The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเพิ่มประสิทธิภาพการซ่อมบำรุงและการอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sinchai.taweechat1, 2021-05-11 09:12:39

การเพิ่มประสิทธิภาพการซ่อมบำรุงและการอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม

การเพิ่มประสิทธิภาพการซ่อมบำรุงและการอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม

Keywords: 0949599876

รายงาน

การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการซ่อมบารุงและการอนรุ ักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม

เสนอ

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.กณุ ฑล ทองศรี

จัดทาโดย IET 18/1

นายฤทธชิ ัย ไพรบงึ รหัสนักศกึ ษา 630407304113

นายสนิ ชัย ทวชี าติ รหัสนกั ศกึ ษา 630407304058

นายประสาน รงั ศรี รหสั นกั ศกึ ษา 630407302824

นายณรงคศ์ ักดิ์ เกิดคล้าย รหสั นักศึกษา 630407302799

นายชยั วัฒน์ บารุงถ่นิ รหสั นกั ศกึ ษา 630407302800

นายอนวุ ัฒน์ สาแก้ว รหัสนักศึกษา 630407302996

นายอภินทั ธ์ ทา้ วน้อย รหสั นกั ศึกษา 630407302941

นายณฐนนท์ พวงมณี รหสั นกั ศึกษา 630407302840

นายเทพทอง อมรนนั ทวฒั นะ รหัสนกั ศึกษา 630407304117

นายอทิ ธพิ ัทธ์ ตะ๊ วงศช์ ัย รหัสนกั ศึกษา 630407302750

รายงานเลม่ นเี้ ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวชิ า ทอ.350 เทคโนโลยกี ารซอ่ มบารงุ และอนรุ ักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม
สาขาวิชาเทคโนโลยวี ศิ วกรรมอตุ สาหการ

คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต
ปกี ารศกึ ษา 2564

คานา

รายงานฉบับนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นสว่ นหน่ึงของ รายวิชา เทคโนโลยีการซอ่ มบารงุ และอนุรักษ์พลงั งานใน
อุตสาหกรรม ทอ.350 เพ่ือให้ได้ ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการเพ่ิมประสิทธิภาพการบารุงรักษาเคร่ืองจักรใ น
อุตสาหกรรม กรณีศึกษา บริษัท ฮิโน่มอเตอร์แมนูแฟคเจอรง่ิ ประเทศไทย จากัด เพ่ือใช้ศึกษาอย่างเข้าใจและ
เพ่ือประโยชน์กับการเรียนในรายวิชา เทคโนโลยีการซ่อมบารุงและอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม ทอ.350
ของนักศึกษาระดับชั้นปีท่ี 1 IET รุ่นที่ 18 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาลยั เกษมบัณฑติ

ผู้จัดทาขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง และต้องขออภัยมา ณ ท่ีนี้ด้วย รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ
วิชา IET350 เทคโนโลยีการซ่อมบารุงและอนุรักษ์ พลังงานในงานอุตสาหกรรม โดยมีจุดประสงค์เพ่ือศึกษาหา
ความรเู้ กยี่ วกบั เรอื่ ง เชิงกล (มอเตอร)์ (Motor) ทง้ั นีใ้ นรายงานฉบับนี้จะมีเนื้อหาท่เี ก่ียวข้องกับหลักการทางาน
ของ มอเตอร์ ความหมาย หลักการทางานของมอเตอร์ ชนิดและส่วนประกอบของมอเตอร์ การ บารุงรักษา
คณะผู้จัดทารายงานฉบับนี้หวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้อ่านเป็นอย่างดี เพื่อนาไป
ปรับใช้ในการทางานในชีวิตประจาวัน ตลอดจนการศึกษา เพ่ิมเติม เพ่ือนาไปพัฒนาการงานของธุรกิจ หากมี
ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ขอ อภยั มา ณ ทน่ี ี้

คณะ ผู้จดั ทา

IET 18/1

สารบัญ หนา้
เน้อื หา 1-37
ตอนท่ี 1 การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบารงุ รกั ษาในอตุ สาหกรรม
บทท่ี 1 บทนา 1
1
1.1 ความหมายของการบารงุ รกั ษา 1
1.2 ความสาคญั ของปัญหา 2
1.3 วัตถปุ ระสงค์ 2
1.4 ขอบเขตการศึกษา 2
1.5 วธิ กี ารดาเนินงาน 3
1.6 ระยะเวลาการดาเนินงาน 3
1.7 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 4
บทท่ี 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง 4
2.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา 4
2.2 วงจรชวี ิตของเคร่อื งจักรและการเสื่อมสภาพ 6
2.3 จดุ มุ่งหมายของการบารงุ รักษา 6
2.4 ววิ ัฒนาการของการบารงุ รกั ษา 8
2.5 ประเภทของการบารงุ รักษา (Type of Maintenance) 14
2.6 การวดั ผลการบารุงรักษา 14
2.7 การวิเคราะห์ Why Why Analysis 17
2.8 พาเรโต้ หรือ เพรโต้ (Pareto) 18
2.9 งานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง 21
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ 21
3.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของบรษิ ัท 25
3.2 การศึกษาปญั หา

3.3 กาหนดโครงส้างการนา TPM มาปรปั ปรงุ ประสทิ ธิภาพโดยรวมของเคร่อื งจักร 29
บทท่ี 4 วเิ คราะหป์ ญั หาและผลการดาเนินงาน 32
32
4.1 การวัดผลหลังปรบั ปรงุ 33
4.2 การวเิ คราะหผ์ ลหลงั การปรบั ปรุง 36
บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั และเสนอแนะ 36
5.1 สรุปผลการวจิ ยั 37
5.2 ขอ้ เสนอแนะ
40
ตอนที่ 2 การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพของมอเตอรเ์ พอื่ การอนุรกั พลังงานในอตุ สาหกรรม 40
บทท่ี 1 บทนา 43
1.1 ความหมายและหลักการทางานของมอเตอร์ 43
1.2 คุณสมบัตทิ ่ัวไป 48
บทท่ี 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 54
2.1 การจาแนกของมอเตอร์ 56
2.2 ฮติ เตอร์ 60
2.3 แมกแนติกคอนแทกเตอร์ 60
2.4 สวติ ซ์ 64
2.5 ลิมติ สวติ ซ์ 65
2.6 รีเลย์ 67
2.7 อนิ เวอรเ์ ตอร์ (Inverter) 71
2.8 TEMPERATURE AND HUMIDITY CONTROLLER
2.9 หมอ้ แปลงไฟฟ้า
2.10 มอเตอรท์ นี่ ิยมใช้ในโรงงาน

บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ การ 74
การประเมนิ ประสทิ ธิภาพกอ่ นการอนรุ ักษพ์ ลังงานมอเตอร์ไฟฟ้า 74
ประสิทธภิ าพเตอร์ไฟฟ้า 74

คานวณคา่ ประสิทธิภาพมอเตอร์ 74
การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานมอเตอร์ 82
บทท่ี 4 วเิ คราะหป์ ัญหาและผลการดาเนินงาน 88
บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจยั และเสนอแนะ
94
ตอนท่ี 3 การจดั การพลงั งาน สาหรบั โรงงานหรืออาคารควบคมุ
ขอ้ มูลเบื้องตน้ 96
ขอ้ มูลดา้ นการจัดการพลังงาน 102
ขน้ั ตอนท่ี 1 คณะทางานดา้ นการจัดการพลงั งาน 103
ขั้นตอนที่ 2 การประเมนิ สถานภาพการจดั การพลงั งานเบ้อื งตน้ 107
ขน้ั ตอนท่ี 3 นโยบายอนุรักษ์พลังงาน 117
ขน้ั ตอนท่ี 4 การประเมนิ ศกั ยภาพการอนุรักษพ์ ลงั งาน
ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษพ์ ลังงาน 139

และแผนการฝึกอบรมและกจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน 149
ขน้ั ตอนท่ี 6 การดาเนนิ การตามแผนอนรุ ักษ์พลงั งาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การ 155
165
ปฏบิ ตั ิตามเป้าหมายและแผนอนุรกั ษ์พลังงาน 166
ขน้ั ตอนท่ี 7 การตรวจตดิ ตามและประเมินการจัดการพลังงาน 167
ขั้นตอนที่ 8 การทบทวน วิเคราะห์และแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของการจดั การพลังงาน 172
บรรณานกุ รม 175
ภาคผนวก 178
ภาคผนวก ก. ขอ้ มลู การใชอ้ าคาร 188
ภาคผนวก ข. ขอ้ มูลระบบไฟฟ้า 183
ภาคผนวก ค. ข้อมูลการใช้เช้อื เพลิงและพลังงานหมนุ เวียน 184
ภาคผนวก ง. ขอ้ มลู การใช้เชอื้ เพลงิ ในการผลิตไฟฟา้
ภาคผนวก จ. สดั สว่ นการใช้พลงั งานไฟฟา้
ภาคผนวก ฉ. สัดสว่ นการใช้พลงั งานความรอ้ น
ภาคผนวก ช. การประเมินศกั ยภาพของเคร่อื งจักร/อปุ กรณท์ ่ีมนี ัยสาคัญ

เพอ่ื นาไปคน้ หามาตรการอนุรักษ์พลังงาน



1

ตอนที่ 1 การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบารุงรักษาในอตุ สาหกรรม
บทที่ 1 บทนา

1.1 ความสาคญั ของปญั หา

ในปจั จบุ ันอุตสาหกรรมยานยนตม์ ีอตั ราการขยายตัวและความต้องการของผูบ้ รโิ ภคในการใช้รถยนต์สูง
ทาให้จานวนยอดการผลิตรถยนต์มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องและเนื่องจากรถยนต์เป็นที่อานวยความ สะดวก
ให้กับผู้บริโภคดังน้ันในโรงงานอุตสาหกรรมท่ีเป็นผู้ผลิตและช้ินส่วนยานยนต์ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนา
กระบวนการผลิตตอบสนองเพื่อความต้องการของลูกค้ากล่าวได้ว่าเครื่องจักรมีความสาคัญมากที่สุดต่อระบบ
อุตสาหกรรมประกอบหรือผลิตรถยนต์ดังนั้นปัญหาการเสียของเครื่อง จักรจึงเป็นปัญหาท่ีส่งผลกระทบอย่าง
มากในหลายด้าน ท้ังการสูญเสียในด้านโอกาสทางการขายในกรณีท่ีผลิตสินค้าไม่ทันการสูญเสียต้นทุนในการ
ดาเนินการผลิตจึงจาเป็นต้องมีการบารุงและรักษาเคร่ืองจักรให้อยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้อยู่เสมอ เพื่อลดการเกิด
Breakdown Maintenance (BM) คือ รอให้เสียแล้วจงึ ซ่อม เร่มิ จากทา
• Preventive Maintenances (PM) การบารุงรักษาเชิงป้องกัน (Time Based) เริ่มทาในประเทศ
สหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1920 และเร่ิมในประเทศญ่ีปุ่นปี ค.ศ. 1950 ในประเทศสหรัฐฯ เร่ิมที่บริษัท General
Electric (GE)
• Corrective Maintenance (CM) การบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง ประเทศสหรัฐอเมริกา เริ่มปี ค.ศ. 1950
ประเทศญป่ี นุ่ เริม่ ปี ค.ศ .1955
• Productive Maintenances (PM) การบารงุ รักษาทวีผล = PM+BM+CM ในประเทศสหรัฐอเมริกาเร่ิมปี
ค.ศ. 1954 ท่บี รษิ ัท General Electric (GE) ในประเทศญ่ีป่นุ เริ่ม ค.ศ. 1960

1.2 ความหมายของการบารุงรักษา

การบารุงรักษาหมายถึง กิจกรรมหรืองานทั้งหมดท่ีกระทาต่อเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆเพื่อรักษา
สภาพหรือป้องกันไม่ให้เกิดการชารุดเสียหาย โดยให้อยู่นสภาพท่ีพร้อมจะใช้งานได้ตลอดเวลา รวมทั้งช่วยยืด
อายุการใช้งานให้ยาวนานข้ึนและเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และโดยความหมายของ คาว่า“เต็มประสิทธิภาพ”
หมายถึง ให้เครือ่ งจักรมีอายุการใชง้ านยาวนานเคร่ืองจักรมีสมรรถนะสงู ตลอดอายุการใช้งาน เครื่องจกั รพร้อม
ที่จะใช้งานได้ทุกเวลา มีความคงทนความปลอดภัยในการใช้งานสูง ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษืาเคร่ืองจักรํต่า
และเหตุขัดข้องของเคร่อื งจักรเปน็ “ศูนย์ ”Down Time เป็น “ศูนย”์

1.3 วตั ถุประสงค์

การวิจยั คร้ังน้ี มีวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ดงั นี้

2

1.2.1 เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของเคร่ืองจักรและลดความสูญเสียเวลา การทางานของ
เครื่องจักร

1.2.1 เพื่อพัฒนาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักรโดยมีเป้าหมายเพ่ือลดการขัดข้องของ
เครอ่ื งจกั รโดยรวมไมน่ อ้ ยกวา่ 10%

1.4 ขอบเขตการศึกษา

การวจิ ัยครง้ั น้ี มขี อบเขตการศกึ ษาดังนี้

1.4.1 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการจัดทาระบบการบารุงรักษา เชิงป้องกัน เคร่ืองจักรใน
สายการผลิต Unit Line โดยพิจารณาเฉพาะเคร่ืองจักรพื้นท่ีที่มีความพร้อมใช้งานต่ากว่า 80% ของ บริษัท ฮี
โน่มอเตอร์สแมนแู ฟคเจอรง่ิ (ประเทศไทย) จากดั เท่านัน้

1.4.2 นาแผนการบารุงรักษาไปดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาค่า MTBF MTTR และ% Machine
Availability เพือ่ เปรียบเทียบคา่ ที่ไดก้ อ่ นการดาเนินการบารุงรักษา

1.5 วิธกี ารดาเนนิ งาน

การวิจยั ครั้งนี้ มีวิธกี ารดาเนนิ งานดังนี้

1.5.1 ศึกษาขอ้ มูลของเครือ่ งจักรในกระบวนการผลติ

1.5.2 รวบรวมขอ้ มูลความเสยี หายของเครอ่ื งจักรในกระบวนการผลติ

1.5.3 ศึกษาทฤษฎกี ารซอ่ มบารุง และงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง

1.5.4 วิเคราะหส์ าเหตกุ ารเสียหายของเครือ่ งจักร และกาหนดแผนการดาเนินการแกไ้ ข

1.5.5 ดาเนนิ กจิ กรรมการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพเคร่อื งจักร

1.5.6 นาข้อมูลมาคานวณหาประสิทธิภาพของเคร่อื งจักรก่อนและหลังการปรับปรุง

1.5.7 สรุปผลการวจิ ัยและข้อเสนอแนะ

3

1.6 ระยะเวลาการดาเนินงาน

ตารางท่ี1.1 ระยะเวลาการดาเนนิ งาน

1.7 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั

การวจิ ัยครั้งน้ี มปี ระโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับดังน้ี
1.7.1 สามารถยดื อายุการใชง้ านของเครือ่ งจักร
1.7.2 สามารถลดการหยดุ เครือ่ งจักรในขณะเดินเครื่อง
1.7.3 สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตได้อย่างต่อเน่ือง จากการที่เคร่ืองจักรยังคง พ้ืนฐานและ
ประสิทธภิ าพการทางานทดี่ ี

บทท่ี 2 ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง

4

การใช้งานเครื่องจักรในกระบวนการการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมักจะใช้งานจนกว่าจะเกิดการ
ชารุดเสยี หาย จงึ ทาการซอ่ มแซมซึง่ ทาให้เกดิ การเสยี หายในรูปแบบต่างๆตามมา ดังนนั้ จงึ ไดม้ กี ารนาเอาระบบเพ่ือ
ซ่อมบารุงเชิงป้องกัน เพื่อยึดอายุของเครื่องจักรและป้องกันไม่ให้เคร่ืองจักรเสียกะทันหันส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
กระบวนการผลิต ซ่ึงจากการศึกบาในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิตเพ่ือลดความสูญเสีย
(Downtime) ซึ่งเกิดจากการขัดข้องและเสียหาย (Break Down) ซ่ึงนาหลักการจัดงานบารุงรักษาตามสภาพ
(Condition Based Maintenance) มาวิเคราะห์งานบารุงรักษาเครื่องจักร และประเมินหาสภาพปัจจุบันของ
เครอื่ งจกั รและใช้เพอ่ื ทาการวางแผนการบารุงรักษาเท่าทจี่ าเป็นเทา่ นั้น

2.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา

การบารุงรักษา คืองานที่ต้องปฏิบัติเพื่อรักษาหรือยกสภาพของเคร่ืองจักรอุปกรณ์ต่างๆ ให้ได้มาตรฐานท่ี
กาหนด หรือเป็นการดูแลเคร่ืองจักรอุปกรณ์และ โรงงาน ให้มีประสิทธิภาพในการทางาน และสามารถใช้งานได้
ตามความต้องการซึ่งการบารุงรักษาเคร่ืองจักรน้ันมีความไกลชิดกับขบวนการผลิต และเม่ือทาการศึกษาใน
รายละเอยี ดของกิจกรรมการบารุงรักษาเครือ่ งจักรและการผลิตพบว่า วตั ถุประสงค์ของการผลิต คอื ทาการผลิตให้
ได้มาซง่ึ ผลผลิต (productivity- P)ต้องการด้วยคุณภาพ (Quality - O) ท่ไี ดม้ าตรฐาน ต้นทนุ ตา่ (cost - ๗) การสง่
มอบ (Delivery -D) และต้องเป็นเป็นไปตามกาหนดการและแผนงานที่วางไว้ การผลิตต้องอยู่ใน "ดับท่ีสร้างความ
มั่นได้นความปลอดภัย (Safety -S) ให้แก่พนักงานและทาให้พนักงานมีขวัญและกาลังใจ (Morale - M) ที่ดี ซึ่งใน
การผลติ จาเป็นตอ้ งใชท้ รพั ยากรการผลติ และเครอื่ งจกั รอุปกรณ์ก็เปน็ ส่วนหนึ่งของทรัพยากรการผลิตสว่ นที่ได้มาซ่ึง
ความพร้อมในการใช้งานของเครื่องจักรอุปกรณ์ก็เป็นวัตถุประสงค์หลักของกรบารุงรักษาเคร่ืองจักรหรืออาจจะ
กล่าวได้ว่าวัตถุประสงค์หลักของการบารุงรักษาเครื่องจักร คือ ต้องการควบคุมความสามารถในการจัดหา
เครื่องจักรอุปกรณ์ โดยให้มีต้นทุนต่าท่ีสุด และต้องขยายอายุการใช้งานของเครื่องจักรอุปกรณ์ ดังนั้นการ
บารงุ รกั ษาจงึ มีความสาคัญอยา่ งยิ่งต่อทกุ ระบบการผลติ ของโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือให้ได้เป้าหมายของการผลติ

2.2 วงจรชีวติ ของเครอื่ งจกั รและการเสอ่ื มสภาพ

วงจรชีวิตของเครื่องจักรกล (Machinery Life Cycle ) ซึ่งเป็นวิรีการท่ีจะนามาอธิบาย วงจรชีวิตของ
เครื่องจักรในช่วงเวลาต่าง ๆ โดยเร่ิมต้ังแต่การประกอบข้ึนของเคร่ืองจักร การเส่ือมสภาพของเคร่ืองจักร การ
ชารุด และการหมดสภาพการใช้งานของเคร่ืองจักร ซ่ึงเป็นที่ยอมรับในทาง วิศวกรมการบารุงรักษา คือ กราฟเส้น
โค้งรูปอ่างน้า (Bath tub Curve) ซ่ึงเป็นกราฟที่จะใช้อธิบายลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นโดยท่ัวไปกับเคร่ืองจักร จาก
กราฟจะทาการแบ่งชว่ งวงจรชวี ติ ของเคร่ืองจักรออกเปน็ 3 ช่วงด้วยกัน คอื ช่วงระยะเร่ิมด้นั ใชง้ าน (Early Failure
Period หรือ Run In Period) ช่วงที่ 2 เป็นช่วงเวลาการใช้งานปกติของเคร่ืองจักร (Random Failure หรือ Life
Time Period) สว่ นชว่ งสดุ คือช่วงระยะการสกึ หรอของเครอื่ งจักร (Wear - Out Failure )

5

ภาพที่ 2.1 เส้นโค้งอ่างอาบน้า (Bath tub Curve)

โดยสามารถอธิบายระตะเวลาต่าง ๆ ตามอัตราการชารุดของเครื่องจักรกล ในลักษณะวงจรชีวิตตลอด
อายุขัย จากรปู พอจะอธิบายความหมายได้ ดังนี้

2.2.1 ช่วงระยะเริ่มต้นใช้งาน (Early Failure Period หรือ Run - In Period) เป็นลักษณะการลดลงของ
อัตราการชารุด (Decreasing Failure Rate: DFR) อัตราการชารุดจะมีโอกาสเกิดข้ึนได้จากสาเหตุหลายประการ
เช่น การใชว้ สั ดทุ ี่ผลติ เครอ่ื งจักรไม่เหมาะสมกับการใชง้ านของเครื่องจักรหรือไมถ่ ูกต้อง การออกแบบที่ไมเ่ หมาะสม
หรือไม่ถูกต้องการควบคุมคุณภาพหรือเทคโนโลยกี ารผลติ ของการประกอบเครอ่ื งจักรไม่ดีพอ การติดต้ังเคร่ืองจักร
ผดิ ไปจากท่กี าหนดไวใ้ นคมู่ อื เครอ่ื งจักร และการใชง้ านไม่เหมาะสมหรอื ไม่ถูกต้อง ระยะน้อี ตั ราการชารุดจงึ มโี อกาส
ที่เกิดข้ึนได้สูงมาก ดังนั้น สาหรับการใช้งานของเคร่ืองจักรในระยะนี้ เมื่อเร่ิมมีการชารุดจากสาเหตุใดก็ตาม ก็ต้อง
ดาเนินการแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้พ่านพ้นในช่วงเวลาน้ีไปได้ และเมื่อผ่านฟันระยะน้ีไปแล้วอัตราการชารุดของ
เครือ่ งจักรจะค่อย ๆ ลดลง หากต้องการลดโอกาสการชารุดในช่วงระยะ นอี้ าจจะมีทางเลือกหลายทาง ซ่ึงประกอบ
ไปด้วย

การเลอื กซื้อเครอ่ื งจักรท่มี คี ุณภาพดี หรอื จากบริษัทผู้ผลติ เครือ่ งจักรทเ่ี ช่อื ถอื ได้
ซึ่งเครื่องจกั รน้ันจะดอ้ งได้รบั การออกแบบมาอยา่ งดี
ในการติดต้งั ควรติดตง้ั เครื่องจกั รใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานของบริษัทผผู้ ลิตน้ัน ๆ
ควรศกึ ษาจากคมู่ ือที่มากบั เครื่องจกั ร และทาความเข้าใจหลักการใช้งานของเคร่ืองจกั รให้ถกู ต้อง
ควรมกี ารดูแลและบารงุ รกั ษาอยู่เสมอ เม่ือมีการขดั ข้องตอ้ งรีบแก้ไขทนั ที และวางระบบการบารงุ รักษาทด่ี ี
2.2.2 ช่วงใช้งานปกติของเคร่ืองจักร (Random Failure หรือ Life Time Period) เป็นช่วงท่ีต่อเน่ืองจาก
ระยะแรก เม่ือมีการใช้งานมาระยะหน่ึงแล้ว เป็นช่วงที่มีการปรับปรุงหรือมีการเปล่ียนแปลงใหม้ ีเสถียรภาพในการ

6

ทางานของเคร่ืองจักรมาแล้ว อัตราการชารุดจะ ไม่ค่อยมี แต่ในบางโอกาสก็เกิดขึ้นได้ ข้ึนออยู่กับการใช้งานและ
การบารงุ รกั ษา และจะคงอยใู่ นสภาพเช่นนนั้ ในระยะเวลาหน่ึง ซง่ึ ถา้ ต้องการให้ระยะการใช้งานปกติของเคร่ืองจักร
ยาวนานนั้นข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน เช่น ใช้งานไม่เกินภาระท่ีได้รีบกรออกแบบไว้ บารุงรักษาตามที่
กาหนดไว้คู่มือเคร่ืองจักและควบคุมสภาพแวดล้อมที่เครื่องจักรติดตั้งใช้งานอยู่ให้เหมาะสมตามที่ออกแบบไวม้ ีการ
ควบคุมสิ่งเหล่านี้ได้ จะเห็นได้ว่าเส้นกราฟเป็นส้นขนานกับแกนเวลา นั่นคืออัตราการชารุดเสียหายค่อนข้างคงท่ี
(CFR : Constant Failure Rate : Constant)

2.2.3 ช่วงระยะเวลาของการสึกหรอของเคร่ืองจักร (Wear - Out Period) เคร่ืองจักรผ่านระยะการใช้งานมา
เป็นเวลานาน ๆ ทาให้เกิดการล้า ขึ้นกับชิ้นส่วนของเคร่ืองจักร ทาให้ชื้นส่วนของเครื่องจักรเริ่มเส่ือมสภาพ เช่น
เกิดการสึกหรอ เมื่อเส่ือมมากข้ึน อัตราการชารุดก็เพ่ิมสงู ขึ้นด้วย ซ่ึงเป็นช่วงที่เรียกวา่ อัตราการชารดุ เสยี หายต่อย
ๆ มากขึน้ (Increasing Failure Rate: IFR)

2.3 จุดมุ่งหมายของการบารุงรักษา

2.3.1. เพื่อให้เครือ่ งมือใช้ทางานได้อยา่ งมีประสิทธผิ ล (Effectiveness) คอื สามารใชเ้ ครอื่ งมือเครื่องใช้ได้
เต็มความสามารถและตรงกับวัตถปุ ระสงค์ทจ่ี ัดหามามากทสี่ ดุ

2.3.2. เพอื่ ใหเ้ ครือ่ งมือเครื่องใช้มสี มรรถนะการทางานสงู (Performance) และชว่ ยให้เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้มี
อายุการใช้งานยาวนาน เพราะเมื่อเครื่องมือได้ใช้งานไประยะเวลาหน่ึงจะเกิดการสึกหรอ ถ้าหากไม่มีการปรับแต่ง
หรือซ่อมแซมแล้ว เครอ่ื งมอื อาจเกดิ การขัดขอ้ ง ชารุดเสียหายหรือ ทางานผดิ พลาด

2.3.3. เพือ่ ใหเ้ ครื่องมือเครื่องใช้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ (Reliability) คือ การทาให้เครื่องมือเคร่ืองใช้มี
มาตรฐาน ไมม่ ีความคลาดเคล่อื นใด ๆ เกิดขึ้น

2.3.4. เพอ่ื ความปลอดภยั (Safety) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายทส่ี าคญั เครื่องมอื เครอ่ื งใช้จะต้องมคี วามปลอดภัย
เพียงพอต่อผู้ใช้งาน ถ้าเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางานผิดพลาด ชารุดเสียหาย ไม่สามารถทางานได้ตามปกติ อาจจะ
ก่อใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ และการบาดเจ็บต่อผู้ใช้งานได้ การบารงุ รกั ษาท่ีดีจะชว่ ยควบคุมการผิดพลาด

2.3.5. เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เพราะเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ที่ชารุดเสียหาย เก่าแก่ ขาดการ
บารงุ รกั ษา จะทาใหเ้ กิดปัญหาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เช่น มฝี ุ่นละอองหรือไอของสารเคมีออกมา มีเสียงดงั เปน็ ตน้ ซ่ึงจะ
เปน็ อันตรายต่อผปู้ ฏิบัติงานและผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง

2.3.6. เพื่อประหยัดพลังงาน เพราะเคร่ืองมือเครื่องใช้ส่วนมากจะทางานได้ต้องอาศัยพลังงาน เช่น ไฟฟ้า
นา้ มันเช้ือเพลิง ถ้าหากเครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ไดร้ บั การดูแลให้อยู่ในสภาพดี เดินราบเรยี บไมม่ กี ารรั่วไหลของนา้ มัน การ
เผาไหมส้ มบูรณ์ ก็จะส้นิ เปลอื งพลงั งานน้อยลง ทาให้ประหยดั คา่ ใช้จา่ ยลง

2.4 วิวัฒนาการของการบารุงรักษา

ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1996) เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน มีการกล่าวถึงทฤษฎีการบริหารธุรกิจ
อย่างมากมาย โปรแกรมการบริหารจานวนมากที่มีตัวย่ออักษรภาษอังกฤษ 3 ตัวก็ผุดข้ึนมามากมาย เช่น การ
บริหารโดยวัตถุประสงค์(Management by objective: MBO), การบริหารโดยผลลัพธ์ (Management by
results: MBR), การบริหารคณุ ภาพโดยรวม (Total quality management: TQM), การควบคุมกระบวนการด้วย

7

กลวิธีทางสถิติ (Statistical process control: SPC), การผลิตแบบทันเวลาพอดี(Just-in-time: JIT), การ
บารุงรักษาทวีผลท่ีทุกคนมีส่วนร่วม (Total productive maintenance: TPM), การยกเคร่ืองกาปฏิบัติการทาง
ธุรกจิ (Business practice re-engineering: BPR), และ การบารงุ รกั ษาโดยความเชอ่ื ถือได้เปน็ สาคญั (Reliability-
centered maintenance: RCM)

กอ่ นปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) การควบคมุ คณุ ภาพมักมงุ่ ไปทกี่ ารตรวจและทดสอบผลิตภัณฑส์ นิ ค้าสาเร็จ
เท่านั้น ถ้าผลิตภัณฑ์มีผลการตรวจสอบที่ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพแล้วก็จะต้องท้ิงผลิตภัณฑ์ ชุดนั้นหรือนาผลิตภัณฑ์
ชุดน้ันไปซ่อมแซม ในช่วงต้นยุคปี พ.ศ. 2513 ส่ิงที่บริษัททั้งหลายในประเทศญ่ีปุ่นปฏิบัติกันก็คือการบริหาร
คุณภาพโดยรวม ศูนย์กลางของการปฏิบัติน้ีคือการลดของเสียท่ีเกิดในกระบวนการผลิตใน ทุกกระบวนการผลิต
เป้าหมายของกิจกรรมนี้คือต้องมีของเสียเป็นศูนย์ พนักงานผู้ปฏิบัติงานในฝ่ายผลิตจะได้รับการอบรมเกี่ยวกับการ
ควบคุมกระบวนการ ดว้ ยกลวิธที างสถิติซึ่งทาใหเ้ กิดการผ่าตดั การทางานมงุ่ สู่การกาจดั ของเสีย ให้หมดไป

แนวคิดใหม่ท่ีมุ่งการกาจัดของเสียแนวใหม่น้ีไม่เพียงแต่จะสาเร็จการปรับปรุงการผลิตเท่าน้ัน แต่ยังมี
ผลข้างเคียงท่ีช่วยลดต้นทุนโดยรวมของการผลิตลงได้อีกด้วย สินค้าของญี่ปุ่นกลายเป็นสินค้าที่มีความน่าเช่ือถือ
และราคาถูกเม่ือเปรียบเทียบกับสินค้าจากประเทศอื่นๆ ด้วยเหตุน้ีจึงทาให้หลายๆบริษัทในแถบอเมริกาเหนือและ
ยุโรปตา่ งกต็ ้องการนาเอา TQM ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ กระบวนการผลิตบ้างในปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) และตอ่ มา
กไ็ ด้รับการขยายไปในส่วนต่างๆของโลกอยา่ งกว้างขวาง

TQM จะแตะกับทุกกิจกรรมและทุกประเด็นของธุรกิจ JIT เป็นแขนงย่อยอันหน่ึงของ TQM ท่ีมุ่งการ
บริหารวัสดุคงคลังให้เป็นศูนย์ คือวัตถุดิบคงคลังเป็นศูนย์ สินค้าระหว่างทาเป็นศูนย์ และสินค้าสาเร็จคงคลังเป็น
ศูนย์ TPM เช่นกันท่ีเป็นอีกแขนงหนึ่งของ TQM ซ่ึง มีแนวคิดการพัฒนาความร่วมมือของพนักงานในสายการผลติ
ให้มีส่วนร่วมในการดูแล รักษาเคร่ืองจักรและอุปกรณ์หรือกิจกรรมการบารุงรักษาเชิงป้องกัน เป้าประสงค์ท่ี
ต้องการซ่ึงดูเหมือนจะห่างไกลจากความเป็นไปได้คือการพยายาม ถ่ายงานบารุงรักษาทั้งหมดไปให้พนักงานฝ่าย
ผลิตรับผิดชอบ พบว่าแนวทาง TPM เช่นน้ีมีขีดจากัดของความสาเร็จในอุตสาหกรรมเน่ืองจากปัญหาการ
ดาเนินการ บางคร้งั พบว่าพนักงานไม่ได้รับการอบรมท่ดี ีพอก่อนทจี่ ะทางาน หรือบางครัง้ ก็เป็นเพราะพนักงานซ่อม
บารงุ จดั ทาโปรแกรมบารุงรักษาท่ีไม่ดีพอไม่สามารถสง่ ต่อให้พนักงานผลิตได้

ในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) TQM แบบฉบับแนวคดิ “ของเสียเปน็ ศนู ย์” ซึ่งเริ่มสญู เสยี การสนับสนุนจาก
อตุ สาหกรรมท่ีเคยไดร้ ับความนยิ มไป ดว้ ยคุณภาพเพียงเพ่ือคุณภาพของผลติ ภัณฑโ์ ดยไม่ได้มองไปยังเส้นฐานก็เป็น
เพียงการทาร้ายธุรกิจเท่านั้น แนวทางใหม่ที่เรียกว่า “การยกเคร่ืองการปฏิบัติการทางธุรกิจ” หรือ BPR จึงเป็น
แนวคิดใหม่ในขณะน้ันสาหรับแต่ละอุตสาหกรรมในการปรับปรุงธุรกิจของเขาจากคาแนะนาของเจมส์ แชมพีและ
ไมเคลิ แฮมเมอร์ในหนังสือ“Reengineering the Corporation, 2003” กลา่ วว่า BPR ทาใหเ้ ห็นวา่ TQM มคี วาม
บกพร่องอย่างไรบ้าง และได้แนะนาให้มีการยกเครื่องกระบวนการผลิตเพ่ือกาจัดกิจกรรมความสูญเปล่าหรือ
กจิ กรรมทีไ่ ม่ก่อมลู ค่าเพิ่มออกไป โดยการจัดกระแสการไหลของกระบวนการ การกาจดั ขนั้ ตอนงานซ้าซอ้ น รวมถึง
การลดจานวนพนักงาน คล่ืนของการลดขนาดองค์กรท่ีเกิดข้นึ ในปี พ.ศ. 2533 ได้รบั คากลา่ วตาหนิอยา่ งมากซ่ึงอาจ
ไมเ่ ปน็ ธรรมนักสาหรบั การทา BPR ท่เี ปน็ ผลทาให้เกิดการลดจานวนพนกั งานที่ไม่ก่อใหเ้ กดิ ผลลพั ธต์ ่อองคก์ ร

2.5 ประเภทของการบารงุ รกั ษา (Type of Maintenance)

8

ภาพที่ 2.2 แผนภาพประเภทของการบารงุ รักษา (Type of Maintenance)

2.5.1. การบารงุ รักษาหลังเกดิ เหตขุ ดั ขอ้ ง (Breakdown Maintenance)
เป็นการบารุงรักษาเม่ือเคร่ืองจักรเกิดการชารุดและหยุดการทางานโดยฉุกเฉิน กล่าวได้ว่าเป็นวิธีด้ังเดิมใน
การบารงุ รกั ษา แต่ก็หลกี เลีย่ งไม่ไดท้ ่ีจะใชว้ ิธีน้ี เพราะสามารถเกดิ เหตขุ ดั ข้องกบั เคร่ืองจักรได้ตลอดเวลา แมว้ า่ จะมี
การบารุงรกั ษาเชงิ ปอ้ งกนั ท่ดี เี ย่ียมสักเพียงใดกต็ าม
2.5.2. การบารุงรกั ษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM)
เป็นการบารุงรักษาเพื่อป้องกันการเส่ือมสภาพการเกิดเหตุขัดข้อง หรือการหยุดทางานของเครื่องจักรโดย
ฉกุ เฉิน โดยอาศยั การตรวจสภาพเคร่อื งจกั ร การทาความสะอาด ขันน็อตสกรใู หแ้ นน่ และหลอ่ ลื่นอยา่ งถูกวธิ ี มีการ
ปรับแตง่ เคร่ืองจักร รวมถึงการบารงุ และเปลี่ยนชิ้นสว่ นอะไหลต่ ามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ โดยการบารงุ รกั ษาชนิดนี้
สามารถแบ่งยอ่ ยได้ 2 แบบ คือ

9

- การบารุงรักษาตามระยะเวลา (Periodic Maintenance หรือ Time Based Maintenance: TBM) คือ
การดาเนินการอยู่เป็นระยะ ๆ ผ่านการตรวจสอบ ทาความสะอาดอุปกรณ์ และเปล่ียนชิ้นส่วนอะไหล่เพื่อป้องกัน
ความเสียหายอยา่ งฉับพลัน หรอื เกดิ ปัญหาตอ่ กระบวนการผลติ

- การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ (Predictive Maintenance) คือ การให้ความสาคัญและใส่ใจกับชิ้นส่วนท่ี
สาคญั ของเครื่องจกั ร เปน็ การคาดการณผ์ ่านการตรวจสอบ หรือวนิ จิ ฉยั เพ่อื ทจี่ ะให้ช้ินส่วนน้ัน ๆ สามารถใช้งานได้
ครบอายุการใช้งานจริง ๆ กล่าวได้ว่าเป็นการบริหารจัดการแนวโน้มของคุณค่า (Trend Values) โดยอาศัยการ
ตรวจวัดและการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการเส่ือมสภาพ และสามารถกล่าวได้อีกอย่างหน่ึงว่าเป็น การบารุงรักษา
ตามสภาพ (Condition Based Maintenance: CBM) ดว้ ย โดยมากแลว้ จะใช้อุปกรณว์ ิเคราะห์การสั่น (Vibration
Analyses) และมีระบบเฝ้าติดตาม (Surveillance System) เพ่ือตรวจสอบสภาพผ่านระบบออนไลน์ (On–line
System)

2.5.3. การบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance) เป็นการดัดแปลง ปรับปรุงแก้ไข
เคร่ืองจักรหรือช้ินส่วนของเคร่ืองจักร เพื่อขจัดเหตุขัดข้องเร้ือรังของเครื่องจักรให้หมดไปโดยสิ้นเชิง และปรับปรุง
สภาพของเคร่ืองจักรใหส้ ามารถผลติ ได้ดว้ ยคณุ ภาพและปรมิ าณท่สี ูงข้ึน โดยเป็นการพัฒนาความนา่ เชื่อถือและง่าย
ตอ่ การบารุงรกั ษา

2.5.4. การป้องกันเพื่อบารุงรักษา (Maintenance Prevention) เป็นการดาเนินการเพ่ือให้ได้มาซึ่ง
เครื่องจักรที่ไม่ต้องมีการบารุงรักษา หรือบารุงรักษาให้น้อยที่สุด โดยอาศัยการออกแบบเครื่องจักรให้มีความ
แขง็ แรง ทนทาน บารุงรักษาได้ง่าย มกี ารใชเ้ ทคนคิ และวัสดุท่ีจะทาให้เคร่ืองจกั รมีความน่าเชื่อถือ (Reliability) สงู
รวมถึงเลือกซือ้ เครื่องจักรที่มีประสิทธภิ าพ ทนทาน ซอ่ มงา่ ยและสมราคา

2.5.5. การบารุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance) เป็นการบารุงรักษาที่นาเอาการบารุงรักษาที่
กลา่ วมาข้างต้นมาประกอบเขา้ ด้วยกนั เพ่ือสง่ เสริมการผลติ ให้เกดิ ผลสูงสดุ เทา่ ท่ีจะเปน็ ไปได้

2.5.6. การบารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance: TPM) เป็นการ
บารุงรักษาท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของทุกคน ทั้งพนักงานปฏิบัติการในสายการผลิต (Operators) และพนักงานฝ่าย
ซอ่ มบารุง (Maintenance group) ซึ่งจะรบั ผิดชอบในการบารุงรกั ษาอปุ กรณ์และเครื่องจักรต่าง ๆ ร่วมกัน

2.5.6.1 องค์ประกอบหลักของ TPM โดยหากพูดถึงองค์ประกอบของระบบ TPM แล้ว จะมีองค์ประกอบ
หลักๆจะมี หลังคาที่เปรียบเสมือนเป้าหมายขององค์กร และเสาหลักท้ัง 8 เสาท่ีทาหน้าที่รับภาระจากเป้าหมายมา
อกี ที และในสว่ นสดุ ทา้ ยคอื รากฐานทเ่ี ปรยี บเสมอื นความม่ันคงรับภาระตอ่ จากเสาต่ออกี ที

10

ภาพที่ 2.3 องคป์ ระกอบหลักของ TPM

2.5.6.2 หลงั คาและเปา้ หมายของ TPM
มผี ลิตภัณฑท์ ีเ่ สียหาย หรือไม่ไดค้ ณุ ภาพเปน็ ศูนย์ (Zero defects)
ความขดั ขอ้ งในการผลิตของเครือ่ งจักรเปน็ ศนู ย์ (Zero Breakdown)
อุบตั เิ หตุตอ้ งเป็นศูนย์ (Zero Accident)

2.5.6.3 รากฐานของ TPM และระบบ 5 ส และมีฐานราก ซึ่งมีความสาคัญไม่แพ้กัน และเปรียบเสมือน
เปน็ สง่ิ ให้เสาหลักแต่ละเสาวางไดอ้ ยา่ งมน่ั คง นัน้ คอื ระบบ 5ส (5s) ซึ่งมีหลักๆ 5 ขนั้ ตอนคือ

สะสาง (Seiri – Sort) คือการจาแนก และแยกแยะระหว่างส่ิงท่ีจาเป็นกับส่ิงท่ีไม่จาเป็น และทาการการ
กาจัดส่ิงที่ไม่จาเป็นทิ้งไป ยกตัวอย่างเช่นการจัดพ้ืนที่การทางานในพื้นที่การผลิต และทิ้งอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้หรือไม่
จาเปน็ ครับ

สะดวก (Seiton – Set) คือการจัดระเบียบเพื่อทาให้ส่ิงที่อยากใช้งาน สามารถถูกนามาใช้งานได้อย่าง
ง่ายดาย และมีประสิทธิภาพ และยังเป็นการลดเวลาในการค้นหาสาหรับคนทางานอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่นการ
จัดการกล่องเกบ็ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์เพือ่ ใหห้ ยบิ ใช้ไดง้ ่าย เปน็ ตน้

สะอาด (Seiso – Sweep) คือการทาความสะอาดสถานท่ีในพ้ืนที่ เพื่อลดปัญหาต่างๆถูกค้นพบได้ง่ายข้ึน
ยังเป็นการสร้างความปลอดภัย และความม่ันใจให้กับคนที่ทางานหรือใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่นั้นๆ ยกตัวอย่างเช่น
การกาจดั คราบ หรอื เศษขยะบริเวณพื้นท่กี ารทางาน

11

สรา้ งมาตรฐาน (Seiketsu – Standardized) คือ การกาหนดมาตรฐานในการปฏบิ ัติงาน ใหม้ รี ะเบียบและ
ความชัดเจนมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การสร้างมาตรฐาน (Standard) กฏเกณฑ์ข้อบังคับใช้ (Procedure) ขั้นตอน
การ ดาเนินงานตา่ งๆ (Work Instruction) ในแตล่ ะแผนกหรือองคก์ ร เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แนวทางและสรา้ งความชัดเจน

สร้างวินัย (Shitsuke – Sustain) คือ การสร้างวินัยเพ่ือให้ปฏบิ ัติได้ตามมาตรฐาน และวิธีปฏิบัติการต่างๆ
ที่ได้กาหนดข้ึนมา และยังสามารถถูกรักษาไว้ในระยะยาว ยกตัวอย่างเช่น ระบบการตรวจสอบ (Audit) หรือ การ
ปฏบิ ัติตาม KPI และ Compliance ตา่ งๆ ขน้ั ตอนเหล่าน้ีเร่ิมจัดการวเิ คราะหพ์ น้ื ท่หี รือระบบการปฏบิ ตั ิการ เพือ่ หา
สิ่งที่จาเป็นและสิ่งที่ไม่จาเป็น จัดวางส่ิงของเรียบร้อย ทาความสะอาด และสร้างขั้นตอนเพื่อท่ีจะทาให้หน้าที่
ประจาวนั เหลา่ นมี้ รี ะบบมากข้นึ

เสาที่ 1 : การบารุงรักษาดว้ ยตวั เอง (Autonomous Maintenance)

หรอื เรียกในภาษาญ่ปี ุ่นคือ “JISHU HOZEN” คอื การสรา้ งกระบวนการบารุงรักษาเบ้ืองตน้ ของเครื่องจักร
โดยทแ่ี ตล่ ะเคร่อื งจะมีผดู้ แู ลและผู้รับผิดชอบอยา่ งชัดเจน แต่การทาความสะอาดไปจนถึงการบารุงรักษาข้ันพื้นฐาน
ซ่ึงกระบวนการน้ี คือต้องอาศัยการพัฒนา และการสร้างทักษะให้กับพนักงานดูแลเครื่องในระยะยาวในการที่จะ
สามารถดแู ล และเขา้ ใจเคร่ืองจักรได้อย่างดี ดังน้ันเครอ่ื งจักรถูกดูแล และทาให้พร้อมใช้งานเสมอครับ โดยผลลัพธ์
ที่ได้ถือว่า สร้างผลประโยชน์ให้แก่บริษัทอย่างมหาศาลโดยเป็นการลดค่าใช้จ่ายในงานซ่อมบารุง (Reduce
Maintenance cost), ลดการเสียหายแบบกะทันหัน (Break Down) และท่ีสาคัญที่สุด ทาให้ลดโอกาสในการ
สญู เสียในการผลติ (Loss of Production Opportunity; LOPC)

เสาท่ี 2 : การซ่อมและบารงุ รักษาตามแผน (Planned Maintenance)

โดยเป้าหมายของกระบวนการของ การบารุงรักษาตามแผน หรือ Planned Maintenance คือ “ทาให้
เคร่ืองจักรปราศจากปัญหาขณะใช้งาน” และ “เคร่ืองจักรจะต้องผลิตสินค้าให้ได้ตามคุณภาพตามความต้องการ
และพงึ พอใจกบั ลกู คา้ ” ซง่ึ หากแบ่งประเภทของงาน Planned Maintenance จะแบง่ ได้ 4 แบบหลักๆคือ

Breakdown Maintenance ตัวน้ีเรียกว่าเป็นการวางแผน “ให้ใช้งานจนพัง” หรือ run-to-fail ใช้สาหรบั
เคร่อื งจกั ร หรืออุปกรณท์ ี่ไมไ่ ด้มคี วามสาคญั ต่อโรงงาน หรือคา่ ซอ่ มไม่ได้แพงมาก

Preventive Maintenance คือ งานซ่อมท่ีทาในทุกวัน (daily maintenance) ยกตัวอย่างเช่น งานทา
ความสะอาด, งานตรวจสอบ, งานเตมิ นา้ มันและอดั จาระบี เปน็ ต้น ซึ่งงานพวกน้ถี อื เป็นการรักษาระดับสุขภาพของ
เครอื่ งจกั รใหพ้ ร้อมใชง้ าน ซงึ่ หากแบง่ ลงไปจะแบ่งได้เป็น

Time Base Maintenance; TBM หรอื การบารงุ รกั ษาตามเวลา

Predictive Maintenance หรือการบารุงรักษาแบบคาดการณ์ล่วงหน้า โดยเกิดจากการวัดสภาพต่างๆ
เพือ่ คาดการณ์

Corrective Maintenance คือ การพัฒนา หรือ แก้ไขจุดอ่อน ของเคร่ืองจักรน้ันๆ ให้เครื่องจักรมี
ประสิทธภิ าพ และอายใุ ช้งานท่สี ูงข้ึน

Maintenance Prevention คอื กระบวนการทโี่ ฟกสั ไปที่การออกแบบเครื่องจักรต้ังแตแ่ รกเรม่ิ โดยตอ้ งมี
ความรู้ความเข้าใจเครือ่ งจกั รน้ันๆ และออกแบบใหเ้ หมาะกับการใช้งานในโรงงานจรงิ ๆ ซึง่ เมอ่ื เราทางาน Planned

12

maintenance ได้ดีเราก็สามารถเปล่ียนระดับงานซ่อมบารุงจาก Reactive เป็นข้ันสูงคือ Proactive
Maintenance

เสาที่ 3 : การปรบั ปรงุ เฉพาะเรื่อง (Focus Improvement)Improvement goal

หรือเรียกตามภาษาญี่ปุ่นคือ “Kobetsu Kaizen” ซ่ึงหากไปดูคาว่า Kaizen คาว่า Kai- ที่แปลว่า การ
เปลี่ยนแปลง และคาว่า Zen- ที่แปลว่า ดีข้ึน เมื่อรวมกันแล้วจะแปลว่า การเปล่ียนแปลงเพ่ือให้ดีข้ึนแต่เป้าหมาย
ของเสานี้จริงๆคือ “การปรับปรุงให้ดีข้ึนอย่างเล็กๆน้อยๆเป็นปริมาณมาก” เพ่ือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอัน
ย่งิ ใหญซ่ งึ่ กระบวนการน้ีไมต่ ้องการนวตั กรรมอนั สุดยอด หรือการลงทุนอย่างมหาศาล เพยี งแค่ปรับปรงุ การสญู เสีย
บางกระบวนการทางาน หรือการปรับปรุงและพัฒนาบางส่วน หรือกระบวนการ ก็ถือว่าถูกเป้าหมายแล้ว ซึ่ง
โดยท่วั ไป กระบวนการนี้สามารถลดต้นทนุ ให้กับบรษิ ทั ได้ถึง 30%

เสาที่ 4 : การจดั บริหารจดั การต้ังแตข่ ้ันตอนของการออกแบบ (Early Equipment Management)

การออกแบบในเชงิ วิศวกรรมของเครือ่ งจักร และระบบตา่ งๆในขัน้ ตน้ ทดี่ ี จะสามารถชว่ ยเพ่ิมประสิทธิภาพ
ผลิต และต้นทุนการผลิตของโรงงานได้อย่างมาก และยังส่งผลต่อกาลังผลิต อายุใช้งาน และความน่าเช่ือถือของ
เครอ่ื งจักรโดยตรง โดยขัน้ ตอนน้ีจะใชค้ วามสามารถทางวิศวกรรมในการออกแบบเครื่องจักร ซึ่งโรงงาน หรือบริษัท
จะต้องยึดถือมาตรฐาน และการออกแบบท่ีเป็นสากล รวมถึงเทคโนโลยีต่างๆให้เป็นปัจจุบันเสมอ และประยุกต์ใช้
ให้เหมาะกับโรงงานนั้นๆให้เหมาะสม ซ่ึงเคร่ืองจักรพวกนี้มีความสามารถในการผลิต และส่งผลต่อต้นทุนการผลิต
โดยตรงเลยยกตัวอย่างเช่น การออกแบบเคร่ืองจักรตัวหนึ่งซึกมีประสิทธิภาพที่สูงกว่า และประหยัดไฟท่ีใช้ในการ
เดนิ เคร่อื งจักรมากกวา่ แค่นตี้ ้นทุนของเรากจ็ ะต่ากวา่ รวมถงึ การออกแบบเสน้ ทางเขา้ -ออก ในการทาความสะอาด
และสาหรับงานซอ่ มบารุงรกั ษา

เสาที่ 5 : การจดั บรหิ ารจัดการเพ่ือคุณภาพ (Quality Management)

สาหรับเสานจี้ ะมีจุดมุง่ หมายเพือ่ ทจ่ี ะตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้วยการคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
ให้สูงที่สุด (Highest quality) โดยท่ีปราศจากของเสียท่ีเกิดจากกระบวนการผลติ (Defect free manufacturing)
โดยกระบวนการ QM (Quality Management) จะมีแนวคิดท่ีว่า หากเครื่องจักรสามารถทางานได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพแล้ว คุณภาพของผลิตภัณฑ์ก็จะมีความสมบรูณ์ครบถ้วน ซึ่งในทางกลับกันหากเครื่องจักรเกิดความ
ผิดปกติ ผลิตภัณฑ์ที่ออกมาย่อมไม่ได้คุณภาพ และเกิดความเสียหายเช่นเดียวกันแต่กระบวนการท่ีใช้ในการ
ตรวจสอบว่า สินค้าน้ัน ก็คือ กระบวนการควบคุมคุณภาพ QC (Quality control) ซ่ึงเป็นการตรวจสอบสินค้าใน
กระบวนการผลิตให้เปน็ ไปตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ โดยการตรวจสอบมีตัง้ แต่ การตรวจวตั ถุดิบ (Raw material)
การตรวจสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์ (Packaging) การตรวจสอบคุณภาพระหว่างการผลิต การตรวจสอบคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป (Finish Good) ซ่ึงเม่ือกระบวนการ QC สาเร็จเสร็จสิ้นครบถ้วน ก็สามารถทาการรับประกัน
คุณภาพของสินค้า หรือ QA (Quality Assurance) ให้กับลูกค้าได้ ให้มีคุณลักษณะตรงกับความต้องการของลูกค้า
และดูแลแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาให้ได้มาตรฐานอยู่เสมอ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดกับลูกค้า (Customer
Satisfaction)

เสาท่ี 6 : การจดั บรหิ ารจดั การเพอื่ คุณภาพ (Education & Training)

13

มีจุดมุ่งหมายท่ีจะพัฒนา ความรู้และทักษะ (Knowledge & skill) ให้กับคนทางาน ให้เค้าสามารถที่จะ
สามารถทางานได้เต็มประสิทธิภาพ มีความสามารถท่ีจะรับผิดชอบงานเองได้ (Independently) โดยมีคากล่าววา่
“คนทางานจะต้องไม่เพียงแค่รู้ว่าทาไปทาไม (Know-How) แต่จะต้องรู้ถึงระดับท่ี (Know-Why)”ไม่เพียงแต่
ความรู้และทักษะ ในส่วนของด้าน soft skill เช่นเรื่องของ ความคิด (Mindset) ความตระหนักรู้ (Recognition)
และ จริยธรรม (Morale) ยังเป็นส่วนท่ีสาคัญในองค์กรท่ีต้องสร้างอย่างจริงจังควบคู่กันไปซึ่งจะต้องมีการประเมิน
วัดผลได้ และสรา้ งเสน้ ทางในวิชาชพี (Career Path) ของสาขานั้นๆ อยา่ งชัดเจนด้วยนะครบั

เสาที่ 7 : ความปลอดภยั ระบบชีวอนามยั และสิง่ แวดลอ้ ม (Safety Health and Environment)

เสานี้มจี ดุ มุ่งหมายในการสรา้ ง “สถานที่ทางาน และบรเิ วณโดยลอ้ มให้มคี วามปลอดภัย”โดยท่ีเริ่มจากการ
“กาจัดกระบวนการทางานที่เป็นอันตราย และไม่ปลอดภัยออกไป”สภาพแวดล้อมการทางานที่ปลอดภัยจะทาให้
พนักงานสามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ือง ทั้งพื้นที่
การผลติ และในสว่ นของสานักงานโดยการสร้างต้องเริ่มจากความตระหนัก (Awareness) ของตัวพนักงานทุกๆคน
และจากนัน้ ต้องมกี ารรณรงค์ และการสนบั สนุนของผู้บริหารอย่างตอ่ เนือ่ ง

เสาท่ี 8 : TPM ในสานักงาน (Office TPM)

เป็นกระบวนการทาให้ทุกแผนกในสานักงานเข้าใจ และสามารถนาหลักการของ TPM มาใช้งานได้จริงใน
แผนก โดยการสนับสนุนกระบวนการทางานเพ่ือสนับสนุนฝ่ายผลิต ฝ่ายซ่อมบารุงรักษา ตลอดจนผลประโยชน์
สูงสุดตามเปา้ หมายหลกั ของ TPM (ดังไดก้ ล่าวมาแลว้ ) ใหก้ ระบวนการมีประสิทธภิ าพ และมคี วามกระชบั ทสี่ ุดโดย
หลักการคือ กระบวนการทางานไหนท่ีทางานซ้าซ้อน หรือไร้ประโยชน์ทาให้การทางานเกิดความล้าช้าก็ควรท่ีจะ
ตัดทิ้งออกไป และกระบวนการทางานไหนที่ยังขาดอยู่และมีประโยชน์แก่บริษัทจะทาการเพ่ิมเข้าไป (แต่คุณภาพ
หรือกระบวนการโดยองค์รวมต้องไม่เสียนะครับ)เพื่อท่ีจะทาให้ทุกแผนกสามารถเพิ่มคุณค่าให้กับระบบการทางาน
ของแตล่ ะแผนก เน่อื งจากสามารถประหยดั “เวลารอ” ของแผนกฝา่ ยผลติ ได้

สรุปแล้ว ในปัจจุบันท่ามกลางการแข่งขันอันดุเดือนในวงการอุตสาหกรรม โปรแกรม TPM อาจจะเป็นส่ิง
เดียวท่ีทาให้บริษัทก้าวเข้าสู่ “ความสาเร็จ (Success)” ด้วยการบริหาร “ความเสียหายโดยรวม (Total failure)”
และ TPM ยังไม่ได้จากัดอยู่แค่โรงงานอุตสาหกรรมได้เท่านั้น แต่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน งานก่อสร้าง, งานตึก
อาคาร และ งานขนส่ง เป็นต้น และ TPM ไม่ใช่โปรแกรมท่ีต้องทาให้ได้เป้าในแต่ละเดือนๆ แต่เป็นโปรแกรมที่จา
นาพาองคก์ รสคู่ วามสาเรจ็ และยัง่ ยืนอยา่ งแท้จริง

2.6 การวัดผลการบารงุ รักษา

2.6.1 เวลาเฉลี่ยระหวา่ งการขัดข้อง (Mean Time between Failures; MTBF) เป็นค่าเฉล่ีย ของเวลาของ
การเกิดความบกพร่องของเครื่องจักรสามารถนามาวิเคราะห์ เพ่ือใช้พิจารณาปรับเปล่ียน ความถี่หรือกาหนดเวลา
ที่เหมาะสมในการบารงุ รักษาเคร่ืองจักรอปุ กรณ์แต่ละตัวโดยพิจารณากับ แผนการบารุงรกั ษาเดิมท่ีมีอยู่เพ่ือความ
เหมาะสม โดยมีสตู รดงั น้ี

14
2.6.2 เวลาเฉล่ียในการซ่อม (Mean Time To Repair; MTTR) เป็นค่าเฉล่ียของเวลาที่ใช้ใน การซ่อมเมื่อ
เกิดความบกพร่องของเครื่องจักรฝ่ายเทคนิคจาเป็นต้องทราบค่าทางวิศวกรรมตัวน้ีเพ่ือใช้ในการวางแผนงานซ่อม
บารุงรักษา โดยมสี ตู รดังน้ี

2.6.3 อัตราความสูญเสียจากการหยดุ เคร่ืองจักร คือ เวลาท่ีเครอื่ งจกั รหยุดทางานทั้งหมด

2.6.4 ความพร้อมใชง้ านของเคร่ืองจักร คือ เวลาทเ่ี คร่ืองจักรใช้ในการทางานท้ังหมด

2.7 การวเิ คราะห์ Why Why Analysis

การวิเคราะห์ Why Why Analysis จะเป็นการวิเคราะห์ หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหา โดยหากเรา
สามารถค้นพบสาเหตุรากเหง้าและกาจดั ได้แล้ว ปัญหาเดิมจะไมเ่ กดิ ซา้ หากปัญหาเดมิ เกดิ ซ้า แสดงวา่ การวิเคราะห์
ของเราน้ันมาผิดทาง หรือ อาจมีบางสาเหตุตกหล่นไป อาจจะต้องมาทาการวิเคราะห์ใหม่เคร่อื งมือนี้เป็นเคร่ืองมือ
ท่ีมีประสิทธิภาพสูงมาก หากผู้วิเคราะห์ มีความเข้าใจ และมีความชานาญในงานที่ตนทาอยู่ รวมถึงความรู้ด้าน
วิศวกรรม ที่ Toyota 5-Why Analysis ถูกใช้เป็นเครื่องมือหลักในการวิเคราะห์ปัญหา จากประสบการณ์ของ
ผเู้ ขยี น พบวา่ ส่วนใหญก่ ารใช้หลักการ Why Why Analysis นั้น เปน็ ไปเพยี งเพอ่ื นาเสนอต่อลกู ค้า เมื่อเกิดปัญหา
จากลูกค้า เท่าน้ัน แต่ปัญหาเดิมยังคงเกิดซ้าอยู่เรื่อยๆ อาศัยเพียงการตรวจสอบท่ีถี่ขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเปล่า
ตามมา การวิเคราะห์ Why Why Analysis นั้นเป็นเพียงเครื่องมือ ในการวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าเท่าน้ัน การ
จะทาให้ปัญหานั้น หมดไป จึงจาเป็นจะต้อง ประยุกต์หลักการอ่ืนๆเข้ามาช่วย เช่น เทคนิค Poka-Yoke, Triz เป็น
ต้น ทั้งน้ที งั้ นั้น ขนึ้ อยกู่ ับสภาพปญั หา ที่เรากาลงั วิเคราะห์

กรณีดาเนินการวิเคราะห์ Why-Why Analysis ต้องเร่ิมจากการรวบรวมเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ
จากน้นั ต้องดาเนินการ ณ สถานที่จรงิ กับของจรงิ ซงึ่ ทัง้ 2 ข้อน้ัน คอื ปจั จยั สาคญั ในการวิเคราะหส์ าเหตุรากเหง้าที่
ประกอบไปด้วย Genba , Genbutsu , Genjitsu , Genri และ Gensoku การใช้ 5 Gen น้ีจะทาให้เราวิเคราะห์
หาสาเหตขุ องปญั หาผ่าน Why Why analysis ได้ถกู จุด โดยลงไปสมั ผสั พืน้ ท่ีจริง ของจริง สภาพการณ์จรงิ ในขณะ
เกิดการปฏบิ ัติงาน จะทาให้เราวิเคราะหส์ าเหตุถูกจดุ

15

ภาพท่ี 2.4 การใช้ 5 Gen ในการวิเคราะหป์ ญั หา

ทาไม การวิเคราะห์ Why Why Analysis จึงต้องใช้ควบคู่กับ 5 Gen (Go to see)สืบเนื่องจาก การ
วิเคราะห์ด้วย Why Why Analysis ในอดีตมีข้อด้วยคือ ขาดการทวนสอบจากสถานที่จริง จึงทาให้เกิดการ
วิเคราะห์อยู่เพียงบนโต๊ะทางาน ทาให้ปัญหาจริงๆไม่ได้รับการแก้ไข และค่อนข้างจะเอนเอียง ในกาวิเคราะห์ด้วย
การไล่คาตอบ ให้เข้ากับความคิดในใจ ของผู้ตอบ มากกว่าสภาพการจริงในหน้างาน ดังนั้น จึงต้องใช้หลักการของ
5 Gen เข้าไปด้วย ในหลายๆครั้งผู้ที่ทาการวิเคราะห์หรือทีมงาน อาจจะต้องไปเข้าในสถานท่ีทางานมากกว่า 10
คร้ังขึ้นไปในแต่ละหัวข้อท่ีทาการวิเคราะห์ เพ่ือมองสภาพการและค้นหาคาอธิบาย ต่อปรากฏการณ์ต่างๆของ
ปัญหาท่ีเกิดขึ้น และในหลายๆคร้ัง เราสามารถคิดย้อนกลับด้วยการ “ทาให้เกิดของเสียซะเอง”โดยเทียบกับของ
เสีย ท่ีเกิดขึ้น เพื่อหาคาอธิบายและปรากฏการณ์ของปัญหา และจะต้องมีการติดตามวัดผลสาเร็จเสมอ แล้วจัดทา
เป็นมาตรฐาน ต่อไป
2.7.1ข้นั ตอนการวเิ คราะห์ Why Why Analysis

2.7.1.1. จัดลาดับความสาคัญหัวข้อที่จะทาการปรบั ปรุงผ่าน Pareto ในข้นั ตอนนีจ้ ะเปน็ การ เลอื กสาเหตุ
ใหญ่ๆมาทาการปรับปรุง ผ่านแผนภาพ pareto โดยเลือกปัญหาจาก KPI ทาไมจึงเลือกจาก KPI ก็เพราะว่า การ
ปรบั ปรุงใดใด หากไมส่ อดคล้องกับกลยุทธหลกั ขององค์กรแล้ว จะทาใหก้ ารเติบโตขององค์กร เป็นไปได้ชา้

2.7.1.2. เลือกหัวข้อที่จะทาการปรับปรุงหรือแก้ไขหลังจากได้สาเหตุหลัก ท่ีจะนามาแก้ไขแล้ว ให้ทาการ
เขียน ปญั หาใหม้ ีความกระชับ เข้าใจงา่ ย

2.7.1.3. จัดตั้งทีมงานท่ีเก่ียวข้องในส่วนนี้จะเป็นการ นาผู้ที่เก่ียวข้องกับการปรับปรุง มาช่วยกันทาการ
วิเคราะหห์ าสาเหตุ รวมไปถึงพนกั งานระดับหน้างานดว้ ย เพราะเป็นผู้เขา้ ใจสถานการณด์ ที ส่ี ดุ

16

2.7.1.4. สอบถามสภาพการณ์เบ้ืองต้น (ตรวจหาความผิดปรกติ)ในข้ันตอนนี้จะมีความสาคัญมาก ในการ
ตรวจหาความผิดปรกติของสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น “ห้องประชุมแอร์ไม่เย็น (อุณหภูมิ มากกว่า 28 องศา ตลอด
การใช้งาน) หากเราทาการวิเคราะหท์ นั ที โดยไม่สอบถามสถานการณ์เลย ทุกคนจะม่งุ ไปที่ เครื่องทาความเยน็ ทันที!
ทั้งๆที่ เครื่องทาความเยน็ อาจจะไม่ไดเ้ สียก็ได้ หากไมท่ าความเข้าใจกับสถานการณ์กอ่ น กจ็ ะเป็นการนงั่ เทียนทันที
ในกรณีน้ี คนทเี่ ราจะตอ้ งถามก่อนใครคือ คนคุมห้องประชมุ ว่า เมื่อวานแอรเ์ ย็นมย้ั วนั กอ่ นเย็นมัย้ วันนก้ี บั วันกอ่ น
มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หลังจากสอบถาม คนคุมห้องก็บอกว่า วันก่อนยังเย็นอยู่ เม่ือวานก็เย็นอยู่ แต่วันน้ี
คนเข้าห้องประชุมเยอะมาก แถมเปิดม่านกระจกด้วย เพราะแสงข้างในไม่พอ จากข้อความข้างต้น จะเห็นได้ว่า
ขัน้ ตอนน้จี ะละเลยไมไ่ ด้ เพราะจะทาให้การวิเคราะห์ผดิ ประเด็นไป

2.7.1.5. Brainstorming ในส่วนน้ี จะเป็นการระดมความเห็น ของทีมงาน ผู้เขียนแนะนาว่า ควรจะมี
Leader Team เพ่ือไม่ให้การระดมสมอง กลายเป็นสนามรบ และควบคุมการระดมสมอง ให้อยู่ในแนวทางการ
แก้ไขปัญหา

2.7.1.6. ตรวจสอบความถูกต้องผ่าน 5 Gen หลังจากระดมสอง และแตก ทาไม ทาไม ออกมาได้แล้ว
เบื้องต้น ให้พาทีมงานไปดู สถานการณ์จริง และวิเคราะห์ผ่าน 3 Gen แรกก่อน เพื่อตรวจสอบความผิดปรกติ โดย
เทียบกับมาตราฐาน หากพบว่า ทุกโอกาสท่ีเป็นไปได้ อยู่ในมาตราฐาน ให้ใช้ อีก 2 Gen ท่ีเหลือ หมายความว่า
การแก้ไขนั้น ไม่เพยี งพอ จาเป็นจะต้องปรับปรงุ

2.7.1.7. จัดทามาตราการโต้ตอบหลงั จากทเี่ ราพบ สาเหตรุ ากเหง้าแล้ว ใหเ้ ราหามาตราการโต้ตอบโดยเน้น
ให้อยู่ในรูปแบบ Visual Control ซ่ึงจะประกอบไปด้วย ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา การปรับปรุงใดๆก็ตาม ให้ใช้
วธิ ีการท่ีง่าย คา่ ใชจ้ า่ ยต่า ประสิทธิภาพสูง

2.7.1.8. ตรวจสอบความสาเร็จของงานเมื่อทาการแก้ไข หรือ ปรับปรุงไปแล้ว ก็ให้ติดตามผลว่า ปัญหา
ดังกล่าวได้ เกิดขึ้นซ้าหรือไม่ หรือ ลดน้อยลง อย่างมีนัยสาคัญหรือไม่ ผ่านรูปแบบของกราฟ หรือ การทดสอบ
สมมุติฐาน ทางสถิติ หากพบว่า ปัญหาไม่ได้ลดลง ให้กลับมาวิเคราะห์ใหม่ทันที แสดงว่า มีสาเหตุท่ีตกหล่นไป ใน
การวิเคราะห์ครั้งแรก

2.7.1.9. จัดทามาตราฐานหากพบว่า มาตรการโต้ตอบน้ันได้ผล ก็ให้จัดทามาตราฐานขึ้น เพื่อรักษาไว้ซ่ึง
ระดบั คณุ ภาพตอ่ ไป

วธิ ีการวิเคราะห์ Why Why Analysis โครงสร้างการเขียน Why Why Analysis จะมีโครงสร้างเหมือนกัน
คือ ซ้ายสุดจะเป็นปรากฏการณ์ หรือ ส่วนแสดงปัญหาท่ีจะแก้ไข จากน้ันจะเร่ิมถาม “ทาไม” ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ
พบสาเหตุรากเหง้าของปัญหา โดยทั่วไปพบว่า หากถาม ทาไม อยู่ประมาณ 5 คร้ังแล้ว เราจะพบคาตอบ คาถาม
คือว่า จาเป็นต้อง 5 หรือไม่ คาตอบคือ ไม่จาเป็น ในหลายๆครั้ง เราถามทาไมแค่ 3 ครั้ง ก็พบคาตอบแล้ว คาถาม
ที่ว่า เราจะรู้ได้อย่างไรว่า นี้คือสาเหตุรากเหงา้ อันดับแรกให้เราถามตัวเองก่อนว่า ถ้าสาเหตุน้ีถูกแก้ไขแล้ว ปัญหา
นี้จะไม่เกิดขึ้นอีกใช่หรือไม่หรือ ไม่สามารถถามทาไม ได้อีกแล้ว จากนั้นในส่วนสุดท้าย จะเป็นการหา มาตรการ
โตต้ อบ เพ่อื แก้ไข ปัญหา โดยรูปแบบการเขยี นจะเปน็ ลักษณะดงั รูป

17

ภาพที่ 2.5 โครงสร้างการวิเคราะห์ Why Why Analysis

จากภาพ จะเห็นว่า มีเคร่ืองหมาย NG ในส่วนน้ีจะหมายถึง เม่ือใช้หลักการ 5 Gen (Go to see) แล้ว
พบวา่ สาเหตุนัน้ ๆ ไมต่ รงกบั ความเปน็ จรงิ ผา่ น 5 Gen กจ็ ะติด เครือ่ งหมาย NG ไว้ หรือ จะตดั สว่ นนอ้ี อกกไ็ ด้

2.8 พาเรโต้ หรือ เพรโต้ (Pareto)

พาเรโต้ หรือ เพรโต้ (Pareto) เป็นเคร่ืองมือหน่ึงท่ีใช้แสดงรายละเอียดของส่ิงที่เราสนใจในรูปแบบของ
กราฟผสมระหว่างกราฟแท่ง กับกราฟเส้น โดยเรียงลาดับของรายละเอียดในแต่ละหัวข้อตามลาดับความถ่ีมากไป
หาถี่ที่น้อยกว่า ตามหลักของกฎ 80:20 หรือ กฏของเพลโต ที่ว่า สาเหตุหลัก 20% ส่งผลทาให้เกิดผลลัพธ์ 80%
หลักการพาเรโต (กฎ 80:20) ต้ังขึ้นในปี 1895 กฎดังกล่าวอธิบายถึง “สิ่งที่สาคัญหรือมีประโยชน์จะมีอยู่เป็น
จานวนที่น้อยกว่าสิ่งท่ีไม่สาคัญ หรือไม่มีประโยชน์ซ่ึงมีจานวนท่ีมากกว่า” เป็นกฎที่แสดงถึงความไม่สมดุล หาก
นาเอาหลักการนม้ี าประยุกต์เป็นแบบหลักการ “ทานอ้ ยได้มาก” จะไดผ้ ลลพั ธเ์ พ่ิมข้ึน การทุม่ เทและจริงจังในการ
ทางานเป็นเร่ืองดี แต่ความเป็นจริงแล้ว “เราไม่สามารถทุ่มเทกับทุกเร่ืองได้” จุดสาคัญอยู่ที่ว่าการที่เราตัดสินใจที่
จะเลอื กเน้นสิง่ ทสี่ าคัญมากกวา่ ซ่งึ เป็นกจิ กรรม 20% ท่สี าคัญใหส้ าเร็จก่อนเพอ่ื ใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ 80% ดงั นนั้ เราตอ้ งหา
สาเหตุ หรือต้นตอของปัญหาหลักให้เจอ และแก้ไขโดยเร็วที่สุด สาหรับรายละเอียดส่วนใหญ่ที่นาเสนอมีหลาย
ประเภท เช่น ปัญหางานแตก เกิดจากการขนย้ายซึ่งเป็นปัญหาหลกั ถ้าเราแก้ไขปัญหาการขนย้ายได้ โอกาสที่ของ
เสียจะลดลงถึง 80% ดังน้ันเราต้องหาสาเหตุ หรือต้นตอของปัญหาหลักให้เจอ และแก้ไขโดยเร็วที่สุด สาหรับ
รายละเอียดสว่ นใหญท่ ่ีนาเสนอมีหลายประเภท เชน่ ปริมาณของเสีย คณุ ภาพสนิ ค้า อุบัตเิ หตุ ความปลอดภัย การ
ส่งมอบ ค่าใช้จ่าย ซ่ึงหัวข้อเหล่านี้จะนาไปสู่การแก้ไขปัญหา หรือวางแผนการดาเนินงานต่อไป และพาเรโต้นี้ยัง
นิยมใชป้ ระกอบการดาเนินกิจกรรมคิวซีซีเป็นอย่างมาก สาหรบั ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับของพาเรโต้ มีหลายประการ ไดแ้ ก่

1)ทาให้ทราบถึงหัวข้อท่ีมีความถี่สูงสุด เช่น ปัญหาที่มีความสูญเสียมากที่สุด ชนิดของปัญหาท่ีมีความถี่
มากที่สดุ

2) ทาให้ทราบอัตราส่วนของปัญหาที่เกิดข้ึน เม่ือเปรียบเทียบกับปัญหาอ่ืนๆ 3) ทาให้ทราบลาดับ และ
ความสาคัญของปัญหา

18

ภาพที่ 2.6 ตัวอย่างกราฟพาเรโต้ – Pareto Chart

2.9 งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง

2.9.1 ณฐั ณชิ จารตั น์ และคณะ (2559) ไดศ้ กึ ษาเร่ือง “การจดั ทาระบบบารงุ รักษาเชงิ ป้องกัน เครือ่ งจักร
(กรณีศึกษา บริษัท อเอส ไบโอเอนเนอร์ยี่ จากัด)” ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษา และวางแผนเก่ียวกับการ
บารุงรักษาเคร่ืองจักรเชิงป้องกันในแผนกวิศวกรรมของ บริษัท อเอส ไบโอ เอนเนอร์ย่ี จากัด โดยศึกษาถึงสภาพ
ของบริษัท อเอส ไบโอเอนเนอร์ยี่ พบวาขาดการวางแผนที่ดีซึ่ง การบารุงรักษาจะกระทาเม่ือครั้งเครื่องจักรหรอ
เกิดขัดข้องและไม่มีการจัดรูปแบบองค์กรทางด้านการ บารุงรักษาที่ชัดเจน ไม่มีการนาข้อมูลการขัดข้องของ
เครื่องจักรมาวิเคราะห์ เพ่ือใช้ในการวางแผนการ บารุงรักษาอันมีสาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการ
บารุงรักษาจึงทาให้การดาเนินการเดิน เครื่องจักรขาดประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุง
การบารุงรักษาเชิงป้องกัน เครื่องจักรให้แก่ บริษัท อเอส ไบโอเอนเนอร์ยี่ จากัด เพื่อเพิ่มระยะเวลาเฉล่ียระหว่าง
การเกดิ เหตกุ ารณ์ขัดข้องและลดเปอรเ์ ซน็ ตร์ ะยะการเกิดเหตขุ ัดขอ้ งของเครื่องจักรโดยจัดทาแผนการ บารุงรักษา
รายวน แผนการบารุงรักษารายเดือน แผนการบารุงรักษารายปีพร้อมกลับจัดการอบรม พนักงานเพื่อให้มีความ
เข้าใจในระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกันและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพโดยได้มีการจัดทาการ
บารุงรักษาเชิงป้องกันเคร่ืองจักรทั้ง 7 ประเภท ได้แก่ เครื่อง Johnson Pump, เครื่อง Centrifugal Pump,
เคร่ือง Cooling Tower, เคร่ือง Pump ลูกสูบ, เครื่อง Ebara Pump,เคร่ือง Robusta Blower, เคร่ือง Pump
ระบบ Water Chiller โดยก่อนการ ทาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกันอัตราการความสูญเสียจากการหยุด
เครื่องจกั รอยู่ท่ี 17.02% ภายหลงั จากการนาระบบการบารงุ รกั ษาเชิงป้องกนั มาใช้อัตราความสูญเสยี จากการหยุด
เคร่อื งจักร อยทู่ ่ี 3.43% ซง่ึ ลดลง 79.84% ทาใหเ้ ครือ่ งจักรมปี ระสทิ ธิภาพสูงข้นึ

2.9.2 สุชีพ ทิพย์โอสถ และคณะ (2558) ได้ศึกษาเรื่อง “การจัดทาระบบบารุงรักษาเชิงป้องกัน อาคาร
True Tower 2 (กรณีศึกษาบริษัท พร้อม เทคโนเซอร์วส จากัด)” ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็น การศึกษาและ
วางแผนเก่ียวกับการบารุงรักษาเชิงป้องกันอาคาร True Tower 2 กรณีศกึ ษาของ บรษิ ัท พรอ้ ม เทคโนเซอร์วิส
จากัด โดยได้ศึกษาถึงสภาพของอาคารพบวาขาดการวางแผนท่ีดีซ่ึงการ บารุงรักษาจนเมื่อเคร่ืองจักรเกิดการขด
ข้องและไม่มีการจัดรูปองค์กรทางด้านการบารุงรักษาท่ี ชดเจนไม่มีการนาข้อมูลการขัดข้องของเครื่องจักรมา

19

วิเคราะห์เพื่อใช้ในการวางแผนการบารุงรักษา อันมีสาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการบารุงรักษาจึงทา
ให้การดาเนินการผลิตขาด ประสิทธิภาพ ดังน้ันการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุงการบารุงรักษาเชิงป้องกัน
เคร่ืองจักรให้แก่ อาคาร True Tower 2 เพ่ือเพิ่มระยะเวลาเฉล่ียระหว่างการเกิดเหตุขัดข้องและลดเปอร์เซ็นต์
ระยะเวลาการเกิดเหตุขัดข้องของเครอื่ งจักรโดยการจัดทาแผนการบารงุ รักษารายวน , แผนการ บารุงรักษาราย
เดือนและแผนการบารงุ รักษารายปพี ร้อมกับการจัดอบรมพนักงานเพื่อให้มีความเข้าใจ ในระบบการบารงุ รักษาเชิง
ป้องกันเครื่องจักรและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มี การจัดทาระบบการบารุงรักษาเชิง
ป้องกัน ท่ีเครื่อง W12420133, U2320531, U2320528GT4,CT1, 20744102 โดยท่ีก่อนทาระบบน้ันความ
พร้อมใช้งานเฉล่ียรวมกัน เท่ากับ 66.55% มีชั่วโมงขัดข้องเฉล่ียรวม 63.51 ช่ัวโมง ภายหลังจากการทาระบบ
ซ่อมบารงุ รกั ษาเชิงป้องกันความพร้อมใช้งานเฉล่ยี เท่ากับ 99.28% เพ่ิมขึ้น 32.73% และมชี วั่ โมงขัดข้องเฉลี่ยรวม
1.2ชัว่ โมง คดิ เป็นเปอรเ์ ซน็ ตข์ ดั ข้องลดลง 98.31%

2.9.3 ฉัตรชย ชอนนาค และคณะ (2559) ได้ศึกษาเรื่อง “การจัดทาระบบบารุงรักษาเชิงป้องกัน
รถโฟร์คลฟิ ท์ (กรณศี กึ ษา การท่าเรือแห่งประเทศไทย)” ปริญญานิพนธฉ์ บบั นเ้ี ป็นการศึกษา และวางแผนเก่ียวกับ
การบารุงรักษาเชงิ ป้องกันรถโฟร์คลิฟท์ในแผนกซ่อมเครือ่ งทุ่นแรง 1 การท่าเรือ แห่งประเทศไทย โดยได้ศึกษาถงึ
สภาพของการทา่ เรือพบวาขาดการวางแผนทดี่ ีซ่ึงการบารุงรักษาจะ กระทาเม่ือครั้งรถเสียหรือเกิดขัดข้องและไม่มี
การจัดรูปแบบองค์กรทางด้านการบารุงรักษาท่ีชดเจน ไม่มีการนาข้อมูลการขัดข้องของรถโฟร์คลิฟท์มาวิเคราะห์
เพ่ือใช้ในการวางแผนการบารุงรักษาอันมี สาเหตุมาจากการไม่มีระบบการวางแผนการบารุงรักษาจึงทาให้การดา
เนินการขนส่ง ขนย้าย และขาด ประสิทธิภาพ ดังน้ันการจัดการวางระบบแผนการปรับปรุงการบารุงรักษาเชิง
ป้องกันรถโฟร์คลิฟท์ ให้แก่การท่าเรือแห่งประเทศไทยเพื่อเพ่ิมระยะเวลาเฉลี่ยระหว่างการเกิดเหตุการณ์ขัดข้อง
และลด เปอร์เซ็นต์ระยะการเกิดเหตุขัดข้องของรถโฟร์คลิฟท์ โดยการจัดทาแผนการบารุงรักษารายวน แผนการ
บารุงรักษารายเดือนและรักษาเชิงป้องกันและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยได้มี การจัดแผนการ
บารุงรักษารายปีพร้อมกับจัดการอบรมพนักงานเพื่อใหม้ ี ความเข้าใจในระบบการบารุงทาระบบการบารุงรักษาเชิง
ป้องกัน ที่รถโฟร์คลิฟท์ยีห้อ Caterpillar โดยที่ก่อนการทาระบบ น้ันความพร้อมใช้งานเฉลี่ยรวมเท่ากับ 85.46%
มีอัตราการขัดข้องอยู่ที่ 14.53% ภายหลังจากการทา ระบบซ่อมบารุงรักษาเชิงป้องกันความพร้อมใช้งานเฉล่ีย
เพม่ิ ขึ้นเป็น 13.44% และอตั ราการขดั ขอ้ ง ลดลง 79.07% จะเห็นไดว้ าเม่ือมีการจดั ทาระบบ PM ทาให้การใชง้ าน
รถโฟรค์ ลฟิ ทม์ ีประสิทธิภาพ สูงขึน้

2.9.4 วิวัฒน์ ขันเขต และคณะ (2558) ได้ศึกษาเร่ือง “การจัดทาระบบการบารุงรักษาเชิง ป้องกันของ
เคร่ืองจักร (กรณีศึกษาบริษัท เรกคิทท์ เบนดีเซอร์ เฮลธแคร์ ประเทศไทย)” ปริญญา นิพนธ์ฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์
เพื่อการศึกษาระบบการบารุงรักษาเชงป้องกันเครื่อง OM CARTOONING และเคร่ืองSTRIPPING 6 (เบอร์ 7)
เครื่องจักรในแผนก PACKING ของบริษัท เรกคิทท์เบนดีเซอร์ เฮลธแคร์(ประเทศไทย) โดยพบวาระบบการ
บารุงรักษาของบริษัทยังขาด แผนงานที่ชดเจน ขาดการ นาข้อมูลเสนอการซ่อมบารุงมาวิเคราะห์หาสาเหตุท่ี
เครื่องจักรหยุด จึงทาให้เกิดปัญหาขัดข้องของ เคร่ืองจักรบ่อยครั้งความพร้อมใช้งานของเคร่ืองจักรไม่มี
ประสิทธิภาพท่จี ะเดนิ เครื่อง หรือจะ ปฏบิ ตั ิงานดงั นัน้ การจดั ทาแผนการบารุงรกั ษาเชงิ ป้องกนั ให้กับเครื่องจักรโดย
การจัดทาแผน บารุงรักษาประจาวนแผนการบารุงรักษาประจาเดือน แผนการบารุงรักษาประจาปี พร้อมท้ังจัด
การ อบรมความรู้เรื่องการบารุงรักษาเชิงป้องกันให้กับบุคลากรในแผนกซ่อมบารุงแลในส่วนของฝ่ายผลิต ให้มี
ความรู้วิธีภาคปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้และการบารุงรักษาเคร่ืองจักรเพ่ือป้องกันการเกิดความ เสียหายโดยได้จัดการ
บารุงรักษาเชิงป้องกันเคร่ืองจักร 2 เคร่ืองได้แก่ OM CARTOONING และ เครื่อง STRIPPING 6 (เบอร์ 7)โดย

20
ก่อนการทาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกันเวลาขัดข้องรวมของ เคร่ืองจักรอยู่ที่ 277.57 ช่ัวโมงภายหลังจากการ
นาระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกันมาใช้พบวาเวลา ขัดข้องรวมอยู่ท่ี 11.43 ช่ัวโมงคิดเป็นสัดส่วนท่ีลดลงเท่ากับ
95.88 %

บทท่ี 3 วิธีการดาเนินงาน
3.1ประวัตคิ วามเปน็ มาของบริษทั

บริษัทฮีโน่มอเตอร์สแมนูแฟคเจอร่ิง(ประเทศไทย) จากัด ม่ันใจในคุณภาพที่เป็นหน่ึงยานยนต์ทุกคันจาก
สายพานการผลติ ของบริษัทฯ ล้วนผลิตดว้ ยเทคโนโลยีและมาตรฐานตามแบบฉบบั ของฮโี น่มอเตอรส์ ประเทศญี่ปุ่น
ภายใต้มาตรฐานซ่ึงเปน็ ท่ียอมรับระดับสากลควบคุมคุณภาพในทุกระดับของขั้นตอนการผลิต พร้อมให้ความสาคัญ
กับการตรวจสอบครั้งแล้วครัง้ เล่า เพ่ือให้ได้ผลติ ภณั ฑ์ท่ีมคี ุณภาพสงู สุดสมกับที่ลกู ค้าเชอ่ื ม่นั ใจชอื่ “ฮีโน่”
เพ่ือเป็นการยนื ยันถึงความสาเรจ็ ของบริษัทฯ และความเป็นหน่งึ ในผ้นู าของตลาด ด้วยยอดจาหนา่ ยสะสมรถยนต์ฮี
โน่เพ่ิมขนึ้ นับตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2505 จนถงึ ปัจจุบนั ซ่งึ แสดงถงึ ความไวว้ างใจที่ลกู ค้ามใี หแ้ ก่เรา

วิสยั ทศั น์

"เรามุ่งมันท่ีจะเป็นหนึ่งในบริษัทช้ันนาของประเทศไทย ท่ีมีความม่ันคงเป็นปึกแผ่นดาเนิน ธุรกิจโดยประสาน
ผลประโยชน์ของผถู้ ือหุ้น ลูกค้า หุ้นส่วน ทางธุรกิจ พนักงาน สังคม และส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดุล ภายใต้การจัดการ
ตามหลกั ธรรมมาภิบาล เป็นแบบอยา่ งที่ดเี คยี งคสู่ งั คมไทยตลอดไป”

พนั ธกจิ

- เป็นผนู้ าในดา้ นการผลิตรถบรรทุก ฮโี น่ เปโ็ รงงานตวั อยา่ งของโรงงานฮโี นท่ ั่วโลก
- เปน็ ผูผ้ ลิตชนิ้ ส่วน โตโยต้า อนั ดับหนึง่ ในประเทศไทย
- เป็นองคก์ รตัวอยา่ งในดา้ นความรบั ผิดชอบต่สงั คมและสิ่งแวดล้อม
บริษทั โน่มอเตอร์สฮแี มนแู ฟคเจอร่ิง(ประเทศไทย)จากดั
ข้อมลู บริษทั บรษิ ทั ฮโี นม่ อเตอรส์ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย)จากัด

21

ทต่ี ้งั 99 หมู่3 ถนนเทพารักษ์ ต.เทพารักษ์ อ.เมอื ง จ.สมุทรปราการ 10270
โทรศัพท์ 02-384-2900
เว็บไซต์ http://www.hinomanufacturing.co.th
ก่อตัง้ เมอ่ื วันที่ 10 กรกฎาคม 2507 จดทะเบียน10 ล้านบาท และกอ่ ตัง้ โรงงานแหง่ แรก ท่ีสาโรง
บุคลากร 3,136 คน
ธุรกิจ ธรุ กิจผลิตรถบรรทุก รถบัส และชิ้นสว่ นรถยนต์ ขาย ภายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ

โรงงานในกลม่ ของ บรษิ ทั ฮโี นม่ อเตอรส์ แมนแู ฟคเจอร่ิง(ประเทศไทย) จากัด

1
2

3

ผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ทั

22

ผลติ ภัณฑข์ องบริษัท(โรงงาน 1 สาโรง)
โครงสร้างการบริหารของแผนกPM

23

ขอ้ มลู เบื้องตน้ ของเครอ่ื งจักร

Jig-1866 (Bending) จะทาหน้าทีใ่ นการดดั Frame ของรถกระบะโตโยต้าไม่ใหโ้ ก่งงอและให้อยู่ในคา่ มาตรฐานโดย
จะใช้ Servo press เป็นตัวตัด Frame ให้อยู่ในค่ามาตรฐานซ่ึงมีท้ังหมด 4 ตัวด้วย และ Jig-1866 (Bending) นี้
เปน็ สว่ นหนงึ่ ในข้ันตอนการผลิตทั้งหมด ในไลนก์ ารผลิตของ Frame Line

ดังแสดงในภาพที่ 3.1

ภาพท่ี 3.1

24

3.1.1. โครงสรา้ งและการทางานของเครอื่ ง

LAY OUT LINE MACHINE

สว่ นประกอบและอุปกรณห์ ลกั ๆของเครอ่ื งจักร
1. SERVO MOTOR
2. SERVO AMP
3. PLC
4. GOT

25

5. MONOSHASHIKUNG

6. BARCODE

7. POKAYOKE

6. CLAMP/UNCLAMP UNIT

7. LIGHT CURTAIN

3.2 การศึกษาปัญหา

กระบวนการผลิตการศึกษาในกรณีศึกษานี้จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร โดยวัดผลการวิจยั
โดยใช้ดัชนีสภาพความน่าเช่ือถือ (MTBF) ดัชนีของ สภาพการบารุงรักษา (MTTR) โดยการรวบรวมข้อมูลการเกิด
การขดั ข้องเพื่อหาสาเหตแุ ละวธิ กี าร แก้ไข

3.2.1 ดัชนีสภาพความน่าเช่ือถือ (MTBF) และดัชนีของสภาพการบารุงรักษา (MTTR) มาใช้ในการ วัดผล
เพ่ือนาเอาปริมาณการเกิดการขัดข้องขณะการเดินเคร่ืองจักรเพ่ือหาวิธีการจัดการการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยใช้
แผนภาพพาเรโต

แผนภาพพาเรโต (ภาพที่ 3.12)

DOWN TIME (hr)

5 DOWN TIME (hr)
4.5

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย

ภาพท่ี 3.12 เวลาสญู เสยี การผลติ ของเครอ่ื งจักรหยดุ ของ เดอื นมถิ นุ ายน – พฤศจิกายน 2563

สาเหตทุ ่ีทาให้เคร่อื งจักรหยดุ บางกรณีเกิดขน้ึ กระทนั หนั บางกรณีต้องหยดุ เครื่องจักรเพื่อแก้ไขป็นเวลานานดังภาพ
ท่ี 3.12.1

26

ALARM MACHINE

5
4.5

4
3.5

3
2.5

2
1.5

1
0.5

0
ALARM MACHINE

ภาพท่ี 3.12.1 สาเหตทุ ีท่ าให้เครือ่ งจักรหยุดของ เดือนมิถุนายน - พฤศจิกายน 2563

เป็นแผนภูมิที่ใช้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุของความ บกพร่องกับปริมาณการเกิดความ
ขัดข้องขณะเดินเครื่องจักรจากการเก็บข้อมูลการเกิดการขัดข้องมีการเกิดการ ขัดข้องปริมาณค่อนข้างสูงส่งผลให้
ประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งตา่

ตารางท3ี่ .3 สถานการณ์ทางานของเคร่ืองจกั ร Jig-1866 (Bending)

จากข้อมูล ตารางที่3.3 เป็นการรวบรวมระยะเวลาเดินเครื่องจักร, เวลาท่ีใช้งานเครื่องจักร , เวลาที่
เคร่ืองจักรเสีย และจานวนครั้งที่เครื่องหยุด จากข้อมูลเบื้องต้นเป็นข้อมูลก่อนการบารุงรักษาโดยใช้หลักกรหยุด
การบารงุ รกั ษาทวผี ลแบบทกุ คนมีส่วนรว่ ม (TPM)

27

ตารางท3ี่ .4 MTBF, MITR และ % Machine Availability ของแต่ละเดอื น

จากตารางที่3.4 พบว่าเวลาเฉลี่ยระหว่างการขัดข้องของเคร่ืองจักร (Mean Time Between Failures :
MTBF) เดือนมิถนุ ายน-พฤศจิกายน มคี า่ เท่ากับ 153.56 ชวั่ โมง/ครั้ง

จากตารางท่ี3.4 พบว่าเวลาเฉลี่ยการซ่อมแซมของเคร่ืองจักร (Mean Time to Repair : MTTR) เดือน
มถิ ุนายน-พฤศจิกายน มีคา่ เทา่ กับ 1.28 ชั่วโมง/คร้ัง

จากตารางท3่ี .4 พบว่าอัตราความพรอ้ มใช้งานเคร่ืองจกั ร (%Machine Availability) ของเดือน มถิ ุนายน-
พฤศจิกายน มีค่าเท่ากบั 97.92 %

จากตารางที่3.13 เม่ือเปรียบเทียบค่า MTBF ของแต่ละเดือนพบว่าเดือนสิงหาคมมีค่าต่าสุด จึงได้ทาการ
วเิ คราะหห์ าสาเหตหุ ลกั ของปัญหาพบวา่ ปัญหาSide clamp ทางานตดิ ขดั ส่งผลกระทบให้คา่ MTBFต่าลง

ค่า MTBF ของแตล่ ะเดือน ค่า MTBF ของแตล่ ะเดือน

250
200
150
100

50
0
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย

ภาพท่ี 3.13 ค่า MTBF ของแต่ละเดอื น

28
จากภาพท่ี3.14 เมื่อเปรียบเทียบค่า MTTR ของแต่ละเดือนพบว่าเดือนพฤษภาคมมีค่าสูงสุดทาการ
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาพบว่าปัญหา Side clamp ทางานติดขัด ส่งผลให้ค่า MTTR ของเดือนกันยายน มีค่า
สูงกว่าเดือนอ่ืนๆ

ค่า MTTR ของแต่ละเดือน

2 คา่ MTTR ของแต่ละเดือน

1.5

1

0.5

0
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย

ภาพที่ 3.14 คา่ MTTR ของแต่ละเดอื นจากภาพที่3.15 เมอ่ื เปรยี บเทยี บค่า %Machine Availability ของ
แต่ละเดือนพบว่าเดือนพฤษภาคม มีค่าต่าลง ทาการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาพบว่าปัญหา Side clamp
ทางานตดิ ขดั สง่ ผลใหค้ า่ %Machine Availability ลดตา่ ลง

ค่า %Machine Availability ของแตล่ ะเดือน

99 คา่ %Machine Availability ของแต่
98.5 ละเดือน

98
97.5

97
96.5

96
ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย

ภาพที่ 3.15 ค่า %Machine Availability ของแตล่ ะเดอื น

3.3 กาหนดโครงสร้างการนา TPM มาปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพโดยรวมของเครื่องจกั ร

29
จากข้อมูลการสูญเสียของโรงงานตวั อย่างท้ังหมดในขา้ งตน้ ผวู้ จิ ัยไดก้ าหนดรูปแบบการแก้ปัญหา เพอ่ื เพ่ิม
ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรจงึ กาหนดโครงร่างการนา TPM มาปรับใช้ใน โรงงานตัวอย่าง โดยใช้หลักการ
บริหารกลุ่มย่อยและนาเทคนิค TPM มาแก้ปัญหาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรซึ่งมีรายละเอียด
ดังตอ่ ไปนี้
3.3.1 การปรบั ปรงุ เฉพาะเรื่อง
3.3.1.1 การเลือกหัวข้อการปรับปรุงน้ัน สิ่งสาคัญท่ีจะเลือกจากสิ่งท่ีเป็นความสูญเสียหลัก เพื่อให้
สอดคล้องกับเคร่ืองจักรลดการหยุดเคร่ืองจักรกะทันหันจาก ตารางที่ 3.4 เม่ือนาค่า MTBF, MTTR และ %
Machine Availability มาวิเคราะห์จะพบได้ว่าปัญหา Side clamp ทางานติดขัด เป็นความสูญเสียหลักท่ีทาให้
ประสิทธภิ าพ เคร่ืองจกั รลดลงดงั นัน้ จึงกาหนดการแก้ไขปัญหา Side clamp ทางานตดิ ขดั มาปรับปรุงแก้ไขปัญหา
โดยใชห้ ลักการบารุงรักษา TPM
3.3.1.2 วิเคราะหเ์ หตุขดั ข้อง

ภาพที่ 3.16 แผนภาพ Why Why Analysis แสดงการวิเคราะห์แก้ไขปญั หา

3.3.2 การบารุงรักษาดว้ ยตนเอง

3.3.2.1 ทาความสะอาดข้ันต้น เพื่อกาจัดฝุ่น หรือ ส่ิงสกปรกไม่ให้เข้าไปอุดตันใน Side clamp ตลอด
จนถงึ การหลอ่ ลื่นด้วยนา้ มัน

ภาพที่ 3.17 ทาความสะอาด Side clamp

30

3.3.3 การบารงุ รักษาตามแผน

การบารุงรกั ษาตามแผน ถอดเพอื่ ทาความสะอาดและหลอ่ ล่นื ภายใน ทุกๆ 6 เดอี น

ภาพท่ี 3.18 การบารุงรกั ษาตามแผน

3.3.4 การบารุงรกั ษาเชงิ ปอ้ งกนั

การบารุงรกั ษาเชงิ ป้องกัน ทาการเปลย่ี น ทุกๆ 1 ปี

ภาพท่ี 3.18 การบารุงรกั ษาเชิงปอ้ งกัน

3.3.5 ปรบั ปรุงวิธกี ารตรวจเชค็ และเพ่ิมประสทิ ธิภาพ

31

ปรับปรุงวิธีการตรวจเช็คและเพ่ิมประสิทธิภาพการบารุงรักษา ซ่ึงขั้นตอนน้ีจะทาให้มั่นใจได้ว่าการบารุงรักษาจะไม่ถูก
ละเลย โดยเพม่ิ หัวขอ้ การตรวจเชค็ ในแผนงานการบารุงรักษาเครือ่ งจักร

ภาพท่ี 3.18 ปรบั ปรงุ วิธีการตรวจเชค็

บทท่ี 4 วิเคราะหป์ ัญหาและผลการดาเนนิ งาน

ผลที่ได้จากการเก็บข้อมูลการศึกษาการดาเนินงาน หลังจากการนา TPM มาดาเนินกิจกรรมและหา
แนวทางแกป้ ญั หา ซง่ึ การดาเนินงานปรับปรุงมีท้ังหมด 3 ส่วน คือ การปรับปรุง เฉพาะเร่ือง การบารุงรักษาตนเอง
และการบารุงรักษาตามแผน ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือ วัดผลข้อมูลการเดินเครื่องก่อนการปรับ และหลังการ
ปรบั ปรงุ โดยสามารถสรปุ ผลการดาเนนิ งานวจิ ยั ได้ดงั ตอ่ ไปนี้

4.1 การวัดผลหลังปรับปรงุ

4.1.1 การนาเอา TPM มาปรบั ปรุงประสิทธภิ าพโดยรวมของเคร่ืองจักรการวัดผลจะต้องรวบรวม ขอ้ มลู ท้ัง
กอ่ นและหลังการปรับปรุง เพ่ือนามาเปรยี บเทียบผลทไี่ ดจ้ ากดาเนนิ งานโดย ใชห้ ลักการการบารงุ รักษา TPM ตั้งแต่
เดือน มิถุนายน 2563 ถึง มีนาคม 2564 ดังแสดงจากตารางท่ี 4.1 ส่วนค่า MTBF, MTTR และ % Machine
Availability หลงั การปรบั ปรงุ ดงั แสดงในจาก ตารางที่ 4.2

ตารางท่ี 4.1 สถานการณท์ างานของเครื่องจักร JIG – 1866 (BENDING)

32

ตารางท่ี 4.1 สถานการณ์ทางานของเครือ่ งจกั ร

ข้อมูลจากตารางท่ี 4.1 เป็นการรวบรวมระยะเวลาเดินเคร่ืองจักร . เวลาใช้งาน เครื่องจักร . เวลา
เคร่ืองจักรเสีย และจานวนครั้งที่เคร่ืองจักรหยุด ข้อมูลจากตารางเดือนมิถุนายน 2563 ถึง มีนาคม 2564 โดยนา
หลักการการ บารุงรักษาทวผี ลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) เข้ามาบารงุ รักษาเครือ่ งจกั ร

ตารางท่ี 4.2 MTBF, MITR และ % Machine Availability ของแตล่ ะเดอื น

จากตารางท4่ี .2 พบวา่ เวลาเฉล่ียระหว่างการขัดข้องของเครือ่ งจกั ร Mean Time ( Between Failures :
MTBF) หลังดาเนนิ กาเดือนธนั วาคม 2563 ถึง มนี าคม 2564 เฉลีย่ มคี า่ เท่ากบั 259.38 ชั่วโมง/คร้ัง

จากตารางที่4.2 พบว่า เวลาเฉลี่ยการซ่อมแซมของเคร่ืองจักร Mean ( Time to Repair: MTTR) หลัง
ดาเนินการเดอื นธันวาคม 2563 ถึง มีนาคม 2564 เฉลยี่ มคี า่ เท่ากบั 0.81 ช่วั โมง/ครัง้

จากตารางท4่ี .2 พบว่า อตั ราความพร้อมการใชง้ านของเคร่อื งจักร Machine

(% Availability) หลังดาเนนิ การเดอื นธนั วาคม 2563 ถึง มนี าคม 2564 เฉลย่ี มคี า่ เท่ากับ 98.25 %

4.2 การวิเคราะห์ผลหลังการปรับปรุง

หลังจากการปรับปรงุ โดยวิธีการนาTPMมาดาเนินการโดยทาการรัดผล4 เดือนต้ังแต่ เดือนธันวาคม 2563
ถึง มนี าคม 2564 ทาให้สามารถยดื อายุการใช้งานของเครื่องจักรได้ยาวนาน ขนึ้ สงั เกตได้จาก ข้อมลู ดงั ตอ่ ไปนี้

4.2.1 เวลาเฉล่ียระหว่างการเสียหาย (MTBF) แสดงในภาพท่ี4.1 สามารถทาให้ เวลาเดินเครื่องจักร
เพิ่มขึ้นจากเดมิ เฉลี่ย 153.56 ชั่วโมงตอ่ ครัง้ เพิ่มขน้ึ เป็น 259.38 ชว่ั โมงตอ่ คร้งั

33

ค่า MTBF ของเดือน มิ.ย 2563 ถึง มี.ค 2564 มิ.ย
ก.ค
450 ส.ค
400 ก.ย
350 ต.ค
300 พฤ.ย
250 ธ.ค
200 ม.ค
150 ก.พ
100 มี.ค

50
0
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค

ภาพท่ี 4.1 ค่า MTBF ของแตล่ ะเดอื น

4.2.2 เวลาเฉล่ียในการซ่อมแซม (MTTR) แสดงในภาพท่ี 4.2 สามารถทาให้เวลาเฉล่ียในการ ซ่อมแซม
เคร่ืองจกั รแตล่ ะคร้งั ลดลงจากเดิม1.28 ช่วั โมงตอ่ ครัง้ ลดลงเหลอื เพียง 0.81ชั่วโมงตอ่ คร้ัง

ค่า MTTR ของเดือน มิ.ย 2563 ถึง มี.ค 2564 34

2 ม.ิ ย
1.8 ก.ค
1.6 ส.ค
1.4 ก.ย
1.2 ต.ค
พฤ.ย
1 ธ.ค
0.8 ม.ค
0.6 ก.พ
0.4 ม.ี ค
0.2

0
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค

ภาพที่ 4.2 คา่ MTTR ของแตล่ ะเดอื น

4.2.3 อัตราการเดินเครื่องแสดงในภาพที่ 4.3 สามารถทาให้อัตราการเดิน เครื่องจักรสูงข้ึนจากเดิม เฉลี่ย 97.92% เพิ่มข้ึนเป็น
98.25%

35

ค่า %Machine Availability ของเดือน มิ.ย
มิ.ย 2563 ถึง มี.ค 2564 ก.ค
ส.ค
99.5 ก.ย
99 ต.ค
พฤ.ย
98.5 ธ.ค
98 ม.ค
ก.พ
97.5 มี.ค
97

96.5
96
มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พฤ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค

ภาพที่ 4.3 คา่ %Machine Availability ของแต่ละเดือน

บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย

การนาวิธีการซ่อมบารุงระบบควบคุมกระบวน และระบบการจัดการ TPM มาใช้ร่วมกันเพื่อดาเนินการ
กิจกรรมและหาแนวทางแก้ปัญหา ของเครื่องฉีดพลาสติก และทาการเก็บรวมรวบ ข้อมูลเพ่ือวัดผล โดยเร่ิมทาการ
เก็บข้อมูลการผลิตก่อนการปรับปรุง ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2563 ถึง มีนาคม 2564 และเก็บข้อมูลการผลิต หลัง

36
การปรับปรุง ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 ถึง มีนาคม 2564 ซ่ึงจะแสดงรายละเอียด ในส่วนของระยะเวลาการ
เดินเคร่ืองจักร ระยะเวลาการท่สี ูญเสียจากการทเ่ี ครื่องจักรเกิดปัญหา และทาให้ต้องหยุดการผลติ และทาให้ทราบ
ถึงประสิทธิภาพของเครื่องจักรท่ีสามารถผลิตได้ ก่อนวิธีซ่อมบารุงระบบควบคุมกระบวน และระบบการจัดการ
TPM มาใช้ปรับปรุง

จากการวิเคราะห์ระบบการบารุงรักษา ถ้าพิจารณาในด้านระยะเวลาเฉล่ียก่อนเกิดการขัดข้องของ
เครอ่ื งจกั ร จากข้อมลู ข้างต้น จะพบว่าระยะเวลาเฉลี่ยที่เครื่องจักรเกิดการขัดข้องเพ่ิมข้ึนสูงมาก และใช้เวลาในการ
ซ่อมนานน้ัน และมักจะเกิดข้ึนในส่วนของระบบควบคุมเครื่องจักรที่มีความสาคัญจึงทาให้จาเป็นต้องหยุดเครื่อง
และทาการซ่อมแซมอย่างเร่งด่วน แต่เม่ือหลังจากการนาระบบการซ่อมบารุงรักษา TPM เข้ามาปรับใช้และแก้ไข
ปัญหา ทาให้การหยุดเครื่องจักรอย่างกะทันหันลดลง และพบว่าเครื่องจักรมีสมรรถนะการเดินเครื่องที่เพ่ิมมากข้ึน
ซง่ึ สามารถสังเกตได้จากขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้

เวลาเฉลี่ยระหว่างการเสียหาย (MTBF) สามารถทาให้ เวลาเดินเครื่องจักร เพ่ิมข้ึนจากเดิมเฉลี่ย เฉล่ีย
153.56 ช่วั โมงตอ่ ครัง้ เพิ่มข้นึ เปน็ 259.38 ช่ัวโมงตอ่ ครัง้

เวลาเฉลี่ยในการซ่อมแซม (MTTR) สามารถทาให้เวลาเฉลี่ยในการ ซ่อมแซมเครื่องจักรแต่ละครั้งลดลง
จากเดิมเฉล่ยี 1.28 ช่วั โมงตอ่ ครง้ั ลดลงเหลอื เพยี ง 0.81ชว่ั โมงต่อครัง้

อัตราการเดินเคร่ืองจักร ( % Machine Availability ) เพิ่มสูงขึ้นจากเดิม เฉล่ีย เฉลี่ย 97.92% เพิ่มข้ึน
เป็น 98.25% ในการดาเนินกิจกรรม TPM ครั้งน้ี ส่งผลให้บริษัทมีความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพ การ
ทางานเคร่อื งจักรให้เพิ่มมากขึ้น และยังสามารถลดต้นทุนในสว่ นของงานเสียท่เี กิดจากเครื่องหยดุ การผลติ เนอื่ งจาก
ปัญหาทีเ่ ครอ่ื งจักรเกิดความรอ้ น สง่ิ ทส่ี าคญั ทสี่ ุดในการจัดทาการดาเนินการปรับปรุงและสร้างความยอมรับในการ
เปล่ียนแปลงที่จะเกิดขึ้นผลการดาเนินการต้องรายงานให้ผู้ร่วมงานทราบถึงความกาวหน้าเป็นระยะๆ และใน
ช่วงแรกตอ้ งให้มีการประชุมร่วมกนั ทุกวัน เพือ่ กระต้นุ ใหเ้ ห็นถึงประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั ทั้งในแงส่ ว่ นรว่ มและสว่ นบุคคล
นอกจากนั้นแล้วยังเป็นการสร้างความร่วมมือจากทุกฝ่าย เป็นจุดเริ่มต้นที่จะนาระบบ TPM ไปปรับใช้ในส่วนงาน
อ่ืนๆ เพือ่ ทาให้เคร่อื งจักร มีประสิทธภิ าพในการผลติ มคี า่ สงู สดุ

5.2 ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะสาหรับงานวจิ ัยในอนาคตทีศ่ กึ ษาเพิ่มเตมิ ดงั น้ี

5.2.1 ควรมีการจัดฝึกอบรมพนักงานท่ีเข้ามาทางานใหม่ให้ทราบถึงระบบการทางาน เอกสารในการ
ปฏิบัติงานการบารุงรักษา รวมไปถึงการจัดฝกึ อบรมพนักงานฝ่ายผลิตท่ีดูแลหรือปฏิบัติอยกู่ ับเครอ่ื งจักร ควรได้รบั
การฝึกอบรมเกี่ยวกับการดแู ล หรือบารงุ รักษาเบอ่ื งต้นเกี่ยวกับตัวเคร่อื งจักร

5.2.2 เน่ืองจากเครื่องจักรมีอายุการใช้งานนานมาก ๆ ซ่ึงจะส่งผลให้การบารุงรักษาเพ่ิมมากข้ึน ควร
วางแผนการซ่อมบารงุ รักษาเคร่ืองจกั รใหเ้ หมาะสม

5.2.3 วิธีการบารุงรักษาโดยอาศัยการวิเคราะห์ด้วยแผนผัง Why Why Analysis สามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้กับ เครือ่ งจกั รอนื่ ๆ ตลอดจนนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในภาคอตุ สาหกรรมประเภทอื่น ๆ ได้

37
5.2.4 ควรจะสง่ เสรมิ ให้มีการจัดทากจิ กรรม 5 ใหม้ ากขน้ึ เพื่อผูกจิตสานึกในเรื่องของ การควบคุมคุณภาพ
ของพนักงาน

ตอนท่ี 2 การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพของมอเตอรเ์ พือ่ การอนุรกั พลังงานในอุตสาหกรรม
บทท่ี 1 บทนา

1.1 ความหมายและหลกั การทางานของมอเตอร์

มอเตอรไ์ ฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ท่นี ยิ มใชก้ นั อย่างแพรห่ ลายในโรงงานตา่ งเป็นอุปกรณ์ท่ีใชค้ วบคุม เครอื่ งจกั รกล
ต่างๆในงานอุตสาหกรรมมอเตอร์มีหลายแบบหลายชนิดท่ีใช้ให้เหมาะสมกับงานดังนั้นเราจึงต้อง ทราบถึง
ความหมายและชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้าตลอดคุณสมบัติการใช้งานของมอเตอร์แต่ละชนิดเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ
สูงสุดในการใช้งานของมอเตอร์นั้นๆและสามารถเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงานออกแบบระบบ ประปาหมู่บ้าน
หรืองานอน่ื ท่เี กยี่ วข้องได้

1.1.1 ความหมายของมอเตอร์
มอเตอร์ไฟฟ้า (MOTOR) หมายถึงเป็นเครื่องกลไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เปล่ียนแปลงพลังงาน ไฟฟ้ามาเป็นพลังงานกล
มอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงานกลมีทั้งพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ และพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรง

38

1.1.2 หลกั การทางานของมอเตอร์

เมอื่ มีกระแสไหลในขดลวดตัวนาท่ีพันอยู่บนแกนอารเ์ มเจอร์ จะเกิดสนั แรงแม่เหล็กรอบ ๆ ตัวนา และ ทาปฏิกิริยา
กับเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดจากขั้วแม่เหล็กของมอเตอร์ ทาให้เกิดแรงผลักข้ึนบนตัวนาทาให้อาร์ เมเจอร์หมุนไปได้
ขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลและวางอยู่บนแกนของอาร์เมเจอร์ โดยวางห่างจากจุดศูนย์กลาง เป็นระยะ 1
กาหนดให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าขดลวดที่ปลาย A และไหลออกท่ีปลาย B จากคุณสมบัติของเส้นแรง แม่เหล็กจะไม่
ตดั ผา่ นซ่ึงกนั และกนั ดังนนั้ ปริมาณของเส้นแรงแมเ่ หลก็ จะมจี านวนมากท่ดี ้านบนของปลาย A จึง ทาให้เกดิ แรง F1
กดตัวนา A ลงด้านล่างและขณะเดียวกันท่ีปลาย B นั้น เส้นแรงแม่เหล็กจะมีปริมาณมากที่ ด้านหน้าทาให้เกิดแรง
F2 ดันให้ตัวนา B เคลื่อนที่ด้านบนของแรง FI และ F2 น้ีเองทาให้อาร์เมเจอร์ของ มอเตอร์เกิดการเคลื่อนที่ไปได้
ดังน้ันการทางานของมอเตอร์จึงข้ึนอยู่กับหลักการที่ว่า เม่ือเอาตัวนาที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปวางใน
สนามแม่เหล็ก มันจึงพยายามทาให้ตัวนาเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ต้ังฉากกับ สนามแม่เหล็กคุณสมบัติของมอเตอร์
ไฟฟา้ สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ คือ คุณสมบัตทิ ว่ั ไปและ คุณสมบตั ทิ างเทคนิค ดงั น้ี

2.1 คุณสมบัติทั่วไป

เป็นคุณสมบัติประจาตัวของมอเตอร์ ไฟฟ้าแต่ละประเภทท่ีควรจะทราบอย่างกว้าง ๆ โดยมิได้เจาะลึก เข้า
ไปในเนื้อหาเชิงวิชาการแต่อย่างใด ได้แก่ ลักษณะโครงสร้าง ลักษณะงาน ลักษณะของวงจรเช่นคุณสมบัติ ของ
มอเตอร์อนุกรม คือ ลักษณะโครงสร้าง ประกอบด้วยลวดหนามแม่เหล็กที่มีความต้านทานํต่ามาก (พันด้วย
ลวดทองแดงเส้นใหญ่น้อยรอบแกนข้ัวแม่เหล็ก) ต่อเป็นอนุกรมกับอาร์เมเจอร์และต่อโดยตรงกับแรงดันเมน
ลกั ษณะวงจร A1 A2 เป็นอาร์เมเจอรต์ ่อเป็นอนุกรมกบั ขดลวดสนามแม่เหล็กชุดอนุกรม D1 – D2 และต่อ โดยตรง
กับสายเมน L+ L- และลักษณะสนามแม่เหล็กทาให้ความเร็วสูงเมื่อโหลดลง จงึ เปน็ มอเตอรท์ ่หี มุนไม่ คงท่ีความเร็ว
เปล่ียนแปลงไปตามโหลดจะเหมาะสมอย่างยิ่งท่ีจะใช้เป็นมอเตอร์สตาร์ทเครื่องพ่นํน้าคุณสมบัติ ทางเทคนิคเป็น
คุณสมบัติประจาเครื่องกลไฟฟ้าแต่ละประเภทเช่นเดียวกัน ที่ให้รายละเอียดซ่ึงเจาะลึกเข้าไปใน เชิงวิชาการ
สามารถทดสอบและวัดด้วยเครื่องวัดได้ด้วยวิธีทดลองในห้องปฏิบัติการทดลอง ส่วนใหญ่จะแสดง ด้วยกราฟเพ่ือ
แสดงใหเ้ ห็นความสัมพันธร์ ะหวา่ งคา่ หนง่ึ กับอีกคา่ หนึง่ เช่น สมรรถในการกาเนิด แรงเคลื่อนไฟฟา้ ของเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าแสดงดว้ ย “กราฟแมเ่ หลก็ อม่ิ ตวั (Saturation หรือ Magnetization curve)” สมรรถนะในการจ่ายโหลดของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแสดงด้วย External Characteristic ส่วนคุณสมบัติทาง เทคนิคของมอเตอร์จะแสดงด้วย
Performance Curve ซึ่งได้แก่ สมรรถนะในการหมุนขับโหลด (Speed load Curves หรือ Speed/load
Characteristic) แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วรอบกับกระแสมอเตอร์ (n = ความเร็วรอบให้อยู่บน
แกน Y หรือ Ordinate และ La = กระแสอาร์เมเจอร์ให้อยู่บนแกน X หรือ abscissae) หรืออาจให้แสดง
ความสมั พนั ธ์ระหว่างความเร็วรอบ (nเป็น ordinate หรือ แกน Y) กบั ทอร์ค หรอื กาลังท่ีหมุน ขับงาน (T= ทอร์ค,
P=กาลังวัตต์หรือกิโลวัตต์ ให้อยู่บนแกน x หรือ abscissae ) จุดประสงค์เพ่ือต้องการแสดง ให้เห็นถึงความ
เปล่ียนแปลงของความเร็วรอบของมอเตอร์ที่หมุนขับ โหลดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เม่ือโหลด
เปลีย่ นแปลงไป กฏมือซ้ายสาหรบั มอเตอร์

เนือ่ งจากมีความสมั พันธ์อยา่ งแนน่ อนเกิดขึ้นระหวา่ ทิศทางของสนามแมเ่ หลก็ ทิศทางของกระแสไฟฟา้ ใน
ตัวนาและทิศทางท่ีตัวนาเคล่ือนที่ซงึ่ มีความสัมพันธ์ของปริมาณเหล่านี้ใหต้ ั้งเป็นกฎมอเตอร์ข้ึน ซึ่งกฏน้ีได้ นาไปใช้
แบบเดยี วกันกับกฏมอื ขวาของเคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ เปน็ แต่เพียงใชม้ ือซ้ายแทนเท่านน้ั กฏน้ี ได้แสดงให้ เหน็ ดังรปู ที่ 1
และได้กล่าวไว้ดังน้ีคือ กลางหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้วกลาง ให้ต้ังฉากซ่ึงกันและกัน โดยใช้น้ิวชี้ ชี้ ไปตามทิศทางของ

39
สนามแม่เหล็ก (Magnetic flux = B) นิ้วกลางชี้ไปตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า (Current = I) แล้วหัวแม่
มือจะบอกทศิ ทางของการเคล่ือนทขี่ องตวั นา (Force = F)แรงท่ีเกดิ ขึน้ ในตวั นาการ

กระทาของแรงท่ีเกิดขึ้นเป็นตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในขณะที่มันวางอยู่ในสนามแม่เหล็กจะเป็น
ปฏิภาค โดยตรงกับความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก ความยาวของตัวนาและค่ากระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านตัวนา
แรงที่ เกิดขึ้นบนตัวนาสามารถหาได้จากสมการF = BILเมื่อ F = แรงท่ีเกิดข้ึนบนตัวนาหน่ึงตัว หน่วย นิวตันB =
ความ หนาแน่นสนามแม่เหล็ก หน่วย Wb/m21 = กระแสที่ไหลในตัวนา หน่วย แอมแปร์ (A)L = ความยาวของ
ตัวนา หนว่ ย เมตร (m)

แรงเคลื่อนไฟฟ้าต่อต้าน เกิดข้ึนเนื่องจากเม่ือขดลวดตัวนาหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก มันจะติดกับเส้น แรง
แม่เหล็กแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เหนี่ยวข้ึนในขดลวด แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาท่ีเกิดข้ึนจะมีทิศทางขัดขวางกับ แรง
เคลื่อนท่ีไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์ จึงเรียกว่า “แรงเคล่ือนไฟฟ้าต่อต้าน” (Back e.m.f ) ซ่ึงมันจะเกิดขึ้นใน ขดลวด
อารเ์ มเจอรเ์ สมอ ดังนนั้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่มีผลต่อการใชง้ านจริง ๆ ในอารเ์ มเจอร์จึงมีค่าเท่ากับ แรงเคล่ือนไฟฟ้าท่ี
จ่ายให้ลบด้วยแรงเคล่ือนไฟฟ้าต้านกลับจึงเขียนสมการได้ดังน้ี Vt = la + Ebหรือ IaRa = Vt- Ebเมื่อ Eb =
แรงเคล่ือนไฟฟ้าท่ีต้านกลับ หน่วยโวลท์ (VVVt = แรงเคล่ือนไฟฟ้าที่ จ่ายให้กับมอเตอร์ หน่วยโวลท์ (VOIa =
กระแสทไี่ หลในอาร์เมเจอร์ หนว่ ยแอมแปร์ (A)Ra = ความต้านทานของ ขดลวดในอาร์เมเจอร์ หน่วยโอหม์ สมการ
แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าของมอเตอร์จากวงจรสามารถเขียนเป็นสมการ ได้คือ vt = Eb - IaRaเมือ่ Vt= แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าที่
จ่ายให้กับมอเตอร์ หน่วยโวลท์ (VEb = แรงเคล่ือนไฟฟ้าที่ต้านกลับ หน่วยโวลท์ (V) LaRa = แรงเคล่ือนไฟฟ้าตก
คร่อมในอาร์เมเจอร์ หน่วยโวลท์ (V)กาลังที่เกิดขึ้นในมอเตอร์จาก สมการแรงเคลื่อนไฟฟ้าของมอเตอร์Vt= Eb +
IaRaนาเอาค่า la คุณตลอดเพ่ือหา Power จะได้คือ Vt la = la Eb+ Ia2Raจะได้ vt la = กาลังงานจ่ายให้กับ
มอเตอร์ หนว่ ยวัตต์ (WEb la = กาลังงานทเี่ กิดขึน้ จากอาร์เมเจอร์ หนว่ ย วัตต์ (W)la2Ra = กาลังงานการสูญเสียท่ี
เกิดขึน้ ท่ีอารเ์ มเจอร์ หน่วยวตั ต์ (W)

40

บทท่ี 2 ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง

2.1 การจาแนกชนิดของมอเตอร์

มอเตอร์ไฟฟ้า (Motor) หมายถึงเป็นเคร่ืองกลไฟฟ้าชนิดหน่ึงที่เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้า มาเป็น
พลังงานกลมอเตอร์ไฟฟ้าท่ีใช้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงานกลมีทั้งพลังงานกระแสสลับและพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรง ซ่งึ จาแนกออกเปน็ สองชนดิ คอื

2.1.1 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั แบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ ได้แก่
- มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั ชนิด 1 เฟส เช่น สปลิทเฟสมอเตอร์ (Split-Phase motor), คาปา

ซิเตอร์มอเตอร์ (Capacitor motor), รีพัลช่ันมอเตอร์ (Repulsion-type motor), ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์
(Universal motor), เช็ดเคดโพลมอเตอร์ (Shaded-pole motor

- มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั ชนิด 2 เฟส
- มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับชนดิ 3 เฟส
2.1.2 มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor) แบง่ ออกเปน็ 3 ชนิด ไดแ้ ก่
- มอเตอร์แบบอนกุ รมหรอื เรยี กวา่ ซรี ีสม์ อเตอร์ (Series Motor)
- มอเตอร์แบบอนุขนานหรือเรยี กวา่ ชนั ทม์ อเตอร์ (Shunt Motor)
- มอเตอรไ์ ฟฟ้าแบบผสมหรือเรยี กว่าคอมปาวดม์ อเตอร์ (Compound Motor)
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นต้นกาลังขับเคลื่อนที่สาคัญอย่างหน่ึงในโรงงานอุตสาหกรรมเพราะมี
คุณสมบัติที่ดีเด่นในด้านการปรับความเร็วได้ต้ังแต่ความเร็วํต่าจนถึงสูงสุด นิยมใช้กันมากในโรงงาน อุตสาหกรรม
เชน่ โรงงานทอผา้ โรงงานเสน้ ใยโพลเี อสเตอรโ์ รงงานถลุง โลหะหรอื ให้เป็นตน้ กาลงั ในการ ขบั เคล่อื นรถไฟฟา้ เป็นต้น
ในการศึกษาเกี่ยวกับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงจงึ ควรร้จู ักอปุ กรณ์ต่าง ๆ ของมอเตอร์ ไฟฟา้ กระแสตรงและเข้าใจถึง
หลกั การทางานของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบต่าง ๆ
สว่ นประกอบของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงทีส่ ่วนประกอบทส่ี าคัญ 2 ส่วนดงั น้ี
2.1.2.1 สว่ นท่ีอยกู่ ับทห่ี รือทีเ่ รยี กว่าสเตเตอร์ ประกอบดว้ ย

41
- เฟรมหรือโยค (Frame Or Yoke) เป็นโครงภายนอกทาหน้าที่เป็นทางเดินของ เส้นแรง แม่เหล็กจากข้ัว
เหนือและข้ัวใต้ให้ครบวงจรและยึดส่วนประกอบอื่นๆ ให้แข็งแรงทาด้วยเหล็กหล่อ หรือเหล็กแผ่นหนาม้วนเป็นรปู
ทรงกระบอก

รปู ที่ 2.1 ส่วนทีอ่ ย่กู ับทีห่ รอื ที่เรียกวา่ สเตเตอร์

-ขั้วแม่เหล็ก (Pole) ประกอบด้วย 2 ส่วนคือแกนข้ัวแม่เหล็กและขดลวด ส่วนแรกแกนข้ัว (Pole Core)
ทาด้วยแผน่ เหลก็ บาง ๆ กนั ด้วยฉนวนประกอบกนั เป็นแทง่ ยึดติดกับ เฟรมสว่ นปลายท่ที า เปน็ รูปโค้งนัน้ เพือ่ โค้งรับ
รูปกลมของตัวโรเตอร์เรียกว่า ข้ัวแม่เหล็ก มีวัตถุประสงค์ ข้ัวแม่เหล็กและโรเตอร์ใกล้ชิดกัน มากท่ีสุดเพ่ือให้เกิด
ชอ่ งอากาศนอ้ ยทส่ี ดุ เพอื่ ให้เกิดช่องอากาศน้อยทส่ี ุดจะมี ผลให้เสน้ แรงแมเ่ หล็กจากขวั้ แมเ่ หลก็ จาก ข้วั แม่เหล็กผ่าน
ไปยงั โรเตอรม์ ากที่สดุ แล้วทาใหเ้ กิดแรงบดิ หรือกาลัง บิดของโรเตอรม์ ากทาให้ มอเตอร์มีกาลงั หมนุ

รปู ที่ 2.2 แกนขว้ั

ส่วนท่ีสองขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil) จะพันอยู่รอบ ๆ แกนข้ัวแม่เหล็ก ขดลวดน้ีทาหน้าที่รับ
กระแสจากภายนอกเพ่อื สร้างเสน้ แรงแมเ่ หลก็ ให้เกิดขึ้นและเสน้ แรงแมเ่ หล็กนี้จะเกิดการหักลา้ งและเสรมิ กนั น กับ
สนามแม่เหลก็ ของอาเมเจอรท์ าให้เกดิ แรงบิดข้ึน

รปู ท่ี 2.3 ขดลวดสนามแม่เหล็ก

42
2. ตัวหมุน (Rotor) ตัวหมุนหรือเรียกว่าโรเตอร์ตัวหมุนน้ีทาให้เกิดกาลังงานมีแกนวางอยู่ในตลับลูกปืน
(Ball Bearing) ซงึ่ ประกอบอยู่ในแผน่ ปดิ หัวทา้ ย ของมอเตอร์

รปู 2.4 โรเตอร์

ตวั โรเตอร์ประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกนั คอื
1. แกนเพลา (Shaft) เป็นตัวสาหรับยึดคอมมิวเตเตอร์ และยึดแกน เหล็กอาร์มาเจอร์)Armature Core)
ประกอบเปน็ ตวั โรเตอรแ์ กนเพลานจี้ ะวางอย่บู นแบร่งิ เพ่ือบงั คับให้หมุนอยใู่ นแนวน่ิงไม่มีการสั่นสะเทือนได้
2. แกนเหล็กอาร์มาเจอร์ (Armature Core) ทาดว้ ยแผ่นเหลก็ บางอาบฉนวน (Laminated Sheet Steel)
เป็นท่ีสาหรบั พนั ขดลวดอาร์มาเจอร์ซ่ึงสร้างแรงบิด (Torque)
3. คอมมิวเตเตอร์ (Commutator) ทาด้วยทองแดงออกแบบเป็นซี่แต่ละซี่มีฉนวน ไมก้า (Mica) ค่ัน
ระหว่างซี่ของคอมมิวเตเตอร์ส่วนหัวของคอมมิวเตเตอร์จะมีร่องสาหรับใส่ปลาย สายของขดลวดอาร์มาเจอร์ ตวัค
อมมิวเตเตอร์น้ีอัดแน่นติดกับแกนเพลาเป็นรูปกลมทรงกระบอก มีหน้าที่สัมผัสกับแปรงถ่าน (Carbon Brushes)
เพื่อรับกระแสจากสายป้อนเข้าไปยังขดลวดอาร์มาเจอร์ เพื่อสร้างเส้นแรงแม่เหล็กอีกส่วนหนึ่งให้เกิด การหักล้าง
และเสริมกันกับเส้นแรงแม่เหล็กอีกส่วน ซ่ึงเกิดจากขดลวดขั้วแม่เหล็กดงกล่าวมาแล้วเรียกว่า ปฏิกิริยามอเตอร์
(Motor action)
4. ขดลวดอาร์มาเจอร์ (Armature Winding) เป็นขดลวดพันอยู่ในร่องสลอท (Slot) ของแกนอาร์มาเจอร์
ขนาดของลวดจะเล็กหรือใหญ่และจานวนรอบจะมากหรือน้อยน้ันข้ึนอยู่กับการออกแบบของตัวโรเตอร์ชนิด นั้นๆ
เพอ่ื ที่จะใหเ้ หมาะสมกับงานตา่ ง ๆ

รปู ที่ 2.5 ภาพส่วนประกอบของตัวโรเตอร์

2.1.2.2 หลกั การของมอเตอร์กระแสไฟฟา้ ตรงหลักการของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง (Motor Action)
เขา้ ไปในมอเตอร์ ส่วนหนง่ึ จะแปรงถ่านผา่ นคอมมิวเตเตอร์เข้าไปในขดลวดอาร์มาเจอรส์ รา้ งสนามแมเ่ หล็ก ขน้ึ และ
กระแสไฟฟ้าอีกส่วนหนึ่งจะไหลเข้าไปในขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field coil) สร้างขั้วเหนือ-ข้ัวใต้จะเกิด

43
สนามแม่เหล็ก 2 สนาม ในขณะเดียวกัน ตามคุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหลก็ จะไม่ตัดกันทิศทางตรงข้ามจะ หักล้าง
กันและทิศทางเดียวจะเสริมแรงกันทาให้เกิดแรงบิด ในตัวอาร์มาเจอร์ซึ่งวางแกนเพลาและแกนเพลาน้ี สวมอยู่กับ
ตลับลูกปนื ของมอเตอร์ทาใหอ้ าร์มาเจอร์นห้ี มุนได้ขณะท่ีตวั อาร์มาเจอร์ทาหน้าที่หมุนได้นเี้ รยี กว่า โร เตอร์ (Rotor)
ซ่ึงหมายความว่า ตัวหมุนการท่ีอานาจเส้นแรงแม่เหล็กท้ังสองมีปฏิกิริยาต่อกันทาให้ขดลวดอาร์มา เจอร์หรือโรเต
อร์หมุนไปน้นั เป็นไปตามกฎซา้ ยของเฟลมมงิ่ (Fleming left hand rule)

2.1.2.3 ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมอเตอร์แบบอนุกรม (Series Motor) คือมอเตอร์ที่ต่อ
ขดลวด สนามแม่เหล็กอนุกรมกับอาร์เมเจอร์ของมอเตอร์ชนิดน้ีวา่ ซีรสี ฟิลด์ (Series Field) มีคุณลักษณะที่ดีคือให้
แรงบิดสูงนิยมใช้เป็นต้นกาลังของรถไฟฟ้ารถยกของ เครนไฟฟ้าความเร็วรอบของมอเตอร์อนุกรมเมื่อไม่มี โหลด
ความเร็วจะสูงมากแต่ถา้ มีโหลดมาต่อ ความเร็วก็จะลดลงตามโหลด โหลดมากหรือทางานหนักความเร็ว ลดลง แต่
ขดลวดของมอเตอร์ไม่เป็นอันตรายจากคุณสมบัติน้ีจึงนิยมนามาใช้กับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้านหลาย อย่าง เช่น
เคร่อื งดูดฝนุ่ เคร่ืองผสมอาหาร สวา่ นไฟฟ้าจกั รเย็บผ้าเครื่องเป่าผม มอเตอร์กระแสตรงแบบอนุกรมใช้ งานหนัก ได้
ดีเม่ือใช้งานหนักกระแสจะมากความเร็วรอบจะลดลงเมื่อไม่มีโหลดมาต่อความเร็วจะสูงมากอาจ เกิดอันตรายได้
ดังนน้ั เมื่อเริม่ สตารท์ มอเตอรแ์ บบอนุกรมจึงต้องมโี หลดมาต่ออยู่เสมอ

รูปท่ี 2.6 วงจรการทางานของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบอนกุ รม
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน ()Shunt Motor)หรือเรียกว่าชันท์มอเตอร์มอเตอร์แบบขนานนี้
ขดลวดสนามแม่เหล็กจะต่อจะต่อขนานกบั ขดลวด ชุดอาเมเจอร์มอเตอร์แบบขนานนี้มีคุณลักษณะมีความเร็ว คงท่ี
แรงบิดเร่ิม หมุนํต่าแต่ความเร็วรอบคงที่ชันท์มอเตอร์ส่วนมากเหมาะกับงานพัดลมเพราะพัดลมต้องการ ความเร็ว
คงทแี่ ละตอ้ งการเปลี่ยนความเรว็ ได้งา่ ย

รูปที่ 2.7 วงจรการทางานของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงแบบขนาน

44
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม (Compound Motor) หรือเรียกว่าคอมปาวด์มอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงแบบผสมน้ีจะนาคุณลักษณะท่ีดี ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง แบบขนาน และแบบอนุกรมมา รวมกัน
มอเตอร์แบบผสมมีคุณลักษณะพิเศษคือมีแรงบิดสูง (High staring torque)แต่ความเร็วรอบคงท่ีตั้งแต่ยัง ไม่มี
โหลดจนกระทั่งมีโหลดเต็มที่
มอเตอรแ์ บบผสมมีวิธีการตอ่ ขดลวดขนานหรือขดลวดชันท์อยู่ววิธี
วธิ ีที่ 1 ใชต้ ่อขดลวดแบบชนั ท์ขนานกับอาเมเจอร์เรียกว่า ชอทนั ท์ Short Shunt Compound Motor) ดงั
รูปวงจร

รูปท่ี 2.8 วงจรการทางานมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบชอร์ทชัน้ ทค์ อมปาวค์ มอเตอร์
วิธีท่ี 2 คือต่อขดลวดขนานกับขดลวดอนุกรมและขดลวดอาเมเจอร์เรียกว่า ลองช้ันท์คอมปาวดมอเตอร์ ดังรูป

วงจร

รูปที่ 2.9 วงจรการทางานมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบลองช้ันทค์ อมปาว์คมอเตอร์

2.2 ฮตี เตอร์ (Heater)

ฮตี เตอรเ์ ป็นอปุ กรณท์ าความรอ้ นในอุตสาหกรรม ท่ีมีหลักการพืน้ ฐานคือเมื่อมี กระแสไหลผา่ นลวดตวั นา ท่ีมคี ่า
ความตา้ นทานสูงลวดตัวนาจะรอ้ น ดังนั้นลวดที่ใชผ้ ลิตฮีตเตอร์จะต้องมี คณุ สมบัติเหนยี วและทนอุณหภูมไิ ด้สูง


Click to View FlipBook Version