The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชประวัติ สมเด็จพระนารายณ์(ฉบับปรับปรุง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tharaphan.prasan, 2022-07-06 09:59:58

พระราชประวัติ สมเด็จพระนารายณ์(ฉบับปรับปรุง)

พระราชประวัติ สมเด็จพระนารายณ์(ฉบับปรับปรุง)

ตองกมี าร์

ตองกมี าร์ หรอื ทา้ วทองกบี มา้ Dona Marie Gemard de Pina เรยี ก
สน้ั ๆ ว่า มารี กมี าร์ ซง่ึ ชาวกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า ท้าวทองกีบม้า มีบิดาเป็น
ญ่ีปุ่นผสมแขก มารดาเป็นญี่ปุ่นผสมโปรตุเกส ซึ่งล้วนต้ังถ่ินฐานอยู่ในศรี
อยุธยา หลังจากท่ีซามูไรเดินทางเข้ามาเป็นทหารอาสาของสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช ในช่วงที่ โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ของญ่ีปุ่นเรืองอานาจ ได้มีการ
จับกมุ บาทหลวงเผยแพรศ่ าสนา ชาวญ่ีปนุ่ ท่ีนบั ถอื ศาสนาคริสต์ มีการกาจัด
และลงโทษขับไล่ออกจากญ่ีปุ่น ยายของมารี กีมาร์ก็ถูกขับไล่ ถูกจับใส่
กระสอบนามาลงเรือท่ีนางาซากิ เนรเทศไปอยูเ่ วียดนาม ซึ่งมชี าวครสิ ต์อยกู่ นั
มากจึงได้พบกับตาของ มารี กีมาร์ ซ่ึงเป็นเจ้าชายของญ่ีปุ่นซึ่งเข้ารีตนับถือ
ศาสนาคริสต์เช่นกัน และได้แต่งงานกันเมื่อถึงปลายทาง มีชีวิตยากจนใน

ระยะแรก ต่อมามีฐานะดีข้ึน มีชาวญ่ีปุ่นเข้ารีตเดินทางมากรุงศรีอยุธยา ตา
และยายของ มารี กีมาร์ ได้เข้ามาอยู่ศรีอยุธยาเพราะเป็นประเทศที่มีชื่อว่า
รา่ รวย อุดมสมบรู ณ์ และไม่รังเกียจคนต่างศาสนา และใชว้ ิตอยจู่ นสน้ิ ชีวิต

ทา้ วทองกีบม้า หรือ มารี กีมาร์ เข้ารับราชการเป็นในห้องเคร่ืองในต้น
มชี อ่ื ตาแหน่งวา่ ทา้ วทองกบี มา้ ทาหนา้ ท่คี อยกากับเครื่องชาวพนกั งานหวาน
ในพระราชวัง คร้ังนัน้ ไมเ่ คยมผี ู้ใดคิดค้นนาเอาของคาวอยา่ ง ไขไ่ ก่ มาทาเป็น
ของหวาน จนเกิดเป็นขนมทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ท่ีเราได้ล้ิมชิมรส
กันในปัจจุบัน แต่ก็มีการดัดแปลงสูตรไปบ้าง ท้าวทองกีบม้า ได้สร้างสรรค์
ขนมหวานเพ่ิมเติมอีกหลายชนิด โดยได้ดัดแปลงสูตรจากตาหรับอาหาร
โปรตุเกสให้กลายมาเป็นขนมหวานของไทย ผสมผสานความรู้ด้านการ
ทาอาหารท่ีมีมาตั้งแต่เดิมเข้ากับวัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถ่ิน อาทิ ทองหยิบ,
ทองหยอด, ฝอยทอง, ทองพลุ, ทองม้วน, สังขยา, กะหร่ีป๊ับ, ขนมผิง, ขนม
ไขเ่ ต่า, ลูกชุบ และหม้อแกง อีกท้งั เพื่อมิให้สตู รทมี่ ีมาแต่เดิมหายไป ทา้ วทอง
กีบม้ายังได้ถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้แก่เหล่าสตรีในบังคับบัญชา จนตารับ
น้ันเผยแพร่ออกไปและตกทอดมาสู่อนุชนรุ่นหลัง ทาให้ท้าวทองกีบม้าได้รับ
การยกย่องว่าเปน็ 'ราชนิ แี ห่งขนมไทย'

ออกหลวงศรยี ศ

ออกหลวงศรียศ มีศักดิ์เป็นหลานตาของเจ้าพระยาบวรราชนายก หรือ
นามเดิมคือ เฉกอะหมัด เฉกอะหมัดเป็นชาวเปอร์เซียท่ีเข้ามารับราชการใน
อยุธยา ดแู ลกรมท่าขวาท่ีดูแลการค้าขายกับฝ่ายเปอร์เซียและแขก เป็นปฐม
จุฬาราชมนตรคี นแรกและเป็นต้นสกุลบุนนาคอีกด้วย ส่วนหลวงศรียศนั้นได้
เริ่มรับราชการโดยถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช จนได้เป็นหลวงศรียศ ต่อมาได้รับการแต่งต้ังให้เป็นจุฬาราชมนตรี
คนท่ี 2 ต่อจากตาด้วย โดนร้ังตาแหน่งนี้ต้ังแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช จนถงึ สมัยสมเดจ็ พระเพทราชา

ศรปี ราชญ์
ศรีปราชญ์ เป็นบุคคลซึ่งเอกสารพม่า และมอญท่ีเขียนจากคาบอกเล่า
ระบวุ า่ เปน็ ข้าราชสานักสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรี
อยุธยา ถูกเนรเทศไปนครศรีธรรมราช ศรีปราชญ์มีความสามารถทางร้อย
กรอง เป็นคนเจ้าชู้ ไปอยู่นครศรีธรรมราชก็ไปแต่งเพลงยาวหาภรรยาเจ้า
เมือง เจ้าเมืองจึงให้ฆ่า คนท้ังหลายห้ามไว้เจ้าเมืองก็ไม่ฟัง ก่อนตายศรี
ปราชญ์แช่งไว้ว่า "ดาบท่ีฆ่าเราน้ีภายหลังจงกลับฆ่าคนที่ใช้ให้ฆ่าเราเถิด"
ต่อมา พระเจ้าสุริเยนทราธบิ ดที รงราลกึ ถงึ ศรีปราชญ์ ทรงให้เรียกตัวกลับกรงุ
ศรีอยุธยา แต่เมื่อทรงทราบว่า เขาถูกเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชประหารแล้ว
ก็มีท้องตราออกไปให้ประหารเจ้าเมืองด้วยดาบเดียวกับที่ใช้ประหารศรี
ปราชญ์ ท่านไดร้ ับการเสนอให้เป็นกวีเอกและบุคคลสาคญั ของชาตไิ ทย

เสดจ็ สวรรคต
สมเดจ็ พระนารายณ์ ฯ เสดจ็ สวรรคต
พระเพทราชา

ในปี พ.ศ. 2231 สมเด็จพระนารายณ์ทรงมีอาการประชวรหนัก
พระองคไ์ ม่มรี าชโอรสเป็นรชั ทายาทผลของการดาเนินนโยบายต่างประเทศที่
ของพระองค์ทาให้คนไทยเกิดความรสู้ กึ ต่อตา้ นชาติฝรงั่ ขนึ้ ในบรรดาขุนนาง
ไทยและพระสงฆ์ ขุนนางไทยไม่พอใจเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ฟอนคอนที่มี
อิทธิพลมากมายในราชสานักและมีอิทธิพลต่อพระนารายณ์เอง และ
ชาวต่างชาติอื่นก็ไม่พอใจสิทธิพิเศษของฝรั่งเศสและเจ้าพระยาวิชาเยนทร์
ฟอลคอน สว่ นในดา้ นพระสงฆเ์ กดิ การหวัน่ วติ กวา่ พระนารายณ์จะหันไปนับ
ถอื คริสต์ศาสนา ดังนั้นเม่ือพระนารายณท์ รงประชวร พระเพทราชา เจ้ากรม
ช้าง ก็กลายเป็นศูนย์กลางความรู้สึกของคนในชาติ ในคร้ังน้ันพระเพทราชา
ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการแทน ส่วนพระนารายณ์ยังมิทันมอบพระราชสมบัติ
ให้ผใู้ ด ไม่ว่าจะเป็นพระอนชุ าทั้งสอง คือเจ้าฟ้าอภัยทศและเจ้าฟ้าน้อย หรือ
โอรสบญุ ธรรมคือพระปีย์ (พระนารายณ์ไม่พระโอรส มีแต่พระธิดา) พระเทพ
ราชาก็ยดึ อานาจจบั ฟอลคอนประหารชวี ิตที่ทะเลชุบศร พระปีย์ ถูกลอบทา
ร้าย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงทราบข่าวด้วยความสะเทือนพระทัย
จะทาอะไรก็ไม่ได้เพราะอยู่ในอาการประชวรอย่างหนัก รู้สึกปริเวทนาว่า
อยุธยาถึงคราวจะวิบัติในครั้งนี้ พระเพทราชาและขุนหลวงสรศักด์ิลงมือ
กระทาการกบฏ เพราะคิดว่าอยา่ งไรเสยี สมเด็จพระนารายณค์ งสวรรคตอยา่ ง
แน่นอน จึงกระทาการทุกอย่างตามอาเภอใจ เช้ือพระวงศ์และข้าราชการที่
อยู่ฝา่ ยตรงข้ามถูกกาจดั ไปหมดสน้ิ จากน้นั กห็ ันมากาจดั พวกฝรงั่

พระทนี่ ง่ั สทุ ธาสวรรย์

สมเดจ็ พระนารายณ์สวรรคต เมือ่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ณ พระ
ท่ีนั่งสุทธาสวรรย์ ครองราชสมบัติเป็นเวลา 32 ปี มีพระชนมายุ 56 พรรษา
พระเทพราชาก็ข้ึนครองราชสมบัติ และพระอนุชาของพระนารายณ์ก็ถูก
สาเรจ็ โทษ เป็นอันส้นิ ราชวงศ์ปราสาททอง และเร่มิ ต้นราชวงศบ์ า้ นพลูหลวง
พระเทพราชาเจรจาให้ทหารฝรั่งเศสถอยออกไปจากเมืองหลวงเม่ือ 18
ตุลาคม พ.ศ. 2231 นับเป็นการสิ้นสุดการติดต่อความสัมพันธ์ทางการ
ตา่ งประเทศของอยุธยาในลกั ษณะลอ่ แหลม แต่กลบั ไปใชก้ ารติดตอ่ การค้าใน
ลักษณะปกติตามท่ีเคยเป็นมาแต่ครั้งโบราณกาล ตลอดระยะเวลา 32 ปีที่
พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้สร้างประโยชน์
แก่ชาติไทยไว้หลายด้าน วิทยาการ ใหม่ ๆ จากต่างประเทศถูกนามาใช้
ปรบั ปรงุ ความเจรญิ รงุ่ เรืองของบา้ นเมอื ง ซง่ึ พระกรณยี กจิ ของพระองคไ์ มเ่ คย
มีพระมหากษัตรยิ ์พระองคใ์ ดเคยทาไดเ้ ชน่ นม้ี ากอ่ นพระเกยี รตคิ ณุ ของสมเดจ็

พระนารายณเ์ ป็นท่ียกย่องสรรเสริญแก่ประชาชน พระนามของพระองค์เป็น
ท่ีเลื่องลือไปไกล พระปรีชาสามารถของพระองค์ แม้แต่จดหมายเหตุของ
ต่างประเทศ ยังได้บนั ทึกเกยี รติประวัติของพระองคไ์ ว้ดว้ ยหลายแห่ง

พระราชกรณียกิจอันสาคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็น
แบบอยา่ งแหง่ ความเจริญกา้ วหนา้ ในสมัยต่อ ๆ มาทรงเจรญิ สัมพันธไมตรกี บั
ชาตติ ะวันตก ทงั้ ทรงสรา้ งเมอื งลพบรุ ี

เมืองลพบุรี เป็นเสมือนประตูชัยแห่งความก้าวหน้าเปิดกว้างไว้สาหรับ
อนาคตอันรุ่งโรจน์ของชาติ คุณงามความดีอันใหญ่ของพระองค์ ประชาชาติ
ไทยจึงถวายพระนามเทิดพระเกียรติอันสูงส่งของพระองค์ว่า “สมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช”

.................................................................

แหลง่ ขอ้ มลู อา้ งองิ

กรรณกิ า จรรยแ์ สง .เงาสยาม ยามผลัดแผ่นดนิ พระนารายณ์. กรงุ เทพฯ:

มตชิ น, 2554.

คาใหก้ ารขนุ หลวงหาวดั . นนทบรุ ี:มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. 2547.
คาใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ . นนทบรุ ี:มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. 2547.

จารณุ ี ฐานรตาภรณ์ (มนี าคม 2550). "กรงุ เทพมหานครกบั ภมู หิ ลงั การ
สรา้ งวงั ". วารสารยุตธิ รรมปรทิ ศั น์. สบื คน้ เมอื่ 21 มถิ นุ ายน 2557.

ชมนาด เสวิกลุ , สมเด็จพระนารายณม์ หาราช, อักษราพพิ ฒั น์, 2538.

เดอะ แบส (เขยี น), สันต์ ท. โกมลบตุ ร (แปล). บนั ทึกความทรงจาของ
บาทหลวง เดอะ แบส เกยี่ วกบั ชวี ิตและมรณกรรมของกอ็ งสตังซ์
ฟอลคอน. นนทบรุ ี: ศรปี ญั ญา. 2550.

เดอ ลาลูแบร์ (เขยี น), สันต์ ท. โกมลบตุ ร (แปล). ราชอาณาจกั รสยาม.

กรงุ เทพฯ: ก้าวหนา้ . 2510.

ธติ มิ า พิทักษไ์ พรวนั . สมเดจ็ พระนารายณ์ และโกษาปาน. กรงุ เทพฯ:

ครุ ุสภา ลาดพร้าว, 2531.

นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์. การเมอื งไทยสมยั พระนารายณ์. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 7. กรงุ เทพฯ:

มตชิ น, 2549.
"พงศาวดารกระซบิ เรอื่ งโอรสลบั สมเดจ็ พระนารายณ์". ศลิ ปวัฒนธรรม

30:11.

พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา และพงศาวดารเหนอื . กรุงเทพฯ:

องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา. 2504.

ภาสกร วงศต์ าวนั . ไพรข่ นุ นางเจา้ แยง่ ชงิ บลั ลงั กส์ มยั อยธุ ยา. กรงุ เทพฯ:

ยปิ ซ,ี 2553.
แมน้ มาส ชวลิต, การปฏวิ ตั ปิ ลายแผน่ ดนิ สมเด็จพระนารายณม์ หาราชและ

การลม่ สลายของกรงุ ศรีอยธุ ยา,กรมศลิ ปากร, 2548.
วรชาติ มีชบู ท. "โรงเรยี นยพุ ราชพระราชวงั สราญรมย์".

จดหมายเหตวุ ชริ าวธุ . 2557.

สมศรี เอ่ียมธรรม. ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา. กรงุ เทพฯ:กรม

ศลิ ปากร. 2522
สมยศ จันทะวงษ,์ สรุ ยิ ปุ ราคากบั วกิ ฤติการณค์ วามอยรู่ อดของสยามใน

สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช, นติ ยสารอตุ สาหกรรมทหาร,
กันยายน – ธนั วาคม , 2538..

สันต์ ท. โกมลบตุ ร. ประวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาตแิ ละการเมืองแหง่ ราช
อาณาจกั รสยาม. นนทบรุ ี:ศรปี ญั ญา. 2550.

สุทธศิ กั ด์ิ ระบอบ สุขสวุ านนท์ (กนั ยายน 2552). "พงศาวดารกระซบิ เรอื่ ง
โอรสลบั สมเด็จพระนารายณ์". ศลิ ปวฒั นธรรม 30:11, หนา้ 99, 116.

อารี สวสั ด,ี จดหมายเหตดุ าราศาสตรจ์ ากฝรง่ั เศสเกย่ี วกบั ราชอาณาจักร
สยามในรัชสมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราช, สมาคมดาราศาสตร์
ไทย, 2543.

https://www.facebook.com
https://guru.sanook.com ›
https://www.komchadluek.net.
https://www.lopburi.org
https://sites.google.com
http://library.tru.ac.th
https://www.thairath.co.th
https://th.wikipedia.org.
www.ayutthayastudies.aru.ac.th
ขอขอบคณุ ขอ้ มลู และภาพจากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ

……………………………………………................................


Click to View FlipBook Version