตอบสนองต่อปุ๋ย การใช้
ปุ๋ยเคมีให้ได้ประโยชน์สูงสุดจาเป็นต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับดิน ชนิดพืชและปุ๋ยเป็น
อย่างดี ก่อนการใช้ปุ๋ยเคมีคร้ังใดก็ตาม คุณสมบัติทางเคมีของดินเป็นสิ่งแรกที่ต้องทา
ความเข้าใจ เช่น ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุของดิน (Cation Exchange
Capacity ; CEC) ปริมาณอินทรียวัตถุ (Organic matter ; OM.) ปฏิกิริยาดิน (pH)
ซึ่งปจั จัยเหล่านี้มีส่วนเกีย่ วข้องกับประสทิ ธภิ าพของปยุ๋ เคมี

42 การจดั การศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน

โดยปกติคาแนะนาการใส่ปุ๋ยให้แก่อ้อยทีป่ ฏิบัตกิ ันจะใช้ค่าวิเคราะห์ดินเป็นหลัก
ในทน่ี ้ีจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงวิธีการประมาณการใช้ระดับธาตุอาหารท่ีจะต้องใส่เพ่ิมให้แก่ดิน
ที่ปลูกออ้ ยโดยดจู ากค่าวิเคราะหด์ ิน (ตารางที่ 1)

ตารางท่ี 1 การใชร้ ะดับธาตุอาหารท่ีจะต้องใสเ่ พ่ิมใหแ้ ก่ดนิ ที่ปลูกอ้อยโดยดูจากค่า
วเิ คราะหด์ นิ

ธาตอุ าหาร ปรมิ าณ ระดับ อตั ราทีต่ อ้ งใสเ่ พมิ่ (กก./ไร่)
อินทรยี วตั ถุ (OM, %)
ปยุ๋ N ออ้ ยปลูก อ้อยตอ
< 1.0 18 กก./ไร่
ปุ๋ย N ใสป่ ยุ๋ N ½ ส่วน โรย ใสป่ ุย๋ N ½ โรยขา้ งแถว
1.0 - 2.0 ปุ๋ย N 24 กก./ไร่ ขา้ งแถวปลกู แล้วพรวน ปลูกแล้วพรวนกลบ
12 กก./ไร่ กลบหลังออ้ ยงอก 30 หลงั จากแตง่ ตอและ
> 2.0 ปุ๋ย N วนั และสว่ นท่เี หลอื โรย สว่ นที่เหลือโรยขา้ งแถว
ฟอสฟอรสั (P, มก,/กก.) ปุ๋ย N 18 กก./ไร่ ขา้ งแถวปลกู แลว้ พรวน ปลูกแลว้ พรวนกลบหลงั
6 กก./ไร่ กลบหลังออ้ ยงอก 60 อ้อยงอก 60 วนั
< 15 ป๋ยุ N วัน
ปุ๋ย P2O5 12 กก./ไร่
15 – 30 9 กก./ไร่
ป๋ยุ P2O5 ใสป่ ๋ยุ P โรยขา้ งแถว ใส่ปยุ๋ P โรยขา้ งแถว
ปุ๋ย P2O5 12 กก./ไร่ ปลกู แล้วพรวนกลบ ปลูกแลว้ พรวนกลบ
6 กก./ไร่ หลงั อ้อยงอก 30 วัน หลงั จากแตง่ ตอ
ปุ๋ย P2O5
9 กก./ไร่

> 30 ปยุ๋ P2O5 ปยุ๋ P2O5
3 กก./ไร่ 6 กก./ไร่
โพแทสเซยี ม (K, มก/กก.)
< 60 ปุ๋ย K2O ปยุ๋ K2O ใส่ปุ๋ย K โรยขา้ งแถว ใสป่ ุ๋ย K โรยขา้ งแถว
18 กก./ไร่ 24 กก./ไร่ ปลูกแล้วพรวนกลบ ปลกู แล้วพรวนกลบ
60 - 90 หลังอ้อยงอก 30 วัน หลงั จากแตง่ ตอ
ปยุ๋ K2O ปุ๋ย K2O
> 90 12 กก./ไร่ 18 กก./ไร่

ปยุ๋ K2O ปยุ๋ K2O
6 กก./ไร่ 12 กก./ไร่

การจัดการศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน 43

ชาวไร่อ้อยส่วนใหญ่จะไม่มีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อส่งไปวิเคราะห์เนื่องจาก
เหตุผลหลายอย่าง เช่น ไม่ทราบว่าสาคัญอย่างไร ส่งไปวิเคราะห์ท่ีไหน ไม่สะดวก และ
อาจต้องเสียค่าใช้จ่าย ดังน้ัน ในขั้นต้นน้ี จึงมีข้อแนะนาสาหรับชาวไร่อ้อยท่ีไม่มีผล
วเิ คราะหด์ ินแตท่ ราบวา่ เน้ือดนิ เปน็ ชนิดใด (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 การใช้ปุ๋ยตามลกั ษณะเนอ้ื ดิน

เนื้อดิน ปรมิ าณธาตุอาหารท่ีแนะนา วธิ กี ารใส่ปยุ๋
(N-P2O5-K2O กก./ไร่
1. ดินทราย อ้อยปลกู ออ้ ยตอ
ดินร่วนทราย อ้อยปลกู ออ้ ยตอ แบง่ ใส่ 2 ครงั้ คร้งั แรกโรย แบง่ ใส่ 2 คร้งั ครงั้ แรกโรย
18-6-12 18-9-18 ขา้ งแถวในวนั ปลกู พรอ้ ม ขา้ งแถวหลังแต่งตอพรอ้ ม
2. ดินเหนยี ว พรวนกลบที่เหลอื ใส่หลงั พรวนกลบท่ีเหลอื ใสห่ ลงั
ดินร่วนเหนยี ว 12-6-6 24-12-24 งอก 90 วัน วธิ ีเดยี วกนั แตง่ ตอ 60 วนั วิธเี ดยี วกนั
แบง่ ใส่ 2 คร้ัง คร้งั แรกโรย แบ่งใส่ 2 คร้งั ครงั้ แรกโรย
ข้างแถวหลังออ้ ยงอก 30 ข้างแถวหลงั แตง่ ตอพรอ้ ม
วนั พรอ้ มพรวนกลบที่ พรวนกลบทีเ่ หลอื ใสห่ ลงั
เหลือใสห่ ลงั จากคร้งั แรก แตง่ ตอ 60 วัน วิธเี ดียวกัน
60 วัน วธิ ีเดียวกนั

หรือจะพิจารณาใส่ป๋ยุ ดงั นี้
1. การใช้ปุ๋ยเคมีกับอ้อยที่ปลูกในดินเหนียวกับดินร่วนเหนียว ดินลักษณะนี้
มักจะมีธาตุฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมอยู่บ้าง จึงเน้นหนักทางด้านธาตุไนโตรเจน ซึ่ง
สามารถแนะนาเป็นปุ๋ยเคมีสูตร 14-14-14, 15-15-15 หรือ 16-16-16 อัตรา 40-50
กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่คร้ังแรกหลังปลูก 1 เดือน หรือหลังแต่งตอทันที ใส่คร้ังท่ี 2 หลัง
ปลูกหรอื แตง่ ตอ 2-3 เดือน
หรือถ้าไม่สะดวกท่ีจะใช้ปุ๋ยสูตรท่ีกล่าวมาน้ี อาจใช้ปุ๋ยสูตรอ่ืนท่ีหาได้ตาม
ท้องตลาด เช่น 16-8-8, 20-10-10, 16-6-6, 18-6-6, 18-8-8 หรือ 25-7-7 อัตรา 70-
90 กิโลกรัมต่อไร่ โดยแบ่งคร่ึงใส่หลังปลูกหรือหลังแต่งตอทันที ส่วนอีกคร่ึงหนึ่งใส่หลัง
ปลูกหรอื หลังแตง่ ตอ 2-3 เดอื น

44 การจัดการศตั รูอ้อยแบบผสมผสาน

ถ้าพ้ืนที่ปลูกมีน้าชลประทาน ควรเพ่ิมปุ๋ยยูเรีย อัตรา 15-20 กิโลกรัมต่อไร่
หรอื ปยุ๋ แอมโมเนยี มซัลเฟต อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่ ในการใสค่ รัง้ ท่ี 2

2. การใช้ปุ๋ยเคมีกับอ้อยในดินทราย ดินทรายมักจะขาดธาตุโพแทสเซียม
เนือ่ งจากถูกชะล้างจากอนุภาคดินได้ง่าย จึงแนะนาให้ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 12-12-12, 13-13-13
หรือ 14-14-21 อัตรา 40-60 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่พร้อมปลูกหรือหลังแต่งตอ 20
กิโลกรัม ส่วนท่ีเหลือใส่ครั้งท่ี 2 ร่วมกับปุ๋ยสูตร 21-0-0 อัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่
หรือ 46-0-0 อตั รา 15-20 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ โดยใส่หลงั ปลกู หรือหลงั แต่งตอ 60 วนั

อาจใช้ปุ๋ยสูตรอ่ืนที่มีขายตามท้องตลาดได้ เช่น 16-8-14, 15-5-20 หรือ
16-11-14 โดยใส่ในอตั ราเดียวกนั คอื 40-60 กิโลกรัมตอ่ ไร่

สาหรับอ้อยท่ีมีน้าชลประทานให้เพ่ิมปุ๋ยยูเรีย อัตรา 15-20 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ
ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่ ในการใส่คร้ังที่ 2 เช่นเดียวกับใน
สภาพดนิ เหนยี วและดินร่วน

การจดั การศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน 45


Click to View FlipBook Version