The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน
เอกสารเผยแพร่เพื่อส่งเสริมความรู้สู่เกษตรกร
โครงการความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation Project-TCP)
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
ความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตร (DOA) และศูนย์โคเปีย (KOPIA) ประจำประเทศไทย สถาบันพัฒนาชนบท (RDA) สาธาราณรัฐเกาหลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน
เอกสารเผยแพร่เพื่อส่งเสริมความรู้สู่เกษตรกร
โครงการความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation Project-TCP)
ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี
ความร่วมมือระหว่างกรมวิชาการเกษตร (DOA) และศูนย์โคเปีย (KOPIA) ประจำประเทศไทย สถาบันพัฒนาชนบท (RDA) สาธาราณรัฐเกาหลี

Keywords: โรคอ้อย,ศัตรูอ้อย,การป้องกันกำจัดศัตรูอ้อยแบบผสมผสาน

เครื่องจกั รกลการเกษตรในไรอ่ ้อยที่สาคญั

เน่ืองจากสภาวะการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ ทาให้บางครั้งอ้อยต้องพบ
กับสภาพวิกฤต เป็นระยะเวลานาน เช่น ความแห้งแล้ง น้าท่วมขัง หรือแม้แต่โรค และ
แมลงศัตรูพืช ท่ีเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น การใช้เครื่องจักรกลจึงมีความจาเป็น และ
สามารถชว่ ยการทางานของเกษตรกร และปรบั สภาพแวดล้อมในไร่อ้อย ให้เหมาะสมกับ
การเจริญเตบิ โต และหลีกเล่ียงความเสยี หายเน่ืองจากโรคและแมลง ได้เปน็ อย่างดี

เคร่อื งจักรกลท่สี าคญั ได้แก่
1. เครื่องสับใบและกลบเศษซากอ้อย ใช้สาหรับไถกลบใบและเศษซากอ้อย
ก่อนการเตรียมดิน ในกรณีที่เกษตรกรไม่เผาใบอ้อยหลังการเก็บเกี่ยว และต้องการ
เตรียมแปลงใหม่การใช้วิธีการไถพรวนตามปกติ ทาไม่สะดวก การใช้เครื่องสับใบและ
กลบเศษซากอ้อย ทาให้โครงสร้างดินดีข้ึน เป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน ทาให้อ้อย
สามารถทนทานต่อความแห้งแล้งได้นาน นอกจากนี้ยังส่งเสริมการเจริญเติบโตของ
จุลินทรีย์ดินท่ีมีประโยชน์ เช่นเชื้อราเมตาไรเซียม ท่ีสาสามารถป้องกันกาจัดแมลงศัตรู
ออ้ ยในดนิ ได้ดว้ ย

46 การจัดการศัตรอู ้อยแบบผสมผสาน

เครื่องสบั ใบและกลบเศษซากออ้ ย

2. มดี สางใบและเครื่องสางใบ การสางใบอ้อยแห้งตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม
เพ่ือลดการล้มของอ้อยและทาให้ตัดอ้อยสดได้เร็วข้ึน ใบอ้อยท่ีคลุมดินช่วยรักษา
ความชื้นให้กับดิน ทาให้อ้อยยังเจริญเติบโตถึงแม้ว่าจะหมดฤดูฝน และสามารถลดการ
เผาใบอ้อยก่อนการเก็บเก่ียว การจมใช้มีดสางใบ หรือเคร่ืองสางใบอ้อย จะทาให้
สามารถเก็บเกีย่ วออ้ ยได้เรว็ กว่าการเผาใบอ้อย ซึ่งจะทาให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้ึนจาก
การขายผลผลิตที่

มดี สางใบ

การจดั การศตั รอู ้อยแบบผสมผสาน 47

เครอ่ื งสางใบออ้ ย

ตารางที่ 1 เปรยี บเทยี บอตั ราความเรว็ ในการตัดอ้อย ของคนงาน 1 คน ในการตัดอ้อย
ที่มีการสางใบและไม่สางใบหลงั สางใบอ้อย

กรรมวิธี เวลาทใ่ี ชใ้ นการตัดอ้อย 1 ไร่ (ชั่วโมง)

เครื่องสางใบอ้อย 20.4
มดี สางใบออ้ ย 12.5
ไมม่ ีการสางใบอ้อย 25.8

3. เคร่อื งใส่ปยุ๋ และสารฆ่าแมลงแบบผ่าตอ
การใช้เคร่ืองใส่ปุ๋ยและสารฆ่าแมลงควรใช้ในอ้อยที่มีความสูงไม่เกิน 60 ซม.

เครื่องมือน้ีมีส่วนประกอบสาคัญ 4 ส่วน คือ จานผ่าตอ ถังใส่ปุ๋ย ถังใส่สารฆ่าแมลงและ
ล้อขับเพลาปลอ่ ยปุ๋ยและสารฆ่าแมลง สามารถทางานไดว้ ันละมากกว่า 10 ไร่

48 การจัดการศัตรูออ้ ยแบบผสมผสาน

ถงั ใสป่ ยุ๋ ถงั บรรจสุ ารฆ่าแมลง

ล้อขับเพลาปลอ่ ยปุย๋ และสารฆา่ แมลง จานผ่าตอ

เครือ่ งใส่ปุย๋ และสารฆา่ แมลงแบบผ่าตอ
การจัดการศตั รูออ้ ยแบบผสมผสาน 49

หลงั ผ่าตอใสป่ ุ๋ยและสารฆ่าแมลงพรอ้ มกับหยอดนาได้ 2 เดอื น อ้อยที่รอดตายจากการทาลาย
ของด้วงหนวดยาวมีการเจรญิ เติบโตดี

50 การจัดการศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน

บรรณานุกรม

ณัฐกฤต พิทกั ษ์. 2544. แมลงศัตรูออ้ ยและการป้องกนั กาจัด. เอกสารวิชาการ
การปอ้ งกนั กาจดั ศตั รูอ้อย. กรุงเทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย.

ณัฐกฤต พิทกั ษ.์ 2553. แมลงศตั รูอ้อยทส่ี าคัญในประเทศไทย. ค่มู ือแมลงศตั รอู ้อย
และการป้องกันกาจัด. หจก.พี พี พีค พร้ินติง้ แอนด์เซอร์วิส.

ธนาคร จารุพฒั น์, วชิ ัย กอ่ ประดษิ ฐส์ กุล, นิพนธ์ ทวชี ยั และ ศศนิ าฏ แสงวงศ์.
2526. โรคอ้อยในประเทศไทย. สมาคมนักวิชาการอ้อยและนา้ ตาล
แห่งประเทศไทย. กรงุ เทพ ฯ. 180 หนา้ .

สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย. (ม.ป.ป.). โรคออ้ ย. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก:
http://www.ocsb.go.th/showcontent.asp?head id=21&id=8

Magerey, R.C., Lonie, K.J and Croft, B.J. 2006. Sugarcane diseases: Field
guide. BSES limited. Australia.

\\

การจัดการศตั รอู อ้ ยแบบผสมผสาน 51

รวบรวมและเรียบเรยี ง

1. นางสาวสนุ ี ศรีสงิ ห์ นกั วชิ าการเกษตรชานาญการพเิ ศษ
2. นางสาววัลลภิ า สชุ าโต นกั วิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ
3. นายอรรถสิทธิ์ บุญธรรม นกั วิชาการเกษตรชานาญการพเิ ศษ
4. นางวาสนา วนั ดี นกั วชิ าการเกษตรชานาญการ
5. นายสุวฒั น์ พูลพาน นักวชิ าการเกษตรปฏิบัติการ
6. นางสาววาสนา ยอดปรางค์ นกั วิชาการเกษตร

ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ติดตอ่ :
ศนู ย์วิจัยพชื ไร่สุพรรณบุรี 159 หมู่ 10 ตาบลจรเขส้ ามพนั อาเภออู่ทอง

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 72150 โทร.&แฟกซ์ 035551543, 551433
E-mail : [email protected], [email protected]

จดั ทาคร้งั ท่ี 1 เมื่อกนั ยายน 2559 จานวน 1,000 เล่ม

52 การจัดการศัตรอู อ้ ยแบบผสมผสาน


Click to View FlipBook Version