คำนำ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2566 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นจากการพิจารณาวางแผนร่วมมือกันของทุกภาค ส่วนของโรงเรียน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับแผนการศึกษา 2560-2579 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรอบกลยุทธ์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา กลยุทธ์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 มาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชนและจากการประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้ปกครอง ความต้องการของนักเรียนและครู รวมทั้งความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบ กับผลการประเมินจากความคิดเห็นของ สมศ.รอบที่ 3 วันที่ 4 ธันวาคม – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 เพื่อใช้เป็นแนวทางการดำเนินงาน ให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติและติดตามผลให้การใช้งบประมาณ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แผนปฏิบัติการฉบับนี้ สำเร็จได้โดยความร่วมมือของกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้งาน ที่กำกับ ติดตามและประสานงานให้การวางแผนของโรงเรียนเป็นไปตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ นายวินัย คำวิเศษ ผู้อำนวยการโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา
สารบัญ เรื่อง หน้า ส่วนที่ 1 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน 1 1.1 สภาพทั่วไป โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา 2 1.2 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม 4 ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.3 ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน ที่ปรากฏสู่ภายนอกและได้รับรางวัล 7 1.4 แหล่งที่มาของเงินจัดสรรปีงบประมาณ 2566 12 1.5 ประมาณการรายรับของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 11 1.6 เงินงบประมาณคงเหลือ 14 1.7 การจัดสรรงบประมาณ ปีงบประมาณ 2566 15 ส่วนที่ 2 ทิศทางการบริหารและการจัดการศึกษา 17 2.1 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 17 2.2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 18 มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 2.3 ยุทธศาสตร์โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา 22 ส่วนที่ 3 ตารางสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2565 24 3.1 กลุ่มบริหารวิชาการ 25 3.2 กลุ่มบริหารบุคคล 33 3.3 กลุ่มบริหารทั่วไป 38 3.4กลุ่มบริหารงบประมาณ 44 3.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 49 3.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 53 3.7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 62 3.8 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 66 3.9 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 71 3.10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 75 3.11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (MEP) 78 3.12 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 83 3.13 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 88 3.14 งานแนะแนว 93 3.15 งานห้องสมุด 97
3.16 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 100 ภาคผนวก
1 ส่วนที่ 1
2 ส่วนที่ 1 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน 1.1 สภาพทั่วไป โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา ได้ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2522 ตั้งอยู่ใน ชุมชนตลาด ใหม่ดอนเมืองริมคลอง เปรมประชากร ด้านทิศตะวันตกที่อยู่ เลขที่ 153/34 หมู่ 1 แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 35 ไร่ ซึ่งคุณกร จาตุรจินดาได้บริจาคที่ดิน จำนวน 35 ไร่ พร้อมเงินสด 200,000 บาท ต่อมา กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศ ให้จัดตั้ง โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา ขึ้นเปิดสอน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 6 ห้องเรียน ช่วงแรกได้อาศัยอาคารโรงเรียน ตลาดใหม่ ทำการสอน มีการจัดตั้ง ชมรมผู้ปกครองและครู และ มูลนิธิจาตุรจินดาขึ้น โดยมีนายเทพ จาตุรจินดา เป็นประธาน มีอาคารเรียนและ อาคารประกอบทั้งหมด 11 หลัง ได้แก่ อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 3 อาคาร 4 กาญจนาภิเษก อาคาร 5 อาคาร 6 อาคาร 7 หอประชุม – โรงอาหาร ประชาสัมพันธ์ ห้องพยาบาล กลุ่มบริหารงานบุคคล-ห้อง ปกครอง พร้อมสิ่งก่อสร้างประกอบอื่นๆ เช่น รั้วรอบโรงเรียน สนามฟุตบอล ลานคุณกรและหอพระพุทธรูป ประจำโรงเรียน ปัจจุบันโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา โรงเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ เป็นโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน) จำนวนนักเรียนน้อยกว่า 2,000 คน และเป็นสถานศึกษาต้นแบบด้านการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม “โรงเรียนสีเขียว” มีนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 1,272 คน มีคณะผู้บริหาร 4 คน ครูประจำการ 64 คน พนักงานราชการ 1 คน ครูอัตราจ้าง 2 คน ด้านการบริหารจัดการ นายมิตรชัย สมสำราญกุล เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 มีคำสั่งแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2563 มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการชมรมผู้ปกครองและครู และคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ❖ ที่ตั้งสถานศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 153/34 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2565-3725-6 โทรสาร 0-2565-3987 สถานที่ราชการและเอกชนที่สำคัญที่อยู่ใกล้เคียง คือ สนามบินดอนเมือง วัดดอนเมือง พิพิธภัณฑ์ กองทัพอากาศ สำนักงานเขตดอนเมือง ฐานทัพอาการดอนเมืองและตลาดใหม่ ❖ สภาพชุมชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนแออัดรอบคลองเปรมประชากร บริเวณ
3 สำคัญใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ สนามบินดอนเมือง สำนักงานเขตดอนเมือง วัดดอนเมือง สถานีรถไฟ ดอนเมือง และสถานีรถไฟฟ้าสายสีแดง (กำลังดำเนินการก่อสร้าง) อาชีพหลักของชุมชนคือ รับจ้างและค้าขาย เนื่องจากอยู่ใกล้สนามบิน และแหล่งธุรกิจการค้าสินค้าส่งออก/สินค้านำเข้า ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ❖ ข้อมูลครูและบุคลากร ตำแหน่ง จำนวน (คน) เพศ ระดับการศึกษา (สูงสุด) วิทยฐานะ ชาย หญิง ป. ตรี ป. โท ป.เอก ครู ผู้ช่วย ครู รอง ผอ./ครู ชำนาญ การ รอง ผอ./ครู ชำนาญ การ พิเศษ ผอ./ครู เชี่ยวชาญ ผู้อำนวยการ 1 1 - - - 1 - - - 1 - รองผู้อำนวยการ 3 1 2 - 3 - - - 2 1 - ข้าราชการครู 57 14 43 40 17 - 7 20 26 5 - พนักงานราชการ 2 1 1 2 - - - - - - - ครูอัตราจ้าง 5 2 3 5 - - - - - - - รวม 68 19 49 47 20 1 7 20 28 7 - ❖ ข้อมูลนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2565) ระดับชั้นเรียน จำนวน ห้อง เพศ รวม เฉลี่ยต่อห้อง ชาย หญิง มัธยมศึกษาปีที่ 1 5 72 65 137 28 : 1 มัธยมศึกษาปีที่ 2 3 56 58 114 38 : 1 มัธยมศึกษาปีที่ 3 6 106 74 180 30 : 1 รวมนักเรียนระดับ ม.ต้น 14 234 197 431 22 : 1 มัธยมศึกษาปีที่ 4 9 143 130 273 30 : 1 มัธยมศึกษาปีที่ 5 9 124 184 308 34 : 1 มัธยมศึกษาปีที่ 6 7 109 108 217 31 : 1 รวมนักเรียนระดับ ม.ปลาย 25 376 422 798 32 : 1 รวม 39 610 619 1,229 1.2 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4 โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. รอบสาม เมื่อวันที่ 4 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ตารางผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลได้ดังนี้ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 9.37 ดีมาก 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 9.58 ดีมาก 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 9.44 ดีมาก 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น 9.45 ดีมาก 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 8.31 พอใช้ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 9.00 ดีมาก 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้น สังกัด 4.95 ดีมาก 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา 5.00 ดีมาก 11 ผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา 5.00 ดีมาก 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา 5.00 ดีมาก คะแนนรวม 85.10 ดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา • มีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่ • มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่ • ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่ ไม่ใช่ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม สมควรรับรองมาตรฐาน ไม่สมควรรับรองมาตรฐาน
5 สรุปแนวทางการพัฒนา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ด้านคุณภาพผู้เรียน 1. ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีโครงการ กิจกรรม รองรับเพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ชัดเจน 2. มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงาน มีความชอบกิจกรรมที่ได้ลงมือทำ ได้แสดงความคิด สร้างสรรค์ ทำให้กิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถใน การสร้างนวัตกรรมประสบความสำเร็จเพราะ ธรรมชาติของผู้เรียนตรงกับกิจกรรม 3. มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน มีน้ำใจช่วยเหลือกัน แบ่งปันกัน ทำให้มีการยอมรับความคิดเห็น นำไปสู่ ความรู้คิดสร้างสรรค์ผลงานที่สมาชิกกลุ่มคิดร่วมกัน และลงมือสร้างนวัตกรรมร่วมกัน 4. สามารถใช้เทคโนโลยีผ่านการใช้คอมพิวเตอร์ และเครื่องมือสื่อสารในการค้นคว้าหาความรู้ได้ 5. สามารถปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกกระ บวนการทำงานด้วยความระเอียดรอบคอบ และ คำนึงถึงความปลอดภัยเป็นสำคัญ ตลอดจนเกิดทักษะ จากกระบวนการทำงาน สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ให้ เหมาะสมกับประเภทของลักษณะงาน มีทักษะในการ คิด สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้ด้วยตนเอง อย่างมี ความสุข มีความภาคภูมใจในตนเองและเห็นคุณค่า 6. มีสุขภาพทางร่างกายแข็งแรง รักการออกกำลัง กาย มีจิตใจร่าเริง แจ่มใส 7. ปฏิบัติตนตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียง 8. มีจิตสาธารณะ 9. แสดงออกถึงอารมณ์และความซาบซึ้งเห็นคุณค่า ในศิลปะอันงามของความเป็นไทย สามารถปฏิบัติตน บนพื้นฐานความเป็นไทยได้อย่างดี นักเรียนโรงเรียน ดอนเมืองจาตุรจินดาเป็นนักเรียนที่มีความสามารถที่ หลากหลาย ความโดดเด่นในการแสดงศิลปวัฒนธรรม 1. ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรับผิดชอบให้มากขึ้น 2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้ สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด 3. พัฒนาผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชาติ ให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ 4. นักเรียนบางส่วนยังไม่ใฝ่เรียนรู้ ขาดความ กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ 5. การจัดเวลาที่จะส่งเสริมนักเรียนที่ต้องการ พัฒนาค่อนข้างติดขัด เพราะกิจกรรมของโรงเรียน ค่อนข้างมาก ทำให้การพัฒนาไม่ต่อเนื่อง นักเรียนจึง เกิดการเบื่อหน่าย ได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร 6. อุปกรณ์ เครื่องมือ สื่อการเรียนการสอน ยังไม่ เพียงพอต่อการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ สำหรับการเรียน การสอน เนื่องจากอุปกรณ์มีเป็นบางห้อง และส่วน ใหญ่ครูต้องการใช้สื่อ แต่เมื่อติดขัด มีโอกาสใช้น้อย ทำให้การผลิตสื่อยังไม่มากพอ โดยเฉพาะในยุค ปัจจุบันที่นักเรียนให้ความสำคัญกับเทคโนโลยี มากกว่าการที่ครูสอนในชั้นเรียนทำให้นักเรียน บางส่วนไม่สนใจการเรียน 7. มีกิจกรรมที่เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความ บกพร่องต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับนักเรียนเหล่านั้น 8. อุปกรณ์การเรียนการสอนออนไลน์ ของนักเรียน ยังขาดความพร้อม
6 จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา อีกอย่างคือการแสดงโขนซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของ ครูและนักเรียนโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา 10. ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลายได้ภายใต้ทรัพยากรที่มีจำกัด 11. ครูและบุคลากรทุกคนมีความมุ่งมั่นและให้ความ ร่วมมือในการดำเนินการพัฒนาอย่างจริงจัง ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 1. มีการจัดระบบการบริหารที่เป็นระบบ สถานศึกษา 2. ผู้บริหารมีความตั้งใจ มุ่งมั่น มีหลักการบริหาร มี วิสัยทัศน์ 2. จัดผังขององค์กร การปฏิบัติงาน ขอบเขต หน้าที่ของบุคลากร ระบบการปฏิบัติงาน มีปฏิทิน การปฏิบัติงานอย่างชัดเจน บุคลากรทุกระดับเข้าใจ ภาระหน้าที่ 3. มีการดำเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการ เป็นส่วนใหญ่ ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน 4. การปฏิบัติงานที่กำหนดจะรับฟังความคิดเห็น จากมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเห็น ความสำคัญในการร่วมมือกันบริหารและจัดการศึกษา ที่เป็นระบบ มีความพอใจในการบริหารงานของ สถานศึกษา 5. มีการวางแผน และดำเนินการจัดโครงการ/ กิจกรรมเพื่อให้สถานศึกษามีการบริหารงานที่เป็น ระบบ มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ ใช้หลักการมีส่วนร่วม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานอย่างต่อเนื่อง ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายมีความพึงพอใจเป็นอย่างดี 1. การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผล ในบาง โครงการ/กิจกรรม ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องโดย เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน ได้มีส่วนร่วมมากขึ้น ในการเสนอความคิดเห็น 2. การสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อให้เกิดความ ร่วมมือกับองค์กรภายนอกให้โรงเรียนมีความเข้มแข็ง และสามารถขับเคลื่อนคุณภาพในการจัดการศึกษาให้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดย จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติ จริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ 1. เนื่องจากครูมีชั่วโมงการสอนมาก และมีงานที่ รับผิดชอบหลายงาน ทำให้การวิเคราะห์ศักยภาพ นักเรียนเป็นรายบุคคลยังทำได้ไม่เต็มศักยภาพ
7 จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง 2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. ผลงานวิจัยในชั้นเรียนของครูทุกคน ได้รับการ ตรวจประเมินพร้อมทั้งให้คำแนะนำจากคณะผู้บริหาร 4. ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning 2. พัฒนาอุปกรณ์ที่รองกรับการสอนออนไลน์ของ ครูและนักเรียน 3. งบประมาณในการทำกิจกรรมการจัดการเรียน การสอน 4. พัฒนาเกณฑ์การประเมินการให้คะแนนให้ เหมาะสมกับสถานการณ์โควิด -19 5. การทำ PLC ระหว่างครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการ เรียนรู้ เพื่อให้ได้แนวคิดที่หลากหลายในการแก้ปัญหา ในการจัดการเรียนรู้ 1.3 ผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน ที่ปรากฏสู่ภายนอกและได้รับรางวัล ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล สถานศึกษา โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจิน ดา 1. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็น โรงเรียนดีไม่มีอบายมุข ประจำปี การศึกษา 2563 สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ 2. ได้รับการประเมินตามเกณฑ์รางวัล คุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ScQa สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 2. ผลงานของผู้บริหารและครู ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ผู้บริหารและครู 1. นายมิตรชัย สมสำราญกุล ครูดีไม่มีอบายมุข สพฐ ร่วมกับสำนักงานเครือข่าย องค์กรงดเหล้า 2. นายธีระยุทธ โพธิ์ กระสัง ครูดีไม่มีอบายมุข สพฐ ร่วมกับสำนักงานเครือข่าย องค์กรงดเหล้า 3. สิบเอกปราศรัย วันตา ผู้บังคับบัญชาลูกเสือดีเด่น ประจำปี 2564
8 ครู 4. นายเดวิด ด้วงจินดา เป็นครูผู้ประสานงานโรงเรียนที่มีส่วน ร่วมในการประเมินพฤติกรรมเด็กและ เยาวชนที่ยึดมั่นในความซื่อสัตว์สุจริต และการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการใช้ หลักสูตรด้านทุจริตศึกษา 5. นางสาวพรสุดา กรดสัน ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลชมเชย การประกวด Video Clip ภายใต้ หัวข้อ “กระบวนการบริหารงาน สิ่งแวดล้อมศึกษาภายในโรงเรียน” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 6. นางสาวณิชา ศิริคง ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลชมเชย การประกวด Video Clip ภายใต้ หัวข้อ “กระบวนการบริหารงาน สิ่งแวดล้อมศึกษาภายในโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล ครู 7. นางสาวอารี ไพเราะ ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญ เงิน Story Telling ในกิจกรรมการ แข่งขันทักษะทางวิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาค กลาง ภาคตะวันออก โซน A ปี การศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 8. นางสาวภัทรวรี กลางบุ รัมย์ ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญ ทองแดง Multi Skill Contest ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 9. นายปรภต ฟองสุวรรณ ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญ ทอง Skit Competition สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
9 ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 10. Ms. EllenieTaquiqui ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญ ทอง Skit Competition ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 11. นางสุนารี รัตนไตรภพ ครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัลเหรียญ เงิน Singing Contest ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 12.น.ส.ชนิกานต์ สง่างาม รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดคัดเลือกหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่เป็นแบบอย่าง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 13.น.ส.สิริเนตร ไสยะหุต รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดคัดเลือกหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่เป็นแบบอย่าง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
10 3. ผลงานของนักเรียน ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล นักเรียน 1. คณะนักกีฬาฟุตบอล โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจิน ดา รุ่นอายุไม่เกิน 13 ปี รองชนะเลิศอันดับที่ 3 Future arena 2. คณะนักกีฬาฟุตบอล โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจิน ดา รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี รองชนะเลิศอันดับที่ 1 Future arena 3. คณะนักกีฬาฟุตบอล โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจิน ดา รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี รองชนะเลิศอันดับที่ 1 9 UpThailand 4. คณะนักกีฬาฟุตบอล โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจิน ดา รุ่นอายุไม่เกิน 14 ปี รองชนะเลิศอันดับที่ 3 เครือข่ายอัสสัมชัญและแสนสิริ 5. คณะนักเรียนชุมนุม Cover dance รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การ แข่งขันเชียร์ลีดดิ้ง - 6. นางสาวอรรถวดี นิติธรรม พิพัฒน์ ได้รับคัดเลือกเด็กและเยาวชนดีเด่น ประจำปี 2564 กระทรวงศึกษาธิการ 7. นายจารุต รักแต่งาม ได้รับรางวัลชมเชย การประกวด Video Clip ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการบริหารงานสิ่งแวดล้อม ศึกษาภายในโรงเรียน” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 8. นางสาวฐิติวัลคุ์ ท้องช้าง ได้รับรางวัลชมเชย การประกวด Video Clip ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการบริหารงานสิ่งแวดล้อม ศึกษาภายในโรงเรียน” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 9. นางสาวเสาวลักษณ์ ไทยบุญ สา ได้รับรางวัลชมเชย การประกวด Video Clip ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการบริหารงานสิ่งแวดล้อม ศึกษาภายในโรงเรียน” สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
11 ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล นักเรียน 10. นายอภิเชษฐ์ พันหนองแสน ได้รับการคัดเลือกเยาวชนดีเด่น เนื่อง ในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจำปี 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 11. เด็กหญิงกชพร สุวรรณ ทอง รางวัลเหรียญเงิน Story Telling ใน กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาค กลาง ภาคตะวันออก โซน A ปี การศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 12. เด็กหญิงสุภนิดา เพ็งมา รางวัลเหรียญทองแดง Multi Skill Contest ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 13. เด็กหญิงนรีรัศมิ์ จิตตฤกษ์ รางวัลเหรียญทอง Skit Competition ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 14. เด็กหญิงธารพร ศรีสถิต รางวัลเหรียญทอง Skit Competition ในกิจกรรมการแข่งขันทักษะทาง วิชาการ ภาษาอังกฤษ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลาง ภาคตะวันออก โซน A ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
12 1.4 แหล่งที่มาของเงินจัดสรรปีงบประมาณ 2566 1.4.1 เงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา - เงินอุดหนุนรายหัว - เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1.4.2 เงินรายได้สถานศึกษา - เงินบำรุงการศึกษา 1.4.3 เงินคงเหลือปีงบประมาณ 2564 - เงินอุดหนุนเหลือจ่ายปีงบประมาณ 2564 - เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเหลือจ่าย ปีงบประมาณ 2464 1.4.4 เงินคงเหลือปีงบประมาณ 2565 - เงินอุดหนุนเหลือจ่ายปีงบประมาณ 2565 - เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเหลือจ่าย ปีงบประมาณ 2465 1.4.5 เงินอื่นๆ - การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 1.5 ประมาณการรายรับของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 1.5.1 ประมาณการเงินอุดหนุนรายหัว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 (2,270,450) ประมาณการรายรับ งบประมาณเงินอุดหนุนรายหัว ปีงบประมาณ 2565 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน เงินอุดหนุน / ภาคเรียน ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น 431 1,750 754,250 มัธยมศึกษาตอนปลาย 798 1,900 1,516,200 รวม 1,229 2,270,450
13 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 (2,338,950) ประมาณการรายรับ งบประมาณเงินอุดหนุนรายหัว ปีงบประมาณ 2565 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน เงินอุดหนุน / ภาคเรียน ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น 431 1,750 754,250 มัธยมศึกษาตอนปลาย 798 1,900 1,516,200 รวม 1,229 2,270,450 รวมปีงบประมาณ 2566 เป็นเงินจำนวน 4,540,900 บาท 1.5.2 ประมาณการเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 (538,366) ประมาณการรายรับ งบประมาณเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปีงบประมาณ 2565 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน / ภาคเรียน ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น 431 440 189,640 มัธยมศึกษาตอนปลาย 798 437 348,726 รวม 1,229 538,366 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 (538,366) ประมาณการรายรับ งบประมาณเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปีงบประมาณ 2565 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน / ภาคเรียน ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น 431 440 189,640 มัธยมศึกษาตอนปลาย 798 437 348,726 รวม 1,229 538,366 รวมปีงบประมาณ 2566 เป็นเงินจำนวน 1,076,732 บาท
14 1.5.3 ประมาณการเงินรายได้สถานศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 (3,018,620) ประมาณการรายรับ เงินบำรุงการศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน รวม ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น/ปลาย 1,218 2,420 2,947,560 ม.3 (MEP) 11 6,460 71,060 รวม 1,272 3,018,620 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 (3,252,060) ประมาณการรายรับ เงินบำรุงการศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน รวม ต่อหัว รวม มัธยมศึกษาตอนต้น/ปลาย 1,218 2,670 3,252,060 ม.3 (MEP) 11 - - รวม 1,272 3,252,060 รวมปีงบประมาณ 2566 เป็นเงินจำนวน 6,270,680 บาท 1.6 เงินงบประมาณคงเหลือ ลำดับที่ แหล่งงบประมาณ ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 1 อุดหนุนค่าจัดการเรียนการสอน 253,959.19 1,604,372.98 2 เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 155,197.33 694,733.83
15 1.7 การจัดสรรงบประมาณ ปีงบประมาณ 2566 1.6.1 เงินอุดหนุน ค่าจัดการเรียนการสอน ที่ รายการ งบประมาณที่ ได้รับ งบประมาณจัดสรร 1 ค่าสาธารณูปโภค 6,399,232.17 2,000,000 2 กลุ่มบริหารวิชาการ 1,570,000 3 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1,224,076.37 4 กลุ่มบริหารบุคคล 154,000 5 กลุ่มบริหารงบประมาณ 753,298.69 6 กลุ่มบริหารทั่วไป 637,857.11 7 งบสำรองจ่าย 60,000 รวมทั้งสิ้น 6,399,232.17 1.6.2 เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ รายการ งบประมาณที่ ได้รับ งบประมาณจัดสรร 1 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1,550,400 260,000 2 กลุ่มบริหารบุคคล 573,500 3 งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 716,900 รวมทั้งสิ้น 1,550,400
17 ส่วนที่ 2
18 ส่วนที่ 2 ทิศทางการบริหารและการจัดการศึกษา 2.1 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดนโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย ยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต และมุ่งสู่ Thailand 4.0 ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และนโยบาย ดังนี้ วิสัยทัศน์ สร้างคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและมีความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขัน 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทาง การศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะด้านภาษาและ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 นโยบาย 1. ด้านความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ ดีสามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ 2. ด้านโอกาส 2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย 2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมี
19 คุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อ และ ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถ พิเศษสู่ความเป็นเลิศเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกัน ไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างเท่าเทียมกัน 2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะ ในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ด้านคุณภาพ 3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของ โลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูงนวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและกาเลือก ศึกษาต่อเพื่อการมีงานทำ 3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นในแต่ ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกระดับ 3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียน การสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีจิตวิญญาณความเป็นครู 4. ด้านประสิทธิภาพ 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ ขับเคลื่อนบนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและ โรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบทของ พื้นที่ 4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 -3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพของชุมชน 4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ สถานศึกษาที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ
20 4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.6 เพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ได้กำหนดเป้าหมาย ทิศทางการ บริหารการศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) แผนการ ศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) จุดเน้นเชิงนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ.2562 และจุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติและผลการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กล ยุทธ์จึงได้กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ดังนี้ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย วิสัยทัศน์ย่อยที่ 1 คุณภาพ หมายถึง ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามกำหนด วิสัยทัศน์ย่อยที่ 2 มาตรฐาน หมายถึง สำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 และโรงเรียนมี ระบบการบริหารจัดการที่มีมาตรฐาน วิสัยทัศน์ย่อยที่ 3 ความเป็นไทย หมายถึง ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีค่านิยมความ เป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทย และดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. ส่งเสริมและปลูกฝังค่านิยมความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบบประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทย 2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ 4. จัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนได้รับโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึงและมีคุณภาพ 5. พัฒนาให้โรงเรียนจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
21 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีค่านิยมความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของไทย 2. ผู้เรียนมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 และมีความสามารถในการแข่งขัน 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ 4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนจัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนได้รับโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ 5. โรงเรียนจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และดำรงชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล และจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยใช้ Digital Technology ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษามีค่านิยมความเป็นไทย ยึดมั่นการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของไทย 2. ส่งเสริมให้โรงเรียนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ 4. จัดให้ประชากรวัยเรียนได้รับโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและ มีคุณภาพ 5. ส่งเสริมให้โรงเรียนจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. ส่งเสริมให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนพัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบ บูรณาการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล จุดเน้น 1. การยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ 2. การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้มาตรฐาน
22 3. การส่งเสริมการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ “โรงเรียนน่าอยู่ นักเรียนอยากรู้ ครูอยากสอน” วัฒนธรรมองค์กร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 เป็นองค์กรชั้นนำ คุณธรรมเป็นเลิศ 2.3 ยุทธศาสตร์โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เชิดชูความเป็นไทย ก้าวไกลเทคโนโลยี มีทักษะทางภาษาสู่ มาตรฐานสากล น้อมนำตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณภาพสู่มาตรฐานสากลและสอดคล้องตาม มาตรฐานการศึกษา และสามารถดำรงชีพอย่างมีความสุขในศตวรรษที่ 21 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์สมรรถนะสำคัญ และ ค่านิยมที่ดีงามบนพื้นฐานความเป็นไทย และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิต 3. ส่งเสริม ให้ผู้เรียนอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย 4. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน 5. สนับสนุน ครูและบุคลากรการศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพทั้งระบบ สู่ความเป็น มืออาชีพ ในศตวรรษที่ 21 6. ส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาด้วยการมีส่วนร่วมทั้งภายในถาน ศึกษาและระหว่างโรงเรียนผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งเน้นการดำเนินงานอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนา 7. พัฒนาสิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนให้เหมาะสม สวยงามปลอดภัย เอื้อต่อการ เรียนรู้ และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กลยุทธ์ระดับองค์กร 1. ส่งเสริม สนับสนุน และอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย 2. พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการศึกษาทุกระดับให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล 3. พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R 8C) 4. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สอดคล้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ค่านิยมที่พึงประสงค์
23 และ คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของครู และบุคลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพใน ศตวรรษที่ 21 6. ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารการศึกษาตามแนวทางการกระจายอำนาจ หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และองค์กรส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาพร้อมเปิด โอกาสทางการศึกษาอย่างหลากหลายและทั่วถึง 7. พัฒนาบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ปรัชญา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เป้าประสงค์มี 6 ข้อ 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน และมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21 2. ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมจนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะสำคัญ ค่านิยมที่ดีบนพื้นฐานของความเป็นไทย และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในชีวิต 3. ผู้เรียนทุกคนสามารถอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย 4. ครูและบุคลากรเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ รู้บทบาทหน้าที่ ปฏิบัติงานเต็มความสามารถมี ประสิทธิภาพและมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดการของโรงเรียน 5. โรงเรียนมีการพัฒนาระบบการบริหารการจัดการศึกษา โดยเน้นการมีส่วนร่วมและการ ยอมรับในการบริหารจัดการศึกษาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ บรรยากาศสิ่งแวดล้อมที่ดี เอกลักษณ์ของสถานศึกษา สิ่งแวดล้อมดี มีคุณธรรม อัตลักษณ์ของนักเรียน นักเรียนดี มีทักษะชีวิต
24 ส่วนที่ 3 ตารางสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2566 ส่วนที่ 3
25 กลุ่มบริหารวิชาการ
ตารางสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 PP-1 กลุ่มบริหารวิชาการ ปีงบประมาณ 2566 กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาและ ส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาทุก ระดับให้เป็นไป ตามเกณฑ์ มาตรฐานสากล 1. โครงการ พัฒนาความเป็น เลิศทางวิชาการ และยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ตามเกณฑ์ทั้งใน ระดับโรงเรียน และระดับชาติ - กิจกรรมวิจัยในชั้น เรียน 1. ครูร้อยละ 100 ของครูผู้สอน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ดำเนินการ วิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาของนักเรียน 2. นักเรียนได้รับการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยครูทุก คนใช้ในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน - - ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและ เสริมความรู้สู่ มหาวิทยาลัย 1. ผู้เรียน ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน พัฒนาขึ้นจากปีการศึกษา ที่ผ่านมา 2. ผู้เรียน ร้อยละ 80 มี ผลทดสอบระดับชาติเฉลี่ยตาม เกณฑ์ทุกกลุ่มสาระฯ 250,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมสอนเสริม นักเรียนวันเสาร์และ สอนปรับพื้นฐาน 1. ผู้เรียนทุกระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น สมัครเรียนพิเศษผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนที่ ผ่ามีนเกณฑ์ ของโรงเรียน 2. ผู้เรียนทุกระดับชั้น ม. ๑ และ ม. ๔ ที่สมัครเรียนปรับพื้นฐานมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยผ่าน เกณฑ์ของโรงเรียน - - กิจกรรมการ ทดสอบระดับชาติ O-NET ยกระดับ คุณภาพผู้เรียนสู่ ความพร้อมในการ ประเมินนานาชาติ 1. ร้อยละ 100 ของครูพัฒนา นักเรียน อย่างเป็นระบบ 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียน ชั้น ม.3และ ม.6 มีความพร้อมในการ ทดสอบ 5,000 (อุดหนุน)
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ (PISA) ระดับชาติ (NT/O-NET/ PISA) เต็มตามศักยภาพ - กิจกรรมส่งเสริม การแข่งขันทักษะ ทางวิชาการ 1. นักเรียนร้อยละ 60 ได้เข้าร่วม กิจกรรมประกวด และแข่งขันทักษะภายใน สถานศึกษา 2. นักเรียนร้อยละ 70 ที่เข้าร่วม ประกวดและแข่งขัน ทักษะภายนอกสถานศึกษาได้รับ รางวัล 3. นักเรียนที่เข้าร่วมแข่งขันได้รับ รางวัล อย่างน้อย 10 กิจกรรม 253,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมต้นกล้า วิชาการ 1. ผู้เรียนที่ได้รับรางวัลเรียนดีใน แต่ละช่วงชั้น มีไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของนักเรียนในแต่ละช่วงชั้น 110,000 (อุดหนุน) กลยุทธ์ที่3 พัฒนาและ ส่งเสริมศักยภาพ ผู้เรียนให้เป็น บุคคลแห่งการ เรียนรู้ตามเกณฑ์ มาตรฐานสากล ตาม แนวทางการ จัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (3R 8C) 1. โครงการ ส่งเสริมการ เรียนรู้และ คุณภาพการ เรียนการสอน - กิจกรรมสนับสนุน การซ่อมแซมอุปกรณ์ การเรียนการสอน และสื่อเทคโนโลยี 1. ร้อยละ 100 ของวัสดุอุปกรณ์ ได้รับการซ่อมแซมมีสภาพพร้อม ใช้งานอยู่เสมอ2. ร้อยละ 95 ของ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อการ ดำเนินงานตามโครงการ 50,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมส่งเสริม และสนับสนุนการ เรียนการสอนและ งานทะเบียน – งาน วัดผล 1. ครูร้อยละ 100 มีวัสดุพร้อมใช้ งานอยู่เสมอ 2. ครูร้อยละ 95 มีความพึงพอใจ ต่อการเตรียมความพร้อมและ คุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ใน การวัดและประเมินผล 555,000 (อุดหนุน) กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพ ของครูและ บุคลากรทางการ ศึกษาสู่ความเป็น มืออาชีพใน 1. โครงการ พัฒนาครูและ บุคลากรทางการ ศึกษาสู่ความ เป็นครูมืออาชีพ ในศตวรรษที่21 - กิจกรรม ประชุมสัมมนาและ ศึกษาดูงานเพื่อ พัฒนาการจัดการ เรียนการสอนของครู 1. จัดอบรมครูและบุคลากร ในการพัฒนาสมรรถนะ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 90 ของครูมี ความพึงพอใจในระดับดี ขึ้นไปจากการจัดอบรมครู และบุคลากร 160,000 (อุดหนุน)
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ ศตวรรษ ที่21 - กิจกรรมสร้างสรรค์ สื่อ นวัตกรรมเพื่อ การจัดการเรียนรู้ 3. ร้อยละ 90 ของ ครูและ บุคลากรมีความรู้และสามารถนํา ความรู้มาพัฒนานักเรียนให้มี คุณภาพและเป็นครูมืออาชีพใน ศตวรรษที่ 21 สามารถปฏิบัติ หน้าที่ราชการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 1.จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาครู และบุคลากรในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาคเรียน ละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 90 ของครูมี ความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปจากการจัด กิจกรรมครู และบุคลากร 3. ร้อยละ 90 ของ ครูและ บุคลากรมีความรู้และสามารถนํา ความรู้มาพัฒนานักเรียนให้มี คุณภาพและเป็นครูมืออาชีพใน ศตวรรษที่ 21 สามารถปฏิบัติ หน้าที่ราชการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ร้อยละ 6,000 (อุดหนุน) กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริม ประสิทธิภาพการ บริหารการศึกษา ตามแนวทางการ กระจายอำนาจ หลักธรรมาภิบาล เน้นการมี ส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วน และ องค์กรส่วน 1. โครงการ พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาและ กระบวนการ เรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ของโรงเรียน มาตรฐาน สากล - กิจกรรมการ ประเมินผลการใช้ หลักสูตรสถานศึกษา 1. ครูร้อยละ 100 มีความรู้ ความ เข้าใจมีความสามารถในการพัฒนา หลักสูตรและสามารถ จัดทำและใช้ หลักสูตรของ กลุ่มสาระฯตามกรอบของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ซึ่งได้ปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัด ฯ ได้อย่างเหมาะสม 2. โรงเรียนมีหลักสูตร
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ ท้องถิ่นเพื่อ ส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษา พร้อมเปิดโอกาส ทางการศึกษา อย่างหลากหลาย และทั่วถึง สถานศึกษาตาม กรอบของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธ-ศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และมีความสอดคล้องกับท้องถิ่น 3. ร้อยละ 95 ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจต่อ การใช้หลักสูตรอยู่ในระดับดีขึ้นไป - กิจกรรมนิเทศเพื่อ การศึกษา 1. ร้อยละ 100 ของครูที่ ได้รับการนิเทศมีความ สามารถในการจัดการเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ร้อยละ 80 ของผู้เรียน มีผลการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่ โรงเรียนกำหนด 5,000 (อุดหนุน) 2. โครงการ พัฒนาระบบการ บริหารที่เน้นการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนและ ส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่าง โรงเรียนและมี ส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อพัฒนา คุณภาพ การศึกษา - กิจกรรม นิทรรศการเปิดบ้าน ด.ม.จ. 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถ ร่วมกิจกรรมและมีโอกาสแสดงผล งานของตนเอง 2. ร้อยละ 95 ของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย มีความ พึงพอใจในระดับดีขึ้นไปจากการ จัดกิจกรรม 3. ร้อยละ 90 ของโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริกการ เข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการ 80,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมการรับ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1,4 1. มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 จำนวน 320 คนและ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่4จำนวน 360 คน 2. 2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนใน เขตพื้นที่บริการได้รับบริการข้อมูล สำหรับการรับนักเรียนประจำปี การศึกษา 2565 30,000 (อุดหนุน)
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ 3. ร้อยละ 90 ของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจ ต่อกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป - กิจกรรมส่งเสริม ขยายโอกาสทาง การศึกษาและ การเรียนรวม 1. นักเรียนพิเศษเรียนร่วมร้อยละ 85 มีผลการประเมินสมรรถนะ สำคัญตามหลักสูตร เป็นไปตาม เกณฑ์ 2. ครูร้อยละ 80 ที่สอนนักเรียน พิเศษเรียนร่วมมีการวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็นรายบุคคลออกแบบ จัดการเรียนรู้วัดและประเมินผลที่ มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียนเพื่อตอบสนองความ แตกต่างระหว่างบุคคล และ พัฒนาการทางสติปัญญาแผนการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียน 3. นักเรียนพิเศษเรียนร่วม ร้อยละ 85 ร่วมสร้างผลงาน จากการเข้าร่วมกิจกรรมด้าน ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตามจินตนาการ 4. ร้อยละ 90 ของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย มีความพึงพอใจต่อกิจกรรม ในระดับดีขึ้นไป - 3. โครงการ พัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน สถานศึกษา - กิจกรรมประกัน การประกันคุณภาพ ภายใน 1. คุณภาพภายในของโรงเรียนอยู่ ใน ระดับ 4 (ดีเลิศ) 16,000 (อุดหนุน) 4. โครงการ โรงเรียนคุณภาพ โรงเรียน คุณธรรม - กิจกรรมโรงเรียน คุณภาพประจำตำบล 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาของ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 2. โรงเรียนมีการประเมิน การศึกษาของสถานศึกษาตาม 1,000 (อุดหนุน)
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ กรอบเวลาที่กำหนด - กิจกรรมโรงเรียน คุณธรรม 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาของ โรงเรียนคุณธรรม 2. โรงเรียนมีการประเมิน การศึกษาของสถานศึกษาตาม กรอบเวลาที่กำหนด 1,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมโรงเรียน สุจริต 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาของ โรงเรียนสุจริต 2. โรงเรียนมีการประเมิน การศึกษาของสถานศึกษาตาม กรอบเวลาที่กำหนด 3. การประเมิน IIT, EIT และ OIT ของโรงเรียนเป็นไปตาม เกณฑ์และกรอบระยะ เวลาที่กำหนด 1,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมโครงการ โรงเรียนวิถีพุทธ 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาของ โรงเรียนวิถีพุทธ 2. โรงเรียนมีการประเมิน การศึกษาของสถานศึกษาตาม กรอบเวลาที่กำหนด 1,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมโรงเรียน มาตรฐานสากล 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาของ โรงเรียนมาตรฐานสากล 2. โรงเรียนมีการประเมิน การศึกษาของสถานศึกษาตาม กรอบเวลาที่กำหนด 1,000 (อุดหนุน) - กิจกรรมโคกหนอง นาโมเดล 1. เข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องกับ แนวทางการจัดการศึกษาโคก หนองนาโมเดล 20,000 (อุดหนุน) กลยุทธ์ที่7 พัฒนา บรรยากาศและ 1. โครงการ พัฒนาและการ ใช้อาคารสถานที่ กิจกรรมสำรวจและ ใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิ 1. ร้อยละ 100 ของครูมีแผนการ จัดการเรียนรู้ 25,000 (อุดหนุน)
กลยุทธ์ระดับ องค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ สภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่อการเรียนรู้ บรรยากาศ สภาพแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ ปัญญาท้องถิ่น หลักสูตรท้องถิ่น โดยใช้แหล่ง เรียนรู้ภายในท้องถิ่นเพื่อ พัฒนาการเรียนการสอน 2. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา ตามกรอบของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และมีความสอดคล้องกับท้องถิ่น 3. มีแหล่งเรียนรู้ภายใน สถานศึกษาให้มีคุณภาพ หลากหลาย และเพียงพอ ต่อการ จัดการเรียนรู้ 4. ร้อยละ 95 ของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจต่อ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ รวมงบประมาณ - เงินอุดหนุน 1,570,000 บาท - เงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - บาท - เงินรายได้สถานศึกษา - บาท - เงินอื่นๆ - บาท รวมทั้งสิ้น 1,570,000 บาท ลงชื่อ........................................................ผู้เสนอกิจกรรม/โครงการ ( นางสาวม่านตะวัน มาเก่าน้อย ) ความเห็น...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................ ผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ( นางสาวสิริเนตร ไสยะหุต ) .............../...................../................... ความเห็น...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................................ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ( ว่าที่ร้อยตรีวัชรา งามมีฤทธิ์) .............../...................../...................
33 กลุ่มบริหารงานบุคคล
ตารางสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 PP-1 กลุ่มบริหารงานบุคคล ปีงบประมาณ 2566 กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ 3 1. โครงการส่งเสริมทักษะ การเรียนรู้และนวัตกรรม (การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา, สื่อสาร และร่วมมือ, คิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) 1. กิจกรรมทัศนศึกษา นักเรียนร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรม ทัศนศึกษา และมีทักษะใน การแสวงหาความรู้ 350,000 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน) 2. โครงการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความรู้เชิงบูรณาการ สำหรับศตวรรษที่ 21 (โลก, การเงิน, เศรษฐกิจ, พลเมือง ที่ดี สุขภาพ, สิ่งแวดล้อม) 1. กิจกรรมป้องกัน และต่อต้านยาเสพติด นักเรียนร้อยละ 95 ห่างไกลจากยาเสพติด 26,000 (เงินอุดหนุน) 20,000 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน) 3. โครงการส่งเสริมการ เรียนรู้และคุณภาพการเรียน การสอน 1. กิจกรรมส่งเสริม คุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารงานบุคคล มีวัสดุสำนักงานที่มีคุณภาพ ไว้ใช้ใน การ ปฏิบัติงาน 50,000 (เงินอุดหนุน) 4 1. โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสอดคล้องกับ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมที่พึงประสงค์ และ คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 1. กิจกรรมปฐมนิเทศ นักเรียนศึกษาปีที่ 1, 4 ร้อย ละ 100 เข้ารับ การปฐมนิเทศ 58,500 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน) 2. กิจกรรมพัฒนาวินัย นักเรียน นักเรียนผ่านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 10,000 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน) 3. กิจกรรมไหว้ครู นักเรียนร้อยละ 100 มีความกตัญญูกตเวที 5,000 (เงินอุดหนุน)
กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ 4. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ นักเรียน ม.3, ม.6 นักเรียนร้อยละ 100 ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรัก และผูกพัน ในสถาบัน 4,000 (เงินอุดหนุน) 5. กิจกรรมค่ายอบรม พัฒนาคุณภาพชีวิต ม. 4 นักเรียนชั้น ม.4 เข้าค่ายอบรมพัฒนา คุณภาพชีวิตมีคุณธรรม และจริยธรรมมากขึ้น 38,000 (เงินอุดหนุน) 6. กิจกรรมจัดทำคู่มือ นักเรียน นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 และนักเรียน ที่เข้าใหม่มีคู่มือนักเรียนยึด เป็นแนวปฏิบัติตน - 7. กิจกรรมค่าย เยาวชนแกนนำ นักเรียนร้อยละ 100 ที่เข้ารับการอบรม มีความ เป็นผู้นำมากขึ้น 100,000 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน) 8. กิจกรรมส่งเสริม ประชาธิปไตย นักเรียนร้อยละ 100 ในโรงเรียนมีส่วนร่วม ในการเลือกตั้ง ประธานนักเรียน เกิดความตระหนัก ในระบอบประชาธิปไตย 1,000 (เงินอุดหนุน) 9. กิจกรรมระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 1. ครูสามารถคัดกรอง นักเรียนตามกิจกรรมระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2. นักเรียน ม.1 และม.4 ร้อยละ 100 ได้รับการ เยี่ยมบ้าน และได้รับการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน 400,000 (เงินรายได้ สถานศึกษา) 35,000 (เงินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน)
กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ อย่างเป็นระบบ 3. ครูสามารถดำเนินการ จัดทำระเบียนสะสม นักเรียนที่ตนรับผิดชอบ 5 1. โครงการพัฒนาครูและ บุคลากรสู่มาตรฐานวิชาชีพ ในศตวรรษที่ 21 1. กิจกรรมเชิดชูครู ดีเด่น นักเรียนดีเด่น และเครือข่าย ผู้ปกครองดีเด่น ร้อยละ 20 ของจำนวน นักเรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษา และ เครือข่ายผู้ปกครองได้รับ การยกย่อง เชิดชู - 2. กิจกรรมอบรม สัมมนาและศึกษาดู งานครูและบุคลากร ร้อยละ 90 ของข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาได้รับการพัฒนา 300,000 (เงินรายได้) 3. กิจกรรมอบรม ครูผู้ช่วย ร้อยละ 100 ของ ข้าราชการครูที่บรรจุใหม่ ได้เข้ารับการอบรม 10,000 (เงินอุดหนุน) 6 1. โครงการพัฒนาระบบ การบริหารที่เน้นการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียนและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา 1. กิจกรรมพัฒนา เครือข่าย คณะกรรมการเครือข่าย ผู้ปกครอง มีประสิทธิภาพ ในการทำงาน และให้การ สนับสนุนกิจกรรมของ โรงเรียน 3,000 (เงินสมาคมฯ) 2. กิจกรรมราตรี น้ำเงินเทา ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ - 2. โครงการพัฒนาระบบ บริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ 1. กิจกรรมปรับปรุง ประสิทธิภาพ กล้องวงจรปิด มีกล้องวงจรปิดใช้อย่างมี ประสิทธิภาพและเพียงพอ เหมาะกับการใช้งาน 20,000 (เงินอุดหนุน)
38 กลุ่มบริหารทั่วไป
ตารางสรุปโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2566 PP-1 กลุ่มบริหารทั่วไป กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ โครงการวันสำคัญ กลยุทธ์ที่1 กิจกรรมวันสำคัญของ โรงเรียน นักเรียนและ บุคลากรร้อยละ 80แสดงความ คิดเห็นว่าการจัด กิจกรรมวันสำคัญ ของโรงเรียน ทำให้เกิดความ กตัญญูต่อผู้มี พระคุณของ โรงเรียน - กิจกรรมงาน เกษียณอายุราชการ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษาและ ลูกจ้างประจำที่ เกษียณอายุ ราชการ ร้อยละ 95 ได้รับการยก ย่องเชิดชูเกียรติ 10,000 (เงินสมาคมฯ)
กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 กิจกรรมงานโภชนาการ นักเรียนและ บุคลากรร้อยละ 100 มีสุขภาพดี 15,000 (เงินอุดหนุน) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลแก่ นักเรียน ครู บุคลากร และ องค์กรต่าง ๆ ได้ ถูกต้องชัดเจนคิด เป็นร้อยละ 100 10,000 (เงินอุดหนุน) โครงการอนามัยโรงเรียน กิจกรรมงานพยาบาล นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการดูแล รักษาพยาบาล เบื้องต้น 38,000 (เงินอุดหนุน) กิจกรรมตรวจสุขภาพ นักเรียน นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการ ตรวจค้นหาโรค ประจำตัวและ ความเจ็บป่วยอื่นๆ เพื่อให้การรักษา อย่างถูกต้องและ ทันท่วงที 89,040 (เงินรายได้ สถานศึกษา) กิจกรรมประกัน อุบัติเหตุ นักเรียนร้อยละ 100 ที่เกิดอุบัติเหตุ ได้รับค่า รักษาพยาบาลจาก 254,400 (เงินรายได้ สถานศึกษา)
กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ บริษัทประกัน อุบัติเหตุตามแผน วงเงินคุ้มครอง โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ กลยุทธ์ที่ 3 กิจกรรมส่งเสริม สร้างอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียน โครงการส่งเสริม ทักษะอาชีพ ร้อย ละ 90 มี ความสามารถด้าน ทักษะอาชีพ - โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา กิจกรรมสำนักงาน บริหารทั่วไป ครูและบุคลากรใน โรงเรียน ร้อยละ 95 ได้รับความ สะดวก รวดเร็วใน การดำเนินงาน 100,000 (เงินอุดหนุน) โครงการพัฒนาและใช้อาคารสถานที่ บรรยากาศแวดล้อมแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 7 กิจกรรมจัดซื้ออุปกรณ์ ทำความสะอาดสถานที่ นักเรียน ครูและ บุคลากรใน โรงเรียน ร้อยละ 95 พึงพอใจใน ความสะอาดของ อาคารเรียนและ บริเวณต่างๆ ภายในโรงเรียน 40,000 (เงินอุดหนุน) กิจกรรมซ่อมแซม อาคารสถานที่และ วัสดุครุภัณฑ์ สำหรับจัดกิจกรรม 354,857.11 (เงินอุดหนุน)
กลยุทธ์ ระดับองค์กร โครงการ กิจกรรม ผลผลิต งบประมาณ หมาย เหตุ ปรับปรุงภูมิทัศน์ใน โรงเรียน การเรียนรู้ มีความ พร้อมและเพียงพอ ต่อการใช้งาน คิด เป็นร้อยละ 100 กิจกรรมกำจัดขยะมูล ฝอยและสิ่งปฏิกูล นักเรียน ครูและ บุคลากรใน โรงเรียน ร้อยละ 100 พึงพอใจใน สิ่งแวดล้อมและ ความสะอาดของ โรงเรียน 30,000 (เงินอุดหนุน) กิจกรรมจัดหาและ บำรุงรักษาเครื่อง ป้องกันอุบัติภัย นักเรียน ครูและ บุคลากร ร้อยละ 100 มีความมั่นใจ ในทรัพย์สินและ ชีวิต - พัฒนาสื่อนวัตกรรม และเครื่องเสียง นักเรียน ครูและ บุคลากรร้อยละ 90 ได้มีสื่อ นวัตกรรมที่ ทันสมัยในการ ดำเนินกิจกรรม ต่างๆในโรงเรียน 30,000 (เงินอุดหนุน)
44 กลุ่มบริหารงบประมาณ