ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 99 ตารางที่่� 3.2.4 สถิิติิจำำ�นวนคดีีศาลเยาวชนทั่� วประเ ่ทศตามมาตรการพิิเศษแทนการดำำ�เนิินคดีีอาญาในชั้้� นพิิจารณาคดีีของศาล ปีีงบประมาณ จำนวนคดีี เข้าสู่กระบวนการ ปฏิิบััติิตามแผน สำเร็็จ ปฏิิบััติิตามแผน ไม่่สำเร็็จ อยู่่ระหว่่างดำเนิินการ ตามแผน พ.ศ. 2561 970 430 46 494 พ.ศ. 2562 1,182 436 73 673 พ.ศ. 2563 1,377 546 87 744 พ.ศ. 2564 1,177 509 43 625 พ.ศ. 2565 1,082 467 76 539 ที่่�มา: ส่่วนระบบข้้อมููลและสถิิติิ สำนัักแผนงานและงบประมาณ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ตารางที่่� 3.2.5 สถิิติิจำำ�นวนคดีีศาลเยาวชนทั่� วประเ ่ทศตามมาตรการแก้้ไข บำำ�บััด ฟื้้�นฟููก่่อนมีีคำำ�พิิพากษาของศาล ปีีงบประมาณ จำนวนคดีี เข้าสู่กระบวนการ ปฏิิบััติิตามแผน สำเร็็จ ปฏิิบััติิตามแผน ไม่่สำเร็็จ อยู่ระหว่างดำ�ำเนินการ ตามแผน พ.ศ. 2561 18,920 9,542 623 8,755 พ.ศ. 2562 19,569 9,487 684 9,398 พ.ศ. 2563 19,640 9,449 535 9,656 พ.ศ. 2564 16,569 9,457 326 6,786 พ.ศ. 2565 13,505 6,674 531 6,300 ที่่�มา: ส่่วนระบบข้้อมููลและสถิิติิ สำนัักแผนงานและงบประมาณ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (3) การดำเนิินการก่่อนมีีคำพิิพากษาของศาล มาตรการแก้้ไขบำบััดฟื้้�นฟูู ก่่อนมีีคำพิิพากษา (มาตรา 132) เป็็นมาตรการที่่�กำหนด เพื่่�อปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมสนัับสนุุนเด็็ก หรืือเยาวชนให้้สามารถอยู่่กัับครอบครััวและชุุมชนได้้โดยปกติิสุุข โดยปีีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565 มีีผลการดำเนิิน การตามมาตรการ ดัังนี้ ้�
100 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 4) การเยีียวยา แก้้ไข ฟื้้�นฟููเด็็กและเยาวชนที่่�กระทำความ ผิิดและมีีปััญหาตามคำสั่่�งศาล และปรัับพฤติิกรรมมิิให้้ กระทำผิิดซ้้ำ (1) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลาง เป็็นหน่่วยงานหลััก รัับผิิดชอบโครงการสนัับสนุุนการแก้้ไขบำบััด ฟื้้�นฟูู เด็็ก เยาวชน และครอบครััว โดยโครงการมีีวััตถุุประสงค์์ เพื่่�อให้้เด็็กและเยาวชนผู้้กระทำความผิิด นำความรู้้ ที่่�ได้้รัับจากการอบรมไปใช้้ในการปรัับเปลี่่ยน�พฤติิกรรม รวมถึึงมุ่่งเน้น้ ให้บิ้ดิา มารดา ผู้้ปกครองที่่�เข้้าร่่วมโครงการ มีีความรู้้ ความเข้้าใจ วิิธีีการเลี้ ้� ยงดููบุุตรหลานอย่่าง เหมาะสมตามหลัักจิิตวิิทยา สามารถนำความรู้้จากการ อบรมไปใช้้ปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมของเด็็กและเยาวชน ได้้อย่่างถููกต้้องตามหลัักจิิตวิิทยา ให้้เด็็กและเยาวชน เกิิดภููมิิคุ้้มกัันในการดำเนิินชีีวิิตและไม่่หวนกลัับไป กระทำความผิิดซ้้ำ หรืือมีีปััญหาพฤติิกรรมที่่�รุุนแรง มากกว่่าเดิิม การดำเนินิโครงการศาลเยาวและครอบครััว กลางจะกำหนดกิิจกรรมและแนวทางการดำเนินิโครงการ แจ้้งไปยัังศาลเยาวชนและครอบครััวทั่่�วประเทศให้้ ดำเนิินกิิจกรรมเป็็นไปในแนวทางเดีียวกััน กิิจกรรม ภายใต้้โครงการประกอบด้้วยกิิจกรรมครอบครััวสััมพันธ์ั ์ และกิิจกรรมครอบครััวอุ่่นใจได้้ลููกหลานคืืน (2) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลาง จััดกิิจกรรมด้้าน เทคโนโลยีีดิจิทัิัลเพื่่�อ แก้้ไข บำบัดั ฟื้นฟู้� ูเด็็กและเยาวชน ในหลัักสููตร “เน็็ตทำกิิน” เพื่่�อสอนให้้เด็็กและเยาวชน ได้้มีีความรู้้ สามารถสร้้างงาน สร้้างอาชีีพด้้วยระบบ คอมพิิวเตอร์์ผ่่านช่่องทางสื่่�อดิิจิิทััลต่่าง ๆ (3) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวัดสุัุราษฎร์์ธานีีจัดัโครงการ “เมื่่�อลููกนุ้้ยหลบบ้้าน ยัังหยบแลและหวัังเหวิิด” เพื่่�อ ติิดตามดููแลแก้้ไขให้้คำแนะนำแก่่เด็็กและเยาวชน ทั้้�งนี้้� โครงการได้้รัับรางวััลบุุคคลผู้้อยู่่เบื้้�องหลัังความสำเร็็จ ของเด็็กและเยาวชน จากสำนัักงานเลขานุุการสภาองค์์กร เยาวชนสร้้างสรรค์์พััฒนาสัังคม (4) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดจัันทบุุรีีจััดโครงการ ฝึึกอบรมอาชีีพแก่่เด็็กและเยาวชน ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กิิจกรรม “สร้้างอาชีีพด้้วยบิิตคอยน์์” มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อให้้เด็็กและเยาวชนได้้รัับการพััฒนา และเสริิมสร้้างทัักษะด้้านอาชีีพ ใช้้เวลาว่่างให้้เกิิด ประโยชน์์สามารถหารายได้้ให้้แก่่ตนเองและครอบครััว สามารถกลัับไปอยู่่ในครอบครััวและไม่่กลัับมากระทำ ความผิิดซ้้ำ (5) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดพระนครศรีีอยุุธยา เปิิดคลิินิิกให้้คำปรึึกษาด้้านจิิตสัังคม (Psycho - Social Clinic) โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อเปิิดโอกาสให้้ผู้้ต้้องหา หรืือจำเลยได้้แสวงหาทางเลืือกในการแก้้ปััญหาด้้วย ตนเองด้้วยกระบวนการให้้คำปรึึกษาเพื่่�อสร้้างแรงจููงใจ ให้้เปลี่่�ยนแปลงพฤติิกรรม โดยมีีเป้้าหมายเพื่่�อแก้้ไข บำบััด ฟื้้�นฟูู ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลย สร้้างแรงจููงใจให้้เกิิด การเปลี่่�ยนแปลงทััศนคติิ พฤติิกรรม (6) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดสระแก้้ว จััดโครงการ “ศาลสััมพัันธ์์ แบ่่งปัันความห่่วงใย” มีีวััตถุุประสงค์์ เพื่่�อสอดส่่องดููแลเด็็กและเยาวชนที่่�ถููกส่่งฝึึกและอบรม อย่่างสม่่ำเสมอ และเป็็นการสร้้างขวััญกำลัังใจแก่่เด็็ก และเยาวชนในการกลัับตนเป็็นพลเมืืองที่่�ดีีปฏิิบััติิตาม กฎระเบีียบของสัังคม และเติิบโตเป็็นผู้้ใหญ่่ที่่�ดีีในสัังคม ต่่อไป
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 101 5) การเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมาย การประชาสััมพัันธ์์ รวมถึึงการคุ้้มครอง พิิทัักษ์์ และป้้องกัันเด็็กและเยาวชน มิิให้้กระทำความผิิด ศาลเยาวชนและครอบครััวทั่่�วประเทศ จััดกิิจกรรมเผยแพร่่ ความรู้้ด้้านกฎหมายเบื้้�องต้น้และความรู้้เชิิงป้้องกันัการกระทำ ความผิดิให้้แก่่เด็็กและเยาวชนในสถาบันัการศึึกษาและชุุมชน รวมถึึงครอบครััวและผู้้นำชุุมชน เพื่่�อให้้เด็็กและเยาวชน มีีความรู้้เบื้้�องต้้น และสามารถนำความรู้้ที่่�ได้้รัับไปเผยแพร่่ ให้้กัับผู้้อื่่�น เป็็นการป้้องปรามให้้เด็็กและเยาวชนเกรงกลััว ต่่อการกระทำความผิิด ดัังนี้ ้� (1) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวัดตรััง จัดกิั ิจกรรมเผยแพร่่ ความรู้้ด้้านกฎหมายสู่่ชุุมชนแบบบููรณาการ โดยออก หน่่วยบริิการเคลื่่�อนที่่�ร่่วมกัับจัังหวััดตรััง “หน่่วยบำบััด ทุุกข์์ บำรุุงสุุข สร้้างรอยยิ้้�มให้้ประชาชน” ซึ่่�งกิิจกรรม ดัังกล่่าวมีีวัตถุั ปุระสงค์์เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมาย และบริิการให้้คำปรึึกษาด้้านกฎหมายเกี่่�ยวกัับเด็็ก เยาวชน และคดีีครอบครััว เช่น่ การร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราว การบัังคัับคดีีผู้้ประกััน การยื่่�นคำร้้องขอรัับรองบุุตร คดีีคุ้้มครองสวััสดิิภาพและการไกล่่เกลี่่�ยคดีีครอบครััว (2) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวัดพิั ิษณุุโลก จัดกิั ิจกรรม เผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมายแก่่ประชาชนผ่่านรายการ วิิทยุุ มีีวัตถุั ปุระสงค์์เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้กฎหมายเกี่่ย�วกัับ ศาลเยาวชนและครอบครััวและวิิธีีพิิจารณาคดีีเยาวชน และครอบครััว รวมถึึงประชาสััมพันธ์ั ์ โครงการ “การให้้ บริิการผ่่านระบบสื่่�อสารทางเทคโนโลยีี (Google Meet)” (3) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวัดัสมุุทรสงคราม ออกเผย แพร่่กฎหมายตามโครงการเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมาย ให้้แก่่เด็็ก เยาวชนและประชาชน ในหััวข้้อ ความรุุนแรง ในครอบครััว การคุ้้มครองสวััสดิิภาพ การไกล่่เกลี่่�ย ก่่อนฟ้้อง และการปล่่อยชั่่�วคราวโดยตั้้�งผู้้กำกัับดููแลฯ แก่่หััวหน้้าส่่วนราชการ หััวหน้้าหน่่วยงานรััฐวิิสาหกิิจ ผู้้บริิหารองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น กำนััน และ ผู้้ใหญ่่บ้้าน เขตอำเภอเมืืองสมุุทรสงคราม (4) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดสระแก้้ว ออกหน่่วย บริิการประชาชนตามโครงการ “ศาลสััมพัันธ์์มุ่่งมั่่�น เพื่่�อประชาชน” ร่่วมกัับจัังหวััดสระแก้้ว ในโครงการ “หน่่วยบำบััดทุุกข์์ บำรุุงสุุข สร้้างรอยยิ้้�มให้้ประชาชน” จัังหวััดสระแก้้ว เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมาย ให้้ คำแนะนำปรึึกษาด้้านกฎหมายเกี่่ย�วกัับการปล่่อยชั่่�วคราว การบัังคัับคดีีกรณีีผู้้ประกัันผิิดสััญญาในคดีีอาญาใน ชั้้�นศาล การไกล่่เกลี่่�ยและประนอมข้้อพิิพาท และ กฎหมายทั่่�วไปแก่่ประชาชน (5) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดพัังงา ดำเนิินการ จััดรายการวิิทยุุเพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมาย ผ่่านสถานีีวิิทยุุกระจายเสีียง บรรยายให้้ความรู้้ในหััวข้้อ “การดำเนิินกระบวนพิิจารณาคดีีในศาลเยาวชนและ ครอบครััว” เป็็นต้้น 6) การประสานความร่่วมมืือกัับหน่่วยงานภาครััฐ/ภาค เอกชน (1) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลางร่่วมกัับกรมพิินิิจ และคุ้้มครองเด็็กและเยาวชน ลงนามบัันทึึกข้้อตกลง ความร่่วมมืือ (MOU) ว่่าด้้วยความร่่วมมืือโครงการ ติิดตาม แนะนำ ช่่วยเหลืือเด็็กและเยาวชนเข้้าฝึึก ประสบการณ์ทั์ ักษะอาชีีพในสถานประกอบการ โดยทั้้�ง สองฝ่่ายตกลงร่่วมมืือกัันส่่งเสริิมเด็็กและเยาวชนที่่� เข้้าสู่่กระบวนการยุุติิธรรมทางอาญาของศาลเยาวชน และครอบครััวกัับเด็็กและเยาวชนที่่�อยู่่ในความควบคุุม ของสถานพินิิจตลอดจนศูนย์ูฝึ์ ึกและอบรม ให้้ได้้มีีโอกาส ในการประกอบอาชีีพตามความถนััดหรืือความสนใจ เพื่่�อเป็็นการพััฒนาและยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตของเด็็ก และเยาวชนให้้ดีียิ่่�งขึ้้�น ซึ่่�งจะส่่งผลให้้เด็็กและเยาวชน สามารถดำรงชีีวิิตอยู่่ในสัังคมได้้อย่่างปกติิสุุข สามารถ นำความรู้้ไปประกอบอาชีีพพึ่่�งพาอาศััยตนเองและ เลี้ ้� ยงครอบครััวได้้ ปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมในทางที่่�ดีีขึ้้�น โดยได้้รัับการแก้้ไขอย่่างครบวงจร เพื่่�อคืืนเด็็กและ เยาวชนที่่�มีีคุุณภาพสู่่สัังคมและลดอััตราการกระทำ ความผิิดซ้้ำของเด็็กและเยาวชน
102 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม (2) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลางร่่วมกัับกรมพิินิิจและ คุ้้มครองเด็็กและเยาวชน กรมคุุมประพฤติิ และสถาบััน นิิติิวิิทยาศาสตร์์ ลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ (MOU) ว่่าด้้วยการตรวจพิิสููจน์์ทางวิิทยาศาสตร์์เพื่่�อ แก้้ไขบำบััดฟื้้�นฟููเด็็กและเยาวชน เพื่่�อนำวิิธีีการทาง วิิทยาศาสตร์์มาปรัับใช้กั้ับงานแก้้ไข บำบัดั ฟื้นฟู้� ูเด็็กและ เยาวชนในการติิดตามแก้้ไขและกำกัับพฤติิกรรม เพื่่�อให้้ เด็็กและเยาวชนปฏิิบััติิตนอยู่่ในกรอบ ไม่่ยุ่่งเกี่่�ยวกัับ ยาเสพติิดและปรัับเปลี่่�ยนพฤติินิิสััยให้้สามารถอยู่่ร่่วม กัับผู้้อื่่�นในสัังคมได้้อย่่างปกติิสุุขไม่่หวนกลัับไปกระทำ ความผิิดซ้้ำ (3) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีีร่่วมกัับ ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดพะเยา กรมคุ้้มครอง สิิทธิิและเสรีีภาพ กระทรวงยุุติิธรรม มหาวิิทยาลััย พะเยา สำนัักงานยุุติิธรรมจัังหวัดสุัุราษฎร์์ธานีี สำนัักงาน ยุุติิธรรมจัังหวััดพะเยา และศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท ภาคประชาชน (มหาวิิทยาลัยัพะเยา) ลงนามบันทึั ึกข้้อตกลง ความร่่วมมืือ (MOU) ว่่าด้้วยความร่่วมมืือในการไกล่่เกลี่่ย� ข้้อพิิพาท เพื่่�อร่่วมกันส่ั ่งเสริิมให้มีี้การนำระบบไกล่่เกลี่่ย� มาใช้้ เพื่่�อให้้สามารถอำนวยความยุุติิธรรมให้้แก่่ ประชาชนได้้อย่่างสะดวก รวดเร็็วและไม่่เสีียค่่าใช้้จ่่าย ร่่วมมืือกัันในการเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์กระบวนการ ไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้องตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณา ความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี และการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท ภาคประชาชนตาม พ.ร.บ.การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท พ.ศ. 2562 ให้ป้ระชาชนได้้รัับทราบ และเพื่่�อการประสาน แลกเปลี่่�ยนข้้อมููลของแต่่ละหน่่วยงานเพื่่�อสนัับสนุุน การดำเนิินงานและพััฒนาระบบการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท อย่่างมีีระบบและมีีมาตรฐานร่่วมกััน (4) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดพััทลุุงร่่วมกัับ ภาคเอกชน ได้้แก่่ ห้้างหุ้้นส่่วนจำกััด เอเอสเอ 1994 และห้้างหุ้้นส่่วนจำกััด เอ ไอ บีี พรอพเพอร์์ตี้้� 2009 ลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ (MOU) ว่่าด้้วย การแก้้ไข บำบััด ฟื้้�นฟูู เด็็กและเยาวชนที่่�กระทำความ ผิิดอาญา เพื่่�อเป็็นเครืือข่่ายในการดููแล อบรม ฝึึกฝน เด็็กและเยาวชนที่่�ถููกกล่่าวหาว่่ากระทำความผิิดหรืือ อยู่่ระหว่่างการพิิจารณาคดีีหรืือภายหลัังมีีคำพิิพากษา โดยมีีวัตถุั ปุระสงค์์ เพื่่�อร่่วมกันัแก้้ไข บำบัดั ฟื้นฟู้� ูเด็็กและ เยาวชนผู้้กระทำผิดิให้มีีวิ้ ิชาความรู้้สามารถนำไปประกอบ อาชีีพต่่อไป ทั้้�งช่่วยส่่งเสริิมและสนัับสนุุนเด็็กและ เยาวชนให้รู้้้สำนึึก ไม่่หวนกลัับมากระทำความผิดซ้้ ิ ำและ สามารถกลัับไปอยู่่ร่่วมกัับครอบครััว ชุุมชนและสัังคม ได้้อย่่างปกติิสุุข (5) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวัดน่ั ่านร่่วมกัับหน่่วยงาน ภาคีีเครืือข่่าย ประกอบด้้วย โรงพยาบาลน่่าน สำนัักงาน แรงงานจัังหวััดน่่าน สำนัักงานจััดหางานจัังหวััดน่่าน สำนัักงานพััฒนาฝีมืืีอแรงงานน่่าน สำนัักงานส่่งเสริิมการ ศึึกษานอกระบบและการศึึกษาตามอััธยาศัยจัังหวัดน่ั ่าน สำนัักงานพััฒนาสัังคมและความมั่่น�คงของมนุุษย์จั์ ังหวัดั น่่าน ศููนย์์คุ้้มครองคนไร้้ที่่�พึ่่�งจัังหวััดน่่าน บ้้านพัักเด็็ก และครอบครััวจัังหวัดน่ั ่าน วิิทยาลัยัเทคนิิคน่่าน วิิทยาลัยั สารพััดช่่างน่่าน วิิทยาลััยเทคนิิคปััว วิิทยาลััยการอาชีีพ เวีียงสา และวิิทยาลััยชุุมชนน่่าน ลงนามบัันทึึกข้้อตกลง ความร่่วมมืือ (MOU) ว่่าด้้วยการประสานความร่่วมมืือ เครืือข่่ายเด็็กและเยาวชนจัังหวััดน่่าน ตามโครงการ “ศููนย์์ปัันฮััก ฮอมใจ สานฝััน เยาวชน” เป็็นต้้น 7) การสรรหาและเพิ่่�มศัักยภาพผู้้พิิพากษาสมทบและ ที่ ่�ปรึึกษากฎหมาย (1) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลางประกาศรัับสมััครผู้้เข้้า รัับการอบรมและทดสอบความรู้้แก่่ผู้้ที่่�จะเป็็นที่่�ปรึึกษา กฎหมายในศาลที่่�มีีอำนาจพิิจารณาคดีีเยาวชนและ ครอบครััวประจำปีี พ.ศ. 2565 (ผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์) (2) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลางคัดัเลืือกบุุคคลเพื่่�อดำรง ตำแหน่่งผู้้พิิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครััว กลาง (3) ศาลเยาวชนและครอบครััวกลาง จััดอบรมภาควิิชาการ สำหรัับผู้้สมััครเข้้ารัับการคััดเลืือกเพื่่�อดำรงตำแหน่่ง ผู้้พิิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััด สิิงห์์บุุรีี มหาสารคาม นครพนม เชีียงใหม่่ พะเยา แม่่ฮ่่องสอน เป็็นต้้น
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 103 4.1 การไกล่่เกลี่ย่�ระงัับข้้อพิิพาท 4. ส่่งเสริิมและพััฒนาระบบการระงัับข้้อพิิพาททางเลืือก 1) ผลการดำเนิินงานด้้านการไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาท ในชั้้�นศาล ปีีงบประมาณประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมกำหนดให้้การไกล่่เกลี่่ย�ระงัับข้้อพิิพาทเป็น็หนึ่่�ง ในภารกิิจหลัักของศาลยุุติิธรรม เพื่่�อให้้เป็็นทางเลืือก แก่่ประชาชนผู้้มีีอรรถคดีีสามารถยุุติิข้้อพิิพาทได้้โดยเร็็ว ไม่่กระทบต่่อการดำเนิินกระบวนพิิจารณา และได้้ผลเป็็น ที่่�พึึงพอใจของคู่่ความทั้้�งสองฝ่่าย ลดปริิมาณคดีีที่่�เข้้าสู่่ กระบวนการพิิจารณาพิิพากษาคดีีของศาลยุุติิธรรม ศาลยุุติิธรรมส่่งเสริิมการระงัับข้้อพิิพาททางเลืือกในชั้้�นศาล เพื่่�อให้้ประชาชนผู้้มีีอรรถคดีีสามารถยุุติิข้้อพิิพาทได้้สะดวก รวดเร็็ว เป็นที่่ ็พึ�ึงพอใจของคู่่ความทั้้�งสองฝ่่าย ประหยัดค่ั ่าใช้จ่้่าย และยัังช่่วยลดปริิมาณคดีีที่่�เข้้าสู่่ศาล รวมถึึงส่่วนคดีีที่่�อยู่่ระหว่่างพิิจารณา ของศาลก็็จะเสร็็จสิ้้�นไป โดยมีีผู้้ไกล่่เกลี่่�ยเป็็นคนกลางช่่วยเหลืือเสนอแนะแนวทางเพื่่�อยุุติิปััญหาและนำไปสู่่การประนีีประนอม ปีีงบประมาณพ.ศ. 2565 มีีจำนวนคดีีที่่�เข้้าสู่่กระบวนการ ไกล่่เกลี่่ย�ในชั้้น�ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศทุุกชั้้น�ศาลรวมจำนวน 303,740 คดีี ไกล่่เกลี่่ย�สำเร็็จจำนวน 265,024 คดีี (87.25%) ทุุนทรััพย์์ในคดีีแพ่่งและคดีีผู้้บริิโภคที่่�ไกล่่เกลี่่�ยสำเร็็จ รวมจำนวน 211,692 ล้้านบาท จำหน่่ายคดีี 10,195 คดีี (3.36%) และอยู่่ระหว่่างกระบวนการไกล่่เกลี่่�ย (ณ สิ้้�นปีี งบประมาณ พ.ศ. 2565) จำนวน 6,415 คดีี (2.11%)
104 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ตารางที่่� 4.1.1 สถิิติิการไกล่่เกลี่่ย�ข้้อพิิพาทในศาลชั้้� นต้้นทั่� วประเ ่ทศ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทคดีี รููปแบบ การไกล่่เกลี่่�ย จำนวนคดีี ที่่�เข้้าสู่่การไกล่่เกลี่่�ย ผลการไกล่่เกลี่่�ยในศาลชั้้�นต้้นทั่่�วประเทศ (จำนวนคดีี) ไกล่่เกลี่่�ย สำเร็็จ ไกล่่เกลี่่�ย ไม่่สำเร็็จ จำหน่่ายคดีี อยู่่ระหว่่าง การไกล่่เกลี่่�ย คดีีแพ่่ง ก่่อนฟ้้อง 629 368 58 167 38 ออนไลน์์ 12,753 9,013 3,139 349 248 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 51,222 36,608 10,331 2,178 2,099 รวม 64,604 45,989 13,528 2,694 2,385 คดีีผู้้บริิโภค ก่่อนฟ้้อง 1,174 948 28 136 59 ออนไลน์์ 73,440 69,254 2,542 980 662 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 152,572 140,869 3,517 5,700 2,487 รวม 227,186 211,071 6,087 6,816 3,208 คดีีอาญา ก่่อนฟ้้อง 383 10 77 1 294 ออนไลน์์ 1,032 754 210 28 41 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 10,060 7,005 2,048 618 390 รวม 11,475 7,769 2,335 647 725 รวมทั้้�งสิ้้�น 303,265 264,829 21,950 10,157 6,318 ที่มา: ส่วนระบบข้อมูลและสถิติ สำ�ำนักแผนงานและงบประมาณ สำ�ำนักงานศาลยุติธรรม การไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาทในศาลชั้้�นต้้น ปััจจััยสำคััญ ประการหนึ่่�งที่่�เป็็นผลให้้ศาลชั้้�นต้้นทั่่�วประเทศสามารถ ไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาทสำเร็็จ ได้้แก่่ การส่่งเสริิมพััฒนา และประชาสััมพัันธ์์ให้้คู่่ความและประชาชนทั่่�วไป มีีความรู้้ ความเข้้าใจเกี่่ย�วกัับการไกล่่เกลี่่ย�ระงัับข้้อพิิพาท การไกล่่เกลี่่ย� ข้้อพิิพาทคดีีครอบครััว และการพััฒนาบุุคลากรที่่�มีีส่่วน เกี่่�ยวข้้องให้้มีีความรู้้ความสามารถในการปฏิิบััติิงานอย่่าง สม่่ำเสมอ ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีผลการดำเนิินงาน ด้้านการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทในศาลชั้้�นต้้น ดัังนี้ ้�
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 105 ประเภทคดีี รููปแบบ การไกล่่เกลี่่�ย จำนวนคดีี ที่่�เข้้าสู่่การไกล่่เกลี่่�ย ผลการไกล่่เกลี่่�ยในศาลฎีีกา (จำนวนคดีี) ไกล่่เกลี่่�ย สำเร็็จ ไกล่่เกลี่่�ย ไม่่สำเร็็จ จำหน่่ายคดีี อยู่่ระหว่่าง การไกล่่เกลี่่�ย คดีีแพ่่ง ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 29 14 - 10 5 คดีีอาญา ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 5 - 1 4 - รวมทั้้�งสิ้้�น 34 14 1 14 5 ที่่�มา: ส่่วนระบบข้้อมููลและสถิิติิ สำนัักแผนงานและงบประมาณ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ตารางที่่� 4.1.2 สถิิติิการไกล่่เกลี่่ย�ข้้อพิิพาทในศาลชั้้� นอุทุธรณ์์ จำำ�แนกตามประเภทคดีี ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตารางที่่� 4.1.3 สถิิติิการไกล่่เกลี่่ย�ข้้อพิิพาทในศาลฎีีกา จำำ�แนกตามประเภทคดีี ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทคดีี รููปแบบ การไกล่่เกลี่่�ย จำนวนคดีี ที่่�เข้้าสู่่การไกล่่เกลี่่�ย ผลการไกล่่เกลี่่�ยในศาลชั้้�นอุุทธรณ์์ (จำนวนคดีี) ไกล่่เกลี่่�ย สำเร็็จ ไกล่่เกลี่่�ย ไม่่สำเร็็จ จำหน่่ายคดีี อยู่่ระหว่่าง การไกล่่เกลี่่�ย คดีีแพ่่ง ออนไลน์์ 28 5 11 3 9 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 87 25 31 3 16 รวม 115 30 42 6 25 คดีีผู้้บริิโภค ออนไลน์์ 10 5 - - 5 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 15 5 4 3 3 รวม 25 10 4 3 8 คดีีอาญา ออนไลน์์ 84 47 18 5 14 ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ย 217 94 68 10 45 รวม 301 141 86 15 59 รวมทั้้�งสิ้้�น 441 181 132 24 92 ที่่�มา: ส่่วนระบบข้้อมููลและสถิิติิ สำนัักแผนงานและงบประมาณ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม การไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาทในศาลสููง ศาลยุุติิธรรมเชิิญชวนให้คู่่ ้ความเข้้าร่่วมการไกล่่เกลี่่ย�คดีีชั้้นอุ�ุทธรณ์์/ชั้้นฎีี�กาได้้ หากคู่่ความ มีีความประสงค์์จะเข้้าสู่่กระบวนการไกล่่เกลี่่�ยคดีี ให้้แจ้้งความประสงค์์ต่่อศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ยประจำศาลในกลุ่่มศาลชั้้�นอุุทธรณ์์ ศาลฎีีกา หรืือศาลชั้้�นต้้นที่่�พิิจารณาพิิพากษาคดีีนั้้�นก็็ได้้ โดยอาจดำเนิินการที่่�ศาลชั้้�นอุุทธรณ์์/ศาลฎีีกา หรืือศาลชั้้�นต้้นก็็ได้้ เพื่่�อเป็น็การอำนวยความสะดวกแก่คู่่ ่ความ และเป็นป็ ระโยชน์์ในการดำเนินิการไกล่่เกลี่่ย�คดีีชั้้นอุ�ุทธรณ์์/ชั้้นฎีี�กา ผลการดำเนินิงาน ด้้านการไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาทในศาลชั้้�นอุุทธรณ์์/ชั้้�นฎีีกา ดัังนี้ ้�
106 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 2) การดำเนิินงานสำคััญด้้านการพััฒนาระบบการไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาท ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (1) การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทก่่อนฟ้้อง ตามที่่�พระราชบััญญััติิการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท พ.ศ. 2562 ประกาศใช้้เพื่่�อนำกระบวนการ ไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาททางแพ่่งซึ่่�งมีีทุนุทรััพย์์ไม่่มากนััก และข้้อพิิพาททางอาญาบางประเภทมากำหนดเป็น็กฎหมายกลาง ให้้หน่่วยงาน ของรััฐหรืือศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ยภาคประชาชนใช้้ในการยุุติิหรืือระงัับข้้อพิิพาทดัังกล่่าว โดยคำนึึงถึึงความยิินยอมของคู่่กรณีีเป็็นสำคััญ การประกาศใช้้ระเบีียบ/ข้้อกำหนด/ประกาศ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง กัับการไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้อง เพื่่�อให้้หน่่วยงานในสัังกััด ศาลยุุติิธรรมใช้้เป็็นมาตรฐานเดีียวกััน ประกอบด้้วย • ระเบีียบสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ว่่าด้้วยการไกล่่เกลี่่�ย ข้้อพิิพาทตามพระราชบััญญััติิการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท พ.ศ. 2562 • ข้้อกำหนดของประธานศาลฎีีกา ว่่าด้้วยการไกล่่เกลี่่�ย ก่่อนฟ้้อง พ.ศ. 2563 • ประกาศสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เรื่่�อง การไกล่่เกลี่่�ย ก่่อนฟ้้องตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี เมื่่�อประชาชนมีีข้้อพิิพาททางแพ่่ง (หนี้บั ้� ตัรเครดิติ/ข้้อพิิพาท ทรััพย์์มรดก/ที่่�ดิิน/หนี้้�เกษตรกร/หนี้้� ก.ย.ศ./อื่่�น ๆ) สามารถ ดำเนิินการเข้้าสู่่กระบวนการไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้องได้้ตาม ขั้้�นตอนดัังนี้ ้� 1) ยื่่�นคำร้้องต่่อศาลได้้ทั่่�วประเทศ ทั้้�งแบบปกติิและแบบ ออนไลน์์ (ระบบ CIOS) 2) นำกระบวนการทางเทคโนโลยีีมาใช้้เพื่่�อลดระยะเวลา เช่น่ LINE ZOOM ONLINE CONFERENCE 3) ไม่่เสีียค่่าใช้้จ่่าย (ไม่่ได้้กำหนดทุุนทรััพย์์) 4) ไม่่มีีประวััติิว่่าเคยถููกฟ้้องคดีี 5) หากคู่่กรณีีสามารถตกลงกัันได้้ ศาลอาจมีีคำพิิพากษา ตามยอมได้้ทัันทีี
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 107 การไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้องตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณา ความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีีมีีผลใช้้บัังคัับในศาลยุุติิธรรม ทั่่�วประเทศ ตั้้�งแต่่วัันที่่� 8 พฤศจิิกายน 2563 สำหรัับข้้อมููล เพิ่่�มเติิมเกี่่�ยวกัับการไกล่่เกลี่่�ยตามประมวลกฎหมายวิิธีี พิิจารณาความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี สามารถติิดตามได้้ตาม ช่่องทางต่่อไปนี้้� - เว็็บไซต์์สำหรัับการไกล่่เกลี่่ย�ของศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศ https://mediation.coj.go.th - เว็็บไซต์์สำนัักส่่งเสริิมงานตุุลาการ https://oja.coj.go.th/ - Open Chat LINE “การไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้อง” และ “Online Mediation” - Facebook เพจไกล่่เกลี่่�ย สำนัักงานศาลยุุติิธรรม COJ - Mediation และเพจสื่่�อศาล - Youtube: PR COJ - Twitter: @PR_COJ - “คลิินิิกไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้อง 20 ตรีี” หรืือ”ศููนย์์ให้้ คำปรึึกษาการไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาทก่่อนฟ้้องตามประมวล กฎหมายวิิธีีพิิจารณาความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี” (ศาลแพ่่ง) ผ่่านทาง Line Official Account ซึ่่�งใช้้ชื่่�อ บััญชีีทางการว่่า “คลิินิิกก่่อนฟ้้อง 20 ตรีี” เป็็นช่่องทาง ในการสื่่�อสารและให้้บริิการคู่่กรณีีที่่มีีข้�้อพิิพาทก่่อนฟ้้อง ในเขตอำนาจของศาลแพ่่งและประชาชนทั่่�วไป (2) การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทออนไลน์ สำนัักงา ์นศาลยุุติิธรรม ส่่งเสริิมและสนัับสนุุนให้้นำระบบการไกล่่เกลี่่�ยข้้อ พิิพาทออนไลน์์มาใช้้เป็็นอีีกทางเลืือกหนึ่่�งในการยุุติิ ข้้อพิิพาทระหว่่างคู่่พิิพาทหรืือคู่่ความ เพื่่�อเพิ่่�มทางเลืือก ในการยุุติิข้้อพิิพาทให้้เป็็นไปโดยสะดวก รวดเร็็ว และ เป็็นธรรม โดยไม่่จำเป็็นต้้องเดิินทางไปศาล ประชาชน และผู้้มีีอรรถคดีีสามารถเลืือกช่่องทางที่่�สะดวกที่่�สุุด ในการยื่่�นคำร้้องขอไกล่่เกลี่่�ยได้้ ไม่่ว่่าจะยื่่�นที่่�ศููนย์์ ไกล่่เกลี่่ยป�ระจำศาลหรืือผ่่านระบบออนไลน์์ทางเว็็บไซต์์ https://mediation.coj.go.th และสามารถเลืือกวิิธีี การไกล่่เกลี่่ย�เจรจาทางออนไลน์์หรืือไปเจรจาไกล่่เกลี่่ย� ที่่�ศาลก็็ได้้ โดยสามารถดำเนิินการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท ผ่่านระบบประชุุมทางจอภาพ (Video Conference/ Web Conference), แอปพลิิเคชั่่น� Line, Video Call/ Face Time หรืือ Chat Room สามารถค้้นหาข้้อมููล เพิ่่�มเติิมได้้ที่่�เว็็บไซต์์ https://oja.coj.go.th/ วิธีีิการยื่่น�คำร้้องขอไกล่่เกลี่่ย�ก่่อนฟ้้อง/หลัังฟ้้องทางออนไลน์์ 1) เข้้าเว็็บไซต์์ https://mediation.coj.go.th 2) เลืือกเมนููการยื่่�นคำร้้อง ก่่อนฟ้้อง หรืือ หลัังฟ้้อง 3) กรอกแบบฟอร์์มการยื่่�นคำร้้อง 4) บัันทึึกข้้อมููล รอการติิดต่่อกลัับจากเจ้้าหน้้าที่่� (3) ส่่งเสริิมการใช้้กลไกการระงัับข้้อพิิพาททางเลืือก เพื่่�อคุ้้มครองผู้้บริิโภค ปััจจุุบัันการซื้้�อขายสิินค้้าหรืือ บริิการบนเครืือข่่ายอิินเทอร์์เน็็ตที่่�แพร่่หลายและ ขยายตััวอย่่างรวดเร็็ว เกิิดข้้อพิิพาทจากการดำเนิิน ธุุรกรรมดัังกล่่าวจำนวนมาก ผู้้บริิโภคจำนวนมาก ถููกเอารััดเอาเปรีียบจากผู้้ประกอบธุุรกิิจที่่�ไม่่สุุจริิต ไม่่ได้้รัับการเยีียวยาความเสีียหายที่่�เกิิดขึ้้�น และ ช่่องทางการระงัับข้้อพิิพาทที่่�เกิิดขึ้้�นไม่่เอื้้�ออำนวย ความสะดวกต่่อผู้้บริิโภคซึ่่�งเป็็นผู้้เสีียหาย ศาลยุุติิธรรม โดยคณะอนุุกรรมการส่่งเสริิมการใช้้กลไก การระงัับข้้อพิิพาททางเลืือกผู้้คุ้้มครองผู้้บริิโภค ดำเนินิการ ผลัักดันร่ั ่วมกัับศาลแพ่่งจัดตั้้�งแผนกซื้้�อขายออนไลน์ขึ้้์น� พร้้อมทั้้�งได้้สร้้างช่่องทางการไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาท ผ่่าน “ศููนย์์ไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาททางธุุรกิิจและการเงิิน สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (TBMC)” คู่่ความสามารถพบ และเจรจากัันพร้้อมทั้้�งผู้้ประนีีประนอมและผู้้พิิพากษา ทางออนไลน์์โดยไม่่ต้้องเดิินทางมาศาล ซึ่่�งหากคู่่ความ สามารถตกลงกันัได้้ และจัดัทำแบบสััญญาประนีีประนอม ยอมความ ศาลสามารถมีีคำพิิพากษาตามยอมได้้ ทัันทีี และนอกจากนี้้�ในกรณีีที่่�ตกลงกัันแล้้วโจทก์์มีี ความประสงค์์ขอถอนฟ้้อง ก็็สามารถดำเนิินการได้้ตาม แบบฟอร์์มคำร้้องขอถอนฟ้้องและคำสั่่�งศาลจำหน่่ายคดีี ซึ่่�งเป็น็การอำนวยความสะดวกรวดเร็็วแก่คู่่ ่ความ แต่่หาก การไกล่่เกลี่่ยนั้้�น�ไม่่สามารถยุุติิข้้อพิิพาทได้้ คดีีจะกลัับไป สู่่การดำเนิินกระบวนพิิจารณาตามปกติิต่่อไป
108 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ผลการดำเนิินงานแผนกซื้้�อขายออนไลน์์ในศาลแพ่่ง มีีคำร้้องที่่�เข้้าสู่่ศาล จำนวน 5,618 เรื่่�อง จำหน่่ายคดีี 1,185 เรื่่�อง คู่่ความสามารถตกลงกันัได้้โดยโจทก์ถ์อนฟ้้อง 438 เรื่่�อง และไกล่่เกลี่่�ยสำเร็็จรวมถึึงทำสััญญา ประนีีประนอมยอมความและศาลได้้มีีคำพิิพากษาตาม ยอมแล้้วจำนวน 77 เรื่่�อง (ข้้อมููลตั้้�งแต่วั่ นที่่ ั � 27 มกราคม 2565 ถึึงวัันที่่� 15 กัันยายน 2565) (4) การประสานความร่่วมมืือและลงนามความร่่วมมืือ เพื่่�อส่่งเสริิมการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท สำนัักงานศาลยุุติิธรรม และธนาคารแห่่งประเทศไทย ร่่วมหารืือแนวทางการ ดำเนิินการขัับเคลื่่�อนตามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ ทางวิิชาการและส่่งเสริิมการไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาทระหว่่าง สำนัักงานศาลยุุติิธรรม กัับ ธนาคารแห่่งประเทศไทย โดย มีีจุุดมุ่่งหมายร่่วมกัันที่่�จะส่่งเสริิมให้้เกิิดความร่่วมมืือ ในทางวิิชาการและการไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาทภายใต้้กรอบ ภารกิิจของทั้้�งสองหน่่วยงาน (5) การพััฒนาบุุคคลด้้านการไกล่่เกลี่่�ยระงัับข้้อพิิพาท • อบรมผู้้ประนีีประนอมที่่�ยัังไม่่ขึ้้�นทะเบีียนกัับ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม หลัักสููตร “ความรู้้เบื้้�องต้้น และเทคนิิคการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท” ผ่่านสื่่�อ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ ผู้้เข้้ารัับการอบรมจำนวน 158 คน โดยมีีหััวข้้ออภิิปรายและบรรยาย ได้้แก่่ “บทบาท ของผู้้ประนีีประนอมกัับการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท ในศาลและกฎหมายเบื้้�องต้้น” “หลัักการไกล่่เกลี่่�ย ข้้อพิิพาทแบบเน้้นความต้้องการที่่�แท้้จริิง ตอนที่่� 1 และ ตอนที่่� 2” “เทคนิิคการใช้้หลัักเกณฑ์์อ้้างอิิง ความสััมพันธ์ั ์ การสื่่�อสาร และข้้อผููกมัดัในการไกล่่เกลี่่ย� ” “จริิยธรรมและการปฏิิบััติิตนของผู้้ประนีีประนอม” “เทคนิิคการไกล่่เกลี่่�ยคดีีอาญา” “ประสบการณ์์ใน การไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาท” และ “จิตวิิทยาการไกล่่เกลี่่ย� ” • พััฒนาบุุคลากรผู้้ประนีีประนอมที่่�ขึ้้�นทะเบีียนกัับ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม หลัักสููตร “การไกล่่เกลี่่�ย ข้้อพิิพาทคดีีแพ่่ง” ผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ จำนวน ผู้้เข้้ารัับการอบรม 1,800 คน • พััฒนาบุุคลากรผู้้ประนีีประนอมที่่�ขึ้้�นทะเบีียนกัับ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม หลัักสููตร “การไกล่่เกลี่่�ย ข้้อพิิพาทคดีีอาญา” ผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ จำนวน ผู้้เข้้ารัับการอบรม 1,733 คน • พััฒนาบุุคลากรด้้านการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท โดยการ อบรมเพื่่�อพััฒนางานไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาทแก่่เจ้้าหน้้าที่่� ในหััวข้้อ “การจัดัการข้้อพิิพาทและการคุ้้มครองข้้อมููล ส่่วนบุุคคลในโลกออนไลน์์” และ “การแลกเปลี่่�ยน เรีียนรู้้ประสบการณ์์ไกล่่เกลี่่�ย”
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 109 ปีีงบประมาณ ข้้อพิิพาทที่่�เข้้าสู่่ กระบวนการ ผลการดำเนิินการ เสร็็จไปร้้อยละ อยู่ระห่ว่่างดำเนิินการ เสร็็จไป ทุุนทรััพย์์เสร็็จไป พ.ศ. 2561 403 168 97,229,663,305.56 41.68 235 พ.ศ. 2562 345 160 70,729,331,201.02 46.38 185 พ.ศ. 2563 273 189 41,636,398,993.78 69.23 84 พ.ศ. 2564 169 91 29,968,729,691.12 53.85 78 พ.ศ. 2565 163 82 1,235,796,572.54 50.30 81 ที่่�มา: สำนัักอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ตารางที่ 4.2.1 ่� สถิิติิคดีีที่่�เข้้าสู่่�สถาบัันอนุุญาโตตุลาุการ สำำ�นัักงานศาลยุุติิธรรม (TAI) ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2565 4.2 การอนุุญาโตตุุลาการศาลยุุติิธรรม ที่่�อาศััยองค์์กรที่่�มีีหน้้าที่่�ในการบริิหารจััดการและอำนวย ความสะดวกแก่่คู่่พิิพาทและผู้้ใช้้บริิการซึ่่�งมีีบทบาทอย่่างยิ่่�ง ในเวทีีโลก สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (TAI) ทำหน้้าที่่�เป็็นองค์์กรกลางในการระงัับข้้อพิิพาทโดยการ อนุุญาโตตุุลาการในประเทศไทยมาตั้้�งแต่่ ปีี พ.ศ. 2533 ได้้ มุ่่งเน้้นประสิิทธิิภาพในการบริิหารจััดการคดีี การพััฒนา กฎหมายและระบบงานอนุุญาโตตุุลาการ รวมถึึงการอำนวย ความสะดวกแก่่คู่่พิิพาท เพื่่�อรัักษามาตรฐานให้้ต่่อเนื่่�อง และยั่่�งยืืน รวมทั้้�งดำเนิินการพััฒนาการอนุุญาโตตุุลาการใน ประเทศไทยให้้ทัันสมััย สอดคล้้องกัับโนบายและสภาพของ เศรษฐกิิจในยุุคปััจจุุบััน 1) พััฒนาการบริิหารจััดการงานอนุุญาโตตุุลาการ (1) ระบบ e-Arbitration เปิดิให้้บริิการอย่่างเป็น็ทางการแล้้ว เมื่่�อวัันที่่� 18 กรกฎาคม 2562 เป็็นต้้นมา เพื่่�ออำนวย ความสะดวกให้้แก่่คู่่พิิพาท และผู้้ใช้้บริิการของสถาบััน อนุุญาโตตุุลาการ โดยสามารถบริิหารจััดการปฏิิทิิน อิิเล็็กทรอนิิกส์์ เพื่่�อสนัับสนุุนให้้ผู้้ใช้้บริิการบริิหาร จัดัการตารางเวลา วันั นััดประชุุม/สืืบพยาน และติิดตาม สถานะของข้้อพิิพาทได้้สะดวกยิ่่�งขึ้้�น สถิิติิการใช้้งาน ระบบ e-Arbitration ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีจำนวน 154 เรื่่�อง จำแนกเป็็น คดีีที่่�ดำเนิินการ ต่่อเนื่่�องจากปีีงบประมาณก่่อน 69 เรื่่�อง รัับใหม่่ 85 เรื่่�อง (2) ประกาศสถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ เรื่่�อง การส่่งเอกสาร และการประกาศนััดพิิจารณา โดยวิิธีีลงโฆษณาทางสื่่�อ เทคโนโลยีีสารสนเทศ (e-Notice System) สำหรัับกรณีี ที่่�ไม่ป่รากฏชื่่�อ ที่่�อยู่่ของคู่่พิิพาท แม้้ได้้สืืบหาตามสมควร แล้้ว ให้้ใช้วิ้ธีีิการส่่งคำเสนอข้้อพิิพาท คำคัดค้ั ้าน คำร้้อง การระงัับข้้อพิิพาทโดยวิิธีีอนุุญาโตตุุลาการเป็็นวิิธีีการระงัับ ข้้อพิิพาททางเลืือก แก่่คู่่พิิพาทที่่�จะสามารถระงัับข้้อพิิพาท ในศาลและนอกศาลได้้อย่่างรวดเร็็ว ประหยัดค่ั ่าใช้จ่้่าย ทั้้�งยััง สามารถรัักษาชื่่�อเสีียงของคู่่พิิพาท รัักษาความสััมพัันธ์์ ระหว่่างคู่่พิิพาทและความลัับทางธุุรกิิจ ที่่�เป็็นที่่�ยอมรัับและ และมีีแนวโน้้มจะเป็นที่่ ็นิ�ยิมมากขึ้้น�ในวงการธุุรกิิจการค้้า ทั้้�ง ภายในประเทศและระหว่่างประเทศ ด้้วยกระบวนพิิจารณา ที่่�รวดเร็็วและมีีประสิิทธิิภาพ รวมถึึงอนุุญาโตตุุลาการที่่�มีี ความรู้้ความเชี่่ย�วชาญและประสบการณ์์เฉพาะด้้านเหมาะสม กัับลัักษณะของข้้อพิิพาท ทำให้้การอนุุญาโตตุุลาการถููกนำไป ใช้้เป็น็กลไกในการระงัับข้้อพิิพาทในระดัับสากล ไม่ว่่ ่าจะเป็น็ ภาครััฐหรืือเอกชน โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งการอนุุญาโตตุุลาการ
110 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม หนัังสืือแจ้้งความ เอกสารหรืือข้้อมููลอื่่�นใด ในข้้อพิิพาท ที่่�อยู่่ในการจััดการของสถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม โดยวิิธีีการลงโฆษณาทางสื่่�อ เทคโนโลยีีสารสนเทศ https://enotice.coj.go.th ทั้้�งนี้้� สถาบันัฯ อาจสั่่�งให้้ใช้วิ้ธีีิการลงโฆษณาทางสื่่�อเทคโนโลยีี สารสนเทศได้้ตามที่่�สถาบัันฯ เห็็นสมควร (3) ประกาศสถาบันัอนุุญาโตตุุลาการ เรื่่�อง การรัับรองหน่่วย งานหรืือสถานศึึกษาที่่ด�ำเนินิการอบรมอนุุญาโตตุุลาการ สำหรัับผู้้ยื่่�นคำขอขึ้้�นทะเบีียนอนุุญาโตตุุลาการของ สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (4) ข้้อกำหนดสถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ ว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์ การใช้้ระบบการอนุุญาโตตุุลาการทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ พ.ศ. 2565 ประกาศเมื่่�อวัันที่่� 23 มีีนาคม 2565 มีีประเด็น็สำคััญ ได้้แก่่ การนิยิามคำจำกัดัความที่่�เกี่่ย�วข้้อง การลงทะเบีียนเข้้าใช้้ระบบ การยื่่�น ส่่งและรัับคำเสนอ ข้้อพิิพาทหรืือเอกสาร การดำเนินิการทางอนุุญาโตตุุลาการ โดยการประชุุมผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์การบัันทึึก คำเบิิกความโดยวิิธีีการทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ คำชี้้�ขาดการ ชำระเงินิ การดำเนินิการของสถาบันัคณะอนุุญาโตตุุลาการ และเจ้้าหน้้าที่่� การระงัับใช้้ระบบ รวมถึึงกำหนดระบบ ที่่�ใช้้ในการประชุุมผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ (5) ประกาศสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เรื่่�อง อััตราค่่าใช้้จ่่าย สำหรัับการดำเนินิการข้้อพิิพาทของสถาบันัอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (ฉบัับที่่� 3) พ.ศ. 2565 2) การประสานความร่่วมมืือและลงนามความร่่วมมืือ เพื่่�อส่่งเสริิมการอนุุญาโตตุุลาการ (1) สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (TAI) ร่่วมลงนามในบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือทางวิิชาการ และส่่งเสริิมการอนุุญาโตตุุลาการ กัับ สมาคมสถาปนิิก สยาม ในพระบรมราชููปถััมภ์์ เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้าน การอนุุญาโตตุุลาการและการระงัับข้้อพิิพาททางเลืือก ด้้านอื่่�น ๆ ที่่�มีีความเกี่่�ยวข้้องกัับการก่่อสร้้างและ สถาปัตยั กรรม รวมถึึงแนวปฏิบัิัติิในการประกอบวิิชาชีีพ สถาปนิิกที่่�เกี่่ย�วข้้อง ทำให้้สามารถเลืือกใช้้กระบวนการ ระงัับข้้อพิิพาทที่่�เหมาะสมกัับข้้อพิิพาทที่่�เกิิดขึ้้�นได้้ (2) สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (TAI) เข้้าร่่วมพิิธีีลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ ด้้านวิิชาการและส่่งเสริิมการอนุุญาโตตุุลาการ กัับ สมาคมผู้้ประกอบการพาณิิชย์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ไทย และ สมาคมการค้้าดิิจิิทััลไทย เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านการ อนุุญาโตตุุลาการและการระงัับข้้อพิิพาททางเลืือก ด้้านอื่่�น ๆ ที่่�มีีความเกี่่�ยวข้้องกัับผู้้ประกอบการธุุรกิิจ การค้้าและการพาณิิชย์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ของไทย ทำให้้ สามารถเลืือกใช้้กระบวนการระงัับข้้อพิิพาทที่่�เหมาะสม กัับข้้อพิิพาทที่่�เกิิดขึ้้�นได้้ (3) สถาบันัอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม (TAI) กัับ สถาบัันบััณฑิิตพััฒนบริิหารศาสตร์์ โดยคณะนิิติิศาสตร์์ เข้้าร่่วมพิิธีีลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือด้้าน วิิชาการและส่่งเสริิมการอนุุญาโตตุุลาการ โดยมีี วััตถุุประสงค์์เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมายเกี่่�ยวกัับ อนุุญาโตตุุลาการ และส่่งเสริิมความร่่วมมืือทางวิิชาการ ตลอดจนค้้นคว้้าวิิจััย แลกเปลี่่�ยนความคิิดเห็็น ในการปรัับปรุุงและพััฒนากฎหมายเกี่่�ยวกัับการ อนุุญาโตตุุลาการ ให้้เหมาะสมตามความเปลี่่�ยนแปลง ของสภาพสัังคมและเศรษฐกิิจทั้้�งในและต่่างประเทศ 3) การประชาสััมพัันธ์์และเผยแพร่่ความรู้้เกี่่�ยวกัับ การอนุุญาโตตุุลาการ สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม เผยแพร่่ ความรู้้เกี่่�ยวกัับการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทด้้วยวิิธีีการ อนุุญาโตตุุลาการ ให้้แก่่ ภาครััฐและภาคเอกชน สถาบััน การศึึกษา บุุคคลทั่่�วไป ดัังนี้ ้� (1) จัดัทำสื่่�อและเผยแพร่่ความรู้้เกี่่ย�วกัับการอนุุญาโตตุุลาการ ได้้แก่่ ประชาสััมพัันธ์์ความรู้้เกี่่�ยวกัับอนุุญาโตตุุลาการ และเผยแพร่่ทะเบีียนอนุุญาโตตุุลาการ โดยเผยแพร่่ทาง เว็็บไซต์์และสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 111 (2) จััดทำสื่่�อเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์การอนุุญาโตตุุลาการ ได้้แก่่ การเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์จดหมายข่่าว อนุุญาโตตุุลาการ (2 ครั้้�ง) รายงานประจำปีี และจััดทำ ภาพสื่่�อ (Infotgraphic) เนื้้�อหาที่่�เกี่่�ยวข้้องด้้าน อนุุญาโตตุุลาการ (104 เรื่่�อง) โดยเผยแพร่่ทางเว็็บไซต์์ และสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ 4) การพััฒนาบุุคลากรด้้านการอนุุญาโตตุุลาการ (1) สถาบันัอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม จัดัอบรม /สััมมนาเชิิงปฏิิบััติิการเพื่่�อเพิ่่�มศัักยภาพสำหรัับผู้้ที่่� จะปฏิิบััติิหน้้าที่่�อนุุญาโตตุุลาการ ประกอบด้้วยหััวข้้อ ความรู้้ที่่�สำคััญ ดัังนี้้� ครั้้�งที่่� 1 หััวข้้อ “อนุุญาโตตุุลาการที่่�ไม่่ใช่่นัักกฎหมาย: บทความ และความท้้าทาย (How to become an arbitrator without law degree)” ครั้้�งที่่� 2 หััวข้้อ “การบัังคัับตามคำชี้้�ขาด กัับปััญหาความ สงบเรีียบร้้อยหรืือศีีลธรรมอัันดีีของประชาชนใน กระบวนการอนุุญาโตตุุลาการ” ครั้้�งที่่� 3 หััวข้้อ “Walk Forward to Metaverse” ครั้้�งที่่� 4 หััวข้้อ “ช่่องทางระงัับข้้อพิิพาทจากการซื้้�อขาย ออนไลน์์ของผู้้บริิโภค” ครั้้�งที่่� 5 หััวข้้อ “All New Notice and Takedown และ บทบััญญััติิอื่่�นใน พ.ร.บ.ลิิขสิิทธิ์์� (ฉบัับที่่� 5) พ.ศ. 2565” ครั้้�งที่่� 6 หััวข้้อ “CISG กัับ สััญญาซื้้�อขายสิินค้้าระหว่่าง ประเทศ: โอกาสของผู้้ประกอบการไทยในอนาคต” ครั้้�งที่่� 7 หััวข้้อ “การอนุุญาโตตุุลาการระหว่่างประเทศ” ครั้้�งที่่� 8 หััวข้้อ “Reporting from Thailand: the RCEP and the Global Investment Arbitration Trends” (2) อบรม/สััมมนาสำหรัับผู้้ที่่�จะปฏิบัิัติิหน้้าที่่�อนุุญาโตตุุลาการ ดัังนี้ ้� ครั้้�งที่่� 1 โครงการอบรมปฐมนิิเทศสำหรัับผู้้ที่่�จะปฏิบัิัติิหน้้าที่่� อนุุญาโตตุุลาการ หลัักสููตร “ความรู้้เกี่่�ยวกัับการ อนุุญาโตตุุลาการเบื้้�องต้้น” ครั้้�งที่่� 2 โครงการสััมมนาสำหรัับผู้้ที่่�จะปฏิิบััติิหน้้าที่่� อนุุญาโตตุุลาการ เรื่่�อง “แนวทางในการกำหนด กระบวนการพิิจารณาชั้้�นอนุุญาโตตุุลาการอย่่างมีี ประสิิทธิิภาพและได้้มาตรฐานสากล” ครั้้�งที่่� 3 อบรมเชิิงปฏิิบััติิการสำหรัับผู้้ปฏิิบััติิหน้้าที่่� อนุุญาโตตุุลาการ เรื่่�อง The Practical aspects of acting as an arbitrator (3) สััมมนาเพื่่�อการพััฒนางานอนุุญาโตตุุลาการผ่่านสื่่�อ อิิเล็็กทรอนิิกส์์หััวข้้อ มาตรการคััดกรองโควิิด – 19 กัับ หน้้าที่่�ของผู้้ประกอบการตามพระราชบััญญััติิคุ้้มครอง ข้้อมููลส่่วนบุุคคล พ.ศ. 2562 (4) สััมมนาเพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้เกี่่ย�วกัับการอนุุญาโตตุุลาการ เรื่่�อง “การพิิจารณาชั้้�นอนุุญาโตตุุลาการผ่่านสื่่�อ อิิเล็็กทรอนิิกส์์: Choosing between in-person, remote or hybrid” (5) อบรมความรู้้เกี่่�ยวกัับกระบวนการพิิจารณาชั้้�น อนุุญาโตตุุลาการ วิิธีีปฏิิบััติิ และกระบวนการในชั้้�นศาล ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการอนุุญาโตตุุลาการ หลัักสููตร “TAI Smart Internship 2022”
112 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม การคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 • ออกหมายจัับ-หมายค้้น 73,539 คำร้้อง • ปล่่อยตััวชั่่�วคราว 222,575 คำร้้อง • แต่่งตั้้�งทนายความให้้แก่่จำเลยในคดีีอาญา 27,466 คดีี • แต่่งตั้้�งที่่�ปรึึกษากฎหมายให้้แก่่จำเลยในคดีีอาญา ชั้้�นตรวจสอบการจัับ 5,351 คดีี • แต่่งตั้้�งที่่�ปรึึกษากฎหมายให้้แก่่จำเลยในคดีีอาญา ชั้้�นพิิจารณาคดีี 3,961 คดีี • แต่่งตั้้�งนัักจิิตวิิทยา นัักสัังคมสงเคราะห์์ และผู้้เชี่่�ยวชาญอื่่�น (สหวิิชาชีีพ) 405 คดีี • แต่่งตั้้�งล่่ามในกลุ่่มศาลชั้้�นต้้น 3,626 คดีี • สืืบพยานในคดีีอาญา 131,665 ปาก • สืืบพยานเด็็ก 2,880 ปาก ที่่�มา: ส่่วนระบบข้้อมููลและสถิิติิ สำนัักแผนงานและงบประมาณ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม การดำเนิินงานสำคััญด้้านการคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพของผู้้เสีียหาย คู่่ความและประชาชนในกระบวนการของศาลยุุติิธรรม ได้้แก่่ การออกหมายจัับ หมายค้้น การปล่่อยตััวชั่่�วคราว การแต่่งตั้้�งทนายความและที่่�ปรึึกษากฎหมายให้้แก่่จำเลยในคดีีอาญา การแต่่งตั้้�งนัักจิิตวิิทยาและนัักสัังคมสงเคราะห์์ในกรณีีที่่�มีีเด็็กและเยาวชนเกี่่�ยวข้้องในคดีี การแต่่งตั้้�งล่่ามภาษาต่่าง ๆ เป็็นต้้น ตลอดจนการดำเนิินงานด้้านการพััฒนาเพื่่�อให้้ผู้้เสีียหาย คู่่ความและประชาชน ได้้รัับการคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพอย่่างทั่่�วถึึงและ สะดวกรวดเร็็วมากยิ่่�งขึ้้�น ดัังนี้ ้� เชื่่�อถืือในระดัับสากล (Reliability) 1. เสริิมสร้้างมาตรฐานการคุ้้มครองสิิทธิิของประชาชน การคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพและลดความเหลื่่�อมล้ำ ำ ของประชาชน ให้้ได้้รัับความเป็็นธรรมอย่่างทั่� ่วถึึงและเสมอภาค
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 113 1.1 ยกระดัับกระบวนการปล่่อยชั่่� วคราวลดการคุุมขัังที่่�ไม่่จำำเป็็น 1) การขัับเคลื่่�อนนโยบายประธานศาลฎีีกาปรัับปรุุงกระบวนการในชั้้�นฝากขัังและการปล่่อยชั่่�วคราว เพื่่�อลดการคุุมขััง ที่่�ไม่่จำเป็็น การขัับเคลื่่�อนนโยบายประธานศาลฎีีกา โดยคณะอนุุกรรมการดุุลยภาพแห่่งสิิทธิิลดการคุุมขัังที่่�ไม่่จำเป็็นทุุกขั้้�นตอน ดำเนิินการ แก้้ไขปรัับปรุุงอนุบัุ ัญญััติิรวม 9 ฉบัับ เช่น่ (1) แก้้ไขข้้อบัังคัับประธานศาลฎีีกาว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์และวิธีีิการเกี่่ย�วกัับการออกคำสั่่�ง หรืือหมายอาญา ฉบัับที่่� 5 พ.ศ. 2565 (2) ข้้อบัังคัับของประธานศาลฎีีกาว่่าด้้วยการปล่่อยชั่่�วคราวและวิิธีีการเรีียกหลัักประกััน ในคดีีอาญา พ.ศ. 2565 (3) คำแนะนำของประธานศาลฎีีกาเกี่่�ยวกัับแนวทางการปฏิิบััติิต่่อผู้้เสีียหายในคดีีค้้ามนุุษย์์ พ.ศ. 2565 (4) คำแนะนำของประธานศาลฎีีกาว่่าด้้วยแนวทางการกำหนดโทษคดีียาเสพติิด พ.ศ. 2565 เป็็นต้้น 2) ส่่งเสริิมการใช้้งานอุปุกรณ์อิ์ ิเล็็กทรอนิิกส์ส์ำหรัับตรวจสอบ หรืือจำกััดการเดิินทางของบุุคคลในการปล่่อยชั่่�วคราว (EM) พระราชบััญญััติิแก้้ไขเพิ่่�มเติิมประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณา ความอาญา (ฉบัับที่่�30) พ.ศ. 2558 กำหนดให้้มีีการใช้้ อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์หรืืออุุปกรณ์์อื่่�นใดที่่�สามารถใช้้ ตรวจสอบหรืือจำกััดการเดิินทางของผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราวได้้ เพื่่�อช่่วยเหลืือให้้ประชาชนเข้้าถึึงสิิทธิิในการปล่่อยชั่่�วคราว มากขึ้้�น โดยเฉพาะกลุ่่มผู้้ที่่�ขาดกำลัังทางเศรษฐกิิจ ช่่วยลด การละเมิิดคำสั่่�งศาลและการกระทำผิิดซ้้ำของผู้้กระทำ ความผิิดระหว่่างการรอพิิจารณาพิิพากษาคดีี และปกป้้อง สัังคมให้้มีีความมั่่�นคงปลอดภััย ศาลยุุติิธรรมประชาสััมพัันธ์์ให้้ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยทราบว่่า หากมีีความประสงค์์จะขอปล่่อยชั่่�วคราว แต่่ไม่มีี่หลัักประกันั หรืือมีีหลัักประกัันไม่่เพีียงพอ สามารถยื่่�นคำร้้องต่่อศาล เพื่่�อแสดงความประสงค์์ขอปล่่อยชั่่�วคราวและสวมใส่่กำไล ข้้อเท้้าอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) โดยไม่่ต้้องวางหลัักประกัันหรืือ วางหลัักประกัันต่่ำกว่่าเกณฑ์์มาตรฐานหลัักประกัันได้้ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีการใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ สำหรัับตรวจสอบหรืือจำกััดการเดิินทางของบุุคคลมาใช้้ ในการปล่่อยชั่่�วคราว (EM) ในชั้้�นศาล 171 ศาล จำนวน 6,687 ครั้้�ง จำแนกเป็็นชั้้�นสอบสวน 3,125 คดีีชั้้�นพิิจารณา คดีี 2,501 คดีีชั้้�นอุุทธรณ์์ฎีีกา 1,058 คดีี และชั้้�นบัังคัับคดีี (การปล่่อยชั่่�วคราวระหว่่างผ่่อนชำระค่่าปรัับตามคำพิิพากษา) 3 คดีีทั้้�งนี้้� การใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์สำหรัับตรวจสอบ หรืือจำกััดการเดิินทางของบุุคคลมาใช้้ในการปล่่อยชั่่�วคราว (EM) สามารถจำแนกตามฐานความผิดิ 5 ลำดัับสููงสุดุปรากฏ รายละเอีียดตามตารางต่่อไปนี้้�
114 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม อัันดัับ ประเภทฐานความผิิดในการสั่่�งใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์จำนวนคดีี 1 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 2,914 2 ประมวลกฎหมายยาเสพติิด 1,758 3 ความผิิดเกี่่�ยวกัับชีีวิิตร่่างกาย 722 4 พ.ร.บ.คอมพิิวเตอร์์ฯ 346 5 พ.ร.บ.อาวุุธปืืน เครื่่�องกระสุุนปืืนฯ 299 ที่่�มา: ส่่วนควบคุุมติิดตามการปล่่อยชั่่�วคราวและการบัังคัับตามคำสั่่�งศาลโดยใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ สัังกััดศููนย์์รัักษาความปลอดภััย ตารางที่่� 1.1.1 สถิิติิการใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้สำำ�หรัับตรวจสอบหรืือจำำ�กััดการเดิินทางของบุุคคลมาใช้้ในการปล่่อยชั่่� วคราว จำำ�แนกตามฐานความผิิดสููงสุุด 5 ลำำ�ดัับ ทั้งนี้ ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยใช้อุปกรณ์ EM และศาลออกหมายจับมีจำ�ำนวน 190 ราย สามารถจับได้โดยการปฏิบัติงาน ของเจ้าพนักงานตำ�ำรวจศาล/เพิกถอนหมายจับ จำ�ำนวน 84 หมาย สำ�ำนักงานศาลยุติธรรมประเมินความพึงพอใจและความเหมาะสมของการนำ�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำ�ำหรับตรวจสอบหรือ จำ�ำกัดการเดินทางของบุคคลมาใช้ ได้ผลสรุปการประเมิน ดังนี้ • ผลการสำรวจจากกลุ่่มเจ้้าหน้้าที่ ่�ผู้้ปฏิิบััติิงานของศาล ประเมิินผลการใช้้งานอุุปกรณ์์ EM คะแนนเฉลี่่�ย ระดัับความเหมาะสม/ความพึึงพอใจ กลุ่่มเจ้้าหน้้าที่ ่�ผู้้ปฏิิบััติิงาน 1) ความเหมาะสมของการนำอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้สำหรัับตรวจสอบหรืือ จำกััดการเดิินทางของบุุคคลใช้้ในศาลยุุติิธรรมของเจ้้าหน้้าที่่�ศาลผู้้ปฏิิบััติิงาน - ด้้านการใช้้งานระบบควบคุุมการทำงานอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ด้้วยระบบ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (Software Management) 3.99 เหมาะสมมาก - ด้้านการใช้้งานอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) 3.74 เหมาะสมมาก 2) ความพึึงพอใจต่่อการนำอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้สำหรัับตรวจสอบหรืือ จำกััดการเดิินทางของบุุคคลมาใช้้ในศาลยุุติิธรรม - ด้้านการใช้้งานระบบควบคุุมการทำงานอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ด้้วยระบบ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (Software Management) 3.90 พึึงพอใจมาก - ด้้านการใช้้งานอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) 3.52 พึึงพอใจมาก
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 115 ประเมิินผลการใช้้งานอุุปกรณ์์ EM คะแนนเฉลี่่�ย ระดัับความเหมาะสม/ความพึึงพอใจ กลุ่่มประชาชนและผู้้ใช้้บริิการ 1) ความเหมาะสมของการนำอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้สำหรัับตรวจสอบหรืือ จำกััดการเดิินทางของบุุคคลใช้้ในศาลยุุติิธรรมของประชาชนและผู้้มาใช้้บริิการ - ด้้านอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) 4.26 เหมาะสมมากที่่�สุุด 2) ความพึึงพอใจต่่อการนำอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้สำหรัับตรวจสอบหรืือ จำกััดการเดิินทางของบุุคคลมาใช้้ในศาลยุุติิธรรม - ด้้านกระบวนการ/ขั้้�นตอนในการให้้บริิการ 4.48 พึึงพอใจมากที่่�สุุด - ด้้านการให้้บริิการของเจ้้าหน้้าที่่� 4.73 พึึงพอใจมากที่่�สุุด - ด้้านการใช้้งานอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) 4.22 พึึงพอใจมากที่่�สุุด • ผลการสำรวจจากกลุ่่มประชาชนและผู้้ใช้้บริิการ ความคิิดเห็็นในภาพรวมของประชาชนและผู้้ใช้้บริิการมีี ความคิดิเห็นว่็ ่า ศาลยุุติิธรรมนำอุปุกรณ์อิ์ ิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) มาใช้กั้ับผู้้ต้้องหาหรืือจำเลย สามารถช่่วยในการแก้้ไขปััญหา กรณีีไม่่มีีหลัักทรััพย์์ประกัันตััว หรืือหาหลัักประกัันไม่่ทััน ไม่่ต้้องถููกควบคุุมในเรืือนจำ และสามารถตรวจสอบการ เดิินทางของผู้้สวมใส่่ได้้ อีีกทั้้�งผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยเข้้าถึึง โอกาสการปล่่อยชั่่�วคราว ทำให้้ได้้รัับอิิสรภาพและลดความ เลื่่�อมล้้ำทางสัังคม สามารถดำเนิินชีีวิิต/ทำงานได้้ตามปกติิ ข้้อคิิดเห็็นและเสนอแนะ คืือ จำนวนอุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ มีีไม่่เพีียงพอต่่อการใช้้งาน และระบบเครืือข่่ายทำงานไม่่เสถีียร ซึ่่�งสำนัักงานศาลยุุติิธรรมจะปรัับปรุุงแก้้ไขข้้อขััดข้้องให้้มีี ประสิิทธิิภาพดีียิ่่�งขึ้้�นต่่อไป 3) การปล่่อยตััวชั่่�วคราวในวัันหยุุดราชการ ประกาศระเบีียบราชการฝ่่ายตุุลาการศาลยุุติิธรรม ว่่าด้้วย การเปิิดทำการศาลและพิิจารณาคำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราว ในวัันหยุุดราชการ พ.ศ. 2562 เพื่่�อคุ้้มครองสิิทธิิผู้้ถููกจัับ หรืือผู้้ต้้องหาให้้มีีการนำตััวไปศาลโดยเร็็ว และเพื่่�อคุ้้มครอง สิิทธิิของผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยให้้ได้้รัับการพิิจารณาคำร้้องขอ ปล่่อยชั่่�วคราวโดยเร็็ว การยื่่�นคำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราวคดีี อาญาต่่าง ๆ ในศาลยุุติิธรรม สามารถดำเนิินการได้้ตลอด ทุุกวันัแบบไม่มีีวั่นัหยุุดผู้้ขอประกันัสามารถดำเนินิการได้้โดย 1. ยื่่น�เอกสารคำร้้องได้้โดยตรงต่่อศาลที่่พิ�ิจารณาคดีีนั้้น� หรืือ 2. ยื่่�นคำร้้องทางระบบออนไลน์์ผ่่านระบบบริิการออนไลน์์ ศาลยุุติิธรรม (CIOS) โดยระบบเปิิดให้้ยื่่�นได้้ทั้้�งคำร้้อง ขอปล่่อยชั่่�วคราวใหม่่ต่่อศาลชั้้�นต้้น หรืือการยื่่�นอุุทธรณ์์ คำสั่่�งที่่�ไม่่ให้ปล่้ ่อยชั่่�วคราวต่่อศาลอุุทธรณ์์หรืือศาลฎีีกา ทั้้�งนี้้� สามารถยื่่น�ได้้ตลอด 24 ชั่่�วโมง และผู้้ยื่่น�สามารถทราบคำสั่่�ง ศาล ตลอดจนดำเนินิการอื่่นที่่� �เกี่่ย�วข้้องทางออนไลน์์ได้้ตลอด เวลาโดยไม่่ต้้องเดิินทางไปที่่�ศาล สถิิติิการปล่่อยชั่่�วคราววัันหยุุดราชการ จำแนกตามชั้้�นศาล ดัังนี้ ้� • ศาลชั้้�นต้้นพิิจารณาคำร้้องขอปล่่อยตััวชั่่�วคราวใน วัันหยุุดราชการ จำนวนรวม 31,846 ราย • ศาลสููง พิิจารณาคำร้้องขอปล่่อยตััวชั่่�วคราวในวัันหยุุด ราชการ จำนวนรวม 2,897 ราย
116 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 1.2 ยกระดัับการคุ้้มครองสิิทธิผู้ิ้ต้้องหาหรืือจำำเลย และผู้้เสีียหายในคดีีอาญา 1) ผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราวตามความหมายที่่�กำหนด ในพระราชบััญญััติิมาตรการกำกัับและติิดตามจัับกุุมผู้้หลบหนีี การปล่่อยชั่่�วคราวโดยศาล พ.ศ. 2560 คืือ บุุคคลซึ่่�งได้้รัับ แต่่งตั้้�งจากศาลให้้เป็็นผู้้สอดส่่องดููแล รัับรายงานตััว หรืือ ให้้คำปรึึกษาผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราว เพื่่�อป้้องกัันการหลบหนีี หรืือภััยอัันตรายหรืือความเสีียหายที่่�อาจเกิิดขึ้้�นในระหว่่าง ที่่�ได้้รัับการปล่่อยชั่่�วคราว ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลแต่่งตั้้�งผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อย ชั่่�วคราวรวมจำนวน 6,994 คดีี จำแนกเป็น็ ศาลชั้้นต้�น้ 6,808 คดีี และศาลสููง 186 คดีี 2) มาตรการทำงานบริิการสัังคมแทนค่่าปรัับ ศาลยุุติิธรรม นำการทำงานบริิการสัังคมแทนค่่าปรัับมาใช้้ในคดีีอาญาเพื่่�อ เป็น็ทางเลืือกให้้จำเลยที่่�ศาลพิิพากษาลงโทษปรัับสถานเดีียว หรืือพิิพากษาให้้รอการลงโทษและปรัับ แต่่ไม่่มีีเงิินเพีียง พอที่่�จะชำระค่่าปรัับ ผู้้ต้้องโทษสามารถยื่่�นคำร้้องขอทำงาน บริิการสัังคมหรืือสาธารณประโยชน์์แทนค่่าปรัับต่่อศาล ชั้้�นต้้นได้้ แต่่มีีจำเลยผู้้ต้้องโทษจำนวนมากที่่�ไม่่ทราบถึึงสิิทธิิ ดัังกล่่าว ศาลยุุติิธรรมจึึงร่่วมมืือกัับหน่่วยงานที่่�เกี่่ย�วข้้องเพื่่�อ ประชาสััมพัันธ์์เผยแพร่่ความรู้้ให้้ผู้้ต้้องโทษทราบถึึงสิิทธิิ ที่่�จะขอทำงานแทนค่่าปรัับ และดููแลเพื่่�อให้้การทำงานบริิการ สัังคมหรืือทำงานสาธารณประโยชน์์แทนค่่าปรัับของผู้้ต้้องโทษ ปรัับครบถ้้วนตามเงื่่�อนไข ศาลยุุติิธรรมประกาศ “ระเบีียบราชการฝ่่ายตุุลาการ ศาลยุุติิธรรม ว่่าด้้วยการกำหนดจำนวนชั่่�วโมงที่ ่� ถืือเป็็น การทำงานหนึ่่�งวัันและแนวปฏิิบััติิการให้้ทำงานบริิการ สัังคมหรืือสาธารณประโยชน์์แทนค่่าปรัับและการเปลี่่�ยน สถานที่กัั่� กขััง (ฉบัับที่่� 3) พ.ศ. 2565” เมื่่�อวันที่่ ั � 8 มิถุินุายน 2565 เพื่่�อกำหนดจำนวนชั่่�วโมงการทำงานของผู้้ต้้องโทษ ปรัับให้้เหมาะสม และให้้การฝึึกอบรมความรู้้ทางวิิชาชีีพ ที่่�ผู้้ต้้องโทษปรัับจะนำไปทำงานบริิการสัังคมหรืือทำงาน สาธารณประโยชน์์แทนค่่าปรัับนำมาคิิดเป็็นจำนวนชั่่�วโมง ในการทำงานได้้ เพื่่�อประโยชน์์ในการแก้้ไขฟื้นฟู้� ผู้้ต้้องโทษปรัับ อัันจะเป็็นประโยชน์์ต่่อสัังคมต่่อไป (ระเบีียบฯ ลงประกาศ ในราชกิิจจานุุเบกษาเมื่่�อวัันที่่� 8 มิิถุุนายน 2565) ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีจำนวนคนที่่�ศาลอนุุญาตให้้ บริิการสัังคม 33,270 คน วงเงิินค่่าปรัับรวม 363,016,221 บาท
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 117 3) ศููนย์์กลางข้้อมููลผู้้เสีียหายในคดีีอาญา ศาลยุุติิธรรม จััดตั้้�งศููนย์์ดัังกล่่าวให้้เป็็นศููนย์์กลางรวบรวมข้้อมููลและ ความประสงค์์ในการใช้สิ้ิทธิิทางศาลของผู้้เสีียหาย เริ่่�มดำเนินิ การตั้้�งแต่่วัันที่่� 18 กุุมภาพัันธ์์ 2564 เป็็นการดำเนิินการ ตามคำแนะนำของประธานศาลฎีีกาเกี่่�ยวกัับแนวปฏิิบััติิต่่อ ผู้้เสีียหายในคดีีอาญา พ.ศ. 2563 ผู้้เสีียหายสามารถให้ข้้้อมููล ตามแบบแสดงความประสงค์์ได้้ตาม 4 ช่่องทาง ดัังนี้ ้� (1) กรอกแบบแสดงความประสงค์์ส่่งไปยััง “ศููนย์์กลาง ข้้อมููลผู้้เสีียหาย” ทางเว็็บไซต์์ https://cios.coj.go.th ได้้ตลอด 24 ชั่่�วโมง (2) แจ้้งความประสงค์์ต่่อเจ้้าหน้้าที่่�ประจำศููนย์์คุ้้มครอง สิิทธิิและเสรีีภาพในคดีีอาญาประจำศาลชั้้�นต้้นทุุกแห่่ง ที่่มีี�อำนาจพิิจารณาพิิพากษาคดีีอาญาทั่่�วราชอาณาจัักร เช่่น ศาลอาญา ศาลจัังหวััด ศาลแขวง ศาลเยาวชนและ ครอบครััวจัังหวัดั โดยไม่่จำกัดว่ั ่าเป็น็ศาลที่่มีี�เขตอำนาจ หรืือไม่่ ในวัันและเวลาราชการ (3) ดาวน์์โหลดและพิิมพ์์แบบแจ้้งความประสงค์์จากเว็็บไซต์์ ของศาลยุุติิธรรม https://cios.coj.go.th กรอกข้้อความ แล้้วจััดส่่งทางไปรษณีีย์์มาที่่� “ศููนย์์กลางข้้อมููล ผู้้เสีียหาย” ที่่�อยู่่ สำนัักกิิจการคดีี อาคารศาลอาญา ชั้้�น 6 แขวงจอมพล เขตจตุุจัักร กรุุงเทพฯ 10900 โทร 02 512 8138 (4) กรณีีที่่�มีีการยื่่�นคำร้้องขอผััดฟ้้อง ฝากขััง หรืือยื่่�นฟ้้อง ต่่อศาลแล้้ว ผู้้เสีียหายสามารถแสดงความประสงค์์ ในการใช้้สิิทธิิที่่�ศููนย์์คุ้้มครองสิิทธิิฯ ของศาลดัังกล่่าว เพื่่�อความรวดเร็็ว ในวัันและเวลาราชการ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศููนย์์กลางข้้อมููลผู้้เสีียหายใน คดีีอาญาจัดัเก็็บสถิิติิผู้้เสีียหายในคดีีอาญา จำนวน 3,385 เรื่่�อง จำแนกตามสิ่่�งที่่ผู้้�เสีียหายต้้องการให้ช่้ ่วยเหลืือเยีียวยาสููงสุดุ 3 อัันดัับแรก ได้้แก่่ อัันดัับที่่� 1 การคุ้้มครองความปลอดภััย 1,333 เรื่่�อง อัันดัับที่่� 2 เรีียกร้้องค่่ารัักษาพยาบาล 465 เรื่่�อง และอัันดัับที่่� 3 ห้้ามผู้้ถููกกล่่าวหาคุุกคามหรืือเข้้าใกล้้ 425 เรื่่�อง นอกจากนี้้� ผู้้เสีียหายในคดีีอาญามีีความประะสงค์์ ยื่่น�คำร้้องขอให้้ชดใช้ค่้ ่าสินิไหมทดแทน 1,876 คำร้้อง และมีี ความประสงค์์ขอคััดค้้านการประกัันตััว 593 คำร้้อง
118 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 1.3 พััฒนาระบบการบริหิารจััดการล่่ามและผู้เ้ชี่่�ยวชาญในคดีีอาญา การแต่่งตั้้ง�ล่่าม ในการดำำเนิินคดีีแก่่คู่่ความ และการแปลเอกสารที่�เ่กี่่�ยวข้้องเป็็นภาษาต่่างประเทศ 1) การจััดหาล่่ามเพื่่�อคุ้้มครองสิทธิิของคู่ความ่ตามกฎหมาย สำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้สรรหาและคัดัเลืือกล่่ามซึ่่�งมีีหน้้าที่่� สำคััญ คืือ แปลภาษาไทยท้้องถิ่่น� ภาษาถิ่่น� ภาษาต่่างประเทศ ภาษามืือ หรืือสื่่�อความหมายโดยวิิธีีอื่่�น โดยจัักต้้องปฏิิบััติิ หน้้าที่่�ด้้วยความซื่่�อสััตย์์ สุุจริิต เป็็นกลาง ปราศจากอคติิ ประพฤติิตนตามกฎหมายและทำนองคลองธรรม อยู่่ในกรอบ ศีีลธรรมและจริิยธรรม มีีความรู้้ความเชี่่�ยวชาญในภาษา ที่่�แปลอย่่างถ่่องแท้้และมีีความพร้้อมที่่�จะเสีียสละเพื่่�อ ส่่วนรวมเป็็นสำคััญ โดยจำแนกได้้ดัังนี้ ้� (1) ล่่ามอาสาประจำศาล (Standby Court Interpreter) ปฏิบัิัติิหน้้าที่่ป�ระจำศาล โดยส่่วนใหญ่่เป็น็คนในท้้องถิ่่น� ที่่�สื่่�อสารด้้วยภาษาท้้องถิ่่�น หรืือภาษาอัังกฤษ จึึงมีี ข้้อจำกัดัในเรื่่�องความหลายหลายของภาษา และจำนวน ล่่าม ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีการจััดหาล่่ามทั้้�งหมด 3,683 ครั้้�ง จำแนกเป็็น - ศาลแต่่ละแห่่งจััดหาล่่าม 2,135 ครั้้�ง/23 ภาษา - สำนัักงานศาลยุุติิธรรมจััดหาล่่ามตามที่่�ศาลแจ้้ง ความประสงค์์ 1,548 ครั้้�ง/46 ภาษา (2) ล่่ามอิิสระภาษาต่่างประเทศ ซึ่่�งขึ้้�นบััญชีีรายชื่่�อหรืือขึ้้�น ทะเบีียนไว้กั้ับสำนัักงานศาลยุุติิธรรม จำแนกเป็น็ล่่ามที่่� ขึ้้�นบััญชีีรายชื่่�อ จำนวน 441 คน ครอบคลุุม 60 ภาษา และล่่ามที่่�ขึ้้�นทะเบีียน จำนวน 9 คน/2 ภาษา เพื่่�อให้้ บริิการแก่่ผู้้ต้้องหา จำเลย พยานผู้้เสีียหาย และคู่่ความ ในคดีีอาญาตามที่่�ศาลร้้องขอ เป็็นการแก้้ไขข้้อจำกััด กรณีีที่่�ล่่ามอาสาประจำศาลไม่่สามารถปฏิิบััติิงานได้้ โดยดำเนิินการผ่่านระบบ Video Conference ณ ศููนย์์อำนวยความยุุติิธรรมอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (E-Justice Conference Center) และศููนย์์อำนวยความยุุติิธรรม อิิเล็็กทรอนิิกส์์ ภาค 1-9 รวมจำนวน 156 ครั้้�ง/20 ภาษา 2) พััฒนาศัักยภาพล่่ามที่ ่� ขึ้้�นทะเบีียนกัับสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม เพื่่�อให้้ผู้้ที่่�ทำหน้้าที่่�ล่่ามภาษาต่่างประเทศใน คดีีอาญา สามารถปฏิบัิัติิหน้้าที่่�ได้้อย่่างมีีมาตรฐานและเป็นที่่ ็ � น่่าเชื่่�อถืือ โดยการอบรมจำแนกเป็็น 3 กลุ่่ม ได้้แก่่ (1) การอบรมภาษาต่่างประเทศ (เฉพาะคดีี) จำนวน 10 ครั้้�ง ตััวอย่่างหััวข้้อในการอบรม ได้้แก่่ “สิิทธิิ หน้้าที่่� จริยิธรรม ล่่ามศาล และขั้้�นตอนการปฏิิบััติิงาน” “จิิตวิิทยาใน การปฏิิบััติิหน้้าที่่�ล่่ามในคดีีอาญา” และ “คำศััพท์์และ การใช้้ภาษาอัังกฤษในความผิิดเกี่่�ยวกัับการค้้ามนุุษย์์ และการแสวงหาประโยชน์์โดยมิิชอบ” เป็็นต้้น (2) การอบรมล่่ามภาษาต่่างประเทศ (เฉพาะภาษา) จำนวน 10 ครั้้�ง ตััวอย่่างหััวข้้อในการอบรม ได้้แก่่ “กฎหมาย อาญาทั่่�วไปและการฝึึกปฏิิบััติิ ครั้้�งที่่� 1-2 (ภาษา อัังกฤษ)” “กฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญาและพยาน หลัักฐาน ครั้้�งที่่� 1-2 (ภาษาอัังกฤษ)” “คดีียาเสพติิด (ภาษาอัังกฤษ)” “อบรมล่่ามภาษาจีีนกลาง” และ “อบรมล่่ามภาษาสเปน” เป็็นต้้น (3) การอบรมล่่ามภาษาต่่างประเทศ (เบื้้�องต้้น) จำนวน 3 ครั้้�ง หััวข้้อในการอบรม ได้้แก่่ อบรมล่่ามอิิสระภาษา ต่่างประเทศ (เบื้้�องต้้น) โดยความร่่วมมืือระหว่่าง สำนัักงานปลััดกระทรวงการท่่องเที่่�ยวและกีีฬาและ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม จำนวน 2 ครั้้�ง และ ความรู้้เบื้้�องต้น้ เกี่่�ยวกัับกฎหมายอาญาและกฎหมายวิิธีีพิิจารณา ความอาญา
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 119 3) การขึ้้�นทะเบีียนผู้้เชี่่�ยวชาญของศาลยุุติิธรรม และ การพััฒนาระบบงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมมีีจำนวนผู้้เชี่่�ยวชาญในสาขาต่่าง ๆ ที่่�ขึ้้�นทะเบีียนจำนวน 100 คน จำแนกได้้ 22 สาขา เช่่น การแพทย์์ (สาขาต่่าง ๆ) ตรวจพิิสููจน์์ลายนิ้้�วมืือแฝงและ ตรวจเปรีียบเทีียบลายพิิมพ์์นิ้้�วมืือ ตรวจพิิสููจน์์เอกสารและ การปลอมแปลง ล่่ามและการแปลเอกสาร วิิเคราะห์์ภาพถ่่าย ทางอากาศและแผนที่่� วิิศวกรรม เป็็นต้้น นอกจากการขึ้้�นทะเบีียนผู้้เชี่่�ยวชาญในสาขาต่่าง ๆ แล้้ว สำนัักงานศาลยุุติิธรรมอยู่่ระหว่่างการพััฒนาระบบผู้้เชี่่ย�วชาญ ของศาลยุุติิธรรมขึ้้�น เพื่่�อใช้้รัับสมััคร ขอขึ้้�นทะเบีียน และ ต่่ออายุุทะเบีียนเป็นผู้้ ็เชี่่ย�วชาญของศาลยุุติิธรรม โดยผู้้สมััคร สามารถส่่งเอกสารที่่�เกี่่�ยวข้้องในรููปเอกสารอิิเล็็กทรอนิิกส์์ เพื่่�อประกอบการพิิจารณาของคณะกรรมการใช้้ประกอบ ความเห็็นในการรัับขึ้้�นทะเบีียนเป็็นผู้้เชี่่�ยวชาญของ ศาลยุุติิธรรม และเสนอต่่อเลขาธิิการสำนัักงานศาลยุุติิธรรม รวมถึึงสามารถจััดเก็็บสถิิติิการแต่่งตั้้�งผู้้เชี่่�ยวชาญของ ศาลยุุติิธรรมและการเบิิกจ่่ายงบประมาณค่่าใช้้จ่่ายต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง 4) การแปลกฎหมาย และเอกสารที่่�เกี่่�ยวกัับกระบวนการ พิิจารณาและการคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพ และการปฏิิบััติิ ราชการของศาลยุุติิธรรม สำนัักงานศาลยุุติิธรรมดำเนินิการ แปลกฎหมายและเอกสารสำคััญ เพื่่�ออำนวยความสะดวก และเป็็นประโยชน์์แก่่คู่่ความชาวต่่างประเทศ ดัังนี้ ้� (1) หนัังสืือกฎหมายฉบัับแปล “ข้้อกำหนดของประธาน ศาลฎีีกา ว่่าด้้วยการไกล่่เกลี่่ย� พ.ศ. 2554 และข้้อกำหนด ของประธานศาลฎีีกา ว่่าด้้วยการไกล่่เกลี่่�ย (ฉบัับที่่� 2) พ.ศ. 2560 (ไทย – อัังกฤษ)” เผยแพร่่โดยจััดพิิมพ์์ เป็็นรููปเล่่ม จำนวน 1,000 เล่่ม และเผยแพร่่ผ่่านสื่่�อ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (2) หนัังสืือกฎหมายฉบัับแปล “ข้้อบัังคัับของประธาน ศาลฎีีกา ว่่าด้้วยวิิธีีการดำเนิินคดีีค้้ามนุุษย์์ พ.ศ. 2559 คำแนะนำของประธานศาลฎีีกา เรื่่�อง แนวทางการ บริิหารจััดการคดีีตามพระราชบััญญััติิป้้องกัันและ ปราบปรามการค้้ามนุุษย์์ พ.ศ. 2551 และคำแนะนำ ของประธานศาลฎีีกาเกี่่�ยวกัับแนวทางการปฏิิบััติิต่่อ ผู้้เสีียหายในคดีีค้้ามนุุษย์์ พ.ศ. 2565 (ไทย – อัังกฤษ)” เผยแพร่่โดยดำเนิินการจััดพิิมพ์์เป็็นรููปเล่่ม จำนวน 1,000 เล่่ม และเผยแพร่่ผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์
120 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 1.4 พััฒนาระบบการให้้คำำ ปรึึกษาด้้านจิิตสัังคมแก่่ผู้้ต้้องหาคดีียาเสพติิดและ คดีีความรุุนแรงในครอบครััวในระบบศาล คลิินิิกให้้คำปรึึกษาด้้านจิิตสัังคมแก่่ผู้้ต้้องหาคดีียาเสพติิด ภายใต้้การกำกัับของศาล เป็็นการดำเนิินงานภายใต้้ ข้้อตกลงความร่่วมมืือ (MOU) ร่่วมกัันระหว่่างศาลยุุติิธรรม กระทรวงยุุติิธรรม กระทรวงสาธารณสุุข กองทุุนสนัับสนุุน การสร้้างเสริิมสุุขภาพ (สสส.) และคณะกรรมการป้้องกันัและ ปราบปรามยาเสพติิด โดยคลินิิกให้้คำปรึึกษาด้้านจิตสัิ ังคมแก่ผู้้ต้่ ้องหาคดีียาเสพติิด ภายใต้้การกำกัับของศาล เป็็นมาตรการเพื่่�อคุ้้มครองสิิทธิิ ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยที่่�ได้้รัับการปล่่อยชั่่�วคราวในคดีีเสพติิด หรืือมีียาเสพติิดให้้โทษไว้้ในความครอบครองจำนวนเล็็กน้้อย ผู้้กระทำความผิิดในคดีีความรุุนแรงในครอบครััว และคดีีอื่่�น ที่่�ศาลเห็็นสมควรได้้มีีโอกาสในการเข้้ารัับคำปรึึกษาด้้าน จิิตสัังคมจากผู้้ให้้คำปรึึกษา เพื่่�อเป็็นการช่่วยเหลืือแก้้ไข ฟื้้�นฟููผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยให้้ได้้ผ่่อนคลายภาวะความเครีียด จากการถููกดำเนิินคดีีให้้สามารถปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมให้้ใช้้ ชีีวิิตอยู่่กัับครอบครััวได้้โดยปกติิสุุข ไม่่หลบหนีีในระหว่่าง การพิิจารณาคดีี และป้้องกันมิั ิให้้หวนกลัับไปกระทำความผิดิ ซ้้ำอีีก ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมที่่�ดำเนิินการให้้ คำปรึึกษาด้้านจิตสัิ ังคมในศาลชั้้นต้�น้ จำนวน 102 ศาล จำนวน คดีีที่่�เข้้ารัับคำปรึึกษา 14,385 คดีี / 15,590 คน ภายหลััง จากเข้้าสู่่การให้้คำปรึึกษาแล้้วมีีผู้้กระทำความผิดซ้้ ิ ำ 157 คน คิิดเป็็นร้้อยละ 1.01 ของผู้้เข้้ารัับคำปรึึกษา
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 121 2. การเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมาย สิิทธิิเสรีีภาพตามที่กฎหมาย่�กำำหนด และขั้้� นตอนกระบวนการพิิจารณาคดีีในชั้้� นศาล 2.1 ส่่งเสริิมให้้ประชาชนรัับรู้้ถึึงสิิทธิิเสรีีภาพของตนตามที่่�กฎหมายกำำหนด Coj Podcast เป็็นการจััดรายการเสีียงที่่�มีีผู้้ดำเนิินรายการ เป็็นผู้้พิิพากษาและผู้้มีีองค์์ความรู้้ความชำนาญทางด้้าน กฎหมาย โดยมีีจุดมุ่่งหมายให้้ความรู้้แก่ป่ระชาชนทุุกช่่วงวัยั ผ่่านการสื่่�อสารด้้วยภาษาที่่�เข้้าใจง่่ายสะดวกต่่อการรัับฟััง สามารถรัับฟัังได้้ 24 ชม. ผ่่านหลายช่่องทาง ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมจััดรายการเสีียงและ เผยแพร่่แล้้ว จำแนกตามหััวข้้อได้้ ดัังนี้ ้� (1) Law ฟััง Law เฟิิร์์ม ได้้แก่่ “เคลีียร์์ให้้ชััดกัับการยื่่�น คำร้้องต่่อศาลขอกำหนดโทษใหม่่ในคดีียาเสพติิด (ประมวลกฎหมายยาเสพติิด พ.ศ. 2564)” “ขัับรถไม่่ หลบและขวางรถพยาบาลมีีความผิิดเท่่ากัับพยายาม ฆ่่าหรืือไม่่” “เมื่่�อความตายมาพราก การยื่่�นคำร้้อง ขอตั้้�งผู้้จััดการมรดกออนไลน์์เป็็นคำตอบ” “รู้้ให้้ทััน รัับจ้้างเปิดบัิ ัญชีีมีีความผิดิอย่่างไร” และ “ข้้อกฎหมาย ควรรู้้เมื่่�อคิดิอยู่่คอนโด: กรณีีภาระจำยอมทางเข้้า-ออก คอนโด” เป็็นต้้น (2) Judge talk Just tell ได้้แก่่ “What’s on COJ’s day? กิิจกรรมวัันศาลยุุติิธรรม” “FAQs Guidebook ในคดีีซื้้�อขายออนไลน์์” “Online Sale Transaction Case Division is our present and future แผนก คดีีซื้้�อขายออนไลน์์แห่่งแรกในประเทศ” “ระบบ Tracking System” และ “Contracts in the Digital World นิิติิกรรมสััญญาในยุุคดิิจิิทััล” เป็็นต้้น (3) English from Court เช่่น “เรีียนรู้้คำศััพท์์ภาษา อัังกฤษจากนโยบายประธานศาลฎีีกา ประจำปีี 2564 - 2565” “ทำความรู้้จัักชื่่�อภาษาอัังกฤษของหน่่วยงาน ต่่าง ๆ ในศาลยุุติิธรรม” “ทำความรู้้จัักชื่่�อตำแหน่่ง ภาษาอัังกฤษของข้้าราชการศาลยุุติิธรรม” “ขอนำ เสนอภาษาอัังกฤษและเกร็็ดความรู้้ในการมาเป็็น พยานในศาล” และ “ระเบีียบราชการฝ่่ายตุุลาการศาล ยุุติิธรรม ว่่าด้้วยการคุ้้มครองและค่่าตอบแทนพยานใน คดีีอาญา พ.ศ. 2548” เป็็นต้้น (4) ฎีีกา Intrend เช่่น “กำหนดสิินไถ่่ขายฝากเป็็นผล ประโยชน์์ตอบแทนเกิิน 15% ต่่อปีีจะมีีผลต่่อสััญญา อย่่างไร” “หนี้ ้� ค่่าส่่วนกลางอาคารชุุดที่่�ไม่่แจ้้งยอดหนี้ ้� ต่่อกรมที่่ดิ�นิจะยัังมีีบุริุิมสิิทธิอีีิกหรืือไม่่ และขอกันส่ั ่วน เงินิจากการขายทอดตลาดได้้หรืือไม่่” “ผู้้ซื้้�อทรััพย์์จาก การขายทอดตลาดโดยติิดจำนองที่่�จะใช้้สิิทธิิไถ่่ถอน จำนองต้้องเสนอชดใช้้อย่่างไร” “ทายาทของผู้้ได้้รัับ อนุุญาตให้้ทำประโยชน์์ที่่�ดิิน ส.ป.ก. ที่่�ไม่่ได้้ไปใช้้ที่่�ดิิน นั้้�นจะมีีอำนาจฟ้้องผู้้ที่่�บุุกรุุกเข้้าไปทำสวนได้้หรืือไม่่” และ “บุุคคลทั่่�วไปมีีอำนาจฟ้้องเกี่่�ยวกัับที่่�ดิินที่่�เป็็น สาธารณสมบััติิของแผ่่นดิินที่่�ประชาชนใช้้ประโยชน์์ ร่่วมกัันได้้หรืือไม่่” เป็็นต้้น (5) ข่่าวเด่นป่ระเด็น็ภาษีี เช่น่ “ภาษีียาสููบ” “นัับถอยหลััง! พิิกััดศุุลกากร 2022” “วางแผนภาษีีใน 15 นาทีี” “ข่่าวด่่วน - ประเด็็น Hot ภาษีีปีี 65” และ “สารพััน ภาษีีกัับวิิถีีคริิปโท (Cryptocurrency)” เป็็นต้้น (6) Simply tax ได้้แก่่ “Intro to Tax” “ภาษีีที่่�ดิินและ สิ่่�งปลููกสร้้าง” และ “การใช้้ประโยชน์์ในที่่�ดิินและสิ่่�ง ปลููกสร้้าง” เป็็นต้้น (7) ศาลทรััพย์์สิินทางปััญญาฯ IP & IT Mini-Bar ได้้แก่่ “กฎหมายแข่่งขัันทางการค้้า ใกล้้ตััวกว่่าที่่�คิิด” “ชวน คุยุเรื่่�องเครื่่�องหมายการค้้า” “เขตอำนาจและลัักษณะ พิิเศษของกระบวนพิิจารณาในศาลทรััพย์์สิินทาง ปััญญาฯ” และ “ลิิขสิิทธิ์์�น่่ารู้้” เป็็นต้้น (8) กฎหมายใกล้ตั้ัว รอบรั้้�วศาลเยาวชน ได้้แก่่ “ทรััพย์สิ์นิ ระหว่่างสามีีภรรยา” “การหย่่า” “การทำนิิติิกรรม แทนบุุคคลไร้้ความสามารถ (กรณีีนิิติิกรรมขาย อสัังหาริิมทรััพย์์ของบุุคคลไร้้ความสามารถ)” และ “การร้้องขอให้้เป็็นบุุคคลไร้้ความสามารถ” เป็็นต้้น
122 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม (9) ศาลแรงงานกลางวัันนี้ ้� ได้้แก่่ “ครบรอบ 42 ปีี ศาล แรงงานกลางกัับการนำระบบเทคโนโลยีีมาใช้้ในการ พิิจารณาคดีี” “ข้้อแตกต่่างระหว่่างการร้้องต่่อพนัักงาน ตรวจแรงงานกัับการฟ้้องคดีีต่่อศาลแรงงาน” “ศาล แรงงานกลางเปิดิศาลนอกเวลาในช่่วงโควิดิ-19” “สิิทธิิ ของลููกจ้้างหลัังนายจ้้างบอกเลิิกจ้้าง ตอนที่่� 1 และตอน ที่่� 2” “ลููกจ้้างรู้้ไว้้! อะไรคืือค่่าจ้้างในกฎหมายแรงงาน” และ “ความสำคััญของค่่าจ้้างในกฎหมายแรงงาน” เป็็นต้้น (10) TAI Smart Arbitration Course ได้้แก่่ “ข้้อสััญญา ระงัับข้้อพิิพาทแบบผสมผสาน (Multi - tiered and Hybrid Dispute Resolution Clause) ตอน 1 และตอน 2” “พ.ร.บ.อนุุญาโตตุุลาการ พ.ศ. 2545 มาตรา 11 กัับนิิยามของสััญญาอนุุญาโตตุุลาการ ตอน 1 และตอน 2” “การล้้มละลายกัับผลของสััญญา อนุุญาโตตุุลาการตามมาตรา 12” และ “การโอนสิิทธิิ เรีียกร้้องในสััญญาที่่�กำหนดข้้อสััญญาอนุุญาโตตุุลาการ ไว้้ตามมาตรา 13” เป็็นต้้น (11) รายการกฎหมายใหม่่หน้้า Feed ได้้แก่่ เจาะประเด็็น เรื่่�องน่่ารู้้เกี่่�ยวกัับกฎหมายยาเสพติิดที่่�แก้้ไขใหม่่ (12) Special ได้้แก่่ การจัดตั้้�งแผนกคดีีซื้้�อขายออนไลน์์ใน ศาลแพ่่งรองรัับผู้้บริิโภคยุุคใหม่่ ผู้้ที่ส ่� นใจสามารถรัับชมและรัับฟัังได้ท้างช่่องทางสื่่�อออนไลน์์ ได้้แก่่ YouTube Channel “COJ Channel”, https://iprd.coj.go.th/, Facebook: เพจ สื่่�อศาล, SoundCloud และ Spotify 2.2 ศาลยุติุิธรรมทั่่วป�ระเทศเผยแพร่่ความรู้ทาง้ กฎหมาย รวมถึึงขั้้นตอน�การติิดต่่อ ราชการศาลยุุติิธรรม ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศดำเนิินกิิจกรรมเผยแพร่่ความรู้้ ทางกฎหมาย ขั้้�นตอนการติิดต่่อราชการศาลยุุติิธรรม และกระบวนการพิิจารณาพิิพากษาคดีีของศาลยุุติิธรรม แก่ป่ระชาชนในชุุมชน สถานศึึกษา หรืือกลุ่่มเป้้าหมายต่่าง ๆ ผ่่านการสื่่�อสารในหลากหลายรููปแบบ โดยมีีผลการ ดำเนิินงาน เช่่น (1) ศาลแรงงานภาค 3 จััดโครงการ “เผยแพร่่ความรู้้ กฎหมายแรงงานในสถานศึึกษา” โดยมีีวััตถุุประสงค์์ เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมายแรงงาน และ ประชาสััมพันธ์ัช่์ ่องทางการขอรัับบริิการของศาลแรงงาน ภาค 3 ผ่่านระบบออนไลน์์ (2) ศาลแขวงเชีียงรายเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมายแก่่ ประชาชน ผ่่านรายการวิิทยุุคลื่่�น FM 106 Mhz. วิิทยุุเอกชนตะวัันนพเรดิิโอ (แบบสััญจร) และสื่่�อ Facebook Live เพื่่�อประชาสััมพัันธ์์และให้้ความรู้้ เกี่่�ยวกัับ “อำนาจและหน้้าที่่�ของเจ้้าพนัักงานคดีี” พร้้อมทั้้�งแนะนำกฎหมายที่่�มีีส่่วนเกี่่�ยวข้้องกัับคดีี ผู้้บริิโภค ได้้แก่่ พระราชบััญญััติิคุ้้มครองผู้้บริิโภค พ.ศ. 2562 (ฉบัับที่่� 4) และพระราชบััญญััติิวิธีีพิิจารณา คดีีผู้้บริิโภค พ.ศ. 2551 การฟ้้อง การพิิจารณาและ พิิพากษาคดีีของผู้้บริิโภค การไกล่่เกลี่่�ยและประนอม ข้้อพิิพาทคดีีผู้้บริิโภค (3) ศาลแขวงนครไทยเผยแพร่่ความรู้้แก่่ประชาชน ร่่วมกัับฝ่่ายปกครองและองค์์การปกครองส่่วนท้้องถิ่่น� โดยมอบเอกสารประชาสััมพัันธ์์เกี่่�ยวกัับการคุ้้มครอง สิิทธิผู้้ิเสีียหายผู้้ต้้องหาและจำเลยในคดีีอาญา การขอ ปล่่อยชั่่�วคราว การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาท ตลอดจน ให้้คำปรึึกษาแนะนำทางกฎหมาย (4) ศาลจัังหวััดอุุดรธานีีจััดกิิจกรรมเผยแพร่่ความรู้้ทาง กฎหมาย เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้เกี่่�ยวกัับการฟ้้องคดีี ผู้้บริิโภค ความรู้้เกี่่�ยวกัับศููนย์์คุ้้มครองสิิทธิิผู้้เสีียหาย และพยาน การทำงานบริิการสัังคมหรืือสาธารณประโยชน์์ แทนค่่าปรัับ การปล่่อยชั่่�วคราว การยื่่�นคำร้้องขอ ปล่่อยชั่่�วคราวในระบบบริิการออนไลน์์ศาลยุุติิธรรม (CIOS) การแต่่งตั้้�งผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราว การใช้้อุุปกรณ์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (EM) ร่่วมกัับการปล่่อย ชั่่�วคราว ความรู้้เกี่่�ยวกัับการไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทก่่อน ฟ้้องและหลัังฟ้้อง และความรู้้เกี่่�ยวกัับศาลดิิจิิทััล (D - Court) โดยร่่วมออกหน่่วยในโครงการจัังหวััด เคลื่่�อนที่่� ประจำปีี พ.ศ. 2565
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 123 (5) ศาลจัังหวััดเชีียงใหม่่จััดโครงการเผยแพร่่ความรู้้ ทางกฎหมายที่่�จำเป็็นแก่่ผู้้ต้้องขัังทางออนไลน์์ เพื่่�อ ให้้ความรู้้เกี่่�ยวกัับบทบััญญััติิกฎหมายยาเสพติิด ที่่�แก้้ไขใหม่่ที่่�มีีการกำหนดอััตราโทษใหม่่ในบางฐาน ความผิิด ทำให้้ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลยอาจจะได้้รัับ ประโยชน์์จากการแก้้ไขกฎหมายในลัักษณะที่่�เป็็นคุุณ มีีสิิทธิิยื่่�นคำร้้องขอต่่อศาลเพื่่�อให้้ศาลพิิจารณา กำหนดโทษใหม่่ได้้ อัันเป็็นการส่่งเสริิมให้้คู่่ความ จำเลย ผู้้เกี่่�ยวข้้อง และประชาชนได้้รัับความรู้้ถึึงสิิทธิิ เสรีีภาพของตนตามที่่�กฎหมายกำหนด ทั้้�งยัังเป็็น การประสานความร่่วมมืือกัับเรืือนจำกลางเชีียงใหม่่ และ ทััณฑสถานหญิิงเชีียงใหม่่ เพื่่�ออำนวยความยุุติิธรรม ให้้ผู้้ต้้องขัังเข้้าถึึงได้้ง่่าย สะดวก รวดเร็็ว (6) ศาลจัังหวััดนางรองเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมาย เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ทางกฎหมายเกี่่�ยวกัับการปล่่อย ชั่่�วคราวและการแต่่งตั้้�งผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อย ชั่่�วคราว การไกล่่เกลี่่ย�ออนไลน์์ การไกล่่เกลี่่ยก่�่อนฟ้้อง ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทเกี่่�ยวกัับคดีีผู้้บริิโภค การร้้องขอค่่าสินิไหมทดแทนแก่ผู้้่เสีียหายในคดีีอาญา การพิิจารณาคดีีอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ระบบบริิการออนไลน์์ ศาลยุุติิธรรม (CIOS) และให้้บริิการปรึึกษากฎหมาย (7) ศาลจัังหวััดปากพนัังจััดโครงการกฎหมายสััญจร สู่่ชุุมชน โดยเป็น็การบรรยายให้้ความรู้้เกี่่ย�วกัับการขอ ปล่่อยชั่่�วคราวเพื่่�อคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพของประชาชน การบัังคัับคดีีผู้้ประกััน การปฏิิบััติิตััวเมื่่�อมาศาล การไกล่่เกลี่่ยข้�้อพิิพาทก่่อนฟ้้องตามประมวลกฎหมาย วิิธีีพิิจารณาความแพ่่ง มาตรา 20 ตรีี และกฎหมาย เกี่่ย�วกัับคดีีผู้้บริิโภค เพื่่�อให้้เข้้าใจระบบงานและขั้้นต�อน การปฏิิบััติิตััวเมื่่�อมาศาล (8) ศาลจัังหวััดชััยนาทเข้้าร่่วมโครงการหน่่วยบำบััดทุุกข์์ บำรุุงสุุข สร้้างรอยยิ้้�มให้้ประชาชน จัังหวััดชััยนาท ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่่�อเผยแพร่่ ความรู้้ทางกฎหมายเกี่่ย�วกัับการขอปล่่อยชั่่�วคราวด้้วย คำร้้องใบเดีียว การตั้้�งผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราว การขอปล่่อยชั่่�วคราวโดยติิดอุปุกรณ์์ EM การไกล่่เกลี่่ย� ข้้อพิิพาทออนไลน์์ การบริิการในรูปูแบบใหม่่ ๆ ที่่�ศาล จัังหวัดชัยนัาทนำมาใช้้ในการอำนวยความสะดวกและ ความยุุติิธรรมแก่ป่ระชาชน รวมถึึงมีีการให้้คำปรึึกษา ทางกฎหมายแก่่ประชาชนที่่�สนใจ (9) ศาลจัังหวัดัชลบุรีีจัุดัโครงการ “กิิจกรรมเผยแพร่่ความรู้้ ทางกฎหมายให้้แก่่ประชาชน” ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่่�อให้้ประชาชน ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลย ได้้รัับการคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพของตนเองตาม กฎหมายและเป็็นการประชาสััมพัันธ์์ข้้อมููลข่่าวสาร ของศาลจัังหวััดชลบุุรีีทั้้�งนี้้� เพื่่�อเป็็นการขัับเคลื่่�อน นโยบายประธานศาลฎีีกาอัันเป็็นการสนัับสนุุน บทบาทขององค์์กรศาลยุุติิธรรมในการเป็็นแหล่่ง ความรู้้และสร้้างความเชื่่�อมั่่�นในกระบวนการยุุติิธรรม ให้้แก่่ประชาชน ผู้้ต้้องหาหรืือจำเลย ได้้อย่่างทั่่�วถึึง (10) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดศรีีษะเกษออก หน่่วยบริิการจัังหวัดัเคลื่่�อนที่่� จัังหวัดัศรีีสะเกษ ประจำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่่�อให้้คำแนะนำและ ปรึึกษาข้้อกฎหมาย ตลอดจนเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์ การติิดต่่อราชการศาล โดยการนำเทคโนโลยีีและ นวััตกรรมต่่าง ๆ มาใช้้ในการติิดต่่อราชการ เช่่น การไกล่่เกลี่่�ยข้้อพิิพาทก่่อนฟ้้อง การให้้บริิการรัับ คำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราวโดยไม่่เว้้นวัันหยุุดราชการ และการแต่่งตั้้�งผู้้กำกัับดููแลผู้้ถููกปล่่อยชั่่�วคราว (11) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดนครปฐมเผยแพร่่ ความรู้้ด้้านกฎหมายทางรายการวิิทยุุในหััวข้้อเรื่่�อง “มาตรการลงโทษเด็็กและเยาวชนที่่�กระทำความผิิด อาญาในศาลเยาวชนและครอบครััว” ณ สถานีีวิิทยุุ เอ็็นจอยมีีเดีีย FM 95.75 MHz เพื่่�อเผยแพร่่ ประชาสััมพัันธ์์ความรูู้ด้้านกฎหมายแกประชาชนใน พื้ ้�นที่่�ห่่างไกล
124 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม (12) ศาลเยาวชนและครอบครััวจัังหวััดตรัังออกหน่่วย บริิการเคลื่่�อนที่่� “หน่่วยบำบัดทุัุกข์์ บำรุุงสุุข สร้้างรอย ยิ้้�มให้้ประชาชน” เพื่่�อเผยแพร่่ความรู้้ด้้านกฎหมาย และบริิการให้้คำปรึึกษาด้้านกฎหมายเกี่่�ยวกัับเด็็ก เยาวชน และคดีีครอบครััว เช่่น การร้้องขอปล่่อย ชั่่�วคราวผ่่านระบบ CIOS การบัังคัับคดีีผู้้ประกััน การยื่่�นคำร้้องขอรัับรองบุุตร คดีีคุ้้มครองสวััสดิิภาพ การไกล่่เกลี่่�ยคดีีครอบครััวและไกล่่เกลี่่�ยก่่อนฟ้้อง อีีกทั้้�งนำเสนอนวััตกรรมใหม่่ ๆ ของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมในการอำนวยความยุุติิธรรมให้้แก่่ ประชาชน เช่่น บริิการรัับชำระค่่าธรรมเนีียมศาลด้้วย บััตรเครดิิต บััตรเดบิิต หรืือ Mobile Banking ระบบ การส่่งเอกสารและการประกาศนััดไต่่สวนโดยวิิธีีการ ลงโฆษณาทางสื่่�อเทคโนโลยีีสารสนเทศ (e-Notice System) เป็็นต้้น
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 125 3. เสริิมสร้้างมาตรฐานการให้้บริิการต้้อนรัับประชาชนและการสื่่�อสาร ประชาสััมพัันธ์์ให้้ประชาชน สำนัักงานศาลยุุติิธรรมประชาสััมพันธ์ั ์เผยแพร่ข้่ ้อมููลข่่าวสาร ที่่�เกี่่ย�วข้้องกัับการปฏิบัิัติิงานของศาลยุุติิธรรม เพื่่�อเสริิมสร้้าง ความรู้้ ความเข้้าใจที่่�ถููกต้้องแก่่ประชาชนและสัังคมโดยรวม ส่่งผลถึึงความเชื่่�อมั่่�นศรััทธาของประชาชนและสัังคมที่่�มีี ต่่อการอำนวยความยุุติิธรรมของศาลยุุติิธรรม ซึ่่�งมัักจะเป็็น ประเด็็นที่่�สัังคมเกิิดข้้อสงสััยและเป็็นที่่�วิิพากษ์์วิิจารณ์์ ในสัังคมอย่่างกว้้างขวาง โดยสาเหตุุที่่�เกิิดความเข้้าใจที่่�ไม่่ ถููกต้้องเกิิดจากหลายปััจจััย เช่่น ขาดความรู้้ความเข้้าใจทาง ด้้านกฎหมายและขั้้�นตอนในกระบวนการยุุติิธรรม การรัับรู้้ ข่่าวสารจากแหล่่งข่่าวที่่�ไม่ถูู่กต้้อง หรืือได้้รัับข้้อมููลที่่�เกี่่ย�วข้้อง ในคดีีไม่่ครบถ้้วน ไม่่เข้้าใจภาษาทางด้้านกฎหมาย เป็็นต้้น การประชาสััมพัันธ์์และให้้ข้้อมููลข่่าวสารที่่�ถููกต้้องของ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม จึึงเป็็นการลดความขััดแย้้งในสัังคม และรัักษาความเชื่่�อมั่่�นศรััทธาต่่อระบบการยุุติิธรรมของ ประเทศไทยได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้ดำเนิินการ ดัังนี้ ้� 1) สำนัักงานศาลยุุติิธรรมจััดสััมมนาความรู้้กฎหมายและ ระบบพิิจารณาคดีีของศาลยุุติิธรรมแก่่สื่่�อมวลชน เพื่่�อให้้ สื่่�อมวลชนได้้รัับความรู้้เกี่่ย�วกัับกฎหมายและระบบพิิจารณา คดีีของศาลยุุติิธรรม และสามารถเผยแพร่่ข้้อมููลข่่าวสาร ตามภารกิิจของศาลยุุติิธรรมหรืือที่่�เกี่่�ยวข้้องได้้อย่่างถููกต้้อง ครบถ้้วน 2) การจััดทำสื่่�อวีีดีีทััศน์์ประชาสััมพัันธ์์และระบบการให้้ บริิการให้้แก่ผู้้พิ่ ิการทางการได้ยิ้ิน เพื่่�ออำนวยความสะดวก ในการติิดต่่อราชการศาล 3) เพิ่่�มช่่องทางการสื่่�อสารประชาสััมพัันธ์์ทาง Social Media เพื่่�อให้้ประชาชนทั่่�วไปได้้รัับข้้อมููลข่่าวสารจาก ศาลยุุติิธรรมได้้อย่่างรวดเร็็ว และถููกต้้อง สำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมเผยแพร่่สาระความรู้้เกี่่�ยวกัับกฎหมาย การให้้ บริิการ และข่่าวสารต่่าง ๆ ของศาลยุุติิธรรม ในหลากหลาย ช่่องทางสื่่�อสาร เพื่่�อสร้้างความรู้้และความเข้้าใจที่่�ถููกต้้องที่่� เกี่่�ยวข้้องกัับการดำเนิินงานของศาลยุุติิธรรม และกฎหมาย ต่่าง ๆ ได้้แก่่ เว็็บไซต์์ของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม https://coj. go.th/, https://iprd.coj.go.th/ (281 โพสต์์), Facebook “สื่่�อศาล” (ผู้้ติิดตาม 127,839 แอคเคาน์์ /จำนวน 380 โพสต์์), Facebook “COJ TALK” (ผู้้ติิดตาม 10,495 แอคเคาน์์ / จำนวน 25,747 โพสต์์, Instagram “PR_COJ” (101 โพสต์์), Youtube “COJ Channel” (ผู้้ติิดตาม 45,182 แอคเคาน์์ / จำนวน 133 โพสต์์), Twitter “@PR_COJ” (14 โพสต์์) และ Line “Inside Coj” (6,123 โพสต์์) 4) การเสริิมสร้้างทัักษะการต้้อนรัับประชาชนและ การประชาสััมพัันธ์์ เพื่่�อให้้ศาลยุุติิธรรมสามารถให้้บริิการ ประชาชนได้้ตรงกัับความต้้องการของประชาชน ผู้้มาติิดต่่อ ราชการศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศ โดยสำนัักงานศาลยุุติิธรรม จััดให้้มีีพนัักงานต้้อนรัับประจำศาลยุุติิธรรม เพื่่�อทำหน้้าที่่� อำนวยความสะดวกและให้้คำแนะนำแก่่ผู้้มาติิดต่่อ ราชการศาลด้้วยไมตรีีจิิตที่่�ดีี และให้้บริิการในรููปแบบ ของการประชาสััมพัันธ์์เชิิงรุุก ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมอบรม เชิิงปฏิิบััติิการเสริิมสร้้างทัักษะการต้้อนรัับประชาชนและ การประชาสััมพัันธ์์ให้้แก่่บุุคลากรที่่�ปฏิิบััติิหน้้าที่่�พนัักงาน ต้้อนรัับประจำศาลยุุติิธรรม จำนวน 3 ครั้้�ง มีีผู้้เข้้ารัับ การอบรม 165 คน โดยการอบรมบรรลุุตามเป้้าหมายและ วััตถุุประสงค์์ของโครงการ
126 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม การดำ ำ เนินิงานอันัเป็น ็ มาตรฐานไปในทิิศทางเดีียวกันั (Uniformity) 1. สร้้างมาตรฐานการดำำเนิินงานของศาลยุ ุ ติิธรรม ยกระดัับการดำำเนิินงานให้้เป็็นมาตรฐานเดีียวกััน และตอบสนอง ความต้้องการของประชาชนได้้อย่่าง สะดวก รวดเร็็ว 1.1 กำำหนดมาตรฐานระยะเวลาการดำำเนิินการบริกิารประชาชนของศาลยุุติิธรรม 1) กระบวนการพิจิารณาคดีีครบองค์์คณะต่่อเนื่่�อง กำหนด มาตรฐานด้้านระยะเวลาและการดำเนิินการ ดัังนี้ ้� (1) คดีีจัดัการพิิเศษ คืือ คดีีที่่�ไม่มีี่ความยุ่่งยากซัับซ้้อนและมีี แนวโน้้มที่่�จะพิิจารณาให้้เสร็็จได้้ภายในนััดเดีียว หรืือใน วันัหนึ่่�งสามารถพิิจารณาคดีีให้้แล้้วเสร็็จได้้หลายคดีี หรืือ สามารถส่่งเอกสารแทนการสืืบพยานได้้ ซึ่่�งเป็น็คดีีที่่�ควร พิิจารณาให้้แล้้วเสร็็จภายใน 3 เดืือน นัับแต่วั่ นที่่ ัรั�ับฟ้้อง (2) คดีีสามััญ หมายถึึง คดีีแพ่่งหรืือคดีีอาญาที่่มิ�ิใช่่คดีีจัดัการ พิิเศษซึ่่�งต้้องสืืบพยานหลัักฐานของคู่่ความต่่อไป และไม่่ สามารถนั่่�งพิิจารณาคดีีให้้เสร็็จได้้ภายในเวลาอันัรวดเร็็ว รวมถึึงคดีีที่่�ศาลสููงย้้อนสำนวนให้้ศาลชั้้�นต้้นสืืบพยาน และพิิพากษาคดีีใหม่่ เป็็นต้้น ทั้้�งนี้้� เกณฑ์์ระยะเวลา ในการพิิจารณาคดีีกำหนดให้้ ศาลจัังหวััดควรพิิจารณา คดีีให้้แล้้วเสร็็จภายใน 12 เดืือน นัับแต่่วัันรัับฟ้้อง และ ศาลแขวงควรพิิจารณาคดีีให้้แล้้วเสร็็จภายใน 6 เดืือน นัับแต่่วัันรัับฟ้้อง (3) คดีีสามััญพิิเศษ หมายถึึง คดีีสามััญที่่�มีีความยุ่่งยาก ซัับซ้้อน มีีพยานหลัักฐานที่่�จะต้้องนำสืืบจำนวนมาก ไม่่สามารถนััดสืืบต่่อเนื่่�องกัันไปจนเสร็็จ จำเป็็นต้้อง กำหนดวัันนััดสืืบพยานต่่อเนื่่�อง ทั้้�งนี้้� เกณฑ์์ระยะเวลา ในการพิิจารณาคดีีกำหนดให้้ ศาลจัังหวััดควรพิิจารณา คดีีให้้แล้้วเสร็็จภายใน 12 เดืือน นัับแต่่วัันรัับฟ้้อง และ ศาลแขวงควรพิิจารณาคดีีให้้แล้้วเสร็็จภายใน 6 เดืือน นัับแต่่วัันรัับฟ้้อง หลัักการสำคััญที่ ่� ทำให้้การนั่่�งพิิจารณาคดีีครบองค์์คณะ และต่่อเนื่่�องมีีประสิิทธิิภาพ ได้้แก่่ (1) ต้้องปรัับปรุุงระบบวันันััดให้้เป็น็ ไปตามระบบอย่่างสมบููรณ์์ เป็็นมาตรฐาน (2) ระบบงานก่่อนวัันนััดต้้องมีีแนวปฏิิบััติิที่่�ชััดเจนและ ปฏิิบััติิงานได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ คืือ ระบบการตรวจ ความพร้้อมของสำนวนต้้องปฏิบัิัติิงานอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ศูนย์ูป์ระสานงานพยานต้้องประสานงานพยานให้้มาตาม นััดหมายโดยไม่่เลื่่�อนคดีียกเว้้นมีีเหตุุสุุดวิิสััยหรืือเหตุุ จำเป็็นตามกฎหมาย รวมถึึงกระบวนการก่่อนสืืบพยาน มีีการนำระบบไกล่่เกลี่่ย� หรืือประนอมข้้อพิิพาท สมานฉันท์ั ์ และสัันติิวิิธีีมาใช้้เป็็นทางเลืือกให้้แก่่คู่่ความ เพื่่�อลด ปริิมาณคดีีของศาลยุุติิธรรมได้้ (3) อััตรากำลัังของผู้้พิิพากษาและเจ้้าหน้้าที่่�ธุุรการต้้องได้้ สััดส่่วนกัับปริิมาณคดีี
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 127 (4) การดำเนิินการในระบบพิิจารณาคดีีครบองค์์คณะและ ต่่อเนื่่�อง ต้้องมีีการจััดองค์์คณะสำรองเพื่่�อแก้้ไขปััญหา ต่่าง ๆ มีีองค์์คณะประชุุมคดีีเพื่่�อกำหนดกรอบวัันนััด ให้้กระชัับรััดกุุม เหมาะสม ตรงกัับความเป็็นจริิง มีีการ รัับฟัังและระดมความคิิดเห็็นของผู้้พิิพากษา เจ้้าหน้้าที่่� ธุุรการ และบุุคลากรในกระบวนการยุุติิธรรมทุุกฝ่่าย ทั้้�งนี้ ้� เพื่่�อนำสิ่่�งที่่�ดีีมาปรัับปรุุงโดยคำนึึงถึึงประโยชน์์สููงสุุด ของประชาชน มีีระบบการจ่่ายสำนวนให้้ผู้้พิิพากษา ที่่ชั�ดัเจน มีีบััญชีีคุุมการจ่่ายสำนวนคดีีจัดัการพิิเศษ บััญชีี คุุมการจ่่ายสำนวนคดีีต่่อเนื่่�อง และจััดทำรายงานสถิิติิ การพิิจารณาคดีีประจำเดืือนให้ผู้้พิ้ ิพากษาทุุกท่่านทราบ (ข้้อมููล: สำนัักส่่งเสริิมงานตุุลาการ คู่่มืือสำหรัับตุุลาการ ในการนั่่�งพิิจารณาคดีีครบองค์์คณะและต่่อเนื่่�อง) สถิิติิคดีีในระบบการพิจิารณาคดีีครบองค์์คณะและต่่อเนื่่�อง สถานการณ์์คดีีในภาพรวมของศาลยุุติิธรรม ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดัังนี้้� (1) คดีีจััดการพิิเศษ ศาลที่่�สามารถดำเนิินการตามเกณฑ์์ ระยะเวลาดัังกล่่าวได้้จำนวน 67 ศาล (ร้้อยละ 39.88 จากทั้้�งหมด 168 ศาล) (2) คดีีสามััญ ศาลที่่�สามารถดำเนิินการตามเกณฑ์์ระยะ เวลาได้้ทั้้�งหมด 94 ศาล (ร้้อยละ 55.95 จากทั้้�งหมด 168 ศาล) (3) คดีีสามััญพิิเศษ ศาลที่่�สามารถดำเนิินการตามเกณฑ์์ ระยะเวลาดัังกล่่าวได้้จำนวน 150 ศาล (ร้้อยละ 89.29 จากทั้้�งหมด 168 ศาล) 2) มาตรฐานเวลาการพิิจารณาคดีีของศาลอุุทธรณ์์ คดีีชำนััญพิิเศษ ศาลอุุทธรณ์์คดีีชำนััญพิิเศษได้้กำหนด มาตรฐานการใช้้เวลาทำงานของศาลเพื่่�อสร้้างมาตรฐาน การพิิจารณาพิิพากษาคดีีให้มีี้ความรวดเร็็วขึ้้น�ในภารกิิจหลััก 3 เรื่่�อง ดัังนี้้� (1) การพิิจารณาพิิพากษาคดีีดำเนินิการพิิจารณาคำอุุทธรณ์์ ให้้เสร็็จภายใน 3 เดืือน (2) การวิินิิจฉััยเขตอำนาจศาล ว่่าคดีีอยู่่ในเขตอำนาจ ศาลยุุติิธรรมทั่่�วไปหรืือศาลอุุทธรณ์์คดีีชำนััญพิิเศษ ซึ่่�งเป็็นอำนาจการวิินิิจฉััยของประธานศาลอุุทธรณ์์ คดีีชำนััญพิิเศษโดยเฉพาะและถืือเป็็นที่่�สุุด คำวิินิิจฉััย ให้้ดำเนิินการแล้้วเสร็็จส่่งคืืนศาลชั้้�นต้้นภายใน 15 วััน คำวิินิิจฉััยเขตอำนาจศาลให้้พิิจารณาแล้้วเสร็็จภายใน 3 วัันทำการ (3) คำร้้องทั่่�วไป เช่น่ การขอขยายเวลา ให้้แล้้วเสร็็จภายใน 15 วันั คำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราว ให้้แล้้วเสร็็จภายใน 1 วันั
128 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 1.2 สร้้างมาตรฐานการปฏิิบัติั ิงานของเจ้้าพนักังานคดีีในการสนัับสนุุนการพิิจารณา พิิพากษาคดีี 1) จััดทำร่่างแก้้ไขเพิ่่�มเติิมพระราชบััญญััติิระเบีียบ ข้้อราชการฝ่่ายตุุลาการศาลยุุติิธรรม (ฉบัับที่่� ...) พ.ศ. ... (การกำหนดตำแหน่่งเจ้้าพนัักงานคดีีประจำศาลยุุติิธรรม) เพื่่�อให้้มีีเจ้้าพนัักงานคดีีช่่วยเหลืือในการรวบรวมพยาน หลัักฐานและทำให้้การแสวงหาพยานหลัักฐานมีีความครบ ถ้้วนสมบููรณ์์ ทำให้้การพิิจารณาพิิพากษาคดีีเป็็นไปอย่่าง ถููกต้้องและอำนวยความยุุติิธรรมแก่่ประชาชนได้้อย่่างมีี ประสิิทธิิภาพยิ่่�งขึ้้�น 2) การประชุุมเชิิงปฏิิบััติิการเพื่่�อพััฒนาระบบเจ้้าพนัักงานคดีี โครงการเสริิมสร้้างความรู้้และทัักษะของเจ้้าพนัักงานคดีี ของศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้้วยหััวข้้อ - เทคนิิคการให้้คำปรึึกษาและการสอบข้้อเท็็จจริิงเพื่่�อ บัันทึึกคำฟ้้อง คำให้้การยกร่่างคำร้้องและยกร่่างบัันทึึก ถ้้อยคำพยานแทนการซัักถามพยาน - การตรวจสอบคำฟ้้องและเอกสารที่่�เกี่่�ยวข้้องในคดีี ผู้้บริิโภค คดีีแบบกลุ่่ม และคดีีทุุจริติและประพฤติิมิิชอบ - การไกล่่เกลี่่ย� การระงัับข้้อพิิพาทและเทคนิิคการไกล่่เกลี่่ย� ข้้อพิิพาท - การร่่างและตรวจสััญญาประนีีประนอมยอมความ หรืือ บัันทึึกข้้อตกลง 2. พััฒนาและติิดตามการประเมิินผลคุุณภาพการปฏิิบััติิงานของ ศาลยุ ุ ติิธรรมตามตััวชี้้�วััดและเกณฑ์์มาตรฐานสากล การประเมิินตนเองฉบัับศาลยุุติิธรรมไทย (Self - Assessment Checklist) ประธานศาลฎีีกามีีคำสั่่�งแต่่งตั้้�งคณะทำงานส่่งเสริิมการ สร้้างกลไกการดำเนิินกระบวนพิิจารณาคดีีที่่�ทัันสมััย เพื่่�อดำเนินิการตามนโยบายประธานศาลฎีีกาการสร้้างกลไก การดำเนิินกระบวนพิิจารณาและการพิิพากษาที่่�ทัันสมััย โดยคณะทำงานฯ มีีมติินำแบบประเมิินตนเองฉบัับศาล ยุุติิธรรมไทย (Self - Assessment Checklist) ใช้้ใน ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศ เพื่่�อเป็็นเครื่่�องมืือให้้ผู้้บริิหารศาล แต่่ละแห่่งสำรวจสภาพการทำงานในศาลทั้้�งกรณีีงานที่่� พััฒนาแล้้ว และงานที่่�อาจปรัับปรุุงพััฒนาให้้ดีียิ่่�งขึ้้�น โดยคณะทำงานฯ ได้้จัดัโครงการสััมมนาเชิิงปฏิบัิัติิการ หััวข้้อ “การจััดทำแบบประเมิินตนเองฉบัับศาลยุุติิธรรมไทย” ผ่่านระบบ Streaming เป็็นการซัักซ้้อมความเข้้าใจถึึง ที่่�มา แนวคิดิวัตถุั ปุระสงค์์ของการจัดัทำแบบประเมินตนิเอง ตามกรอบสากลเพื่่�อความเป็็นเลิิศทางการศาลของสมาคม ระหว่่างประเทศเพื่่�อความเป็็นเลิิศทางการศาล ซึ่่�งเป็็น ต้น้แบบของการพััฒนาและปรัับปรุุงให้้เข้้ากัับบริิบทของศาล ยุุติิธรรมไทย รวมถึึงขั้้�นตอน วิิธีีการจััดทำ และการรายงาน ผลการจััดทำแบบประเมิินฯ การประเมิินตนเองฉบัับศาลยุุติิธรรมไทยจำแนกประเด็็น การประเมินิ 6 ด้้าน ได้้แก่่ ด้้านที่่� 1 ความเป็นผู้้น ็ ำและการบริิหาร จััดการศาลยุุติิธรรม ด้้านที่่� 2 การวางแผนและนโยบายของ ศาลยุุติิธรรม ด้้านที่่� 3 ทรััพยากรของศาล: ทรััพยากรบุุคคล และการเงินิ ด้้านที่่� 4 การพิิจารณาคดีีและกระบวนการต่่าง ๆ ของศาล ด้้านที่่� 5 ความต้้องการและความพึึงพอใจของ ผู้้ใช้้บริิการ ด้้านที่่� 6 การให้้บริิการของศาลที่่�ค่่าใช้้จ่่ายไม่่สููง และสามารถเข้้าถึึงง่่าย และด้้านที่่� 7 ความไว้้วางใจและ ความเชื่่�อมั่่�นจากสาธารณชน ทั้้�งนี้้� เพื่่�อให้้ศาลแต่่ละแห่่งได้้ นำผลการประเมิินตนเองมาใช้้ประกอบการพิิจารณาพััฒนา งานให้้มีีประสิิทธิิภาพดีียิ่่�งขึ้้�น โดยสามารถสืืบค้้นข้้อมููล การประเมิินตนเองฉบัับศาลยุุติิธรรมไทยเพิ่่�มได้้ที่่� https://opsc.coj.go.th/
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 129 ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศดำเนิินการประเมิินตนเองฉบัับ ศาลยุุติิธรรมไทยและคณะทำงานส่่งเสริิมการสร้้างกลไก การดำเนิินกระบวนพิิจารณาคดีีที่่�ทัันสมััย ได้้ประมวลและ สรุปุผลการประเมินิผลการวิิเคราะห์์เชิิงคุุณภาพของการจัดัทำ แบบประเมิินตนเองฉบัับศาลยุุติิธรรมไทย ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้้ดัังนี้ ้� ด้้านที่่� 1 ความเป็็นผู้้นำและการบริิหารจััดการศาลยุุติิธรรม ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.50 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) ผู้้บริิหารศาลยุุติิธรรมให้้ความสำคััญและขัับเคลื่่�อนการ ดำเนิินงานของศาลตามนโยบายประธานศาลฎีีกา พ.ศ. 2564 – 2565 และแผนยุุทธศาสตร์์ศาลยุุติิธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 อัันสอดคล้้องกัับหลัักค่่านิิยมของศาล โดยมีีการกำหนดแผนปฏิบัิัติิการของศาลร่่วมกันัระหว่่าง ผู้้พิิพากษาและเจ้้าหน้้าที่่� ตลอดจนการสื่่�อสารในรูปูแบบ ต่่าง ๆ เช่่น การประชุุม เว็็บไซต์์ของศาล และระบบ Line Application เป็็นต้้น เพื่่�อรัับทราบและถืือปฏิิบััติิ โดยทั่่�วกััน (2) มีีการกำหนดมาตรฐานกรอบระยะเวลาและเป้้าหมาย ในการดำเนิินงานในแต่่ละภารกิิจ ภายใต้้การกำกัับ และติิดตามของหััวหน้้าส่่วนงานและผู้้อำนวยการ เพื่่�อรายงานผลการดำเนิินงานให้้ผู้้บริิหารทราบเป็็น ประจำ รวมถึึงการนำความคิิดเห็็นหรืือข้้อเสนอแนะ ของผู้้ใช้้บริิการมากำหนดแนวทางในการรัักษาระดัับ มาตรฐาน พััฒนาหรืือปรัับปรุุงการดำเนินิงานให้้สามารถ ตอบสนองความต้้องการของผู้้ใช้้บริิการให้้เกิินกว่่า ความคาดหวััง (3) ผู้้บริิหารเห็็นความสำคััญและส่่งเสริิมการนำนวััตกรรม มาใช้้ในการปฏิิบััติิงานของศาล เช่่น การนำระบบ การจดจำใบหน้้า (Face Recognition) และการนำรหััส บาร์์โค้้ดมาใช้้ในการยืืนยัันตััวตนผู้้เข้้าร่่วมประชุุมใหญ่่ เพื่่�อลดการสััมผััสตามมาตรการป้้องกัันการแพร่่ระบาด ของโรค COVID – 19 (ศาลฎีีกาและศาลอุุทธรณ์์) การมีีคำสั่่�งแต่่งตั้้�งคณะทำงานเพื่่�อพิิจารณาแนวทาง ในการอ่่านคำสั่่�งคำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราวด้้วย Video Call ผ่่านระบบ Line Application ไปยัังผู้้ยื่่�น คำร้้อง ขอปล่่อยชั่่�วคราวหรืือนายประกััน โดยมีีการทดลองกัับ ศาลนำร่่องเพื่่�อนำข้้อมููลมาพิิจารณาความเหมาะสม ในการพััฒนาระบบการอำนวยความยุุติิธรรมต่่อไป (ศาลอาญาคดีีทุุจริติและประพฤติิ มิิชอบภาค 9) เป็นต้็น้ ด้้านที่่� 2 การวางแผนและนโยบายของศาลยุุติิธรรม ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.39 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) มีีการกำหนดแผนปฏิบัิัติิการของศาล โดยผู้้พิิพากษาและ เจ้้าหน้้าที่่มีีส่�่วนร่่วมในกระบวนการทบทวนและวางแผน มีีการรายงานผลการปฏิิบััติิงานตามแผนงานประจำ งานโครงการไปยัังสำนัักงานศาลยุุติิธรรมตามระยะ เวลาที่่�กำหนด รวมถึึงมีีการรายงานปััญหาข้้อขััดข้้อง ที่่�เกิิดจากการปฏิิบััติิตามแผนให้้ผู้้บริิหารทราบอยู่่เป็็น ประจำ เพื่่�อร่่วมกัันกำหนดแนวทางแก้้ไข ปรัับปรุุง ให้้สามารถดำเนิินการตามแผนที่่�กำหนดไว้้ได้้ต่่อไป โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งภายใต้้สถานการณ์์การแพร่่ระบาด ของโรค COVID – 19 (2) มีีการเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์นโยบายของศาลให้้ ประชาชนทั่่�วไปทราบ ผ่่านช่่องทางต่่าง ๆ เช่่น เว็็บไซต์์ ของศาล, Facebook เพจสื่่�อศาล, Line Application, COJ Talk, YouTube, สถานศึึกษาและรายการวิิทยุุ ประจำจัังหวััด รวมถึึงเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์ให้้ความรู้้ ทางวิิชาการและกฎหมายแก่่ประชาชน เป็็นต้้น
130 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม (3) มีีการกำหนดยุุทธศาสตร์์การพััฒนานวััตกรรมของ ศาลทั้้�งเป้้าหมายระยะสั้้�น เช่่น การจััดประกวดแข่่งขััน การส่่งเสริิมการคิิดค้้นนวััตกรรมทั้้�งด้้านการบริิหาร คดีีและด้้านการบริิการ เพื่่�อนำมาประยุุกต์์ใช้้กัับการ ปฏิิบััติิงาน เป็็นต้้น และระยะยาว เช่่น การเสริิมสร้้าง ความรู้้ ความเข้้าใจ การฝึึกอบรม การฝึึกปฏิบัิัติิไปพร้้อม การปฏิิบััติิงานจริิง (On the job training) ให้้บุุคลากร สามารถนำนวััตกรรมและเทคโนโลยีีมาใช้้ในการปฏิิบััติิ งานได้้อย่่างต่่อเนื่่�องและมีีประสิิทธิิภาพ เป็็นต้้น ด้้านที่่� 3 ทรััพยากรของศาล: ทรััพยากรบุุคคลและการเงิิน ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.43 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) มีีการคาดการณ์์และบริิหารจััดการทรััพยากรให้้รองรัับ ปริิมาณงานที่่�คาดหมายไว้้ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งใน สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรค COVID – 19 ด้้าน งบประมาณ มีีการบริิหารการเงิินและงบประมาณได้้ อย่่างมีีประสิิทธิิภาพโดยเป็็นไปตามกฎหมาย ระเบีียบ ข้้อบัังคัับ และแผนการใช้้จ่่ายงบประมาณที่่�กำหนด ด้้านอััตรากำลััง มีีการเตรีียมการมอบหมายบุุคลากร ในการเปิิดทำการศาลในวัันหยุุดหรืือนอกเวลาราชการ ภายหลัังการแพร่่ระบาดของโรค COVID – 19 รวมถึึง การฝึึกอบรมและเสริิมสร้้างทัักษะที่่�จำเป็็นเพื่่�อให้้ บุุคลากรสามารถปฏิิบััติิงานได้้อย่่างมีีคุุณภาพมากขึ้้�น ด้้านการบริิหารจััดการคดีีมีีการนำเทคโนโลยีีมาช่่วย ในการอำนวยความยุุติิธรรมแก่่ประชาชนและคู่่ความ เช่่น การพิิจารณาคดีีทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ การไกล่่เกลี่่�ย ออนไลน์์ให้้กัับคู่่ความที่่�ไม่่สะดวกเดิินทางมาศาลใน วัันนััดไกล่่เกลี่่�ยผ่่านระบบ Google Meet การตรวจ สอบการจัับหรืือขอควบคุุมตััวผ่่านระบบประชุุมทาง จอภาพ Cisco Webex รวมทั้้�งการสืืบพยานผ่่านระบบ สื่่�อสารทางไกลผ่่านจอภาพ Video Conference กัับ ศาลยุุติิธรรมและหน่่วยงานในกระบวนการยุุติิธรรม (2) มีีห้้องพิิจารณาคดีีที่่�เพีียงพอทั้้�งในกรณีีการพิิจารณา คดีีด้้วยระบบปกติิและกรณีีการพิิจารณาคดีีด้้วยระบบ อิิเล็็กทรอนิิกส์์ รวมถึึงมีีมาตรการดููแลความปลอดภััย อย่่างเหมาะสมและมีีมาตรฐาน เพื่่�อให้้ผู้้ใช้้บริิการรู้้สึึก ปลอดภััยเมื่่�ออยู่่ในห้้องพิิจารณาคดีี เช่่น ภายในห้้อง พิิจารณาคดีีมีีการติิดตั้้�งกล้้องวงจรปิิด มีีเจ้้าหน้้าที่่� ราชทััณฑ์์ควบคุุมตััวจำเลย มีีการติิดตั้้�งฉากกั้้�นและจััด ให้มีีอุ้ ปุกรณ์ป้์ ้องกันัการแพร่่ระบาดของโรค COVID – 19 ภายนอกห้้องพิิจารณาคดีีมีีเจ้้าหน้้าที่่รั�ักษาความปลอดภัยั ประจำจุดทุุกชั้้น�มีีการตรวจค้น้อาวุุธที่่�ทางเข้้าอาคารศาล มีีการตรวจหาเชื้้�อ COVID – 19 ด้้วย Antigen Test Kit (ATK) หรืือการประเมิินจากแบบคััดกรองผู้้มีีความเสี่่�ยง ต่่อการติิดเชื้้�อ COVID – 19 (COJ PASS) ก่่อนเข้้าห้้อง พิิจารณาคดีี รวมถึึงการกำชัับให้้เจ้้าพนัักงานตำรวจศาล มีีการอบรมปล่่อยแถวชี้้�แจงภารกิิจให้้แก่่เจ้้าหน้้าที่่� รัักษาความปลอดภััยเป็็นประจำทุุกวััน โดยเน้้นย้้ำ การมีีวิินััยและการให้้บริิการที่่�ดีีแก่่ประชาชนผู้้มาติิดต่่อ ราชการ เป็็นต้้น (3) มีีการจััดฝึึกอบรมให้้แก่่บุุคลากรของศาลเป็็นประจำ และต่่อเนื่่�อง โดยมีีการสอบถาม “ความต้้องการจำเป็็น ในการฝึึกอบรม” (Training Needs) เพื่่�อประโยชน์์ สููงสุุดต่่อการนำไปเสริิมสร้้างการปฏิิบััติิงานตามหน้้าที่่� ที่่�ได้้รัับมอบหมาย โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งทัักษะความรู้้ เกี่่ย�วกัับการนำระบบเทคโนโลยีีที่่ทั�นัสมัยัมาประยุุกต์์ใช้้ ในการปฏิบัิัติิงาน เช่น่ การใช้้ระบบจัดัเก็็บและให้้บริิการ คััดสำเนาคำพิิพากษาระหว่่างศาลทั่่�วประเทศ (DSS) ระบบติิดตามสำนวนคดีี (Tracking System) การจัดัเก็็บ สำนวนคดีีด้้วยโปรแกรมจััดเก็็บสำนวนอิิเล็็กทรอนิิกส์์ การใช้้งานระบบสื่่�อสารทางไกลผ่่านจอภาพ Video Conference การยื่่�นคำร้้องขอปล่่อยชั่่�วคราวออนไลน์์ รวมถึึงทัักษะความรู้้เกี่่�ยวกัับการดำเนิินชีีวิิตวิิถีีใหม่่ (New Normal) ภายใต้้สถานการณ์์การแพร่่ระบาด ของโรค COVID – 19 เช่่น การฝึึกอบรมวิิธีีการตรวจ คัดักรองเชื้้�อ COVID – 19 โดย Antigen Test Kit (ATK) ด้้วยตนเอง
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 131 ด้้านที่่� 4 การพิิจารณาคดีีและกระบวนการต่่าง ๆ ของศาล ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.44 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) มีีการบริิหารจัดัการคดีีให้้แล้้วเสร็็จตามเกณฑ์์มาตรฐาน ระยะเวลาที่่�กำหนดไว้้ ในแต่่ละประเภทคดีี และติิดตาม ตรวจสอบ รวมถึึงทบทวนผลการปฏิิบััติิงานอยู่่เสมอ โดยปััจจุุบัันมีีการนำระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศและ สื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์มาใช้้ในศาลมากยิ่่�งขึ้้�น เพื่่�อส่่งเสริิม และสนัับสนุุนกระบวนการพิิจารณาคดีีให้้เป็็นไปด้้วย ความคล่่องตััว ลดค่่าใช้้จ่่าย และได้้รัับบริิการจากศาล ภายในระยะเวลาที่่�เหมาะสม (2) มีีการทบทวนบทบาทหน้้าที่่�ของผู้้พิิพากษาและเจ้้าหน้้าที่่� เพื่่�อให้้กระบวนพิิจารณามีีประสิิทธิิภาพ เช่่น การจััดทำ สถิิติิคดีีที่่�พิิจารณาแล้้วเสร็็จและคดีีที่่�ค้้างพิิจารณาของ ผู้้พิิพากษาในแต่่ละเดืือนรวมถึึงรายงานให้ผู้้ ้บริิหารศาล และผู้้พิิพากษาแต่่ละท่่านทราบ เพื่่�อหาวิิธีีเร่่งรััดให้้ แล้้วเสร็็จภายในกรอบระยะเวลา การกำหนดให้้มีีคำสั่่�ง เรื่่�องการปรึึกษาคดีีโดยผู้้พิิพากษาต้้องปรึึกษาคดีีตาม ประเภทที่่�กำหนด การเลื่่�อนคดีีและการยกเลิิกวัันนััด กัับผู้้บริิหารศาล การกำหนดให้้มีีการประชุุมผู้้พิิพากษา เป็็นประจำทุุกเดืือน การกำหนดให้้มีีทะเบีียนแยก ความเชี่่�ยวชาญของผู้้พิิพากษาสมทบ และการกำหนด ให้้มีีการติิดตามและประเมิินผลการปฏิิบััติิงานของ เจ้้าหน้้าที่่� โดยจัดัทำข้้อตกลงการปฏิบัิัติิงานในแต่่ละรอบ การประเมิินและทำการประเมิินผลตามข้้อตกลงที่่�ได้้ กำหนดไว้้ เป็็นต้้น (3) มีีการดำเนิินการเพื่่�อให้้คำพิิพากษาของศาลมีีความ ถููกต้้องและชััดเจนเป็็นไปตามกฎหมาย เช่่น มีีระบบ ตรวจร่่างคำพิิพากษาและปรึึกษาคดีีสำคััญ มีีระบบ การจััดการคดีีที่่�ต้้องส่่งร่่างคำพิิพากษาให้้สำนัักงาน อธิิบดีีผู้้พิิพากษาตรวจก่่อน มีีการตรวจทานคำพิิพากษา หรืือคำสั่่�งของศาลอย่่างละเอีียดถี่่�ถ้้วนก่่อนเสนอให้้ ผู้้พิิพากษาลงนาม รวมถึึงมีีระบบตรวจร่่างคำพิิพากษา หรืือคำสั่่�งโดยการจ่่ายร่่างคำพิิพากษาหรืือคำสั่่�งให้้ ผู้้พิิพากษาประจำกองผู้้ช่่วยผู้้พิิพากษาศาลฎีีกา (ผู้้ช่่วยเล็็ก) ตรวจก่่อนเสนอผู้้ช่่วยผู้้พิิพากษาศาลฎีีกา (ผู้้ช่่วยใหญ่่) ตรวจและเสนอผู้้บริิหารพิิจารณาตรวจและสั่่�งออก ตามลำดัับ (ศาลฎีีกา) เป็็นต้้น ด้้านที่่� 5 ความต้้องการและความพึึงพอใจของผู้้ใช้้บริิการ ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.37 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) มีีการรัับฟัังความคิิดเห็็นของผู้้ใช้้บริิการอย่่างสม่่ำเสมอ ผ่่านช่่องทางต่่าง ๆ เช่่น แบบสอบถาม กล่่องรัับฟััง ความคิดิเห็น็หรืือข้้อร้้องเรีียน เว็็บไซต์์ของศาล พนัักงาน ต้้อนรัับประจำศาล (สาวเสื้้�อฟ้้า) เป็็นต้้น โดยนำมา วิิเคราะห์์และประเมิินผลระดัับความพึึงพอใจของผู้้ใช้้ บริิการเป็็นประจำ เพื่่�อปรัับปรุุงการให้้บริิการของศาล ให้้มีีประสิิทธิิภาพและตรงกัับความคาดหวัังของ ผู้้ใช้้บริิการมากขึ้้�น รวมถึึงการเผยแพร่่ต่่อสาธารณะ ถึึงการเปลี่่�ยนแปลงที่่�เกิิดขึ้้�นอัันเนื่่�องมาจากการสำรวจ ความคิิดเห็็นของผู้้ใช้้บริิการผ่่านช่่องทางต่่าง ๆ เช่่น โครงการส่่งเสริิมการประสานความร่่วมมืือด้้านการ ยุุติิธรรมของหน่่วยงานในกระบวนการยุุติิธรรม โครงการ เผยแพร่ป่ระชาสััมพันธ์ั ์การดำเนินิงานของศาลยุุติิธรรม ผ่่านรายการวิิทยุุประจำท้้องถิ่่�น สถานศึึกษาหรืือชุุมชน เป็็นต้้น (2) มีีการสื่่�อสารอย่่างชััดเจนกัับผู้้ใช้้บริิการเพื่่�ออธิิบาย แนะนำ ตอบคำถาม รวมถึึงประชาสััมพัันธ์์เกี่่�ยวกัับ ความรู้้หรืือขั้้�นตอนต่่าง ๆ ในศาล ด้้วยวิิธีีการที่่� หลากหลาย เช่่น พนัักงานต้้อนรัับประจำศาล (สาว เสื้้�อฟ้้า) ป้้ายประชาสััมพัันธ์์ แผ่่นพัับ ผัังขั้้�นตอนการ รัับบริิการจากศาล รวมถึึงการมีี Mascot ประจำศาล “น้้องภาษีีนายอากร” เพื่่�อประชาสััมพันธ์ั ์ศาล (ศาลภาษีี อากรกลาง) เป็็นต้้น
132 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ด้้านที่่� 6 การให้้บริิการของศาลที่่ค่�่าใช้จ่้่ายไม่สูู่งและสามารถ เข้้าถึึงได้้ง่่าย ผลการประเมิิน: คะแนนเฉลี่่�ยศาลทั่่�วประเทศ 4.30 คะแนน จากคะแนนเต็็ม 5 ผลการดำเนิินงานสำคััญในภาพรวม: (1) มีีการให้้บริิการแก่่ประชาชนผู้้มาติิดต่่อราชการศาล ให้้สามารถเข้้าถึึงบริิการได้้ง่่ายและเท่่าเทีียมกัันโดย ไม่่เลืือกปฏิิบััติิ เช่่น จััดให้้มีีสถานที่่�และอุุปกรณ์์หรืือ สิ่่�งอำนวยความสะดวกให้้แก่่ผู้้พิิการและผู้้ด้้อยโอกาส ที่่�มาติิดต่่อราชการศาล จััดให้้มีีจุุดบริิการสำหรัับ ทนายความอาสาเพื่่�อให้้คำแนะนำแก่่คู่่ความที่่�ไม่่มีี ทนายความช่่วยเหลืือคดีีจััดให้้มีีเวรที่่�ปรึึกษากฎหมาย ประจำวััน จััดให้้มีีเจ้้าหน้้าที่่�ล่่ามเพื่่�อให้้บริิการคู่่ความที่่� เป็น็ชาวต่่างชาติิ จัดัให้มีี้การให้้คำแนะนำหรืือปรึึกษาคดีี ออนไลน์์ รวมถึึงจัดัให้มีี้การให้้บริิการแบบไม่พั่ ักเที่่ย�งและ การให้้บริิการอย่่างต่่อเนื่่�อง หากดำเนินิการไม่่แล้้วเสร็็จ ภายในเวลาทำการของศาล เป็็นต้้น (2) มีีการเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์เกี่่�ยวกัับหลัักเกณฑ์์หรืือ แนวทางในการเรีียกเก็็บ การยกเว้้น หรืือขยายระยะ เวลาในการชำระค่่าธรรมเนีียมศาลที่่�ชััดเจน เพื่่�อให้้ ประชาชนได้้ทราบอย่่างเปิิดเผยในบริิเวณศาลและ ทางเว็็บไซต์์ของศาล เช่่น การจััดทำคู่่มืือการพิิจารณา หลัักประกััน เพื่่�อเป็็นหลัักเกณฑ์์ในการพิิจารณาให้้เป็็น มาตรฐานและแนวทางเดีียวกััน (ศาลจัังหวััดนาทวีี) และการประชาสััมพัันธ์์การลดค่่าส่่งคำคู่่ความในช่่วง สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรค COVID – 19 เป็นต้็น้ (3) มีีการใช้้นวััตกรรมและเทคโนโลยีีเพื่่�อลดค่่าใช้้จ่่ายของ คู่่ความ เช่่น การฟัังคำพิิพากษาด้้วยระบบการสื่่�อสาร ทางไกลผ่่านจอภาพ การให้้บริิการคััดถ่่ายคำพิิพากษา ระหว่่างศาลและการออกหนัังสืือรัับรองคดีีถึึงที่่�สุุดผ่่าน ระบบ CIOS การผัดัฟ้้องฝากขัังด้้วยระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ การติิดตามความคืืบหน้้าคดีีหรืือคำสั่่�งศาลผ่่านการ สื่่�อสารทางเทคโนโลยีี (Tracking System) การส่่ง เอกสารและการประกาศนััดไต่่สวนโดยวิธีีิการลงโฆษณา ทางสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ (e - Notice System) การยื่่�น คำฟ้้องอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (e - Filing) การบริิการรัับชำระ ค่่าปรัับทาง Internet Banking การบริิการคืืนค่่าขึ้้น�ศาล ให้้แก่คู่่ ่ ความทาง KTB corporate และ K – Cash เป็นต้็น้
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 133 พััฒนาที่ยั่่ ่�ง�ยืน ื (Sustainability) 1. ส่่งเสริิมระบบงานตุล ุ าการและระบบงานธุุรการของศาลยุติ ุ ิธรรมและ สำำนัักงานศาลยุ ุ ติิธรรมให้้มีีประสิิทธิิภาพ ศาลยุุติิธรรมมีีระบบงานที่่�มุ่่งผลสััมฤทธิ์์ � และผลประโยชน์ ์ ส่่วนรวม อย่่างยั่� ่งยืืน 1.1 การประกาศใช้้แผนการดำำเนิินงานด้้านต่่าง ๆ ของสำนัำ ักงานศาลยุุติิธรรม 1) ประกาศใช้้แผนยุุทธศาสตร์์ศาลยุุติิธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 คณะกรรมการบริิหารศาลยุุติิธรรมมีีคำสั่่�งที่่� 54/2564 ลงวัันที่่� 28 กัันยายน 2564 ประกาศให้้ใช้้แผนยุุทธศาสตร์์ ศาลยุุติิธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 ตุุลาคม 2564 ถึึงวัันที่่� 30 กัันยายน 2568 เพื่่�อให้้หน่่วยงานในสัังกััด สำนัักงานศาลยุุติิธรรมถืือปฏิิบััติิและใช้้เป็็นกรอบแนวทาง ในการดำเนิินงานและพััฒนาศาลยุุติิธรรมและสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม การจััดทำแผนปฏิิบััติิการ 4 ปีี การจััดทำแผน ปฏิิบััติิการประจำปีี การจััดทำคำของบประมาณรายจ่่าย ประจำปีี การจัดัทำแผนการใช้จ่้่ายงบประมาณประจำปีี และ การบริิหารงานตามอำนาจหน้้าที่่� ให้้เป็็นไปตามวิิสััยทััศน์์ พันัธกิิจ และเป้้าประสงค์์ของแผนยุุทธศาสตร์์ โดยสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมประชาสััมพัันธ์์และเผยแพร่่แผนยุุทธศาสตร์์ ศาลยุุติิธรรม พ.ศ. 2565 – 2568 และสื่่�อสารความก้้าวหน้้า การขัับเคลื่่�อนแผนยุุทธศาสตร์์ ผ่่านทางเว็็บไซต์์ศาลยุุติิธรรม (https://www.coj.go.th) และเว็็บไซต์์สำนัักแผนงานและ งบประมาณ (https://oppb.coj.go.th) 2) แผนงาน และมาตรการที่่�เกี่่�ยวข้้องด้้านการรัักษา ความปลอดภััยของศาลยุุติิธรรม 2.1) แผนรัักษาความสงบและรัักษาความปลอดภััยใน ศาลยุุติิธรรม (สุุภา 65) ศาลยุุติิธรรมเป็็นหน่่วยงาน ซึ่่�งอำนวยความยุุติิธรรมแก่่ผู้้มีีอรรถคดีีจึึงเป็็นสถานที่่� ราชการสำคััญจำเป็นต้็ ้องมีีมาตรการรัักษาความปลอดภัยั ที่่มีีป�ระสิิทธิิภาพสููง ปััจจุบัุนัศาลยุุติิธรรมประสบปััญหา ด้้านความปลอดภััยการหลบหนีีของผู้้ถููกคุุมขััง การก่่อความไม่่สงบ อุุบััติิภััย รวมถึึงโรคระบาดอุุบััติิ ใหม่่ อัันเป็็นอุุปสรรคต่่อการปฏิิบััติิหน้้าที่่�และก่่อความ เสีียหายแก่่ราชการทั้้�งอาจมีีความเสีียหายถึึงชีีวิิต ร่่างกาย และทรััพย์์สิินของบุุคลากร หน่่วยงาน และ ผู้้มาติิดต่่อราชการศาลยุุติิธรรม เพื่่�อให้้การดำเนิินงาน เป็็นไปโดยราบรื่่�นจึึงจำเป็็นจะต้้องมีีมาตรการป้้องกััน และแก้้ไขสถานการณ์์นั้้�น ๆ ขึ้้�น ระเบีียบคณะกรรมการบริิหารศาลยุุติิธรรมว่่าด้้วย การรัักษาความปลอดภััย พ.ศ. 2550 ข้้อ 22 กำหนด ให้้สำนัักงานศาลยุุติิธรรมดำเนินิการวางแผนการรัักษา ความปลอดภััย เพื่่�อป้้องกัันและขจััดเหตุุร้้ายที่่�อาจจะ เกิิดขึ้้�น เพื่่�อเป็็นแนวทางในการปฏิิบััติิด้้านการรัักษา ความปลอดภััยของหน่่วยงาน
134 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ดัังนั้้�น เพื่่�อเป็็นการยกระดัับมาตรฐานด้้านการรัักษา ความปลอดภััยสำนัักงานศาลยุุติิธรรมจึึงได้้ประกาศ ใช้้แผนรัักษาความสงบและรัักษาความปลอดภััยใน ศาลยุุติิธรรม (สุุภา 65) เพื่่�อใช้้ในการปฏิิบััติิงาน และ รองรัับสถานการณ์์ต่่าง ๆ ที่่�อาจเกิิดขึ้้�นอย่่างทัันท่่วงทีี นอกจากนี้ ้� ยัังเป็็นการบรรเทาความรุุนแรงหรืือเป็็น การป้้องกัันไม่่ให้้สถานการณ์์ต่่าง ๆ เกิิดขึ้้�นอีีกด้้วย ซึ่่�งแผนดัังกล่่าวนี้้�เป็็นแผนแม่่บท ให้้ศาลยุุติิธรรม ทั่่�วประเทศนำไปปรัับและประยุุกต์์ใช้้ให้้เข้้ากัับสภาพ แวดล้้อมและบริิบทของแต่่ละหน่่วยงานซึ่่�งมีีความ แตกต่่างกันั ทำให้้มาตรฐานด้้านการรัักษาความปลอดภัยั ของศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศเป็็นไปในทิิศทางเดีียวกััน ส่่งผลให้้งานด้้านการรัักษาความปลอดภััยดำเนิินไป อย่่างมีีประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผลยิ่่�งขึ้้น�ประกอบด้้วย มาตรการด้้านต่่าง ๆ ดัังนี้ ้� - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีการละเมิิดมาตรการ รัักษาความปลอดภััย บุุคคลคลุ้้มคลั่่�งอาละวาด ก่่อเหตุุหรืือจะก่่อเหตุุประทุุษร้้ายต่่อชีีวิิต ร่่างกาย เสรีีภาพ หรืือทรััพย์์สิินทั้้�งของตนเองหรืือของ บุุคคลอื่่�น หรืือก่่อเหตุุจัับบุุคคลเป็็นตััวประกััน ในบริิเวณศาลยุุติิธรรม - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีผู้้ต้้องหา จำเลย หรืือ ผู้้ต้้องขัังหลบหนีีจากการคุุมขัังในบริิเวณศาล - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีเพลิิงไหม้้ - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีการชุุมนุุม/ก่่อการ จลาจล - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีการก่่อวิินาศกรรม - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีประสบสาธารณภััย - การปฏิิบััติิการเผชิิญเหตุุกรณีีโรคระบาดอุุบััติิใหม่่ 2.2) มาตรการรัักษาความปลอดภััยในบริิเวณศาล สำนัักงานศาลยุุติิธรรมกำหนดมาตรการในการรัักษา ความปลอดภััยบริิเวณศาล ให้้หน่่วยงานในสัังกััด สำนัักงานศาลยุุติิธรรมนำไปใช้้เป็็นแนวทางในการ รัักษาความปลอดภััยในบริิเวณศาล โดยแจ้้งหััวหน้้า หน่่วยงานในสัังกัดัสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประกอบด้้วย ประเด็็นหลััก 4 ได้้แก่่ 1) เกี่่�ยวกัับอาคารและสถานที่่� 2) เกี่่�ยวกัับเจ้้าหน้้าที่่�ตำรวจประจำศาล หรืือเจ้้าหน้้าที่่� ราชทััณฑ์์ 3) เกี่่�ยวกัับเจ้้าหน้้าที่่�รัักษาความปลอดภััย และ 4) การเยี่่�ยมและของเยี่่�ยมสำหรัับผู้้ต้้องขััง ขณะอยู่่ที่่�ศาล ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมแจ้้ง ให้้หน่่วยงานในสัังกััดจััดทำแผนรัักษาความปลอดภััย และป้้องกัันอััคคีีภััย ประจำปีี พ.ศ. 2565 เพื่่�อใช้้เป็็น แนวทางในการปฏิบัิัติิด้้านการรัักษาความปลอดภัยัของ หน่่วยงาน 2.3) มาตรการรัักษาความปลอดภััยศาลยุุติิธรรมในพื้้�นที่ ่� เสี่่�ยงภััย สำนัักงานศาลยุุติิธรรมให้้ความสำคััญต่่อ มาตรการรัักษาความปลอดภััยของหน่่วยงาน โดยใน ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะกรรมการบริิหาร ศาลยุุติิธรรมได้้ประกาศคณะกรรมการบริิหาร ศาลยุุติิธรรม เรื่่�อง กำหนดหน่่วยงานในพื้ ้�นที่่�พิิเศษ ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำหนดให้้หน่่วยงาน ศาลยุุติิธรรม จำนวน 16 แห่่ง ใน 3 จัังหวััดชายแดน ภาคใต้้ และศาลจัังหวััดนาทวีีเป็็นหน่่วยงานในพื้ ้�นที่่� พิิเศษ ทั้้�งนี้้� เพื่่�อกำกัับการดููแลความปลอดภััยให้้แก่่ ประชาชนผู้้มาติิดต่่อราชการ 2.4) การเสริิมสร้้างมาตรการรัักษาความปลอดภััยศาล ในจัังหวััดชายแดนภาคใต้้ เพื่่�อดููแลความปลอดภััย ให้้แก่่ประชาชนผู้้มาติิดต่่อราชการ ตลอดจนบุุคลากร ของศาลยุุติิธรรม โดยจััดทำมาตรการรัักษาความ ปลอดภััยศาลในจัังหวััดชายแดนใต้้ เพื่่�อคุ้้มครองชีีวิิต และทรััพย์์สิินให้้แก่่คู่่ความ ประชาชน และบุุคลากร ของศาลยุุติิธรรม โดยในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีการดำเนิินงานที่่�สำคััญ ดัังนี้ ้� (1) เสริิมสร้้างความมั่่�นคงปลอดภััยอาคารสถานที่่�สำหรัับ ศาลใน 3 จัังหวััดชายแดนภาคใต้้ ได้้แก่่ การก่่อสร้้าง ปรัับปรุุงซ่่อมแซมและสร้้างรั้้�วรอบอาคารศาล บ้้านพััก ข้้าราชการ และพื้ ้�นที่่�ในความดููแลของศาลยุุติิธรรม ทุุกแห่่ง (2) การเพิ่่�มพููนประสิิทธิิภาพในการรัักษาความปลอดภััย เพื่่�อรองรัับการบริิการแก่่ประชาชน ได้้แก่่ การจััดหา ระบบรัักษาความปลอดภััยและครุุภััณฑ์์รัักษาความ ปลอดภััยให้้ครบทุุกศาล การติิดตั้้�งกล้้องวงจรปิิดกล้้อง จัับภาพ เครื่่�องตรวจอาวุุธชนิิดเดิินผ่่าน (ประตูู) เครื่่�อง ตรวจอาวุุธขนาดเล็็ก
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 135 (3) การเสริิมสร้้างขวััญและกำลัังใจให้้แก่่ข้้าราชการและ ลููกจ้้างผู้้ปฏิิบััติิหน้้าที่่� ได้้แก่่ การสนัับสนุุนงบประมาณ เพื่่�อจััดกำลัังตำรวจตระเวนชายแดนหรืือตำรวจ มาปฏิิบััติิการรัักษาความปลอดภััยให้้แก่่ผู้้พิิพากษา และข้้าราชการ จััดหาอาวุุธปืืน เสื้้�อเกราะอ่่อน จััดฝึึก อบรม ทบทวนการใช้้อาวุุธปืืนสั้้น� เทคนิิคการป้้องกันตััว จัดัหารถยนต์ป้์ ้องกันักระสุนุเพื่่�อใช้้ในราชการและรัักษา ความปลอดภัยัในการเดินิทางของข้้าราชการ ตลอดจน จััดหาสวััสดิิการอื่่�น ๆ ให้้เพีียงพอแก่่ข้้าราชการและ ลููกจ้้างให้้เหมาะสมกัับสถานการณ์์ เช่่น การทำประกััน ชีีวิิตให้้แก่่ข้้าราชการและลููกจ้้างศาลยุุติิธรรม (4) การจััดสรรงบประมาณฉุุกเฉิิน โดยมอบอำนาจให้้ หััวหน้้าศาลเป็็นผู้้มีีอำนาจอนุุมััติิงบประมาณ เพื่่�อให้้ เกิิดความคล่่องตััวด้้านการบริิหารตามมาตรการรัักษา ความปลอดภััย (5) กิิจกรรมมิิตรภาพสร้้างสรรค์์ เพื่่�อการอยู่่ร่่วมกัันอย่่าง สัันติิ ศาลยุุติิธรรมจััดขึ้้�นเพื่่�อให้้ข้้าราชการฝ่่ายตุุลาการ ศาลยุุติิธรรม พนัักงานราชการ ลููกจ้้างที่่�ปฏิิบััติิงาน ในศาล และชาวไทยมุุสลิิมในพื้นที่่ ้� � ได้้มีีกิิจกรรมร่่วมกันั และแลกเปลี่่ยน�ความคิดิเห็น็ระหว่่างชาวไทยพุุทธ และ ชาวไทยมุุสลิิมให้้เข้้าใจประเพณีีของทั้้�งสองฝ่่าย 1.2 การส่่งเสริิมการบริหิารงานการสนัับสนุุนการอำำนวยความยุุติิธรรมด้้วยความ โปร่่งใส 1) แผนปฏิิบััติิการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตใน สำนัักงานศาลยุุติิธรรมประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้ประกาศแผนปฏิิบััติิการป้้องกััน และปราบปรามการทุุจริิตในสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประจำ ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เมื่่�อวัันที่่� 18 มีีนาคม 2565 (ตามหนัังสืือเวีียนสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ที่่� ศย 004/ว 266 ลงวันที่่ ั � 18 มีีนาคม 2565) โดยมีีความมุ่่งหมายเพื่่�อให้้สำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมมีีการดำเนิินการป้้องกัันและปราบปราม การทุุจริิตในสำนัักงานศาลยุุติิธรรมอย่่างเป็็นรููปธรรม และ หน่่วยงานในสัังกััดศาลยุุติิธรรมปฏิิบััติิราชการโดยยึึด ประโยชน์์ของประชาชนเป็็นสำคััญ ดำเนิินงานด้้วย ความซื่่�อสััตย์์สุุจริิต มีีคุุณธรรมและจริิยธรรม คำนึึงถึึง ประโยชน์ส่์ ่วนรวม ตระหนัักถึึงบทบาทและหน้้าที่่�ของตนเอง และมีีส่่วนร่่วมในการป้้องกัันและปราบปรามการทุุจริิตใน ภาครััฐ ตามแผนปฏิบัิัติิการป้้องกันัและปราบปรามการทุุจริติ ในสำนัักงานศาลยุุติิธรรมประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2) การประกาศเจตจำนงสุุจริิตในการบริิหารงานของ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้ประกาศเจตจำนงสุุจริิตในการ บริิหารงานของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เมื่่�อวัันที่่� 18 มีีนาคม 2565 (ตามหนัังสืือเวีียนสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ที่่� ศย 004/ ว 267 ลงวัันที่่� 18 มีีนาคม 2565) เพื่่�อเสริิมสร้้างความ เข้้มแข็็งของวััฒนธรรมองค์์กรตามมาตรฐานทางจริยิธรรม และ รัักษาความเชื่่�อมั่่�นศรััทธาในการดำเนิินงานของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมต่่อประชาชนด้้วยความซื่่�อสััตย์์สุุจริิต คุ้้มครอง สิิทธิิเสรีีภาพ และลดความเหลื่่�อมล้้ำของประชาชนให้้ได้้รัับ ความเป็็นธรรมอย่่างรวดเร็็ว โปร่่งใส และเข้้าถึึงง่่าย สอดรัับ กัับวิิถีีชีีวิิตรููปแบบใหม่่ของประชาชน อีีกทั้้�งผู้้บริิหาร ข้้าราชการศาลยุุติิธรรมและเจ้้าหน้้าที่่�ทุุกคนไม่่รัับของขวััญ และของกำนััลทุุกชนิดิจากการปฏิบัิัติิหน้้าที่่� (No Gift Policy) และไม่่เข้้าไปมีีส่่วนร่่วมในกิิจการใด ๆ อัันอาจเล็็งเห็็นได้้ว่่ามีี ผลประโยชน์์ทัับซ้้อน
136 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 1.3 ส่่งเสริิมให้้ศาลและหน่่วยงานต่่าง ๆ ในสำนัำกั งานศาลยุติุิธรรมใช้้ระบบการบริหิาร ความเสี่ยงและสามา ่�รถป้้องกัันปััญหาที่�อาจเกิิด ่ ขึ้้�นให้้มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น คณะกรรมการบริิหารจััดการความเสี่่�ยงของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม (เลขาธิิการสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เป็นป็ระธาน คณะกรรมการฯ) มีีมติิเห็น็ชอบแผนบริิหารจัดัการความเสี่่ย�ง สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่่�อให้้หน่่วยงานใช้้เป็็นกรอบแนวทางการบริิหารจััดการ ความเสี่่�ยงเป็็นมาตรฐานเดีียวกััน โดยมีีนโยบายด้้าน การบริิหารจััดการความเสี่่�ยงของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดัังนี้ ้� 1) ให้มีี้การบริิหารจัดัการความเสี่่ย�งที่่�เป็น็มาตรฐานเดีียวกันั ทั่่�วทั้้�งองค์์กร สอดคล้้องกัับการบรรลุุวิิสััยทััศน์์และพัันธกิิจ ขององค์์กร 2) ให้้มีีการบริิหารจััดการความเสี่่�ยงเป็็นส่่วนหนึ่่�งของ การปฏิบัิัติิงานตามปกติิรวมถึึงให้มีี้การสร้้างความตระหนัักรู้้ และกระตุ้้นบุุคลากรในการทำหน้้าที่่�ของผู้้ปฏิิบััติิหน้้าที่่�และ ผู้้กำกัับดููแลของแต่่ละหน่่วยงาน ประกาศใช้้แผนบริิหารจััดการความเสี่่�ยง สำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดย คณะกรรมการบริิหารจััดการความเสี่่�ยงของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม เพื่่�อให้้หน่่วยงานสามารถนำไปเป็็นกรอบ แนวทางการดำเนินิงานบริิหารจัดัการความเสี่่ย�งในหน่่วยงาน ให้้เป็็นมาตรฐานเดีียวกัันทั่่�วทั้้�งองค์์กร สามารถลดมููลเหตุุ ของแต่่ละโอกาสที่่�อาจก่่อให้้เกิิดความเสีียหาย ลดระดัับ ของความเสี่่�ยงและผลกระทบที่่�จะเกิิดขึ้้�นในอนาคตอยู่่ใน ระดัับที่่�สามารถยอมรัับ ประเมิิน ควบคุุม และตรวจสอบได้้ อย่่างเป็็นระบบ สำนัักงานศาลยุุติิธรรมกำหนดวิิธีีบริิหารจััดการความเสี่่�ยง กลางขึ้้�น เพื่่�อให้้การบริิหารจััดการความเสี่่�ยงเป็็นมาตรฐาน เดีียวกััน และจััดทำแผนบริิหารจััดความเสี่่�ยงสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้้วย ประเด็็นความเสี่่�ยงระดัับองค์์กร มีี 6 ระบบ ได้้แก่่ (1) ด้้าน ยุุทธศาสตร์์ (2) ระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ (3) ระบบ งบประมาณ การเงิิน การบััญชีี และการพััสดุุ (4) ระบบ สำนวนความและเอกสารทางคดีี (5) ระบบงานรัักษา ความปลอดภััย (6) โรคระบาดและภััยพิิบััติิ
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 137 3) ให้้มีีการประชาสััมพัันธ์์ให้้หน่่วยงานในสัังกััดสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมรัับทราบและเข้้าใจเรื่่�องการบริิหารจััดการ ความเสี่่�ยงมากขึ้้�น 4) ให้้มีีการติิดตาม ประเมิิน และรายงานผลการบริิหาร จััดการความเสี่่�ยงตามเงื่่�อนไขที่่�กำหนด รวมทั้้�งทบทวนและ ปรัับปรุุงการดำเนิินงานอย่่างสม่่ำเสมอ 5) ให้้มีีการนำเทคโนโลยีีสารสนเทศมาใช้้สนัับสนุุน การบริิหารจััดการความเสี่่�ยง สอดคล้้องกัับการเป็็น Smart Court 6) ให้มีี้การวางระบบเชิิงป้้องกันัและให้มีี้ระบบการแจ้้งเตืือน ล่่วงหน้้า (Early Warning Systems) ในกลไกระบบ การรายงานผล เพื่่�อให้้ทราบถึึงการเกิดิความผิดิพลาดได้้ทันทีี ั โครงสร้้างระบบการบริิหารจััดการความเสี่่�ยงของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม แบ่่งออกเป็็น 3 ระดัับได้้แก่่ ระดัับหน่่วยงาน ระดัับภาค และระดัับองค์์กร โดยแต่่ละระดัับมีีหน้้าที่่� ความรัับผิิดชอบและแนวทางการบริิหารจััดการความเสี่่�ยง ตามที่่�แผนบริิหารจััดการความเสี่่�ยงสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนด ทั้้�งนี้้� สามารถดูู ข้้อมููลเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� https://oppb.coj.go.th สรุปุผลความเสี่่�ยงระดัับหน่่วยงานในภาพรวม จำแนกเป็็น 4 ด้้าน ดัังนี้้� 1. ด้้านการดำเนิินงาน (Operation Risk: O) ระดัับความเสี่่�ยงปานกลาง 2. ด้้านการเงิิน (Financial Risk: F) ระดัับความเสี่่�ยงน้้อยมาก 3. ด้้านการปฏิิบััติิ ตามกฎระเบีียบ (Compliance Risk: C) ระดัับความเสี่่�ยง น้้อยมาก และ 4. ด้้านกลยุุทธ์์ (Strategic Risk: S) ระดัับ ความเสี่่�ยงน้้อยมาก 1.4 ส่่งเสริิมระบบการตรวจสอบภายในให้้สามารถให้้คำำแนะนำำ ในการแก้้ไขและ ป้้องกัันปััญหาที่่�อาจเกิิดขึ้้�นได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพมากขึ้้�น 1) คณะกรรมการตรวจสอบของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ดำเนิินการตามอำนาจหน้้าที่่�และความรัับผิิดชอบที่่� คณะกรรมการบริิหารศาลยุุติิธรรมกำหนด โดยสอดคล้้อง ตามหลัักเกณฑ์์กระทรวงการคลัังว่่าด้้วยมาตรฐานและ หลัักเกณฑ์์การปฏิบัิัติิการตรวจสอบภายในสำหรัับหน่่วยงาน ของภาครััฐ พ.ศ. 2561 และที่่�แก้้ไขเพิ่่�มเติิม ภายใต้้บทบััญญััติิ แห่่งพระราชบััญญััติิวิินััยการเงิินการคลัังของรััฐ พ.ศ. 2561 โดยมุ่่งเน้้นเสนอแนะแนวทางที่่�จะก่่อให้้เกิิดประสิิทธิิภาพ และประสิิทธิิผลต่่อกระบวนการบริิหารจััดการความเสี่่�ยง กระบวนการควบคุุมภายใน และกระบวนการกำกัับดููแลที่่�ดีี รวมถึึงระบบริิหารจััดการความเสี่่�ยงด้้านการทุุจริิตของ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม และระบบรัับแจ้้งเบาะแส ตลอดจน กำกัับดููแลระบบงานตรวจสอบภายในของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม ให้้มีีความเป็็นอิิสระและมีีการพััฒนาตาม มาตรฐานและหลัักเกณฑ์์ที่่�กระทรวงการคลัังกำหนด คณะกรรมการตรวจสอบของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม มีีแนวทาง การตรวจสอบการปฏิิบััติิราชการของหน่่วยงานในสัังกััด ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดัังนี้ ้� (1) ประกาศใช้้กฎบััตรการตรวจสอบภายใน ประจำปีี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกาศ ณ วันที่่ ั � 10 พฤษภาคม 2565 โดยกำหนดรายละเอีียดดัังนี้้� 1. วัตถุั ปุระสงค์์และ พัันธกิิจของสำนัักตรวจสอบภายใน 2. การปฏิิบััติิตาม หลัักเกณฑ์์กระทรวงการคลััง 3. อำนาจหน้้าที่่� 4. ความเป็น็ อิิสระและเที่่ย�งธรรม 5. ขอบเขตการปฏิบัิัติิงาน 6. หน้้าที่่� ความรัับผิดิชอบ 7. การประกันัและการปรัับปรุุงคุุณภาพ งานตรวจสอบภายใน 8. หน้้าที่่�ของหน่่วยรัับตรวจ และ 9. คำนิิยาม (2) แผนการตรวจสอบ และการปฏิิบััติิงานตามแผน การตรวจสอบ ประจำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครอบคลุุม ประเภทการตรวจสอบตามมาตรฐานการตรวจสอบ สำหรัับหน่่วยงานของรััฐ ได้้แก่่ การตรวจสอบด้้าน การเงินิและการปฏิบัิัติิตามกฎระเบีียบ (Financial and Compliance Auditing) จำนวน 39 หน่่วย
138 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม (1) กำหนดให้จั้ดัการประชุุมคณะกรรมการบริิหารความเสี่่ย�ง และการควบคุุมภายในของหน่่วยงาน อย่่างน้้อย ไตรมาสละ 1 ครั้้�ง เพื่่�อกำกัับ ดููแล ติิดตาม และควบคุุม การดำเนิินงานของหน่่วยงาน (2) จัดัให้มีีผู้้ ้ กำกัับดููแลตามสายการบัังคัับบััญชา เพื่่�อควบคุุม ดููแล ตรวจสอบ ติิดตามผลการปฏิิบััติิงานตามภารกิิจ ที่่�ได้้รัับมอบหมาย ให้้เป็็นไปตามระเบีียบ แนวทาง การปฏิิบััติิงานที่่�กำหนด และแล้้วเสร็็จภายในเวลา ที่่�กำหนด (3) ส่่งเสริิมและสร้้างความตระหนัักรู้้ด้้านความเสี่่�ยง ให้้สามารถปฏิิบััติิร่่วมกัันกัับกิิจกรรมปกติิของหน่่วย งานได้้ เพื่่�อปลููกฝัังเป็็นวััฒนธรรมการบริิหารความเสี่่�ยง ให้้แก่่ข้้าราชการศาลยุุติิธรรม และเจ้้าหน้้าที่่�ทุุกคนให้้ ปฏิบัิัติิงานอย่่างมีีประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผล นำไปสู่่ การบรรลุุเป้้าหมายกิิจกรรมตามภารกิิจของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม 2) มาตรการการควบคุุมภายในของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ตามพระราชบััญญััติิวิินััยการเงิินการคลัังของรััฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 79 บััญญััติิให้้หน่่วยงานของรััฐจััดให้้มีีการตรวจสอบ ภายใน การควบคุุมภายใน และการบริิหารความเสี่่ย�ง โดยให้้ ถืือปฏิิบััติิตามมาตรฐานและหลัักเกณฑ์์ที่่�กระทรวง การคลัังกำหนด สำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้มีีคำสั่่�งแต่่งตั้้�ง คณะกรรมการการควบคุุมภายในของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เพื่่�ออำนวยการ กำหนดแนวทาง รวบรวมพิิจารณากลั่่น�กรอง ประสานงาน และจััดทำรายงานการประเมิินผลการควบคุุม ภายในของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนัักงานศาลยุุติิธรรมมีีหนัังสืือ แจ้้งแนวทางการควบคุุมภายในด้้านการจ่่ายเงินิของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมไปยัังหน่่วยงานในสัังกััดสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เพื่่�อควบคุุมความเสี่่�ยงที่่�มีีอยู่่ให้้อยู่่ในระดัับที่่�ยอมรัับได้้ รวมทั้้�งลดโอกาสที่่�จะเกิิดความเสี่่�ยงตามแผนบริิหารจััดการ ความเสี่่�ยงของสำนัักงานศาลยุุติิธรรม สอดคล้้องกัับตััวชี้ ้� วััด ด้้านต่่าง ๆ ในการประเมิินผลการปฏิิบััติิราชการของ ศาลยุุติิธรรม โดยให้้หน่่วยงานในสัังกััดดำเนิินการ ดัังนี้ ้�
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 139 2. ส่่งเสริิมและเผยแพร่คำ่ ำ พิิพากษาและการปฏิิบัติั ิงานอื่่น�ของศาลยุติ ุ ิธรรม เพื่่�อแสดงความโปร่่งใสและตรวจสอบได้้ต่่อสัังคม 2.1 ศููนย์ ์ การเรีียนรู้ทาง้ด้้านกฎหมายและกระบวนการทางการศาล ณ ศาลฎีีกา “ศาลฎีีกานิิทรรศน์์” หรืือ ศููนย์์การเรีียนรู้้ทางด้้านกฎหมาย และกระบวนการทางการศาล ณ ศาลฎีีกา จััดตั้้�งขึ้้�นเพื่่�อ บอกเล่่าความเป็น็มาของกระบวนการทางศาลของประเทศไทย ตั้้�งอยู่่ ณ โถงด้้านทิิศเหนืือของอาคารที่่�ทำการศาลฎีีกา เป็น็ แหล่่งรวบรวมข้้อมููลสำคััญเกี่่ย�วกัับศาลฎีีกาและกระบวนการ ยุุติิธรรมทางศาล ผ่่านรููปแบบแนวคิิดและภาพลัักษณ์์ของ ศููนย์์การเรีียนรู้้ในรููปแบบ Interactive Self - Learning โดยนอกจากผู้้เข้้าชมจะสามารถเดิินชมสถานที่่�จริิงอัันเป็็น สถานที่่�สำคััญในศาลฎีีกา อาทิิ ห้้องพิิจารณาคดีีอาญาของ ผู้้ดำรงตำแหน่่งทางการเมืือง สวนหย่่อมอาคารศาลฎีีกา ห้้องพระรููปหุ่่นพระองค์์เจ้้ารพีีพััฒนศัักดิ์์� กรมหลวงราชบุุรีี ดิิเรกฤทธิ์์� แล้้วยัังสามารถเรีียนรู้้ข้้อมููลผ่่านสื่่�อการเรีียนรู้้ ที่่�ทัันสมััยผ่่าน 4 รููปแบบ กล่่าวคืือ (1) เทคโนโลยีีโลกเสมืือนจริิง หรืือ Augmented Reality (AR) ถ่่ายทอดเนื้้�อหาผ่่านบุุษบกยอดปราสาทยุุติิธรรม ภาพวาด และประติิมากรรมนููนต่่ำ (2) เทคโนโลยีีจอสััมผััสอััจฉริิยะ (Interactive Touch Screen) ผู้้เข้้าชมสามารถใช้มืื้อสััมผััสหน้้าจอประมวลผล (3) เทคโนโลยีีจอแสดงผลโฮโลแกรมฉายภาพสามมิิติิ (Pyramid 3D Hologram) (4) เทคโนโลยีีฉายภาพเคลื่่�อนไหวบนผนัังอาคารภายใน สถานที่่�จริิง (Projection Mapping) ประกอบแสง สีี เสีียง และสื่่�อผสม พร้้อมคำบรรยายสองภาษา
140 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ศาลฎีีกานิิทรรศน์์เปิดิให้้นัักเรีียน นัักศึึกษา นัักกฎหมาย และ ประชาชนทุุกหมู่่เหล่่าได้้เข้้ามารัับรู้้ศึึกษาและเข้้าใจประวััติิ ความเป็็นมาของระบบกฎหมายของประเทศ ประวััติิของ ศาลฎีีกา กระบวนการทางศาลและระบบยุุติิธรรม บทบาท หน้้าที่่� และการทำงานในการอำนวยความยุุติิธรรมแก่่สัังคม ภายใต้้หลัักการ “บริิสุุทธิ์์� ยุุติิธรรม” ของศาลฎีีกาและ ศาลยุุติิธรรมทั้้�งปวง จะมีีส่่วนสำคััญในการปลููกฝัังและสร้้าง จิิตสำนึึกแก่่คนในสัังคมให้้มีีคุุณธรรม จริิยธรรม และ เคารพในกฎหมายบ้้านเมืือง อัันจะนำไปสู่่การสร้้าง ความสงบสุุขในสัังคมได้้ทางหนึ่่�ง ทั้้�งนี้้� ผู้้ที่่�สนใจเข้้าชม สามารถติิดต่่อหรืือสอบถามข้้อมููลเพิ่่�มเติิมได้้ที่่� e-mail: [email protected] โดยสามารถดููรายละเอีียดผ่่าน สื่่�อประชาสััมพัันธ์์ ดัังนี้ ้� วีีดีีทััศน์พิิธีีเปิิ ์ด “ศาลฎีีกานิิทรรศน์์ ” https://youtu.be/zWmMEvUJfqI https://youtu.be/2Pc_weK7lHQ วีีดีีทััศน์แ์นะนำำ ศาลฎีีกานิิทรรศน์์ 2.2 การเผยแพร่คำ่ ำพิิพากษาศาลที่่�คดีีถึึงที่่�สุุดแล้้ว คำำสั่่ง �คำำร้้อง และคำำวิินิิจฉััย 1) ระบบสืืบค้้นคำพิิพากษา คำสั่่�งคำร้้อง และคำวิินิิจฉััย ศาลฎีีกา ศาลฎีีกาพััฒนาฐานข้้อมููลของระบบสืืบค้้นดัังกล่่าวอย่่าง ต่่อเนื่่�อง เพื่่�อให้้บริิการข้้อมููลอัันเป็็นประโยชน์์ด้้านกฎหมาย สำหรัับนัักเรีียน นิิสิิต นัักศึึกษา ประชาชนทั่่�วไป รวมถึึง ผู้้ประกอบวิิชาชีีพนัักกฎหมาย ที่่�สนใจศึึกษา“คำพิิพากษา คำสั่่�งคำร้้องและคำวินิิจฉัยัศาลฎีีกา” โดยสามารถสืืบค้น้ ได้้ที่่� เว็็บไซต์์ http://deka.supremecourt.or.th/ 2) ระบบสืืบค้้นคำพิิพากษาศาลชั้้�นต้้นที่่�คดีีถึึงที่ ่� สุุดแล้้ว สำนัักงานศาลยุุติิธรรมพััฒนาระบบสืืบค้้นคำพิิพากษาและ คำสั่่�งศาลชั้้�นต้้น เพื่่�อให้้หน่่วยงานในสัังกััดสามารถบัันทึึก คำพิิพากษาที่่�คดีีถึึงที่่�สุุดแล้้วและคำสั่่�งศาลชั้้�นต้้น แบบย่่อ เข้้าสู่่ฐานข้้อมููลกลาง เพื่่�อให้้บริิการประชาชนในการสืืบค้้น คำพิิพากษาและคำสั่่�งศาลชั้้�นต้้นทั่่�วประเทศ สามารถสืืบค้้น ข้้อมููลได้้ที่่� https://decision.coj.go.th โดยตั้้�งแต่่เริ่่�มใช้้งาน ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565 มีีจำนวนคำพิิพากษาย่่อ ในระบบทั้้�งหมด 18,527 รายการ และจำนวนคำพิิพากษา คดีีผู้้บริิโภค (ฉบัับเต็็ม) 1,820,293 รายการ 3) ระบบคััดถ่่ายสำเนาคำพิิพากษาและคำสั่่�งระหว่่างศาล เพื่่�อให้้บริิการคู่่ความและผู้้มีีส่่วนได้้เสีียในคดีีความสามารถ ยื่่�นคำขอคััดถ่่ายสำเนาคำพิิพากษาและคำสั่่�งของศาล หนึ่่�งศาลใดได้้ที่่�ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศ ซึ่่�งเป็็นการอำนวย ความสะดวกให้้แก่่ประชาชน ทำให้้ประชาชนสามารถ ประหยััดเวลาและลดภาระค่่าใช้้จ่่ายในการเดิินทาง โดยศาลยุุติิธรรมเริ่่�มจััดเก็็บคำพิิพากษาเข้้าสู่่ระบบโดยเป็็น คำพิิพากษาที่่�ได้้อ่่านให้้คู่่ความฟัังตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 พฤศจิิกายน 2559 และเริ่่�มให้้บริิการคััดถ่่ายคำพิิพากษาและคำสั่่�ง ศาลแก่่คู่่ความได้้ตั้้�งแต่่วัันที่่� 1 ธัันวาคม 2559 เป็็นต้้นมา ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมทั่่�วประเทศให้้บริิการ คััดถ่่ายแก่่ประชาชนผ่่านระบบดัังกล่่าว จำนวน 667 คดีี / 981 ครั้้�ง ทั้้�งนี้้� สถิิติิการใช้้งานดัังกล่่าว ไม่่รวมการคััดถ่่าย สำเนาคำพิิพากษาผ่่านระบบออนไลน์์ ซึ่่�งเป็็นอีีกช่่องทาง ที่่�คู่่ความหรืือบุุคคลที่่�เกี่่�ยวข้้องในคดีีสามารถดำเนิินการได้้ โดยไม่่จำเป็็นต้้องเดิินทางมาขอคััดสำเนาคำพิิพากษาที่่�ศาล
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 141 3. ประสานความร่่วมมืือด้้านการศาล กฎหมาย และกระบวนการยุติ ุ ิธรรม 3.1 ดำำเนิินการเกี่ยว่�กัับกฎหมายต่่างประเทศ กฎหมายระหว่่างประเทศ และข้้อตกลง ว่่าด้้วยความร่่วมมืือทางการศาล สำนัักงานศาลยุุติิธรรมดำเนิินการประสานความร่่วมมืือ ทางการศาลระหว่่างประเทศเพื่่�อให้้การอำนวยความยุุติิธรรม ที่่�ศาลยุุติิธรรมไทยต้้องดำเนิินกระบวนพิิจารณาบางส่่วน หรืือทั้้�งหมดในต่่างประเทศ โดยการร้้องขอความช่่วยเหลืือ จากศาลยุุติิธรรมหรืือหน่่วยงานในต่่างประเทศ เป็็นไปอย่่าง มีีประสิิทธิิภาพ และกรณีีที่่�ศาลยุุติิธรรมหรืือหน่่วยงาน ในต่่างประเทศร้้องขอความร่่วมมืือจากศาลยุุติิธรรมไทย ให้้ดำเนิินกระบวนพิิจารณาแทน ภายใต้้แนวปฏิิบััติิของ กฎหมายระหว่่างประเทศที่่�เกี่่�ยวข้้อง อัันเป็็นการเสริิมสร้้าง การอำนวยความยุุติิธรรมของไทยให้้เป็็นไปตามมาตรฐาน สากล ผลการดำเนิินงานปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดัังนี้ ้� ประเด็็นงาน ผลการดำเนิินงาน 1. การประสานความร่่วมมืือทางการศาลระหว่่างประเทศ 1,202 เรื่่�อง 2. ศาลยุุติิธรรมไทยร้้องขอความร่่วมมืือทางการศาลระหว่่างประเทศในคดีีแพ่่งและพาณิิชย์์ ในการส่่งเอกสารสำนวนความและสืืบพยาน 181 เรื่่�อง 3. ศาลหรืือหน่่วยงานต่่างประเทศร้้องขอความร่่วมมืือทางการศาลระหว่่างประเทศมายััง ศาลยุุติิธรรมไทยในการส่่งเอกสารสำนวนความและสืืบพยาน คดีีแพ่่ง 798 เรื่่�อง คดีีพาณิิชย์์ 52 เรื่่�อง 4. ศาลไทยร้้องขอความร่่วมมืือระหว่่างประเทศในเรื่่�องทางอาญา 177 เรื่่�อง 5. การประสานความร่่วมมืือในคดีีส่่งผู้้ร้้ายข้้ามแดน 28 เรื่่�อง 6. การประสานความร่่วมมืือในคดีีเอกสิิทธิ์์�และความคุ้้มกัันทางทููตและทางกงสุุล 18 เรื่่�อง ศาลยุุติิธรรมไทยสามารถอำนวยความยุุติิธรรมซึ่่�งต้้องดำเนิินกระบวนพิิจารณาในต่่างประเทศ ให้้แก่่คู่่ความและประชาชน ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และสอดคล้้องกัับกฎหมายระหว่่างประเทศ ยกระดัับมาตรฐานในการอำนวยความยุุติิธรรมของไทย ให้้เป็็นที่่�ยอมรัับในระดัับสากล
142 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 3.2 ประสานความร่่วมมืือกัับหน่่วยงานในกระบวนการยุุติิธรรม หรืือหน่่วยงานอื่น่� ทั้้� งภาครััฐและเอกชน ภายในและภายนอกประเทศ ศาลยุุติิธรรมและสำนัักงานศาลยุุติิธรรมได้้ประสาน ความร่่วมมืือกัับหน่่วยงานทั้้�งภายในและภายนอกประเทศ เพื่่�อขัับเคลื่่�อนนโยบายและสร้้างความร่่วมมืือด้้านการ ยุุติิธรรม การบริิหารองค์์กร และวิิชาการ ดัังนี้ ้� 1) การประชุุมสภาประธานศาลสููงสุุดอาเซีียน ครั้้�งที่่� 9 โดยศาลฎีีกาแห่่งสาธารณรััฐอิินโดนีีเซีียเป็็นเจ้้าภาพจััดการ ประชุุมในรููปแบบการประชุุมทางไกลผ่่านจอภาพไปยััง ทุุกประเทศในภูมิูิภาคอาเซีียนประธานศาลฎีีกาแห่่งประเทศไทย กล่่าวเปิิดการประชุุมฯ โดยได้้แสดงถึึงอุุดมการณ์์และ ความมุ่่งมั่่�นของศาลยุุติิธรรมไทยที่่�จะร่่วมกัันทำงานอย่่าง เป็็นอัันหนึ่่�งอัันเดีียวกััน เพื่่�ออำนวยความยุุติิธรรมสำหรัับ ประชาชนทุุกคนในภููมิิภาคอาเซีียน ประธานคณะทำงาน ว่่าด้้วยการประชุุมอาเซีียนพลััส (ASEAN+ Meetings) ซึ่่�งเป็น็ หนึ่่�งในคณะทำงานของสภาประธานศาลสููงสุุดอาเซีียน รายงานผลการดำเนินิงานของคณะทำงานฯ เกี่่ย�วกัับแนวทาง การสร้้างความร่่วมมืือในนามของสภาประธานศาลสููงสุุด อาเซีียน กัับศาลยุุติิธรรมของสาธารณรััฐประชาชนจีีน ญี่่�ปุ่่น และสาธารณรััฐเกาหลีี และผลของการหารืือแผนการ ดำเนินิงานของคณะทำงานฯ ในปีี พ.ศ. 2565 พร้้อมกันนี้ั ้� ผู้้แทน ศาลยุุติิธรรมไทยร่่วมอภิปิราย ในประเด็น็เกี่่ย�วกัับผลกระทบ ของสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 ต่่อองค์์กรศาลยุุติิธรรมและแนวทางแก้้ไขปััญหา พร้้อมกัันนี้้� ประธานศาลฎีีกาได้้ลงนามในปฏิิญญาจาการ์์ตา และกล่่าวปิดิการประชุุมฯ โดยแสดงความมุ่่งมั่่น�ในการดำเนินิ ภารกิิจที่่�ต่่อเนื่่�องและความคิิดริิเริ่่�มใหม่่อัันเป็็นประโยชน์์ ต่่อความร่่วมมืือของศาลยุุติิธรรมในภููมิิภาคอาเซีียนเพื่่�อ ความสำเร็็จขององค์์กรสภาประธานศาลสููงสุดุอาเซีียนแห่่งนี้ ้� 2) ประธานศาลฎีีกา ในฐานะประธานคณะกรรมการแห่่งชาติิ สมาคมกฎหมายอาเซีียนประจำประเทศไทย และนายจีีระพััฒน์์ พันธุ์์ ัทวีี เลขาธิิการสำนัักงานศาลยุุติิธรรม ในฐานะกรรมการ และเลขาธิิการคณะกรรมการแห่่งชาติิฯ เข้้าร่่วมการประชุุม คณะกรรมการบริิหารและคณะกรรมาธิิการถาวรของสมาคม กฎหมายอาเซีียน ครั้้�งที่่� 42 จััดโดยสมาคมกฎหมายอาเซีียน ประจำราชอาณาจัักรกััมพููชา ผ่่านระบบประชุุมทางไกลผ่่าน จอภาพด้้วยโปรแกรม Zoom ณ ห้้องประชุุมสำนัักประธาน ศาลฎีีกา ชั้้�น 2 อาคารสำนัักประธานศาลฎีีกา ถนนราชิินีี แขวงพระบรมมหาราชวััง เขตพระนคร กรุุงเทพมหานคร พร้้อมทั้้�งผู้้แทนศาลยุุติิธรรม และผู้้แทนจากหน่่วยงานอื่่�น ๆ ได้้แก่่ ศาลรััฐธรรมนููญ ศาลปกครอง สำนัักงานอััยการสููงสุุด กระทรวงยุุติิธรรม กระทรวงการต่่างประเทศ สำนัักงาน คณะกรรมการกฤษฎีีกา สภาทนายความ เนติิบััณฑิิตยสภา หลัักสููตรและคณะนิิติิศาสตร์์จากมหาวิิทยาลััยต่่าง ๆ
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 143 ประธานศาลฎีีกาในฐานะประธานคณะกรรมการแห่่งชาติิ สมาคมกฎหมายอาเซีียนประจำประเทศไทย ได้้กล่่าวปราศรัยั ในการประชุุมฯ แสดงความชื่่�นชมประธานคณะกรรมการ บริิหารฯ แห่่งราชอาณาจัักรกััมพููชา นายกสมาคมเนติิบััณฑิตยิ สภาแห่่งราชอาณาจัักรกััมพููชา นาย ไล ชานโตลา (Hon Attorney Ly Chantola) ในฐานะเจ้้าภาพการประชุุม ตลอดจน คณะผู้้จััดการประชุุมทุุกท่่านที่่�ได้้จััดเตรีียมการประชุุมอย่่าง ดีียิ่่�งภายใต้้ภาวะการแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 และแสดงความชื่่�นชมผู้้แทนประเทศสมาชิิกที่่�เป็็น คณะกรรมการในการประชุุมต่่าง ๆ ในการให้้ความร่่วมมืือ มาโดยตลอดในการเข้้าร่่วมประชุุมผ่่านระบบการประชุุม ทางไกลผ่่านจอภาพร่่วมกัันแสดงความคิิดเห็็น และแบ่่งปััน ประสบการณ์์อัันมีีค่่าเพื่่�อส่่งเสริิมและพััฒนาการอำนวย ความยุุติิธรรมให้้แก่่ประชาชนในภููมิิภาคอาเซีียนอย่่างทั่่�วถึึง ในทุุก ๆ ด้้าน รวมถึึงการแบ่่งปัันประสบการณ์์และแนวทาง การรัับมืือและการจััดการคดีีภายใต้้การแพร่่ระบาดของโรค ติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 เพื่่�อให้้การอำนวยความยุุติิธรรม เป็็นไปอย่่างต่่อเนื่่�อง 3) ศาลทรััพย์สิ์นิทางปััญญาและการค้้าระหว่่างประเทศกลาง ได้้เข้้าร่่วมการประชุุมทางไกลผ่่านจอภาพ “China Forum on International Legal Cooperation (2021)” ในหััวข้้อ “Innovation and Improvement of International Trade and Investment Rules for the Belt and Road Initiative” ที่่�จััดขึ้้�นโดยสภานัักกฎหมายแห่่งสาธารณรััฐ ประชาชนจีีน (China Law Society) โดยในการประชุุมนี้ ้� นายวรวุุฒิิ ทวาทศิิน อธิิบดีีผู้้พิิพากษาศาลทรััพย์์สิิน ทางปััญญาฯ กลาง ได้้ร่่วมนำเสนอต่่อที่่�ประชุุมในหััวข้้อ “Impacts of the Pandemic on the Restructuring of International Trade and Investment Rules” 4) การสััมมนาวิิชาการเพื่่�อแลกเปลี่่�ยนประสบการณ์์และ ความร่่วมมืือกัับเครืือข่่ายทางวิิชาการโดยความร่่วมมืือ ระหว่่างสำนัักการต่่างประเทศ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม และศาลอิินเทอร์์เน็็ตปัักกิ่่�ง สาธารณรััฐประชาชนจีีน เรื่่�อง “บริิบทของศาลในการคุ้้มครองผู้้บริิโภคในยุุคดิิจิิทััล” ได้้รัับ เกีียรติิจากวิิทยากรจากสาธารณรััฐประชาชนจีีนดำเนิินการ อภิิปรายจากศาลอิินเทอร์์เน็็ตปัักกิ่่�งผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ (Tencent Meeting) เพื่่�อสร้้างความรู้้ความเข้้าใจแก่่ ข้้าราชการฝ่่ายตุุลาการศาลยุุติิธรรมเกี่่�ยวกัับการดำเนิินคดีี ออนไลน์์และการคุ้้มครองผู้้บริิโภคจากการซื้้�อขายออนไลน์์ ของสาธารณรััฐประชาชนจีีน รวมทั้้�งสามารถนำมาเทีียบเคีียง กัับกฎหมายไทย เพื่่�อประโยชน์์ในการพััฒนากระบวนการ ยุุติิธรรมไทยต่่อไป 5) การฝึึกอบรมเชิิงปฏิิบััติิการหลัักสููตรการเรีียนรู้้แบบ ผสมผสาน ในหััวข้้อ “Human Rights, Environment/ Climate Change” รอบที่่� 2 ซึ่่�งจััดโดยสถาบัันราอููลวอล เลนเบิิร์์กว่่าด้้วยกฎหมายสิิทธิิมนุุษยชนและมนุุษยธรรม (Raoul Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian) ระหว่่างวัันที่่� 26 - 27 ตุุลาคม 2564 ผ่่านระบบ Zoom Meeting เพื่่�อเป็็นเวทีีแลกเปลี่่�ยนความรู้้ ความเข้้าใจเกี่่�ยวกัับกฎหมายด้้านสิิทธิิมนุุษยชน สิ่่�งแวดล้้อม และการเปลี่่�ยนแปลงของสภาพภููมิิอากาศ การเคารพและ ปกป้้องสิิทธิิในสิ่่�งแวดล้้อมที่่ดีี� บทบาทหน้้าที่่�ของกระบวนการ ยุุติิธรรมในการปกป้้องสิิทธิิในสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ดีี ภายใต้้ ความร่่วมมืือกัันระหว่่างหน่่วยงานที่่�บัังคัับใช้้กฎหมาย สิ่่�งแวดล้้อม ถอดบทเรีียนจากประเทศต่่าง ๆ รวมถึึงการ แลกเปลี่่�ยนแนวปฏิิบััติิที่่�ดีี ความรู้้และประสบการณ์์ร่่วมกััน 6) การประชุุมคณะกรรมการแห่่งชาติิสมาคมกฎหมาย อาเซีียนประจำ ครั้้�งที่่� 1/2564 โดยประธานศาลฎีีกาเป็็น ประธานการประชุุม และเลขาธิิการสำนัักงานศาลยุุติิธรรม เป็็นกรรมการและเลขาธิิการคณะกรรมการแห่่งชาติิฯ ผ่่านระบบ Zoom meeting เพื่่�อหารืือและเตรีียมการ คณะผู้้แทนไทยสำหรัับการประชุุมคณะกรรมการบริิหารและ คณะกรรมาธิิการถาวรของสมาคมกฎหมายอาเซีียน ครั้้�งที่่� 42 จััดโดยสมาคมอาเซีียนประจำราชอาณาจัักรกััมพููชา ในวัันที่่� 11 พฤศจิิกายน 2564
144 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 7) ร่่วมงานเสวนาออนไลน์์ หััวข้้อ การต่่อต้้านความรุุนแรง และอาชญากรรมต่่อนัักข่่าว เพื่่�อปกป้้องเสรีีภาพใน การแสดงออกของประเทศลุ่่มแม่่น้้ำโขง (Countering threats of violence and crimes against journalists to protect freedom of expression in Thailand and the Mekong countries) จััดโดย UNESCO ผ่่าน โปรแกรม Zoom ในวัันอัังคารที่่� 2 พฤศจิิกายน 2564 เวลา 09.00 – 11.30 น. 8) สถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงานศาลยุุติิธรรม เข้้าร่่วม ประชุุม 2021 UNCITRAL ADR Special Session: UNCITRAL and Regional Developments on Arbitration and Mediation ซึ่่�งจััดขึ้้�นทั้้�งในรููปแบบ on-site ณ KCAB International ประเทศเกาหลีีและ รูปูแบบ Online โดยสำนัักงานประจำภูมิูิภาคเอเชีีย-แปซิฟิิก ของคณะกรรมาธิิการกฎหมายการค้้าระหว่่างประเทศ แห่่งสหประชาชาติิ (UNCITRAL-RCAP) ร่่วมกัับกระทรวง ยุุติิธรรมเกาหลีีผู้้แทนสถาบัันอนุุญาโตตุุลาการ สำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม บรรยายเกี่่�ยวกัับพััฒนาการของกฎหมาย อนุุญาโตตุุลาการในประเทศไทย รวมทั้้�งการปรัับปรุุงแก้้ไข ข้้อบัังคัับของสถาบันัฯ เกี่่ย�วกัับกระบวนการอนุุญาโตตุุลาการ แบบเร่่งรััด (Expedited Arbitration) และพััฒนาการทาง ด้้านระบบเทคโนโลยีีดิิจิิทััลในการบริิหารจััดการคดีีอย่่างมีี ประสิิทธิิภาพ เป็็นธรรม และปลอดภััย 9) พิิธีีลงนามบัันทึึกข้้อตกลงว่่าด้้วยความร่่วมมืือใน การดำเนิินคดีีและประสานข้้อมููลเพื่่�อคุ้้มครองผู้้บริิโภค จากการซื้้�อขายออนไลน์์ กัับ สำนัักงานคณะกรรมการคุ้้มครอง ผู้้บริิโภค สำนัักงานพััฒนาธุุรกรรมทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ สำนัักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมบัังคัับคดีี สำนัักงานตำรวจแห่่งชาติิ และสภาองค์์กรของผู้้บริิโภค เพื่่�อสนัับสนุุนให้้มีีนโยบาย แผนงาน และเป้้าหมายร่่วมกััน ในการดำเนิินการคุ้้มครอง เยีียวยา และระงัับข้้อพิิพาทของ ผู้้บริิโภคจากการซื้้�อขายออนไลน์์ 10) สำนัักงานศาลยุุติิธรรมร่่วมกัับโครงการอาเซีียน - ออสเตรเลีีย เพื่่�อต่่อต้้านการค้้ามนุุษย์์และมููลนิิธิิไอเจเอ็็ม จััดการสััมมนาแนวทางปฏิิบััติิสำหรัับผู้้พิิพากษา เรื่่�อง “การปฏิิบััติิต่่อผู้้เสีียหายคดีีค้้ามนุุษย์์โดยคำนึึงถึึงบาดแผล ทางใจ” ครั้้�งที่่� 1 ณ โรงแรมคาร์์ลตันั โฮเทล แบงคอก สุขุุมวิิท กรุุงเทพมหานคร วัันที่่� 17 – 18 กุุมภาพัันธ์์ 2565 เพื่่�อให้้ ผู้้เข้้าร่่วมการสััมมนาสามารถนำแนวทางการปฏิิบััติิต่่อ ผู้้เสีียหายโดยคำนึึงถึึงบาดแผลทางใจไปปรัับใช้้ในการดำเนินิ กระบวนพิิจารณาคดีีได้้ดีียิ่่�งขึ้้�น
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 145 11) สำนัักงานศาลยุุติิธรรมร่่วมกัับมููลนิิธิิไอเจเอ็็ม (International Justice Mission: IJM) จััดการประชุุม โต๊๊ะกลมระหว่่างหน่่วยงานในกระบวนการยุุติิธรรม เพื่่�อหารืือ แนวทางเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการดำเนิินคดีีค้้ามนุุษย์์ ณ โรงแรมพููลแมน คิิงเพาเวอร์์ กรุุงเทพมหานคร เพื่่�อเป็็น พื้ ้�นที่่�ในการอภิิปรายประเด็็นปััญหาหรืือข้้อขััดข้้องต่่าง ๆ ของหน่่วยงานในกระบวนการยุุติิธรรม (สำนัักงานศาลยุุติิธรรม สำนัักงานอัยัการสููงสุดุ สำนัักงานตำรวจแห่่งชาติิ กรมสอบสวน คดีีพิิเศษ กระทรวงการพััฒนาสัังคมและความมั่่�นคง ของมนุุษย์์ กรมราชทััณฑ์์ กรมคุ้้มครองสิิทธิิและเสรีีภาพ) และหารืือแนวทางที่่�เหมาะสม ในการแก้้ไขปััญหาหรืือข้้อ ขััดข้้องที่่�เกิิดขึ้้�นในระหว่่างการดำเนิินคดีีค้้ามนุุษย์์ 12) สำนัักงานศาลยุุติิธรรม ร่่วมกัับสำนัักงานว่่าด้้วยยาเสพติิด และอาชญากรรมแห่่งสหประชาชาติิ ภาคพื้น ้� เอเชีียตะวันัออก เฉีียงใต้้และแปซิิฟิิก (UNODC Regional Office for Southeast Asia and the Pacific) จััดสััมมนาผู้้พิิพากษา ในหััวข้้อปััญหาเกี่่�ยวกัับพยานหลัักฐานในคดีีค้้ามนุุษย์์ ซึ่่�งมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อเป็็นการเพิ่่�มพููนความรู้้ทัักษะ และ แลกเปลี่่�ยนความคิิดเห็็นในประเด็็นเกี่่�ยวกัับพยานหลัักฐาน ในคดีีค้้ามนุุษย์์แก่ผู้้พิ่ ิพากษาในแต่่ละภูมิูิภาคของประเทศไทย 13) สำนัักงานศาลยุุติิธรรมในฐานะฝ่่ายเลขาธิิการสมาคม กฎหมายอาเซีียนประจำประเทศไทย ร่่วมกัับสมาคม กฎหมายอาเซีียนประจำประเทศไทยและสถาบัันกฎหมาย อาเซีียน จัดัการประชุุมระหว่่างประเทศของสมาคมกฎหมาย อาเซีียนประจำประเทศไทย ในหััวข้้อ “ALA Thailand Roundtable Discussion on Thailand & the ASEAN Comprehensive Investment Agreement” ผ่่านระบบ การประชุุมทางไกลผ่่านจอภาพ โดยมีีนัักกฎหมายจากทุุก สาขาวิิชาชีีพ ได้้แก่่ ผู้้พิิพากษา อััยการ นัักกฎหมายจาก ภาครััฐและเอกชน คณาจารย์ผู้้์สอนวิิชากฎหมายจากสถาบันั การศึึกษา นัักวิิจััย และนัักวิิชาการจากประเทศสมาชิิก อาเซีียน เข้้าร่่วมการประชุุม ประเด็็นสำคััญของเสวนาโต๊๊ะกลม ได้้แก่่ กระบวนการ ทบทวนความตกลงด้้านการลงทุุนอาเซีียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) ข้้อสัังเกตเกี่่�ยวกัับการปฏิิบััติิตามความตกลง ACIA สาระสํําคััญของความตกลง ACIA ผลประโยชน์์ที่่�นัักลงทุุน จะได้้รัับจากความตกลง ACIA การคุ้้มครองการลงทุุนใน ความตกลง ACIA ความท้้าทายในการเข้้าร่่วมความตกลง ACIA ผลกระทบของสถานการณ์์โควิดิ - 19 ต่่อเศรษฐกิิจไทย เครื่่�องมืือในการฟื้้�นฟููเศรษฐกิิจหลัังสถานการณ์์การแพร่่ ระบาดของเชื้้�อโควิิด - 19 และความตกลงทางการค้้าของ กลุ่่มประเทศอาเซีียนและประเทศนอกกลุ่่มประเทศอาเซีียน เป็็นต้้น
146 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม 4. ส่่งเสริิมสุุขภาวะที่่�ดีีของบุุคลากร และส่่งเสริิมการดำำเนิินงานด้้าน สิ่่� งแวดล้้อม 4.1 ส่่งเสริิมสุุขภาวะที่่�ดีีของบุุคลากรศาลยุุติิธรรม 1) ศููนย์์บริิการทางการแพทย์์ (Medical Center) ประธานศาลฎีีกาเป็็นประธานในพิิธีีเปิิดศููนย์์บริิการทาง การแพทย์์ (Medical Center) (วันที่่ ั � 15 ก.ย. 2565) สำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมจััดตั้้�งศููนย์์บริิการทางการแพทย์์ ณ อาคาร ศาลอาญา ชั้้น� 5 เพื่่�อให้้บริิการด้้านการแพทย์์แและสาธารณสุุข แก่่บุุคลากรของศาลยุุติิธรรม ข้้าราชการบำนาญ บุุคคล ในครอบครััว รวมถึึงประชาชนที่่�มาติิดต่่อราชการ โดยแบ่่ง การให้้บริิการเป็น็ 2 ส่่วน คืือ คลินิิกอายุุรกรรมให้้บริิการตรวจ วินิิจฉัยั และรัักษาโรค โดยแพทย์์เฉพาะทางและอาจารย์์แพทย์์ จากคณะแพทยศาสตร์์วชิิรพยาบาล เปิดิให้้บริิการทุุกวันจันัทร์์ และพฤหััสบดีี และคลิินิิกออฟฟิิศซิินโดรม ให้้บริิการด้้าน กายภาพบำบัดัด้้วยเครื่่�องมืือที่่ทั�นัสมัยัครบวงจร มีีนัักกายภาพ บำบััดจากภาควิิชากายภาพบำบััด คณะสหเวชศาสตร์์ จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ให้้การบำบััดดููแลและฟื้้�นฟูู เปิิด ให้้บริิการทุุกวัันอัังคาร พุุธ และศุุกร์์ โดยบุุคลากรสามารถ เบิิกจ่่ายค่่ารัักษาพยาบาลได้้ตามสิิทธิิ มีีบริิการนััดหมาย ล่่วงหน้้าไม่ต้่ ้องรอคิิว และบริิการรัับ – จ่่ายยาจากโรงพยาบาล มาส่่งถึึงมืือบุุคลากร
ANNUAL REPORT FISCAL YEAR 2022 THE COURTS OF JUSTICE AND THE OFFICE OF THE JUDICIARY 147 4.2 ส่่งเสริิมการดำำเนิินงานด้้านสิ่่งแวด�ล้้อม ศาลยุุติิธรรมมุ่่งเน้น้การพััฒนาระบบการดำเนินิคดีีสิ่่�งแวดล้้อม งานคดีีสิ่่�งแวดล้้อม และสนัับสนุุนบทบาทของศาลยุุติิธรรม ในการช่่วยส่่งเสริิมรัักษาสิ่่�งแวดล้้อม การบัังคัับใช้้กฎหมาย สิ่่�งแวดล้้อม (Environmental law) มีีประเด็็นสำคััญ ดัังนี้ ้� 1) แผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อมในศาลฎีกาี มีีอำนาจหน้้าที่่พิ�ิจารณา คดีีสิ่่�งแวดล้้อมทั้้�งคดีีอาญาและคดีีแพ่่งที่่�มีีผลกระทบ ต่่อทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อมตามกลุ่่มกฎหมาย สิ่่�งแวดล้้อมด้้านทรััพยากรธรรมชาติิและมลพิิษ รวมทั้้�งคดีี ที่่�ประธานศาลฎีีกาเห็็นสมควรกำหนดให้้เป็็นคดีี โดยคำสั่่�ง ศาลฎีีกาที่่� 76/2561 กำหนดให้้แผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อม ในศาลฎีีกามีีอำนาจพิิจารณาพิิพากษาคดีีตามกฎหมาย ดัังต่่อไปนี้้� (1) กลุ่่มกฎหมายอาญา ประกอบด้้วย พระราชบััญญััติิรัักษา คลองรัตนั โกสินิทรศก 121 (พ.ศ. 2445) พระราชบััญญััติิ การเดิินเรืือในน่่านน้้ำไทย พ.ศ. 2456 พระราชบััญญััติิ สำหรัับรัักษาช้้างป่่า พ.ศ. 2464 และพระราชบััญญััติิว่่า ด้้วยสิิทธิิการประมงในเขตการประมงไทย พ.ศ. 2482 (2) กลุ่่มกฎหมายแพ่่ง ประกอบด้้วย ความรัับผิดิฐานละเมิดิ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับปััญหาคุุณภาพสิ่่�งแวดล้้อม มาตรา 420 (ยกเว้น้ คดีีอุบัุัติิเหตุุ สิ่่�งปลููกสร้้าง และละเมิดทั่่ ิ �วไป) การใช้้ สิิทธิิเกิินส่่วนที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับปััญหาคุุณภาพสิ่่�งแวดล้้อม มาตรา 421 และความเสีียหายอันัเกิดิจากทรััพย์อั์นตัราย มาตรา 437 (3) คดีีที่่�ประธานศาลฎีีกาเห็็นสมควร 2) แผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อมในศาลอุุทธรณ์์จััดตั้้�งขึ้้�นตาม ประกาศคณะกรรมการบริิหารศาลยุุติิธรรม เรื่่�อง การจััดตั้้�ง แผนกในศาลอุุทธรณ์์ และศาลอุุทธรณ์์ภาค ประกาศ ณ วันที่่ ั � 30 มิถุินุายน พ.ศ. 2549 กำหนดให้จั้ดตั้้�งแผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อม ในศาลอุุทธรณ์์ คดีีที่่�อยู่่ในอำนาจพิิจารณาพิิพากษาคดีีของ แผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อมในศาลอุุทธรณ์์ คืือ คดีีสิ่่�งแวดล้้อม ตามคำสั่่�งประธานศาลฎีีกาที่่� 30/2557 เรื่่�อง ตั้้�งแผนก คดีีสิ่่�งแวดล้้อม (ภายใน) ในศาลฎีีกา และกำหนดประเภทคดีี ที่่�อยู่่ในอำนาจพิิจารณาพิิพากษาของแผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อม (ภายใน) ในศาลฎีีกา และคำแนะนำของประธานศาลฎีีกา เกี่่ย�วกัับการดำเนินิคดีีสิ่่�งแวดล้้อม โดยคำสั่่�งประธานศาลฎีีกา ที่่� 30/2547 ว่่า คดีีสิ่่�งแวดล้้อม หมายถึึง คดีิิอาญาและ คดีีแพ่่งที่่มีี�ผลกระทบต่่อทรััพยากรธรรมชาติิ และสิ่่�งแวดล้้อม ตามกลุ่่มกฎหมายสิ่่�งแวดล้้อมด้้านทรััพยากรธรรมชาติิและ มลพิิษ รวมทั้้�งคดีีที่่�ประธานศาลฎีีกาเห็็นสมควรกำหนดให้้ เป็็นคดีีสิ่่�งแวดล้้อม 3) แผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อมในศาลแพ่่ง จััดตั้้�งขึ้้�นตามประกาศ กรรมการบริิหารศาลยุุติิธรรม เรื่่�อง การจััดตั้้�งแผนกคดีี สิ่่�งแวดล้้อมในศาลแพ่่ง ประกาศเมื่่�อวัันที่่� 19 เมษายน พ.ศ. 2554 กำหนดให้้จััดตั้้�งแผนกคดีีสิ่่�งแวดล้้อมในศาลแพ่่ง เพื่่�อพิิจารณาพิิพากษาคดีีสิ่่�งแวดล้้อมตามคำแนะนำของ ประธานศาลฎีีกาเกี่่�ยวกัับคดีีสิ่่�งแวดล้้อม ดัังต่่อไปนี้้� (1) คดีีสิ่่�งแวดล้้อมที่่�เกิิดขึ้้�นในเขตศาลแพ่่ง (2) คดีีสิ่่�งแวดล้้อมที่่�เกิดขึ้้ ินน�อกเขตศาลแพ่่งซึ่่�งมีีความยุ่่งยาก ซัับซ้้อน และศาลแพ่่งได้้รัับไว้้พิิจารณาพิิพากษาตาม มาตรา 16 วรรคสาม แห่่งพระธรรมนููญศาลยุุติิธรรม ในกรณีีที่่�มีีความจำเป็็นเพื่่�อประโยชน์์แก่่ราชการ อธิิบดีี ผู้้พิิพากษาศาลแพ่่งอาจมอบหมายให้ผู้้พิ้ ิพากษาในแผนก คดีีสิ่่�งแวดล้้อมพิิจารณาพิิพากษาคดีีอื่่�นใดตามที่่�เห็็น สมควรด้้วยก็็ได้้ 2) บัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือทางด้้านการให้้บริิการทาง การแพทย์์และสาธารณสุุข (MOU) ระหว่่างสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรม กัับ โรงพยาบาลรามาธิิบดีี โรงพยาบาลศิิริิราช และโรงพยาบาลตำรวจ เพื่่�อส่่งเสริิมสนัับสนุุนการให้้บริิการ ด้้านสุุขอนามััยแก่่ข้้าราชการฝ่่ายตุุลาการศาลยุุติิธรรม และเป็็นเครืือข่่ายด้้านการแพทย์์ให้้แก่่สำนัักการแพทย์์ สำนัักงานศาลยุุติิธรรมให้้สามารถบริิการทางการแพทย์์ ได้้อย่่างมีีมาตรฐานและมีีประสิิทธิิภาพ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�ง การให้้บริิการตรวจรัักษาโรคที่่�สลัับซัับซ้้อนหรืือต้้องการ ความเชี่่ย�วชาญโดยเฉพาะ หรืือต้้องอาศัยัเครื่่�องมืือตรวจพิิเศษ การรัับส่่งต่่อผู้้ป่่วยเพื่่�อประโยชน์์ในการป้้องกันัรัักษา บำบัดั และฟื้้�นฟููการเจ็็บป่่วย นัับเป็็นก้้าวสำคััญของสำนัักงาน ศาลยุุติิธรรมในการส่่งเสริิมสุุขภาวะที่่ดีี�ให้้แก่บุุ่คลากร ซึ่่�งเป็น็ การยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตของบุุคลากรตามนโยบายของ ประธานศาลฎีีกา
148 รายงานประจำำปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมและสำำนัักงานศาลยุุติิธรรม ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศาลยุุติิธรรมมีีสถิิติิคดีีสิ่่� งแวดล้้อมที่่�เข้้าสู่่�กระบวนการพิิจารณาของศาลยุุติิธรรมทั้้� ง 3 ชั้้� นศาล ดัังนี้้� ชั้้�นศาล/ประเภทคดีี เข้้าสู่่การพิิจารณา (คดีี) คดีีแล้้วเสร็็จ อยู่่ระหว่่างการพิิจารณา จำนวนคดีี ร้้อยละ ศาลฎีีกา 1. สิ่่�งแวดล้้อม – แพ่่ง 19 11 57.89 8 2. สิ่่�งแวดล้้อม – อาญา 328 207 63.11 121 รวมศาลฎีีกา 347 218 62.82 129 ศาลชั้้�นอุุทธรณ์์ 1. สิ่่�งแวดล้้อม – แพ่่ง 35 29 82.86 6 2. สิ่่�งแวดล้้อม – อาญา 1,011 922 91.20 89 รวมศาลทั่่�วราชอาณาจัักร 1,046 951 90.92 95 ศาลชั้้�นต้้น สิ่่�งแวดล้้อม 967 644 66.60 323 รวมศาลทั่่�วราชอาณาจัักร 2,360 1,813 76.82 547 ที่มา: ส่วนระบบข้อมูลและสถิติ สำ�ำนักแผนงานและงบประมาณ สำ�ำนักงานศาลยุติธรรม 4) การพััฒนาระบบงานที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม (Green Office) สำนัักงานศาลยุุติิธรรมประกาศแนวปฏิิบััติิในการ บริิหารจััดการศาลยุุติิธรรมที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม โดยที่่� ปััญหาด้้านสิ่่�งแวดล้้อมและทรััพยากรทางธรรมชาติิมีีผล กระทบต่่อสภาพเศรษฐกิิจ สัังคม และการดำรงชีีวิติของมนุุษย์์ สำนัักงานศาลยุุติิธรรมจึึงออกแนวปฏิิบััติิในการบริิหาร จััดการศาลยุุติิธรรมที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม ดัังนี้ ้� 1) การอนุุรัักษ์์ต้้นไม้้และการจััดการพื้ ้�นที่่�สีีเขีียวในศาล (Green Conservation and Green Area) โดยมีี กระบวนการดัังนี้้� (1) การสำรวจขึ้้น�ทะเบีียนต้น้ ไม้้สำคััญ (2) การไม่่ตััดต้้นไม้้หวงห้้าม และ (3) การปลููกต้้นไม้้และ ขยายพื้ ้�นที่่�สีีเขีียว 2) การอนุุรัักษ์์พลัังงาน (Green Energy) มีีกระบวนการ ดัังนี้้� (1) การประหยััดพลัังงาน และ (2) การใช้้พลัังงาน ทางเลืือก 3) การลดขยะและการจััดการของเสีีย (Green Waste) 4) การออกแบบภููมิิสถาปััตย์์ที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม (Green Architecture) 5) การพััฒนาระบบงานที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่่�งแวดล้้อม (Green Office) 6) การประสานงานทางสิ่่�งแวดล้้อม (Green Cooperation) 7) การจัดกิั ิจกรรมเพื่่�อปลููกจิติสำนึึกทางสิ่่�งแวดล้้อม (Green Activity for Green Mind)