The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเท่านั้น และขอขอบคุณแหล่งอ้างอิงต่าง ๆ ที่ปรากฎในเนื้อหา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Paweena Chatsungnoen, 2023-08-30 03:17:18

คู่มือการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในระดับอุดมศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (SDG 10)

คู่มือนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเท่านั้น และขอขอบคุณแหล่งอ้างอิงต่าง ๆ ที่ปรากฎในเนื้อหา

Keywords: การเรียนการสอน,เด็กพิเศษ

คู่มือ การจัดการเรียนการสอนส าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ในระดับอุดมศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล าทางการศึกษา (SDG10) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2566 ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนโครงการบริการวิชาการจาก ส านักวิจัยและส่งเสริมวิชาการ การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ งบบริการวิชาการ ปี พ.ศ. 2566


ค าน า คู่มือนี้จัดท ำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในกำรเผยแพร่โครงกำรบริกำรวิชำกำรเรื่อง กำรจัดกำรเรียนกำร สอนส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษในระดับอุดมศึกษำ เพื่อลดควำมเหลื่อมล้ ำทำงกำรศึกษำ (SDG10) Teaching and Learning for Students with Special Needs to Reduce Inequalities in Education (SDG10) ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณโครงกำรบริกำรวิชำกำรจำกส ำนักวิจัยและส่งเสริมวิชำกำรกำรเกษตร มหำวิทยำลัยแม่โจ้ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจกับครู อำจำรย์ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ และผู้ปกครองที่เกี่ยวข้องกับเด็กที่มีควำมต้องกำรพิเศษ เพื่อให้เด็กเหล่ำนั้นได้พัฒนำ ศักยภำพอย่ำงเต็มรูปแบบ โดยคู่มือนี้ได้ถอดองค์ควำมรู้จำกกำรเสวนำโครงกำรและแหล่งข้อมูลต่ำง ๆ เพื่อให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องกับเด็กที่มีควำมต้องกำรพิเศษได้เกิดควำมตระหนักและเข้ำใจในตัวเด็ก รวมถึงทรำบวิธีในกำรสอนหรือ สื่อสำรกับเด็กที่มีควำมต้องกำรพิเศษอย่ำงถูกต้อง ซึ่งเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมส ำหรับผู้สอน และพัฒนำผลลัพธ์ กำรเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของผู้เรียนให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ของกำรเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษำต่อไป คณะผู้จัดท ำโครงกำรจึงได้จัดท ำคู่มือนี้ โดยรวบรวมข้อมูลและเอกสำรที่เกี่ยวข้องจำกทีมวิทยำกรและ แหล่งข้อมูลต่ำง ๆ เพิ่มเติมเพื่อให้เป็นคู่มือส ำหรับกำรศึกษำด้วยตนเอง ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่ำวจัดท ำขึ้นเพื่อใช้ใน กำรศึกษำเท่ำนั้นอันจะเป็นประโยชน์ต่อระบบกำรศึกษำในระดับอุดมศึกษำของประเทศไทยต่อไป คณะผู้จัดท ำโครงกำร ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. ปวีณำ ฉัตรสูงเนิน อำจำรย์ ดร. ศรัณย์ จันทร์ทะเล อำจำรย์ชนิตสิรี ศุภพิมล อำจำรย์ปวันรัตน์ บัวเจริญ 2566


สารบัญ เนื อหา หน้า 1. ภำวะซึมเศร้ำในนักศึกษำไทย 1 2. ภำวะควำมบกพร่องทำงพฤติกรรมและอำรมณ์ในนักศึกษำไทย (EBD: Emotional and Behavioral Disorders) และกำรสอนนักศึกษำที่มีภำวะควำมบกพร่องทำงพฤติกรรมและอำรมณ์ 8 3. ควำมคำดหวังของผู้ปกครองในกำรเรียนระดับอุดมศึกษำของลูกที่มีควำมต้องกำรพิเศษ 14 4. กำรสอนนักศึกษำที่มีภำวะออทิซึม 15 5. กำรสอนนักศึกษำที่มีภำวะบกพร่องทำงกำรเรียนรู้ 21 6. เสียงจำกนักศึกษำที่มีควำมต้องกำรพิเศษ: เมื่อเข้ำมหำวิทยำลัย อยำกให้อำจำรย์สอนด้วยวิธีกำรแบบใด 24 7. กำรสอนนักศึกษำให้มีทักษะทำงสังคมในมหำวิทยำลัย 27 8. กำรเขียนแผนกำรเรียนและกำรจัดกิจกรรมส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษ 32


1 1. ภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาไทย 2. บรรยำยโดย อ.พญ. นรักษ์ ชำติบัญชำชัย สำขำวิชำจิตวิตเวช คณะแพทยศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น Mental Health Classroom “Understanding and Empowering Students with Depression” ขอบเขตการเรียนรู้ ❑ บทน ำ ❑ ผลกระทบของภำวะซึมเศร้ำต่อกำรเรียนรู้ ❑ กำรสอนนักศึกษำที่มีภำวะซึมเศร้ำ ❑ ควำมช่วยเหลือนอกห้องเรียน ❑ ข้อควรระวังและกำรจัดกำร บทน า o ความหมายของภาวะซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้า • ภำวะซึมเศร้ำ (Depression) ≠ ควำมเศร้ำ (Sadness) พบได้ใน • โรคซึมเศร้ำ (Major Depressive Disorder; MDD) • โรคซึมเศร้ำเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder, Dysthymia) • โรคอำรมณ์แปรปรวนสองขั้ว (Bipolar Disorder) • โรคเครียดจำกกำรปรับตัวผิดปกติ (Adjustment Disorder)


2 o ความส าคัญของภาวะซึมเศร้า • พบได้ถึง 4% ของประชำกรโลก (300 ล้ำนคน) • 2.2% ของคนไทย (อำยุ15 ปีขึ้นไป) หรือ 1.5 ล้ำนคน • คนไทยฆ่ำตัวตำยส ำเร็จถึง 4,000 คนต่อปี • Disease burden (ภำระโรค) • กำรสูญเสียปีสุขภำวะ (disability-adjusted life year: DALY) • สภำพเศรษฐกิจ และสังคม ภาวะซึมเศร้าในนักเรียนและนักศึกษา • กำรศึกษำในต่ำงประเทศ พบว่ำ 1 ใน 3 ของนักศึกษำมหำวิทยำลัยมีภำวะซึมเศร้ำ หรือวิตกกังวล และ 3 ใน 5 ยัง ไม่ได้รับกำรรักษำที่เหมำะสม • ข้อมูลส ำหรับประเทศไทย พบว่ำ • วัยรุ่นตอนปลำย - วัยผู้ใหญ่ตอนต้น = กำรปรับตัว • ควำมชุก - ร้อยละ 21.41 – 53.50 ในกลุ่มนักศึกษำทั่วไป - ร้อยละ 7.8 – 35.9 เมื่อแยกเป็นรำยคณะ • ปัจจัยเสี่ยง • เพศหญิง, ควำมเครียด, ภำวะวิตกกังวล, เหตุกำรณ์เชิงลบในชีวิต • ปัญหำ - กำรเรียน, กำรเงินของครอบครัว, ควำมรัก, สุขภำพ • ปัจจัยป้องกัน • ควำมแข็งแกร่งทำงจิตใจ, กำรสนับสนุนทำงสังคม** ผลกระทบของภาวะซึมเศร้า ผลกระทบของภาวะซึมเศร้าต่อนักศึกษา • ศักยภำพด้ำนกำรเรียน และผลกำรเรียน • ปฏิสัมพันธ์กับสังคม • ภำวะกำรว่ำงงำนในอนำคต • กำรเจ็บป่วยทำงด้ำนร่ำงกำย และจิตใจ • โอกำสฆ่ำตัวตำยส ำเร็จสูงขึ้น **หากไม่ได้รับการดูแลและช่วยเหลือที่ทันท่วงที และเหมาะสม*


3 ผลกระทบด้านการรับรู้ และความจ า • มุมมองด้ำนลบต่อ • ตนเอง • สถำนกำรณ์ปัจจุบัน • อนำคต • หลงลืมง่ำย (forgetfulness) • สมองส่วนที่เกี่ยวกับควำมจ ำท ำงำนได้ลดลง • สัมพันธ์กับควำมรุนแรงของภำวะซึมเศร้ำ • สำมำรถกลับมำเป็นปกติได้** ผลกระทบด้านการท างาน และความสนใจ • สมรรถภำพในกำรท ำงำนลดลง • เพิ่มอัตรำกำรขำดงำน ขำดเรียน • กำรแยกตัว – ท ำงำนกลุ่มได้ยำกขึ้น • ควำมกังวล • งำนเสร็จล่ำช้ำ • กังวลว่ำจะเป็นภำระต่อผู้อื่น • กลัวควำมผิดพลำด • เพิ่มควำมผิดพลำดในกำรท ำงำน • ควำมเบื่อหน่ำย • แรงจูงใจลดลง (loss of interest or motivation) • ควำมเพลิดเพลินลดลง (loss of pleasure; anhedonia) การสอนนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้า ประเด็นที่ควรให้ความสนใจ • สถำนศึกษำมีบทบำทที่ส ำคัญในกำรส่งเสริมและป้องกันภำวะซึมเศร้ำในนักศึกษำ • กำรป้องกันโดย สร้ำงสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภำพ • กำรให้ควำมช่วยเหลือ • กำรลดควำมเสี่ยงและผลกระทบ


4 การสร้างความสัมพันธ์เชิงบวก: “ผู้สอน-ผู้เรียน” • กำรปรับทัศนคติและมุมมอง • เข้ำใจควำมส ำคัญของปัญหำ • ลดอคติในกำรตัดสิน • เน้นมองหำ “กำรต้องกำรควำมช่วยเหลือ” • กำรสร้ำงควำมไว้วำงใจ เพื่อสร้ำง • ควำมรู้สึกปลอดภัย • กำรเคำรพสิทธิ์ และกำรรักษำควำมลับ • ลดกำรสร้ำงควำมแปลกแยก หรือกำรเปรียบเทียบ • ตอบสนองต่อกำร “ขอควำมช่วยเหลือ” อย่ำงทันท่วงที • ปรับทัศนคติและมุมมอง • ให้ควำมรู้เบื้องต้น • ส่งเสริมทักษะชีวิต หรือวิธีกำรรับมือกับควำมเครียด • มองหำผู้ช่วยเหลือ โดย • มีทัศนคติเชิงบวก และมีควำมพร้อม • ส่งเสริมกิจกรรมที่ท ำให้เกิดควำมร่วมมือ เช่น จัดกิจกรรม “เพื่อนช่วยเพื่อน” • ไม่สนับสนุนกำรกลั่นแกล้ง หรือคุกคำมในทุกรูปแบบ • รับฟังทั้งผู้ป่วย และผู้ที่ได้รับผลกระทบ กลยุทธ์: การรับมือกับอารมณ์เศร้า และความหงุดหงิด • วินิจฉัย (Identify) • ก ำหนดผู้มีบทบำทช่วยเหลือโดยเฉพำะ • สังเกตอำรมณ์และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป • สอนและสนับสนุนให้นักศึกษำรู้เท่ำทันอำรมณ์ของตนเอง • โอกำส (Opportunities) • จัดให้มีสถำนที่ให้ค ำปรึกษำที่เป็นส่วนตัว และปลอดภัย • พูดคุย ซักถำมเกี่ยวกับอำรมณ์ และควำมรู้สึก • ให้โอกำส “หยุดพักชั่วครำว” แก่ผู้ที่ต้องกำร “สงบสติอำรมณ์” (self-time-out)


5 กลยุทธ์: การรับมือกับความเฉื่อยชา และความเหนื่อยเพลีย • ก ำหนดส่งงำนที่ยืดหยุ่น และปรับได้ตำมควำมเหมำะสม • สั่งงำนแบบเป็นลำยลักษณ์อักษร และทบทวนย้อนหลังได้ • ปรับปริมำณกำรบ้ำนหรืองำนให้เหมำะสม • ให้เวลำมำกขึ้นเมื่อนักศึกษำต้องกำรซักถำม • สถำนที่เรียนควรมีแสงสว่ำงเพียงพอ หรือเพิ่มกิจกรรมกลำงแจ้ง • ส่งเสริมกิจกรรมที่ได้เคลื่อนไหว หรือปรับเปลี่ยนอิริยำบถ • ให้เอกสำรประกอบกำรสอน หรือคลิปวีดีโอที่ศึกษำย้อนหลังได้ • เน้นติดตำมและประเมิน ควำมพยำยำมในกำรท ำงำน หรือพัฒนำกำรทีละน้อย มำกกว่ำผลลัพธ์สุดท้ำยเพียง อย่ำงเดียว กลยุทธ์: การรับมือกับความรู้สึกไร้ค่า และความรู้สึกผิด • ปรับทัศนคติเกี่ยวกับควำมผิดพลำด • โมเดลต้นแบบ (Role model) – แสดงตัวอย่ำงที่ดีในกำรรับมือกับควำมผิดพลำด • ตอบสนองต่อควำมผิดพลำดตำมระดับที่เหมำะสม • มองควำมผิดพลำด เป็นโอกำสในกำรพัฒนำ • หลีกเลี่ยงกำรสนับสนุนให้เข้ำร่วมกิจกรรมที่อำจส่งผลเสีย • กำรแข่งขัน กำรเปรียบเทียบ • กำรเข้ำร่วมกลุ่มที่มีมุมมองด้ำนลบต่อผู้ป่วย • มอบหมำยควำมรับผิดชอบอย่ำงเหมำะสม • มุมมองต่อควำมรับผิดชอบ • ชื่นชมในควำมพยำยำม และควำมรับผิดชอบ กลยุทธ์: การรับมือกับความเบื่อหน่าย และขาดแรงจูงใจ • ค้นหำควำมชอบ หรือควำมสนใจส่วนตัวของผู้เรียน • ปรับกำรสอน หรือมอบหมำยงำนให้เข้ำกับควำมสนใจ • เริ่มต้นบทสนทนำก่อน • แสดงควำมใส่ใจ และท ำเป็นเรื่องปกติ • ส่งเสริมให้เข้ำร่วมกิจกรรมที่สร้ำงพลังบวก


6 • กลุ่มเพื่อนที่มีควำมสนใจเดียวกัน • กิจกรรมนอกหลักสูตร • กิจกรรมที่ไม่ต้องใช้ควำมกระตือรือร้นมำก • ไม่กดดันหรือบังคับ กลยุทธ์: การรับมือกับการขาดสมาธิ • ให้เอกสำรประกอบกำรสอนก่อนเริ่มเรียน • สื่อสำรด้วยภำษำที่เข้ำใจง่ำย กระชับ เน้นประเด็นส ำคัญ • ให้โอกำสทบทวน หรือดูบทเรียนย้อนหลัง • มอบหมำยงำนอย่ำงชัดเจน และติดตำมได้ • แนะน ำกำรจัดกำรกับงำนที่ได้รับมอบหมำย • แบ่งส่วนย่อย และจัดล ำดับควำมส ำคัญ • กำรแก้ปัญหำทีละขั้น • กำรติดตำมแบบวันต่อวัน หรือระยะสั้น ๆ • ช่วยตั้งเป้ำหมำยในระยะสั้น • เสนอควำมช่วยเหลือเพิ่มเติม เข่น แหล่งข้อมูล หรือ อุปกรณ์กำรเรียน ข้อเสนอแนะในเชิงบวก (Positive feedback) • มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดกำรปรับปรุง พัฒนำในทำงที่ดีขึ้น • เป็นกำรเสริมแรงในพฤติกรรมที่ดี • ให้ข้อมูลที่เป็นจริง มีคุณค่ำ ท ำให้เกิดทัศคติเชิงบวก • เสนอแนะวิธีกำรปรับปรุงงำน มำกกว่ำเน้นตัวบุคคล • ใช้ภำษำที่ง่ำย ไม่ซับซ้อน ลดอคติ การปรับกลยุทธ์การสอน: ข้อควรระวัง • ควำมรู้สึกแปลกแยก และไม่เท่ำเทียม • ติดตำมผลอย่ำงสม่ ำเสมอ ปรับวิธีตำมควำมเหมำะสม • เคำรพกฏระเบียบที่ส ำคัญ และสิทธิเสรีภำพของทุกคน • แจ้งแนวทำงกำรให้ควำมช่วยเหลือ และทำงเลือกในกำรเรียน • สิทธิและ ข้อก ำหนดในกำรลำ


7 • กำรขำดสอบ หรือเลื่อนสอบ • กำรพักกำรเรียน หรือยุติกำรเรียน **ควรแจ้งล่วงหน้ำ และแจ้งเป็นระยะ โดยบอกรำยละเอียดให้ครบถ้วน** ความช่วยเหลือนอกห้องเรียน • ควำมรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้ำ • กรมสุขภำพจิต https://dmh.go.th/ • ศูนย์ข้อมูลโรคซึมเศร้ำ https://www.thaidepression.com/2020/web/ https://www.facebook.com/thaidepression.center/ • หน่วยงำน หรือบุคลำกรที่เชี่ยวชำญ • กำรจัดอบรมให้ควำมรู้ ช่องทางการติดต่อขอความช่วยเหลือ • หน่วยงำนที่มีหน้ำที่รับผิดชอบโดยเฉพำะ • ประกอบด้วยบุคลำกรหลำยภำคส่วน • สร้ำงเครือข่ำย • สร้ำงแนวทำงจัดกำร • Hot line หรือ Fast tract • ก ำหนดบทบำท ขอบเขต และหน้ำที่ให้ชัดเจน • สถำนที่ให้บริกำรด้ำนสุขภำพจิตในพื้นที่ • ศูนย์สุขภำพนักศึกษำ • โรงพยำบำลในเขตพื้นที่ • สำยด่วนสุขภำพจิต 1323 • บุคคลที่ติดต่อได้ในกรณีฉุกเฉิน – ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล ข้อควรระวังและการจัดการ o ควำมเสี่ยงในกำรฆ่ำตัวตำย การคัดกรองเบื องต้น • แบบทดสอบด้ำนสุขภำพจิต https://dmh.go.th/test/ • แบบคัดกรองโรคซึมเศร้ำ และควำมเสี่ยงในกำรฆ่ำตัวตำย


8 • ศึกษำคู่มือ และใช้ควำมระมัดระวังในกำรแปรผล • ควรปรึกษำผู้เชี่ยวชำญ สัญญาณอันตราย • อำรมณ์ซึมเศร้ำ หรือหงุดหงิด เปลี่ยนไปจำกปกติมำก • แยกตัว เก็บตัว • พูด หรือ เขียนถึงควำมตำย กำรฆ่ำตัวตำย เขียนจดหมำยลำ/สั่งเสีย • พูดถึงควำมรู้สึกทุกข์ทรมำน หำทำงออกไม่ได้ • ใช้สำรเสพติดอย่ำงเป็นอันตรำย หรือควบคุมไม่ได้ • เตรียมกำร หรือวำงแผนท ำร้ำยตนเอง/ฆ่ำตัวตำย • ไม่ให้ควำมร่วมมือในกำรรักษำ สะสมยำ • มีอำกำรประสำทหลอน หรือไม่รู้ตัวเป็นบำงขณะ วิธีรับมือในสถานการณ์วิกฤต • ตั้งสติ • แจ้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทันที • ติดต่อแผนกฉุกเฉิน หรือท ำตำมแนวทำงที่ก ำหนดไว้ • เน้นควำมปลอดภัยเป็นส ำคัญ • ทักษะกำรปฐมพยำบำล หรือกู้ชีพเบื้องต้น • รู้ข้อจ ำกัด และขอบเขตของตนเอง • ควำมร่วมมือคือสิ่งสำคัญ*** บทสรุป: ภาวะซึมเศร้าในนักศึกษา • ภำวะซึมเศร้ำ หรือโรคซึมเศร้ำ เป็นโรคที่ส ำคัญทำงจิตเวช • อำกำรของภำวะซึมเศร้ำในวัยเรียน อำจแตกต่ำงจำกวัยผู้ใหญ่ • ควำมชุกของภำวะซึมเศร้ำโดยเฉลี่ยประมำณร้อยละ 30 (20-50%) • ปัจจัยเสี่ยง: ควำมเครียด ปัญหำส่วนตัว ปัญหำกำรเรียน • ส่งผลกระทบต่อกำรเรียนของนักศึกษำ • ผลกระทบต่อกำรรับรู้ ควำมจ ำ และควำมสำมำรถในกำรท ำงำน


9 การสอนนักศึกษาที่มีภาวะซึมเศร้า • สถำบันกำรศึกษำสำมำรถช่วยส่งเสริมสภำพแวดล้อมเชิงบวกได้ • กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเป็นพื้นฐำนที่ส ำคัญ • ผู้สอน – ผู้เรียน • ผู้เรียน - ผู้เรียน • กำรปรับกลยุทธ์กำรสอนสำมำรถช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ได้ ทั้งผู้ป่วย และนักศึกษำทั่วไป • ควรให้ควำมรู้เบื้องต้น และช่องทำงกำรติดต่อขอควำมช่วยเหลือ • เฝ้ำสังเกตพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจำกปกติ หรือสัญญำณอันตรำย • สร้ำงหน่วยงำน และเครือข่ำย • ควำมร่วมมือคือสิ่งส ำคัญ Website กรมสุขภำพจิต: https://dmh.go.th/ ศูนย์ข้อมูลโรคซึมเศร้ำ: https://www.thaidepression.com/2020/web/ School and Classroom Strategies: Depression: www.studentsfirstproject.org 1. Staff, N. A. (2023, March 28). Depression in high school. Newport Academy. Retrieved April 18, 2023, from https://www.newportacademy.com/resources/mental-health/adolescent- depression-in-schools/ 2. Meuangkhwa, P., Chaniang, S., & Klongdee, K. . (2021). Depression among Thai Undergraduate Students: The Critical Role of Higher Educational Institutions. Journal of Nursing, Siam University, 21(41), 104–116. 3. Kaewkanta P., Rungreangkulkij S. (2015). Prevalence of Depression In Higher Education Students In Chiangrai Province. Nursing Journal Volume 42 No. 4 4. McCurdy, B. H., Scozzafava, M. D., Bradley, T., Matlow, R., Weems, C. F., & Carrion, V. G. (2022). Impact of anxiety and depression on academic achievement among underserved school children: Evidence of suppressor effects. Current Psychology. https://doi.org/10.1007/s12144-022-03801-9 แหล่งข้อมูลและเอกสารอ้างอิง


10 2. ภาวะความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ในนักศึกษาไทย (EBD: Emotional and Behavioral Disorders) การสอนนักศึกษาที่มีภาวะความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ บรรยำยโดย ผศ.พญ.กุศลำภรณ์ ชัยอุดมสม สำขำวิชำจิตเวชศำสตร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น นักศึกษาที่มีภาวะความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ • Autism spectrum disorder • Specific learning disorder • Attention deficit hyperactivity disorder • ภำวะที่พบร่วม ได้แก่ low self-esteem Autism spectrum disorder (ASD) • Autistic disorder • Asperger’s disorder ASD: Diagnosis A. Persistent deficits in social communication and social interaction across multiple contexts • Deficits in social-emotional reciprocity • Deficits in nonverbal communicative behaviors used for social interaction • Deficits in developing, maintaining, and understanding relationships B. Restricted, repetitive patterns of behavior, interests, or activities • Stereotyped or repetitive motor movements, use of objects, or speech • Sameness, inflexible adherence to routines, or rituals patterns of verbal or nonverbal behavior • Highly restricted, fixated interests that are abnormal in intensity or focus ข้อมูลควรรู้ ASD: Epidemiology • 1% of population • Male: Female = 4: 1 • 2550 Thailand 1: 1,000 • 2018 USA 1: 59


11 • Hyper- or hypo-reactivity to sensory input or unusual interest in sensory aspects of the environment ASD: Treatment • Behavioral therapy and social skills • Developmental stimulation • Speech therapy • Education and vocational training • Family support • Medical certification on disability • Medication ASD: Prognostic factors • IQ • Language impairment • Mental health problem • Comorbid: Seizures ASD: Key points Social skills help autistic teenagers build relationships and make friends. Social skills for autistic teenagers include: • Working out what other people are thinking and feeling • Understanding facial expressions and body language • Adjusting to new social situations • Solving social problems, like what to do when you disagree with someone • Understanding unwritten social rules • Sharing interests with other teenagers


12 Tips for teaching teens with ASD • Use visual methods • Avoid complicated instructions • Encourage self-expression and creativity • Alternative ways to communicate • Keep the classroom structured: Structure and schedule • Role play: Effective communication • Self-management tips: Tick sheets Sources: https://www.blunt-therapy.com/7-tips-for-teaching-teens-with-autism/ https://raisingchildren.net.au/autism/communicating-relationships/connecting/social-skills-forteens-with-asd Specific learning disorder (LD) • Reading disorder: 4-8% • Disorder of written expression: 5-15% • Mathematics disorder: 3.5-6.5% LD: Diagnosis A. Difficulties learning and using academic skills • Inaccurate or slow and effortful word reading • Difficulty understanding the meaning of what is read • Difficulties with spelling • Difficulties with written expression • Difficulties mastering number sense, number facts, or calculation • Difficulties with mathematical reasoning • The affected academic skills are substantially and quantifiably below those expected for the individual’s chronological age and cause significant interference with academic or occupational performance


13 • The learning difficulties begin during school age years but may not become fully manifest until the demand for those affected academic skills exceed the individual’s limited capacities LD: Prognostic factors • ระดับสติปัญญำและควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ของเด็ก • สถำนภำพทำงสังคมและเศรษฐกิจ • ควำมมีส่วนร่วมของครอบครัว • กำรได้รับกำรช่วยเหลือทำงกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่องและเป็นระบบ • ปัญหำทำงจิตเวชหรือทำงพฤติกรรมที่เป็นร่วม LD: Specialized learning support • Remediation strategies and Individual Educational Program (IEP) • Changes to the learning environment • Changes to learning and assessment activities • Assistive technology • Celebrate the non-academic things that the child is good at • Follow up emotional and behavioral problem • Promote self esteem Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder (ADHD) • Inattention and/or hyperactivity-impulsivity • Several symptoms were present prior to age 12 years • 2 or more settings (e.g., at home, school, or work) • All age groups ADHD: Epidemiology • School age 7-8% • Adolescence 5% • Adult 2.5% • Male: Female = 2-9:1


14 ADHD: Diagnosis • Inattention (1): often..... • fails to give close attention or makes careless mistakes in activities • has difficulty sustaining attention in task or play activities • does not seem to listen when spoken to directly • does not follow through on instruction and fails to finish works • Inattention(2): often..... • has difficulty organizing tasks and activities • avoids, dislikes, or reluctant to engage in tasks that require sustained mental effort • loses things necessary for tasks or activities • easily distracted by extraneous stimuli • forgetful in daily activities • Hyperactive and impulsivity(1): often..... • fidgets with or taps hands or feet or squirm in seat • leaves seat in situations when remaining seated is expected • runs about or climbs in situations where it is in appropriate • unable to play or engage in leisure activities quietly • Hyperactive and impulsivity(2): often..... • “on the go”, act as if “driven by a motor” • talk excessively • blurts out and answer before a question has been completed • has difficulty waiting his or her turn • interrupts or intrudes on others


15 Figure 1 from Lewis's Child and Adolescent Psychiatry: A Comprehensive textbook. Forth edition. Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins; 2007. ADHD: Treatment • Medication • Psychosocial intervention • Psychoeducation • Parent management training • Cognitive behavioral therapy • Social skill training ADHD: Prognostic factors • IQ • Severity • Environment: Child rearing • Comorbid: Conduct disorder, mood disorder, anxiety disorder and substance use disorder Classroom accommodation for teens with ADHD • Seating • Increase active class participation • Information delivery • Organization: Work assignments • Starting – Conducting – Ending lesson Self-esteem • กำรเห็นคุณค่ำในตัวเอง กำรมีมุมมองต่อตนเองที่ดี ให้ควำมรัก คุณค่ำ เกียรติ และควำมสำคัญต่อตนเอง เชื่อใน ควำมสำมำรถของตนเอง และ ในอิสระในกำรท ำสิ่งต่ำงๆ ด้วยตนเอง • Self-esteem ยังเกี่ยวข้องกับควำมรู้สึกต่อมุมมอง กำรปฏิบัติหรือกำรให้คุณค่ำของผู้อื่นต่อตนเอง


16 ลักษณะของผู้ที่มีLow Self-Esteem • เกลียดตัวเอง • ไม่เคยรู้สึกพอใจกับกำรกระท ำของตนเอง • รู้สึกว่ำโลกนี้ไม่ปลอดภัย • ไม่มั่นใจกับกำรตัดสินใจของตนเอง • รู้สึกเศร้ำหรือไร้ค่ำเป็นประจ ำ • ไม่กล้ำที่จะลองเสี่ยงหรือท ำสิ่งใหม่ ๆ • รู้สึกว่ำกำรตั้งขอบเขตเป็นเรื่องยำก • ให้ควำมส ำคัญกับจุดอ่อนตนเองมำกกว่ำจุดแข็ง • มักตั้งค ำถำมถึงตัวตนของตนเอง • รู้สึกว่ำประสบกำรณ์แย่ ๆ เป็นเรื่องเหน็ดเหนื่อย • ไม่กล้ำปฏิเสธผู้อื่น • รู้สึกว่ำกำรท ำตำมควำมต้องกำรของตนเองเป็นเรื่องยำก • ตั้งค ำถำมถึงควำมสำมำรถและควำมส ำเร็จของตนเอง • เปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่น และมักมองว่ำตัวเองด้อยกว่ำผู้อื่น ภาวะ/โรคที่สัมพันธ์กับ low self-esteem • โรคซึมเศร้ำ • ปัญหำทำงอำรมณ์ ควำมเครียด • โรควิตกกังวลโดยเฉพำะกลุ่ม Social Phobia และกลุ่ม Social Anxiety Disorder • ภำวะผิดปกติทำงกำรกิน (Eating Disorder) • กำรติดยำ • ควำมคิดฆ่ำตัวตำย • พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อปัญหำสุขภำพ • กำรเสพยำ • กำรดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • กำรเมำแล้วขับรถ • กำรท ำร้ำยตนเอง • กำรสูบบุหรี่ • กำรใช้อำวุธ How to improve self-esteem • Think about things you are good at • Celebrate the small things in your life • Challenge your negative thinking • Think about things you can change • Avoid trying to do things perfectly • Stop beating yourself up if you make mistakes • Do things you enjoy • Be with people who don’t bring you down • Volunteer to help people • Exercise • Build positive relationships • Be kind to yourself • Learn to be assertive • Give yourself a challenge


17 Summary • กำรสอนนักศึกษำที่มีภำวะควำมบกพร่องทำงพฤติกรรมและอำรมณ์ • กำรเข้ำใจ กำรให้กำรช่วยเหลือทำงจิตสังคมให้เหมำะสมกับโรค หรือภำวะที่พบ แบบทดสอบเพื่อวัดระดับ self-esteem ของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ: แบบประเมินระดับควำมภำคภูมิใจในตัวเอง หรือ Self-esteem นี้ ถูกพัฒนำขึ้นโดย Dr. Morris Rosenberg ที่ผ่ำนกำรน ำไปทดสอบกับประชำกรจ ำนวนมำกมำแล้ว และรับประกันถึงมำตรฐำนของแบบประเมิน นี้ประโยชน์ของผลกำรประเมินนี้สำมำรถใช้ในกำรพัฒนำตัวเอง ในแต่ละข้อควำมของค ำถำมเป็นกำรอธิบำย ควำมรู้สึกที่มีต่อตัวเอง หำกผู้ตอบตำมควำมรู้สึกจริง ก็จะได้เห็นผลที่สะท้อนควำมจริง ซึ่งจะน ำไปสู่กำรพัฒนำ ตัวเองให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ต่อไป การแปลผลแบบประเมิน แบบประเมินนี้ผู้ประเมิน รวมคะแนนจำกทุกข้อ คะแนนยิ่งสูงเท่ำไร แปลผลได้ว่ำ ระดับ Self-esteem ยิ่ง มำกเท่ำนั้น ผลกำรตอบแบบทดสอบจะช่วยให้ผู้สอนเข้ำใจถึงระดับ self-esteem ของผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษ และช่วยให้ผู้สอนสำมำรถปรับปรุงแผนกำรสอนให้เหมำะสมกับควำมต้องกำรของผู้เรียนได้ในที่สุด ทั้งนี้ ผู้สอนสำมำรถเข้ำลิ้งค์ออนไลน์แบบประเมินระดับควำมรู้สึกต่อตนเอง ภำคภำษำไทย พร้อมค ำอธิบำย ผล https://bypichawee.com/test/self-esteem/


18 3. ความคาดหวังของผู้ปกครองในการเรียนระดับอุดมศึกษาของลูกที่มี ความต้องการพิเศษ บรรยำยโดย คุณบุรี เสรีโยธิน นำยกสมำคมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดขอนแก่น Vision วิสัยทัศน์ น ำพำครอบครัวออทิซึมสู่เป้ำประสงค์ในทุกมิติ ทุกบุคคลและทุกครอบครัวให้มีควำมสุข และมีคุณภำพชีวิต โดย สำมำรถพึ่งตนเองและไม่เป็นภำระต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Mission พันธกิจ ใช้วิทยำศำสตร์เทคโนโลยีและศำสตร์พระรำชำมำส่งเสริมศักยภำพและประสิทธิผลของครอบครัว ชำวออทิซึมให้ สัมฤทธิ์เป็นอัจฉริยะแต่ละด้ำนในแต่ละบุคคลจนสำมำรถพึ่งตนเองและเอื้อเฟื้อในสังคมชำวออทิซึมอย่ำงยั่งยืน ตลอดกำล เป้าประสงค์ 1. สื่อสำรสองทำง 2. ไม่จ ำกัดระยะทำง เวลำ และสถำนที่ 3. รู้แบบเรียลไทม์ 4. ประมวลผลและพยำกรณ์ได้ 5. รู้เท่ำทันปัญหำของครู หมอ พ่อแม่ และเยำวชน 6. โค๊ชชิ่งค ำถำมที่ทรงพลังแก่ครู หมอ พ่อแม่ และเยำวชนเพื่อหำทำงออกด้วยตนเองได้ส ำเร็จ 7. สำมำรถจดจ ำแทนคนและท ำงำนซ้ ำๆ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8. สำมำรถสร้ำงร่องน้ ำใหม่หรือนิสัยที่มีสติตลอดเวลำ และน ำสู่ควำมส ำเร็จทุกประกำร 9. สื่อสำรเยำวชนโดย AI 10. สอนวิธีปฏิบัติและปรับเปลี่ยนวิธีปฏิบัติงำน 11. สำมำรถเข้ำถึงแหล่งควำมรู้ได้ตลอดเวลำและง่ำยดำย


19


20 4. การสอนนักศึกษาที่มีภาวะออทิซึม บรรยำยโดย อำจำรย์พรมณี หำญหัก โรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยขอนแก่น ฝ่ำยกำรศึกษำพิเศษ 1. รู้จักและเข้าใจในภาวะออทิซึม คุณลักษณะของบุคคลออทิซึมเป็นอย่ำงไร? ออทิซึมสเปกตรัม (Autistic Spectrum Disorder : ASD)


21 เกณฑ์การวินิจฉัย Autism spectrum disorder ตำมเกณฑ์กำรวินิจฉัยโรคของสมำคมจิตแพทย์อเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้ง ที่5 ( Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders , Fifth Edition ค ำย่อคือ DSM-5) ประกอบด้วยเกณฑ์ดังนี้ A. มีความบกพร่องอย่างยาวนาน (persistent) ด้ำนกำรสื่อสำร ทำงสังคมและด้ำนปฏิสัมพันธ์ทำงสังคม อำกำรบกพร่องจะ ปรำกฎในหลำยบริบท อำกำรที่เป็นอำจจะก ำลังเป็นอยู่ในปัจจุบันหรือมีประวัติว่ำเคยมีอำกำรก็ได้ 1. มีอำกำรบกพร่องในถ้อยทีถ้อยปฏิบัติทำงด้ำนอำรมณ์ที่เกี่ยวกับกำรสังคม (social-emotional reciprocity) 2. กำรแสดงออกทำงพฤติกรรมกำรสื่อสำรแบบอวัจนะภำษำ (nonverbal communicative behaviors) เพื่อกำรปฏิสัมพันธ์ ทำงสังคมบกพร่อง 3. กำรพัฒนำ กำรด ำรงไว้ และกำรเข้ำใจเรื่องสัมพันธภำพบกพร่อง B. มีพฤติกรรม ความสนใจหรือกิจกรรมที่ชอบเป็นแบบแผนตายตัวหรือซ าๆ จะต้องแสดงอำกำรตำมรำยกำร ต่อไปนี้อย่ำงน้อยที่สุดสองอำกำร อำกำรอำจจะก ำลังเป็นอยู่หรือมีประวัติว่ำเคยมีอำกำรก็ได้ 1. กำรเคลื่อนไหว กำรใช้สิ่งของหรือค ำพูด มีอำกำรเป็นแบบแผนตำยตัวหรือซ ้ำๆ 2. กำรยึดหรือยืนกรำนอยู่กับเดิม ๆ เหมือนเดิม ยึดอย่ำงไม่ยืดหยุ่นอยู่กับพิธีคือเคยท ำอย่ำงไรก็ต้องท ำอย่ำงนั้นเหมือนเดิม พฤติกรรมทั้งแบบวจันะภำษำหรือวัจนะภำษำเป็นแบบมีรูปมีแบบหรือเป็นแบบพิธี 3. มีควำมสนใจที่จ ำกัดมำกๆ ยึดติดแน่นกับควำมสนใจนั้นจนผิดปกติทั้งในแง่กำรเอำจริงเอำจังหรือจุดที่สนใจ 4. เวลำประสำทรับควำมรู้สึกรับข้อมูลเข้ำมำจะท ำให้มีกำรตอบสนองด้วยกำรมีกิจกรรมที่มำกๆหรือน้อยมำกๆ หรือ สนใจอย่ำงมำกๆในแง่ประสำทรับสัมผัสของสิ่งแวดล้อม ประสาทสัมผัสการรับรู้ทั ง 7 อำกำรทั้งหมดจะต้องเริ่มเป็นในวัยพัฒนำกำรแรก ๆ (แต่อำจจะแสดงอำกำรยังไม่เต็มที่จนกว่ำควำมสำมำรถที่ต้องใช้เพื่อกำร สังคมมีมำกเกินกว่ำศักยภำพที่จ ำกัดหรืออำกำรอำจจะถูกบดบังด้วยกำรเรียนรู้ในวัยอำยุหลัง ๆ) อำกำรจะต้องถึงส่งผลกระทบ จนถึงขั้นมีนัยส ำคัญทำงคลินิก ต่อกำรท ำหน้ำที่ทำงสังคม อำชีพหรือหน้ำที่อื่นๆ ที่ส ำคัญในกำรท ำหน้ำที่ปัจจุบัน 1. ตำ มองเห็น (มืด, สว่ำง, สวย, น่ำรัก, น่ำกลัว ฯลฯ) 2. หู ได้ยิน (เบำ, ดัง, เพรำะ, น่ำกลัว ฯลฯ) 3. จมูก รับรู้กลิ่น (หอม, ชื่นใจ, เหม็น, ฉุน ฯลฯ) 4. ลิ้น รับรู้รส (เปรี้ยว, หวำน, มัน, เค็ม, ขม ฯลฯ) 5. ผิวกำย รับรู้ผิวสัมผัส (ร้อน, หนำว, เย็น, อุ่น, เจ็บ ฯลฯ) 6. Vestibular System กำรรับรู้กำรทรงตัวจำกอวัยวะภำยใน 7. Proprioception sense กำรรับรู้กำรเคลื่อนไหวจำกกล้ำมเนื้อเอ็นและข้อต่อ


22


23 2. พฤติกรรมของนักศึกษาออทิซึมที่มักพบในการเรียนระดับอุดมศึกษา 2.1 ด้านพฤติกรรมทั่วไป ความน่ารักของนักศึกษาออทิซึม • มีน ้ำใจ ช่วยเหลือเพื่อน ไม่ก้ำวร้ำว มีควำมจริงใจ ตรงไปตรงมำ ไม่โกหก ไม่ท ำร้ำยใคร เป็นเพื่อนที่วิเศษ มำกและเป็นที่รักของอำจำรย์ • มีควำมรับผิดชอบสูง ตรงต่อเวลำเข้ำเรียนตรงเวลำ ไม่ยอมขำดเรียน แม้ว่ำครอบครัวมีภำรกิจส ำคัญ • เข้ำร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมของคณะและมหำวิทยำลัย มีควำมรักและภำคภูมิใจในสถำบันกำรศึกษำ ความท้าทาย • เครียด กังวลง่ำย เมื่อฟังกำรบรรยำยของอำจำรย์จะเครียด เมื่อเครียดจะบ่นเสียงดัง คิดดัง คิดอย่ำงไรก็ พูดออกมำดังๆ ท ำให้ดูเหมือนขำดกำลเทศะ • พูดคนเดียว ขณะเดินตำมทำงเดินพูดไปบ่นไป • ไม่รอโอกำส ถ้ำเบื่อหรือหมดสมำธิในขณะที่อำจำรย์สอน จะหันไปท ำกิจกรรมอื่นๆ เช่น อ่ำนหนังสือ กำร์ตูนลุกเดินออกจำกห้อง เอำงำนวิชำอื่นขึ้นมำท ำ หรือคุยกับเพื่อนเสียงดัง • หมกมุ่น ถ้ำเผชิญกับปัญหำและไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ในขณะนั้น จะไม่สำมำรถไปท ำสิ่งอื่น ๆ ได้ ไม่ สำมำรถพักปัญหำไว้ก่อน ต้องแก้ปัญหำทันทีช่วงที่ยังแก้ปัญหำไม่ได้ • จะหงุดหงิดอำรมณ์เสีย ควบคุมตนเองไม่ได้กระสับกระส่ำย บุคคลรอบข้ำงได้รับผลกระทบค่อนข้ำงมำก • ติดเกมคอมพิวเตอร์หรือติด IPAD เล่นโดยไม่สำมำรถควบคุมตนเองได้ท ำให้ขำดสมำธิและควำมสนใจใน กำรเรียนมีโลกส่วนตัวสูง ยึดตนเองเป็นส ำคัญ • ขำดทักษะทำงสังคม ไม่ทักทำย ไม่สวัสดี เมื่ออำจำรย์เข้ำไปทักทำย จะเดินหนีเมื่อไม่อยู่ในอำรมณ์ที่ อยำกจะพูดคุย • ไม่เข้ำใจสถำนกำรณ์ทำงสังคมและระเบียบกฎเกณฑ์ทำงสังคม เช่นยืนยันที่จะนั่งที่นั่งเฉพำะของคนพิกำร หรือผู้สูงอำยุบนรถโดยสำรสำธำรณะเมื่อมีที่นั่งว่ำงอยู่ • บำงคนมีปัญหำด้ำนสุขภำพจิต ควบคุมอำรมณ์ไม่ได้ ก้ำวร้ำวฟุ้งซ่ำน มีอำกำรเจ็บป่วยทำงร่ำงกำยเช่น ปวดศรีษะ ปวดท้อง • ปรับตัวเข้ำกับสถำนกำรณ์ทำงสังคมใหม่ ๆ ได้ค่อนข้ำงยำก • ขำดควำมเชื่อมั่นในตนเอง


24 2.2 ด้านการเรียน ความน่ารักของนักศึกษาออทิซึม • มีควำมจ ำดีมำกสำมำรถจดจ ำเรื่องที่เรียนหรือเรื่องที่อ่ำนได้ดีมำกจดจ ำสิ่งต่ำงๆ ได้รวดเร็วและได้มำกกว่ำ ผู้เรียนคนอื่น ๆ • มีควำมเป็นอัจฉริยะด้ำนดนตรีเหนือเพื่อนที่เรียนร่วมชั้น • มีควำมเป็นอัจฉริยะด้ำนศิลปะโดยเฉพำะด้ำนทัศนศิลป์ • มีควำมมุ่งมั่นศึกษำเรื่องที่สนใจอย่ำงลึกซึ้งและกว้ำงขวำง • มีควำมรู้รอบตัวดีมำก ติดตำมข่ำวสำรประจ ำวันอย่ำงสม ่ำเสมอ เข้ำห้องสมุดทุกวันกล้ำถำมและตอบ ค ำถำมในชั้นเรียนทั้งชั้นเรียนที่เป็นกลุ่มเล็ก หรือกลุ่มใหญ่ ที่มีมำกกว่ำร้อยคน • "เรียนดี กิจกรรมเด่น เน้นวิชำกำรควำมพยำยำมเป็นเลิศ เชิดชูสถำบัน" ความท้าทาย • เขียนอธิบำยเรื่องรำวได้เป็นข้อควำมสั้นๆ ไม่สำมำรถเขียนอธิบำยควำมได้อย่ำงละเอียด ครอบคลุมครบ ทุกประเด็นตำมที่ก ำหนด • ท ำควำมเข้ำใจเรื่องที่ชับซ้อนและเป็นนำมธรรมได้ค่อนข้ำงยำกต้องกำรค ำอธิบำยเพิ่มเติมอย่ำงเป็น ขั้นตอนและเป็นรูปธรรม • ท ำงำนที่ต้องใช้กระบวนกำรคิดวิเครำะห์กำรเชื่อมโยงเหตุผล กำรประมวลผลและกำรประยุกต์ใช้ ได้ไม่ดี • มีปัญหำในกำรท ำข้อสอบอัตนัย ไม่สำมำรถวิเครำะห์ข้อมูล และตอบข้อสอบได้อย่ำงครอบคลุมทุก ประเด็น • ไม่สำมำรถเรียบเรียงควำมคิดและพูดจำสื่อสำรควำมคิดได้อย่ำงต่อเนื่อง ตำมล ำดับเหตุกำรณ์ • วำงแผนและคำดกำรณ์ล่วงหน้ำได้ไม่ดี จดบันทึกจำกกำรฟังบรรยำยได้ค่อนข้ำงน้อย เนื่องจำกมีปัญหำ กำรสรุปใจควำมส ำคัญ 3. เทคนิคการสอนและแนวทางการให้ความช่วยเหลือนักศึกษาออทิซึม 1. ควำมรัก ควำมเข้ำใจ ควำมเมตตำควำมเป็นกัลยำณมิตรของบุคคลแวดล้อมส ำคัญที่สุดต่อกระบวนกำรพัฒนำ บุคคลออทิสติก 2. เคำรพในศักดิ์ศรีของควำมเป็นมนุษย์ของทุกคนอย่ำงเท่ำเทียม 3. ให้โอกำสมำกที่สุดเท่ำที่นิสัยออทิสติกแต่ละคนมีศักยภำพที่จะร่วมกิจกรรมและศึกษำเรียนรู้


25 4. ใช้กำรสื่อสำรที่กระชับ ชัดเจนตรงประเด็น ทบทวนประเด็นกำรพูดคุย เพื่อควำมเข้ำใจที่ตรงกัน ไม่ปล่อยให้ นิสิตออทิสติกเข้ำใจ และตีควำมหมำยตำมควำมเข้ำใจของเขำ 5. สอนทักษะทำงสังคมด้วยกำรอธิบำยและกำรฝึกปฏิบัติในสถำนกำรณ์จริง 6. เตรียมควำมพร้อมนักศึกษำออทิสติกในกำรร่วมกิจกรรมทำงสังคม ด้วยกำรอธิบำยเหตุกำรณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่ำง ละเอียดตำมล ำดับ ฝึกซ้อมกำรปฏิบัติให้เสมือนจริงเมื่อต้องเข้ำร่วมกิจกรรมจริงในระยะแรกควรมีคนแวดล้อมที่ คุ้นเคย อำจจะเป็นเพื่อนนักศึกษำอำสำสมัคร อำจำรย์ หรือผู้ปกครองอยู่ร่วมในเหตุกำรณ์ เพื่อให้ก ำลังใจและสร้ำง ควำมเชื่อมั่นในตนเองให้กับนักศึกษำออทิสติก 7. เปิดโอกำสให้นักศึกษำออทิสติกท ำงำนกลุ่มกับเพื่อนนักศึกษำปกติ แทนกำรท ำงำนเดี่ยว เพื่อให้โอกำสนักศึกษำ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนๆ ซึ่งนักศึกษำออทิสติกได้พัฒนำทั้งด้ำนวิชำกำรและทักษะทำงสังคม 8. จัดกลุ่มฝึกกระบวนกำรผ่อนคลำยควำมเครียดด้วยตนเอง (Stress Management ให้กับนักศึกษำออทิสติก เพื่อ เรียนรู้กระบวนกำรจัดกำรกับควำมเครียดและควำมวิตกกังวลอย่ำงสร้ำงสรรค์ 9. จัดเวทีให้นักศึกษำที่มีควำมสำมำรถพิเศษด้ำนต่ำง ๆ ได้แสดงออกภำยใต้บรรยำกำศของควำมเป็นกัลยำณมิตร 10. สร้ำงควำมมั่นใจให้กับนักศึกษำ ให้กล้ำแสดงออกอย่ำงเหมำะสมกับกำลเทศะ ด้วยกำรมอบหมำยงำนที่มั่นใจ ว่ำนักศึกษำออทิสติก สำมำรถท ำได้ประสบควำมส ำเร็จ และมีนักศึกษำอำสำสมัครเป็นผู้ร่วมด ำเนินกำร 11. บุคคลรอบข้ำงช่วยนักศึกษำออทิสติกในกำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำ ซึ่งบ่อยครั้งนักศึกษำออทิสติกไม่สำมำรถ แก้ปัญหำในภำวะวิกฤตได้ 12. ฝึกกำรอ่ำนจับใจควำมอย่ำงต่อเนื่องสม ่ำเสมอ อำจจะจัดอำจำรย์สอนพิเศษ โดยสอนให้นักศึกษำสร้ำงแผนผัง ควำมคิดจำกกำรอ่ำนสำระส ำคัญของบทเรียน 13. ฝึกกระบวนกำรคิดวิเครำะห์ และควำมเป็นเหตุเป็นผลอย่ำงต่อเนื่องโดยจัดกำรเรียนรู้เป็นกลุ่ม มีทั้งนักศึกษำ ปกติ นักศึกษำอำสำสมัคร และนักศึกษำออทิสติกน ำประเด็นในบทเรียนมำร่วมกันคิดวิเครำะห์ และอภิปรำย เพื่อให้นักศึกษำออทิสติกได้รับประสบกำรณ์ตรงในกำรเรียนรู้กระบวนกำรคิดวิเครำะห์และควำมเป็นเหตุเป็นผล 14. อำจำรย์ผู้สอนน ำเสนอข้อมูลอย่ำงเป็นรูปธรรมมำกขึ้น เช่น กำรใช้Power point กำรใช้ภำพนิ่งหรือ ภำพเคลื่อนไหวประกอบกำรเรียนกำรสอน เพื่อให้สอดคล้องกับควำมสำมำรถเด่น 15. ประเมินผลกำรเรียนรู้ของนักศึกษำด้วยกระบวนกำร หรือวิธีกำรที่หลำกหลำย สอดคล้องกับควำมต้องกำร จ ำเป็นพิเศษของนักศึกษำออทิสติก โดยคงมำตรฐำนกำรเรียนรู้เช่นเดียวกับนักศึกษำคนอื่น ๆ เช่น สอบปำกเปล่ำ แทนกำรเขียนส ำหรับนิสิตที่มีควำมบกพร่องในกำรเขียนบรรยำย


26 ข้อควรทราบเพิ่มเติม เทคนิคกำรสอนและแนวทำงให้ควำมช่วยเหลือนักศึกษำออทิซึมสำมำรถแบ่งออกเป็นหลำยประเภท ซึ่งควรปรับใช้ ให้เหมำะสมกับควำมต้องกำรและควำมสำมำรถของนักศึกษำแต่ละคน ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงเทคนิคและแนวทำงที่ น่ำสนใจ: 1. สร้ำงสภำพแวดล้อมที่เหมำะสม: ควรจัดห้องเรียนให้เป็นระเบียบเพื่อลดควำมวุ่นวำย และอำจจะต้องปรับ แสงสีเพื่อให้นักศึกษำสำมำรถสนใจในกำรเรียนรู้ได้ดีขึ้น 2. ใช้ค ำสั่งง่ำย ๆ และชัดเจน: ควรใช้ค ำสั่งที่สื่อควำมหมำยได้ชัดเจน ไม่คลุมเครือ และแยกส่วนละส่วนออก จำกกัน เช่น กำรสั่งให้ท ำงำนเป็นขั้นตอน ๆ 3. ใช้วิธีกำรสอนที่มีปฏิสัมพันธ์: กำรสอนด้วยวิธีกำรเสริมสร้ำงที่มีกำรสื่อสำรสองทำง กำรสอนแบบท ำแล้ว เรียน หรือกำรใช้แนวคิดที่นักศึกษำมีควำมช ำนำญอยู่แล้ว 4. กำรปรับปรุงกระบวนกำรสอน: ควรใช้วิธีกำรสอนที่หลำกหลำย เช่น กำรสอนด้วยภำพ กำรเล่ำเรื่อง หรือ กำรสอนผ่ำนเสียง เพื่อรองรับควำมต้องกำรของนักศึกษำที่หลำกหลำย 5. ตั้งเป้ำหมำยกำรเรียนรู้ที่เหมำะสม: ปรับแผนกำรสอนให้เหมำะสมกับควำมสำมำรถ ควำมสนใจและควำม ต้องกำรของผู้เรียน 6. กำรสอนแบบตัวต่อตัว: ให้ควำมช่วยเหลือและสอนผู้เรียนแบบตัวต่อตัว โดยให้ควำมสนใจและค ำแนะน ำ ที่เหมำะสม


27 4. การสอนนักศึกษาที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ บรรยำยโดย รองศำสตรจำรย์ ดร.ปิยะวรรณ ศรีสุรักษ์ สถำบันวิจัยและบริกำรด้ำนออทิซึม มหำวิทยำลัยขอนแก่น 1. บุคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ✓ บุคคลที่มีปัญหำในกำรเรียนรู้ ✓ บุคคลที่มีปัญหำทำงกำรเรียนรู้ ✓ บุคคลที่มีควำมบกพร่องทำงกำรเรียนรู้ ✓ Learning Disabilities (LD) ✓ Learning Difficulty ✓ Learning Disorders ✓ Specific Learning Disabilities 2. ความบกพร่องทางการเรียนรู้ แอลดี หรือ ควำมบกพร่องทำงกำรเรียนรู้ เป็นกำรวินิจฉัยโรคทำงจิตเวชเด็กชื่อ “Specific Learning Disorder” (ตำมเกณฑ์DSM-5 ของสมำคมจิตแพทย์อเมริกัน) หรือ “Specific developmental disorders of scholastic skills” (ตำมเกณฑ์ICD-10 ขององค์กำรอนำมัยโลก รหัส F81) แอลดี มีควำมหมำยแตกต่ำงกันในแต่ละวงกำร และแต่ละประเทศ 3. บุคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีควำมผิดปกติของระบบประสำทชนิดถำวร ท ำให้สมองถูกจำกัดควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ กำรท ำควำมเข้ำใจ หรือกำรจดจ ำ และอำจพบร่วมกับโรคทำงจิตเวชอื่น ๆ ได้ถึงร้อยละ 40-50 เช่น โรคสมำธิสั้น (ADHD) พ่อแม่อำจ สังเกตสัญญำณของควำมผิดปกติจำกกำรที่ลูกไม่สำมำรถจดจ่ออยู่กับสิ่งใดได้นำน มีปัญหำในกำรพูด กำรอ่ำน กำร เขียน กำรค ำนวณ ส่งผลให้อำจมีทักษะในกำรเรียนรู้ด้อยกว่ำเพื่อนในวัยเดียวกัน


28 4. Specific Learning Disabilities 5. สาเหตุของความบกพร่องทางการเรียนรู้ แบบจ ำลองไซเบอร์เนติค (Cybernetics Model) ใช้อธิบำยกระบวนกำรเรียนรู้ของบุคลที่มีควำมบกพร่องทำงกำร เรียนรู้ แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ข้อมูลจำกประสำทสัมผัสจะเข้ำสู่สมอง (Input process) 2. ข้อมูลจะถูกแปลควำมหมำย (Integration process) 3. ข้อมูลจะถูกบันทึก และสำมำรถดึงมำใช้ได้ (Memory process) 4. ข้อมูลจะถูกน ำมำใช้ในรูปแบบของภำษำ และกำรเคลื่อนไหว (Output process) บุคลที่มีควำมบกพร่องทำงกำรเรียนรู้ อำจมีปัญหำที่ใดที่หนึ่งใน 4 ขั้นตอนที่กล่ำวมำข้ำงต้น ซึ่งอำจเกิดจำกเหตุ ปัจจัยหลำยอย่ำงประกอบกัน มักไม่สำมำรถระบุสำเหตุที่แน่ชัด


29 6. ผลกระทบจากแอลดี 7. แนวทางการดูแลรักษาในปัจจุบัน เมื่อได้รับการยืนยันผลการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นแอลดี 8. การให้ความช่วยเหลือ ❑ ครู เทคนิคกำรสอนที่เหมำะสม ❑ หมอ กำรใช้ยำและกำรเยียวยำตำมค ำแนะน ำของแพทย์กำรรักษำแพทย์ทำงเลือก มีงำนวิจัยอ้ำงว่ำกำรบ ำบัด ด้วยดนตรีอำจช่วยรักษำควำมบกพร่องทำงกำรเรียนรู้ได้เช่นกัน ❑ พ่อแม่ ควำมเอำใจใส่จำกพ่อแม่และคนใกล้ชิด


30 9. จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการจัดแผนการจดศึกษาเฉพาะบุคล IEP แผน IEP คือแผนกำรจัดกำรศึกษำเฉพำะบุคคล ( IEP ) ย่อมำจำก INDIVIDUALIZED EDUCATION PROGRAM คือ แผนก ำหนดแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำสำหรับเด็กที่มีควำมต้องกำรพิเศษ ให้ได้รับกำรพัฒนำตำม เป้ำหมำยที่ก ำหนด ในแผนฯ จะมีกำรก ำหนดสื่อ สิ่งอ ำนวยควำมสะดวก บริกำร และควำมช่วยเหลือทำงกำรศึกษำ ที่สอดคล้องเหมำะสมกับกำรเรียนรู้ของเด็ก ๆ เหล่ำนี้โดยเฉพำะ 10. Teaching Strategies for Learning Disabilities


31 5. เสียงจากนักศึกษาที่มีความต้องการพิเศษ: เมื่อเข้ามหาวิทยาลัย อยากให้อาจารย์สอนด้วยวิธีการแบบใด บรรยำยโดย คุณภัทรำภรณ์ กำบกลำง นักวิชำกำรสำธำรณสุขช ำนำญกำร กลุ่มงำนสุขศึกษำ นำยธนวัฒน์ เฉลิมมิตร ธุรกำรและพนักงำนบริกำรจ้ำงงำนตำมมำตรำ 35 นำยอภิสิทธิ์ กำบกลำง พี่เลี้ยงเด็กพิกำร 1. ประเด็นการเสวนา 1. แนะน ำตัว ว่ำได้เข้ำเรียนและส ำเร็จกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำในสำขำ คณะ มหำวิทยำลัยใด 2. ระหว่ำงเข้ำรับกำรศึกษำในวิชำต่ำงๆ อำจำรย์สอนในรูปแบบไหนอย่ำงไร วิธีไหนที่ท ำให้รับรู้และเข้ำใจได้มำก ที่สุด 3. ปัญหำ อุปสรรคระหว่ำงกำรเรียนกำรสอน ในชั้นเรียน วิชำต่ำงๆ มีอะไรบ้ำง และแก้ไขได้อย่ำงไร 4. สิ่งที่อยำกให้อำจำรย์สอนนักศึกษำพิกำร/มีควำมต้องกำรพิเศษ ควรเป็นอย่ำงไร 2. ผู้ร่วมเสวนา 1. นายธนวัฒน์ เฉลิมมิตร (แพน) บุคคลที่มีภำวะออทิซึม ส ำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีศิลปศำสตรบัณฑิต สำขำวิชำพัฒนำสังคม คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น 1. ระหว่างเข้ารับการศึกษาในวิชาต่าง ๆ อาจารย์สอนในรูปแบบไหนอย่างไร วิธีไหนที่ทาให้แพนรับรู้และ เข้าใจได้มากที่สุด 1.1 ระหว่ำงกำรเข้ำรับกำรศึกษำในวิชำต่ำง ๆนั้น อำจำรย์จะใช้วิธีกำรสอนแบบบรรยำย (ส่วนใหญ่จะบรรยำย) สลับกับกำรฝึกภำคปฏิบัติและท้ำยคำบจะให้กำรบ้ำนไปให้ท ำ และอำทิตย์ถัดไปนั้นให้น ำเสนอเพื่อให้ เข้ำใจในวิชำเรียน เป็นต้น 1.2 โดยวิธีที่แพนนั้นรับรู้และเข้ำใจได้มำกที่สุดคือ กำรจดและกำรฟังเสียง ทั้งจำกเครื่องบันทึกและกำร ฟังจำกอำจำรย์ผู้สอนอย่ำงเข้ำใจ


32 2. ปัญหา อุปสรรคระหว่างการเรียนการสอน ในชั นเรียน วิชาต่าง ๆ มีอะไรบ้าง และแก้ไขได้อย่างไร 2.1 ปัญหำแรก คือ เวลำจดเนื้อหำแล้วไม่ทันอำจำรย์ผู้สอน 2.1.1 บำงครั้งถึงขั้นต้องแก้ปัญหำคือกำรไปขอไฟล์จำกอำจำรย์ผู้สอนมำอ่ำนให้ละเอียด 2.1.2 และหำกไม่ทันจริงๆก็ขออำจำรย์จดในส่วนที่ไม่ทัน เช่น เนื้อหำสำคัญๆ เนื้อหำในรูปแบบที่แปลกๆ ได้แก่ แบบรูปภำพ แบบแผนผัง เป็นต้น 2.2 ปัญหำที่สอง คือ เนื้อหำที่สอนนั้นอำจจะอยู่ในรูปแบบสื่อ 2.2.1 ส่วนวิธีแก้ปัญหำคือกำรไปเปิดดูด้วยตัวเอง กำรดูแบบวนซ้ำ เป็นต้น 2.2.2 หำกเปิดแล้วดูไม่ทันก็เลยต้องเปิดซ้ ำเช่น วิดีโอสำรคดี เป็นต้น 3. สิ่งที่อยากให้อาจารย์สอนนักศึกษาพิการ/มีความต้องการพิเศษ ควรเป็นอย่างไร 3.1 อยำกให้อำจำรย์สอนเรื่องทุกเรื่อง ไม่ใช่แค่ด้ำนวิชำกำร 3.2 อยำกให้สอนโดยให้ก ำลังใจในกำรเรียน เพรำะบำงครั้งกำรสอนแบบให้ก ำลังใจด้วยนั้นจะเป็นสิ่งที่ส ำคัญที่ท ำ ให้เรำไปสู่ควำมฝันที่ยิ่งใหญ่ได้ครับ 3.3 และช่วยให้เสริมพลังด้ำนบวกของตัวนักศึกษำเองด้วยว่ำทุกอย่ำงต้องท ำได้และต้องส ำเร็จอีกด้วยครับ ผู้ร่วมเสวนา คนที่2 นายอภิสิทธิ์ กาบกลาง (ภีม) บุคคลที่มีภำวะออทิซึม ส ำเร็จกำรศึกษำระดับปริญญำตรีศิลปศำสตร์ สำขำกำรโรงแรม คณะกำรท่องเที่ยวและกำร โรงแรม มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม 1. ระหว่างเข้ารับการศึกษาในวิชาต่างๆ อาจารย์สอนในรูปแบบไหนอย่างไร วิธีไหนที่ทาให้รับรู้และเข้าใจได้ มากที่สุด 1.1 อำจำรย์สอนในรูปแบบ : บรรยำย ฝึกปฏิบัติ บำงวิชำ ให้ท ำงำนกลุ่ม 1.2 วิธีที่ท ำให้รับรู้และเข้ำใจได้มำกที่สุด 1.2.1 สอนรูปแบบรูปธรรมไปหำนำมธรรม โดยเริ่มจำกเห็นภำพได้ชัดเจน สอนจำกสิ่งที่ง่ำยไปหำยำก และสอนในที่สิ่งที่ใกล้ตัวไปหำไกลตัว สอนเป็นทีละขั้นตอน โดยมีกำรถำมทบทวนเนื้อหำ ถ้ำหำก ยังไม่เข้ำใจในส่วนนั้นๆ 1.2.2 ใช้เครื่องอัดเสียงในกำรบันทึกเนื้อหำ หรือไม่ก็ถ่ำยภำพในจอสไลด์ ในส่วนสำคัญของเนื้อหำ เพรำะอำจำรย์จะเอำส่วนสำคัญของเนื้อมำออกข้อสอบ ถ้ำเป็นทฤษฎีเน้นกำรปฏิบัติ จะถ่ำยเป็น คลิปวิดีโอ แล้วเปิดดูซ้ ำ ๆ จนเกิดควำมเข้ำใจ


33 1.2.3 ท้ำยชั่วโมง ถ้ำอำจำรย์ผู้สอนเปิดโอกำสให้ซักถำม จะยกมือถำม และรอให้อำจำรย์อนุญำตให้ถำม แล้วค่อยถำมในประเด็นที่สงสัยในเนื้อหำที่สอนของแต่ละวัน 1.2.4 คอยถำมกับเพื่อนๆ ที่นั่งอยู่ใกล้ๆ กัน 2. ปัญหา อุปสรรคระหว่างการเรียนการสอน ในชั นเรียน วิชาต่างๆ มีอะไรบ้าง และแก้ไขได้อย่างไร 2.1 ถ้ำเป็นวิชำที่สอนโดยครูชำวต่ำงชำติ เพรำะครูชำวต่ำงชำติจะพูดเร็ว ตำมส ำเนียงของเขำ และพูดภำษำไทย ได้นิดหน่อย กำรแก้ไข บำงทีต้องบอกว่ำ Can you repeat again? หรือไม่ก็Can you speak slowly again please? 2.2 ควำมไม่พร้อมของอุปกรณ์ เช่น ไมโครโฟนไม่ดัง จอไม่ติด กำรแก้ไข ช่วยอำจำรย์แก้ไขปัญหำเฉพำะหน้ำจนสำเร็จ ถ้ำไม่ได้จริงๆ ก็ให้คนอื่นมำช่วย 2.3 เพื่อนแอบหลับ กำรแก้ไข ผมก็ค่อยๆสะกิดเพื่อนให้เพื่อนตั้งใจเรียนนะครับ เพรำะแต่ละวิชำ ภีมจะไม่ทิ้งใครไว้ข้ำงหลัง เรียน ด้วยกัน ส ำเร็จไปด้วยกันนะครับ 2.4 กำรท ำงำนกลุ่ม ในบำงวิชำ ทั้งวิชำเลือกในสำขำ และต่ำงสำขำ ต่ำงคณะ กำรแก้ไข พยำยำมท ำควำมรู้จักเพื่อนใหม่ แนะน ำตัวเอง ขอเข้ำร่วมกลุ่ม อำสำช่วยในสิ่งที่เพื่อนต้องกำร 3. สิ่งที่อยากให้อาจารย์สอน “นักศึกษาพิการ/มีความต้องการพิเศษ” ควรเป็นอย่างไร 3.1 ถ้ำเป็นนิสิตนักศึกษำพิกำรทำงกำรมองเห็น สิ่งที่ต้องกำรคือ หนังสืออักษรเบรลล์ และให้เพื่อนที่เป็นคนปกติ อ่ำนส่วนส ำคัญของเนื้อหำให้ฟัง ตอนสอบก็จะให้มีคนคอยอ่ำนข้อสอบให้ โดยเป็นนักศึกษำจิตอำสำ 3.2 ถ้ำเป็นนิสิตนักศึกษำพิกำรทำงกำรได้ยิน สิ่งที่เขำต้องกำรคือ ล่ำมภำษำมือ และเพื่อนที่หูดีช่วยเขียนว่ำ อำจำรย์พูดอะไรบ้ำงเป็นข้อควำมลำยมือ เพรำะนักศึกษำพิกำรทำงกำรได้ยิน เขำจะเรียนภำษำมือและภำษำ เขียนไปควบคู่กัน 3.3 ถ้ำเป็นนิสิตนักศึกษำพิกำรทำงกำรเรียนรู้ สิ่งที่เขำต้องกำรคือกำรทบทวนเนื้อหำเป็นพิเศษ เพรำะเขำอำจจะ สอบได้คะแนนน้อยจนต่ ำกว่ำเกณฑ์ ในส่วนนี้ผมก็เป็นห่วงนะครับ ว่ำจะเรียนไม่รอดแล้วติด F วิธีแก้ไข คือเพื่อนช่วยเพื่อนนะครับ 3.4 ถ้ำเป็นนิสิตนักศึกษำพิกำรทำงสติปัญญำ ควรจะเน้นกำรสอนแบบรูปธรรมมำกกว่ำนำมธรรม ยกตัวอย่ำง เปรียบเทียบให้เห็นภำพชัดเจน จะทำให้เข้ำใจง่ำยขึ้น


34 3.5 ถ้ำเป็นนิสิตนักศึกษำพิกำรออทิสติก (1) เนื้อหำวิชำควรจะเน้นสอนรูปแบบรูปธรรมไปหำนำมธรรม ยกตัวอย่ำงให้เห็นภำพชัดเจนตรงไปตรงมำ เช่น ภำพประกอบค ำอธิบำย (2) เปิดให้โอกำสนิสิตได้ซักถำมหำกมีข้อสงสัย ไม่เข้ำใจ ช่วยอธิบำยซ้ำ (3) เมื่อต้องไปหำข้อมูลเพิ่มเติม มีกำรบ้ำน รำยงำนที่ต้องท ำ อยำกให้ช่วยอธิบำยเรื่องกำรสืบค้นข้อมูล หำกมีภำพประกอบ จะท ำให้เข้ำใจได้ง่ำยมำกขึ้น (4) ให้ค ำแนะน ำปรึกษำ กรณีท ำงำนกลุ่ม (ขอเข้ำร่วมกลุ่ม กำรพูดคุยสื่อสำรกับเพื่อน กำรแบ่งงำนกำรทำ กำรมีส่วนร่วมในกำรทำงำนกลุ่ม อยำกให้เพื่อนยอมรับ และเข้ำใจ ข้อควรรู้ส าหรับผู้สอน Did You Know? Many people on the autism spectrum also experience auditory processing disorder, making it hard for them to interpret what they hear (especially when acoustics are bad). This means that no matter how hard they focus, they might not catch everything you say. If it's important, write it down. Tip: People on the autism spectrum often have difficulty understanding facial cues as well. Try to avoid communicating with the person using only meaningful looks, such as a raised eyebrow or an encouraging smile, but verbalize your message as well. Tip: If you have an adult on the autism spectrum student who is distracted by posters or other decorations in the room, you could also encourage them to sit closer to the front of the class. Warning: Make sure to address any bullying in your classroom right away. Tell students that you will not tolerate bullying and be clear about the consequences. (แหล่งที่มำ: https://www.wikihow.life/Teach-Autistic-Adults)


35 6. การสอนนักศึกษาให้มีทักษะทางสังคมในมหาวิทยาลัย บรรยำยโดย ดร. ธิรำกร มณีรัตน พยำบำลวิชำชีพช ำนำญกำร กลุ่มงำนกำรพยำบำลชุมชน อำจำรย์ปริศนำ อำนจ ำปำ รองผู้อ ำนวยกำรโรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยขอนแก่น ก. สอนโดยตรงกับนักศึกษาที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษทางการศึกษา (จากหัวข้อขั นตอนที่1-8) 1. ทักษะทางสังคม 5 ด้าน ที่ควรส่งเสริมในเด็กพิเศษ


36 ทักษะทางสังคมที่ดีจะช่วยให้เด็กพิเศษอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข


37 2. การสอนนักศึกษาให้มีทักษะทางสังคมในมหาวิทยาลัย ขั นตอนที่1 การประเมินทักษะ Executive Functions : EF


38 ขั นตอนที่2 การฝึกทักษะ EFs ด้วยกระบวนการสอนงาน ระยะที่1 การตั งเป้าหมายระยะยาว 1. ตั้งเป้ำหมำยให้มีลักษณะเฉพำะเจำะจง 2. กำหนดขั้นตอนที่จะทำให้นักศึกษำไปถึงเป้ำหมำย 3. อภิปรำยร่วมกันถึงปัญหำและอุปสรรคที่จะขัดขวำงเป้ำหมำย 4. อภิปรำยแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ 5. ปรับเปลี่ยนสภำพแวดล้อมที่จะช่วยสนับสนุนให้นักศึกษำสำมำรถปฏิบัติได้อย่ำงประสบควำมส ำเร็จ 6. ร่วมตรวจสอบแผนปฏิบัติงำนว่ำเป็นแผนที่ปฏิบัติได้จริง ระยะที่ 2 การสอนงานประจ าวัน 1. ปฏิบัติตำมแผนในแต่ละวันให้ลุล่วง 2. วำงแผนกำรทำงำนในเวลำอันใกล้ตัวอย่ำงกำรตั้งเป้ำหมำย พฤติกรรมที่เป็นปัญหา ไม่สามารถส่งงานที่ทาในคาบเรียนได้ทัน พฤติกรรมที่เป็นปัญหำ ไม่สำมำรถส่งงำนที่ท ำในคำบ เรียนได้ทันเป้ำหมำย ส่งงำนในคำบได้ทัน เงื่อนไข : เมื่อหมดคำบเรียนโดยอำจำรย์ผู้สอนเป็นคน เตือน ระดับควำมส ำเร็จ : ส่งงำนในคำบได้ร้อยละ 90 กระบวนกำรวัดและประเมินผล กำรเก็บข้อมูล เมื่อไร : เมื่อหมดคำบเรียน ที่ไหน : ห้องเรียนภำษำไทย ใครเป็นผู้เก็บข้อมูล : อำจำรย์ผู้สอนและนักศึกษำ ขั นตอนที่3 ฝึกวิธีการกระตุ้นให้นักศึกษามีความสามารถในการบริหารจัดการตนเอง 1. ฝึกให้นักศึกษำบอกตนเองว่ำเขำก ำลังคิดอะไรอยู่ (กระตุ้นให้รู้ตัว และคิดทบทวนสิ่งที่เขำจะต้องท ำ) 2. ให้นักศึกษำบอกตนเองว่ำก ำลังใช้กลยุทธ์อะไร/อย่ำงไร (กระตุ้นให้รู้ตัว และคิดทบทวนสิ่งที่เขำจะต้องท ำ) 3. ให้นักศึกษำบอกตนเองว่ำสิ่งที่เขำต้องกำรท ำเพิ่มมำกขึ้นคืออะไร (ขยำยควำม หรือบอกขั้นตอนในกำรท ำ กิจกรรม 4. ให้นักศึกษำบอกว่ำเขำคิดถึงอะไรก่อนที่จะเริ่มต้นท ำงำนชิ้นใดชิ้นหนึ่ง (กระตุ้นให้นักศึกษำมีกำรเตรียมควำม พร้อมในกำรท ำงำน เรียน หรือท ำกิจกรรมสิ่งหนึ่งสิ่งใด


39 5. ให้นักศึกษำบอกปัญหำเกิดขึ้นเมื่อไหร่ (เพื่อให้รู้สำเหตุหรือจุดเริ่มต้นของปัญหำหรืออุปสรรค) 6. ให้นักศึกษำบอกควำมสับสนเกิดขึ้นจำกอะไร (เพื่อให้นักศึกษำรู้สำเหตุของปัญหำ/อุปสรรค) 7. กระตุ้นให้ใช้ประสบกำรณ์เดิมมำแก้ปัญหำในปัจจุบัน โดยถำมตนเองว่ำปัญหำนี้เหมือนปัญหำอื่นๆ ที่เขำเคย ประสบมำก่อนหรือไม่ 8. กระตุ้นให้นักศึกษำคิดหำวิถีทำงอื่นที่จะพิจำรณำเรื่องที่ก ำลังด ำเนินกำรอยู่ (กระตุ้นให้เกิดควำมคิดแก้ปัญหำ หลำกหลำยวิธี 9. คิดว่ำตนเองจะพัฒนำ/ปรับปรุงควำมคิดนี้ได้อย่ำงไร (กระตุ้นนักศึกษำให้รู้จักกำรพิจำรณำ วิเครำะห์สังเครำะห์ และพัฒนำ) ขั นตอนที่4 ฝึกการให้ความช่วยเหลือด้านทักษะทางสังคม 1.ฝึกให้มีควำมสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งกับผู้อื่น 2.ฝึกที่จะแลกเปลี่ยนเรื่องที่ตนสนใจกับผู้อื่น 3.ฝึกที่จะเข้ำใจ และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 4.ฝึกทักทำยพูดคุยกันในสังคม 5.ฝึกกำรรู้จักให้และรู้จักรับ 6.ฝึกบุคลิกลักษณะ และกิริยำ ท่ำทำง ในกำรเข้ำสังคม 7.ฝึกกำรมองหรือสบตำผู้อื่น (making eye contact) ขั นตอนที่ 5 มีการประเมินทักษะทางสังคม 1. ประเมินรำยละเอียดทั้งหมดอย่ำงสมบูรณ์ครบถ้วน 2. พิจำรณำผลจำกสิ่งที่มีหรือเกิดขึ้นก่อนกับควำมต้องกำรของนักศึกษำ 3. พิจำรณำผลที่เกิดจำกกำรแสดงออกทำงสังคมของนักศึกษำ ขั นตอนที่ 6 ฝึกการปฏิบัติตนในสังคมให้ถูกต้องและเหมาะสม มีวิธีการ ดังนี 1. อธิบำยเรื่องรำวหรือเหตุกำรณ์อย่ำงกระชับหรือสั้น 2. บันทึกกำรรับรู้ของนักศึกษำไว้ 3. บรรยำยสถำนกำรณ์ทำงสังคมที่เฉพำะ เพื่อให้นักศึกษำเข้ำใจ 4. บรรยำยสถำนกำรณ์ทำงสังคมเพื่อสอนนักศึกษำออทิสติกเหมือนสอนเด็กปกติทั่วไป


40 5. กำรใช้ภำพจะช่วยบรรยำย 6. แนะแนวและชี้แนวทำงเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษำเกิดควำมตระหนักรู้ กำรระงับอำรมณ์ และกำรจัดกำรตนเองเพื่อ แก้ไขสถำนกำรณ์ทำงสังคมที่นักศึกษำต้องเผชิญ ขั นตอนที่7 การช่วยเหลือด้านวิชาการ ต้องประสำนงำนขอควำมร่วมมือกับระบบกำรให้ควำมช่วยเหลือนักศึกษำออทิสติก ในบทบำทศูนย์บริกำร นักศึกษำพิกำร Disability Support Services ดังนี้ 1. กำรส ำรวจ/รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ข้อมูลด้ำนกำรแพทย์/สุขภำพ/ควำมพิกำร ข้อมูลด้ำนครอบครัว ข้อมูล กำรศึกษำ ข้อมูลด้ำนสวัสดิกำร 2. จัดท ำแผนกำรรับบริกำรเฉพำะบุคคล (Individualized Services Plan : ISPและแผนกำรศึกษำเฉพำะบุคคล (Individualized Education Program : IEP ที่เป็นแนวทำงให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ด ำเนินกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำร สอนและพัฒนำผู้เรียนตำมแผนที่ก ำหนด) 3. บริกำรให้ค ำปรึกษำทั้งด้ำนกำรศึกษำและกำรด ำเนินชีวิตในมหำวิทยำลัย รำยบุคคลหรือกลุ่ม 4. บริกำรสนับสนุนกำรศึกษำ/กำรติดตำมผลกำรศึกษำ 5. จัดบริกำรสื่อสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก 6. กำรสอนเสริม 7. จัดบริกำรข้อมูลสำรสนเทศเพื่อกำรหำงำนของนักศึกษำพิกำร 8. ประสำนงำนด้ำนอื่น ๆ เช่น ทุนกำรศึกษำ หอพักกำรเข้ำร่วมกิจกรรมที่พัฒนำนักศึกษำ ขั นตอนที่8 มีการร่วมกันสะท้อนผลทักษะ EF และประเมินผล กำรเรียนของนักศึกษำที่มีควำมต้องกำรจ ำเป็นพิเศษทำงกำรศึกษำ ร่วมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นรำยภำค กำรศึกษำ คือ 2 ครั้งต่อปีกำรศึกษำ ข. การจัดการกับสิ่งแวดล้อม ข.1) การจัดหากลุ่มเพื่อนช่วยเหลือ • ประชำสัมพันธ์นักศึกษำเพื่อเข้ำร่วมโครงกำร Peer Tutors ชี้แจง คุณสมบัติของจิตอำสำ โดยวิธีเจำะจง ประสำนงำนกับอำจำรย์ที่ปรึกษำแต่ละสำขำคณะ


41 ✓ เป็นนักศึกษำชั้นปีที่เรียน คณะเดียวกันกับที่นศ. ✓ มีจิตอำสำ มีน้ ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ บทบทหน้ำที่ ✓ ช่วยเหลือ อ ำนวยควำมสะดวก ตั้งแต่กำรเข้ำเรียน กำรเปลี่ยนคำบเรียน กำรเดินทำงไปสถำนที่ต่ำงๆ ใน มหำวิทยำลัย เช่น กำร เดินทำงไปรับประทำนอำหำร กำรเข้ำร่วมกิจกรรมต่ำงๆ ของคณะและมหำวิทยำลัย แจ้งข้อมูลข่ำวสำรต่ำง ๆ ที่ ส ำคัญของวิชเรียน คณะและข่ำวสำรมหำวิทยำลัย ให้นักศึกษำออทิสติกทรำบ ช่องทำงกำรประชำสัมพันธ์ สื่อออนไลน์ กลุ่ม Facebook, Line เอกสำร • รับสมัครจิตอำสำโครงกำร Peer Tutors • ค่ำตอบแทน ➢ หน่วยกิจกรรม ➢ ทุนอุปกรณ์ทำงกำรศึกษำ ➢ สิทธิในกำรยืม และใช้บริกำรสื่อ อุปกรณ์เทคโนโลยีต่ำง ๆ ของ ศูนย์ DSS ข.2) การสร้างความเข้าใจกับกลุ่มอาจารย์ผู้สอน - กำรแจ้งข้อจ ำกัดของนักศึกษำที่มีควำมต้องกำรจ ำเป็นพิเศษ จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนำ - บอกเทคนิควิธีกำรสอนที่เหมำะสมเป็นรำยบุคคล เช่น กำรปฏิสัมพันธ์ระหว่ำง ในห้องเรียน กำรสบตำ ยิ้ม ชม ให้ บ่อยขึ้น สอนให้ช้ำลง - เมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงหัวข้อก็ให้บอกชัดๆว่ำจะเปลี่ยนหัวข้อเป็นต้น - กำรประเมินที่เหมำะสม เช่น กำรสอบโดยกำรสอบตัวต่อตัว หรือ เพิ่มเวลำสอบให้เป้นต้น ข.3) การสร้างความเข้าใจกับกลุ่มผู้ปกครอง - เข้ำร่วมปฐมนิเทศกับผู้ปกครอง สร้ำงทัศนคติใหม่ให้ผู้ปกครองเข้ำใจสิ่งที่เพื่อนคนปกติในชั้นเรียนจะได้รับ - กำรอยู่ร่วมกันของมนุษย์ที่แตกต่ำง คือ กำรสร้ำงสมดุลของโลก


42 7. การเขียนแผนการเรียนและการจัดกิจกรรมส าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.ปวีณำ ฉัตรสูงเนิน อำจำรย์ ดร. ศรัณย์ จันทร์ทะเล อำจำรย์ชนิตสิรี ศุภพิมล อำจำรย์ปวันรัตน์ บัวเจริญ คณะศิลปศำสตร์ มหำวิทยำลัยแม่โจ้ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษในระดับอุดมศึกษำเป็นเรื่องส ำคัญที่ต้อง พิจำรณำให้ดี เนื่องจำกผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษอำจมีควำมแตกต่ำงกันไปจำกผู้เรียนปกติ ในด้ำนต่ำง ๆ เช่น กำรเรียนรู้ กำรเข้ำใจ กำรจดจ ำ กำรมีสมำธิ ฯลฯ ดังนั้น กำรจัดกำรเรียนกำรสอนส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำร พิเศษควรค ำนึงถึงควำมแตกต่ำงเหล่ำนี้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับกำรสนับสนุนและกำรเรียนรู้ที่เหมำะสมกับควำม ต้องกำรและศักยภำพของแต่ละบุคคล ต่อไปนี้คือบำงขั้นตอนในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษในระดับอุดมศึกษำ: 1. กำรประเมินควำมต้องกำรพิเศษ: สิ่งแรกที่ต้องท ำคือประเมินควำมต้องกำรพิเศษของผู้เรียน ซึ่งสำมำรถ ท ำได้โดยกำรใช้เครื่องมือทำงกำรศึกษำ เช่น กำรทดสอบควำมสำมำรถ กำรประเมินพฤติกรรม กำร วินิจฉัยอำกำร ฯลฯ 2. กำรวำงแผนกำรเรียนกำรสอน: หลังจำกที่ประเมินควำมต้องกำรพิเศษแล้ว ต่อไปคือกำรวำงแผนกำรเรียน กำรสอนที่เหมำะสมกับควำมต้องกำรแต่ละบุคคล โดยครูผู้สอนควรพิจำรณำ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษในระดับอุดมศึกษำควรจะเน้นไปที่กำรให้กำร สนับสนุนและกำรปรับปรุงในกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษสำมำรถเติบโตและพัฒนำ ตนเองได้อย่ำงเต็มที่ กำรปรับปรุงกำรสอน: ผู้สอนควรใช้เครื่องมือกำรสอนที่เหมำะสมเพื่อให้ผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษสำมำรถ เรียนรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยกำรใช้เทคโนโลยีช่วยเหลือกำรเรียนกำรสอน เช่น กำรใช้เครื่องมือกำรเรียนรู้ ออนไลน์ กำรบันทึกบทเรียนเสียงหรือวิดีโอเพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถเข้ำถึงได้ตลอดเวลำ และกำรสร้ำงชุดปัญหำที่ แตกต่ำงกันเพื่อเพิ่มควำมหลำกหลำยในกำรเรียนกำรสอน


43 กำรให้กำรสนับสนุน: ผู้สอนควรเตรียมพร้อมที่จะให้กำรสนับสนุนแก่ผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษ โดยกำรให้ กำรสนับสนุนทำงด้ำนทฤษฎี ค ำแนะน ำทำงวิชำกำร และกำรสนับสนุนทำงอำรมณ์ เช่น กำรให้กำรสนับสนุนใน กำรเรียนรู้ที่บ้ำน How to Analyze a Lesson Plan Using Different Theories เมื่อท ำงำนกับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษ ผู้สอนควรค ำนึงถึงพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนดังต่อไปนี้ • นักเรียนที่มีอำยุเท่ำกันอำจมีขั้นพัฒนำกำรทำงสติปัญญำที่แตกต่ำงกัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนำควำมสำมำรถของเขำไปตำมระดับพัฒนำกำรของเขำ นักเรียนแต่ ละคนจะได้รับประสบกำรณ์ 2 แบบคือ • ประสบกำรณ์ทำงกำยภำพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับ วัตถุต่ำง ในสภำพแวดล้อมโดยตรง • ประสบกำรณ์ทำงตรรกศำสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนได้พัฒนำ โครงสร้ำงทำงสติปัญญำให้ควำมคิดรวบยอดที่เป็นนำมธรรม • หลักสูตรหรือแผนกำรสอนที่สร้ำงขึ้นส ำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรพิเศษควรจัดท ำขึ้นบนพื้นฐำนทฤษฎี พัฒนำกำรทำงสติปัญญำของเพียเจต์ ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ -- เน้นพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ศักยภำพของตนเองให้มำกที่สุด -- เสนอกำรเรียนกำรเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับควำมแปลกใหม่ -- เน้นกำรเรียนรู้ต้องอำศัยกิจกรรมกำรค้นพบ -- เน้นกิจกรรมกำรส ำรวจและกำรเพิ่มขยำยควำมคิดในระหว่ำงกำรเรียนกำรสอน -- ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจำก ควำมคิดเห็นของตนเอง • กำรสอนที่ส่งเสริมพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนควรด ำเนินกำรดังต่อไปนี้ -- ถำมค ำถำมมำกกว่ำกำรให้ค ำตอบ -- ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มำกขึ้น -- ควรให้เสรีภำพแก่ผู้เรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรมต่ำง ๆ -- เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถำมค ำถำมหรือจัดประสบกำรณ์ให้นักเรียนใหม่ เพื่อผู้เรียนจะได้แก้ไข ข้อผิดพลำดด้วยตนเอง


44 -- ชี้ระดับพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนจำกงำนพัฒนำกำรทำงสติปัญญำขั้นนำมธรรมหรือจำกงำน กำรอนุรักษ์ เพื่อดูว่ำผู้เรียนคิดอย่ำงไร -- ยอมรับควำมจริงที่ว่ำ ผู้เรียนแต่ละคนมีอัตรำพัฒนำกำรทำงสติปัญญำที่แตกต่ำงกัน -- ผู้สอนต้องเข้ำใจว่ำผู้เรียนมีควำมสำมำรถเพิ่มขึ้นในระดับควำมคิดขั้นต่อไป -- ตระหนักว่ำกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพรำะจดจ ำมำกกว่ำที่จะเข้ำใจ เป็นกำรเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง (pseudo learning) • ในขั้นประเมินผล ควรด ำเนินกำรสอนต่อไปนี้ --มีกำรทดสอบแบบกำรให้เหตุผลของนักเรียน --พยำยำมให้นักเรียนแสดงเหตุผลในกำรตอนค ำถำมนั้น ๆ --ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำต่ ำกว่ำเพื่อร่วมชั้น กำรวำงแผนกำรสอนที่ละเอียด แยกย่อยเรื่องที่จะสอนจึงเป็นสิ่งที่ส ำคัญ ซึ่งในแต่ละขั้นตอน อำจำรย์จะต้อง เข้ำไปช่วยเพื่อให้ผู้เรียนให้ได้ กำรช่วยเหลือนี้ จ ำเป็นต้องใช้เทคนิคที่เหมำะสม เพื่อให้ผู้เรียนท ำได้ในระยะแรก ผู้สอนต้องช่วยทุกขั้นตอน และลดลงเมื่อผู้เรียนท ำได้มำกขึ้น *** วิธีกำรวิเครำะห์งำน ให้ผู้ที่จะสอนควรลองปฏิบัติตำมเรื่องที่จะสอน และจดบันทึกขั้นตอนย่อยต่ำงๆ เพื่อน ำมำใช้สอนต่อไป หลักการเฉพาะการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กบกพร่องทางการเรียนรู้มีดังนี 1.เทคนิคกำรจ ำค ำ (Word recognition) 2. เทคนิคกำรสะกดค ำ 2.1 กำรดู ปิด เขียน ตรวจสอบ เริ่มด้วยกำรลอกค ำศัพท์ที่ยำก หรือค ำที่มักเขียนผิดบ่อย หรือค ำศัพท์ท้ำย บท จำกนั้นลองปิดสมุดเขียนค ำศัพท์จำกควำมจ ำ ต่อมำบอกให้เขียน ตรวจสอบแล้วแก้ไขควำมผิด 2.2 กำรใช้หลักภำษำ ให้เด็กใช้หลักภำษำจนขึ้นใจ ฝึกอ่ำนและเขียนตำมหลักภำษำ ถ้ำค ำใดเป็นข้อยกเว้นให้ ใช้วิธีกำรจ ำ เพื่อชดเชยข้อบกพร่อง 3. เทคนิคกำรฟัง พูด อ่ำน เขียน กำรเรียนกำรสอนโดยใช้ประสบกำรณ์ทำงประสำทสัมผัสหลำย ๆ ด้ำนไปด้วยกัน (Multi-Sensory experience) เช่น กำรได้ยิน กำรเห็น กำรสัมผัสด้วยมือไปพร้อม ๆ กัน


45 การเขียน 1. ใช้สีขีดตำมเส้นบรรทัด เพื่อให้ผู้เรียน สังเกตได้ชัดเจนขึ้น 2. ควรเว้นบรรทัดให้ห่ำง เพื่อให้ผู้เรียน ได้เห็นตัวอักษรชัดเจนมำกขึ้น 3. ควรใช้สีท ำสัญลักษณ์ที่หัวบรรทัด ที่ต้องกำรให้ผู้เรียนเขียน การอ่าน 1. ฝึกค ำที่ผู้เรียนอ่ำนผิด ซ้ ำ ๆ สม่ ำเสมอ 2. ท ำสัญลักษณ์หรือสีค ำที่ผู้เรียนมักอ่ำนผิด 3. น ำค ำที่ผู้เรียนมักอ่ำนผิด เขียนเป็นเรื่องเพื่อฝึกให้ผู้เรียนอ่ำนค ำนั้นบ่อย ๆ การเขียนแผนการศึกษา การเขียนแผนการสอน การก าหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ในกำรก ำหนดวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้เป็นกำรระบุสิ่งที่ต้องกำรให้ผู้เรียนมีหรือได้รับ หรือบรรลุในด้ำน ควำมรู้ ทักษะ และเจตคติ ซึ่งวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้จะได้มำจำกระดับของหลักสูตร กล่ำวคือ ตั้งแต่จุดมุ่งหมำย ของหลักสูตร วัตถุประสงค์ของสำขำวิชำ มำตรฐำนวิชำชีพในสำขำและสำขำงำน ตลอดจนระดับรำยวิชำ คือ


46 วัตถุประสงค์รำยวิชำ มำตรฐำนรำยวิชำ และค ำอธิบำยรำยวิชำ ที่ต้องกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อน ำไปสู่ ผลสัมฤทธิ์ในระดับหลักสูตร โดยกำรเขียนวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้ที่สมบูรณ์นั้น ต้องมีกำรเขียนให้ครอบคลุม พฤติกรรมทั้ง 3 ด้ำน ทั้งควำมรู้ทักษะ และเจตคติ แนวทางการเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) กำรเขียนวัตถุประสงค์เป็นกำรเน้นควำมสำมำรถหรือควำมรอบรู้ใน เนื้อหำวิชำกำร หลักกำร หรือทฤษฎีพฤติกรรมกำรเรียนรู้ สำมำรถวัดได้จำกกำรให้ผู้เรียนแจกแจงควำมรู้เขียนสิ่ง ที่รู้โดยพฤติกรรมตำมระดับกำรเรียนรู้ด้ำนพุทธิพิสัยแบ่งได้เป็น 6 ขั้น ได้แก่1) ขั้นกำรจ ำ 2) กำรเข้ำใจ 3) กำรนำ ไปใช้4) กำรวิเครำะห์5) กำรสังเครำะห์ และ 6) กำรประเมินค่ำ ซึ่งกำรเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้นไป ต้องอำศัยระดับ กำรเรียนรู้ที่ต่ ำกว่ำเสมอ ค ำกริยำแสดงพฤติกรรมทำงด้ำนพุทธิพิสัยแสดงได้ดังตำรำงต่อไปนี้ ตำรำงแสดงค ำกริยำแสดงพฤติกรรมทำงด้ำนพุทธิพิสัยตำมระดับกำรเรียนรู้จำกต่ ำไปสูง ระดับการเรียนรู้ พฤติกรรมที่แสดงออก กำรจ ำ บอกควำมหมำยศัพท์, เขียนชื่อ, บรรยำยลักษณะ, ท่อง, เล่ำ, ชี้บอก กำรเข้ำใจ กำรแปลควำมหมำยข้อมูล, อธิบำย, ท ำนำย, สรุปอ้ำงอิง, สรุปย่อ กำรน ำไปใช้ แก้ปัญหำ, ใช้เครื่องมือ, จัดหำเครื่องมือ, ท ำกำรทดลอง, สำธิต, พิสูจน์, ตรวจสอบ สมมติฐำน กำรวิเครำะห์ ชี้ขั้นตอนของปัญหำ, ระบุตัวแปร, แยกแยะ, ระบุจุดเด่น กำรสังเครำะห์ ประดิษฐ์, ออกแบบ, ประกอบ, เรียบเรียง, สร้ำง, ให้ข้อเสนอแนะ กำรประเมินค่ำ วิจำรณ์, บอกเหตุผล, ตัดสินประเมินค่ำ, แสดงหลักฐำน, เขียนควำมเห็น 2. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) กำรเขียนวัตถุประสงค์ที่เน้นหนักพฤติกรรมทำงด้ำนจิตพิสัย ได้แก่ อำรมณ์ ควำมรู้สึก เจตคติ และค่ำนิยมซึ่งไม่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง จึงต้องระบุพฤติกรรมที่คำดหวังให้ผู้เรียน แสดงออก ดังนั้นต้องรวบรวมพฤติกรรมที่แสดงถึงควำมรู้สึก เจตคติ และค่ำนิยมของตนเองและผู้อื่น แล้วนำมำใช้ ในกำรกำหนดเป็นพฤติกรรมที่คำดหวังตัวอย่ำงค ำกริยำแสดงพฤติกรรมทำงด้ำนจิตพิสัยแสดงดังตำรำง


47 ตำรำงแสดงค ำกิริยำแสดงพฤติกรรมทำงด้ำนจิตพิสัย ระดับการเรียนรู้ พฤติกรรมที่แสดงออก กำรรับรู้สิ่งเร้ำ สะสม, ยอมรับ, รับฟัง, ควบคุม, แยกควำมแตกต่ำง กำรตอบสนอง ยินยอม, ท ำตำมเห็นด้วย, ชักชวน, แนะน ำ, อำสำ, ฝึกหัด, กล่ำวส่งเสริม, เสนอรำยงำน กำรสร้ำงค่ำนิยม โต้แย้ง, สำธิต, บรรยำย, สนับสนุน, ช่วยเหลือ กำรจัดระบบ ค่ำนิยม, จัดแจง, เปรียบเทียบ, วำงหลักกำร, หยั่งคิด กำรแสดงลักษณะ ตำมค่ำนิยม, เรียบเรียงใหม่, เปลี่ยน, ต่อเติม, แก้ไข, ต่อต้ำน, พยำยำมเปลี่ยน 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) กำรเขียนวัตถุประสงค์ที่เน้นพฤติกรรมทำงด้ำนทักษะพิสัยเป็น กำรพัฒนำทักษะทำงกำยสำมำรถระบุพฤติกรรมที่แสดงออกได้จำกกำรตีควำมทักษะหรือกำรปฏิบัติออกมำเป็น พฤติกรรม ดังนั้นค ำกริยำแสดงพฤติกรรมทำงด้ำนทักษะพิสัย ได้แก่ เลียนแบบ เปลี่ยนแปลง ประกอบ สร้ำง ประดิษฐ์ ออกแบบ ฝึก ร่ำง ผสม แก้ไข ซ่อมแซม ส ำหรับพฤติกรรมทำงด้ำนทักษะพิสัยควรระบุเกณฑ์ของ พฤติกรรมว่ำถูกต้องแม่นย ำ คล่องแคล่วไว้ด้วย เมื่อเข้ำใจในลักษณะของพฤติกรรมทั้ง 3 แล้ว ในกำรเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมผู้เขียนควรพิจำรณำ โดยค ำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องมีลักษณะชัดเจน รัดกุม ไม่คลุมเครือ เพื่อให้สำมำรถเข้ำใจได้ตรงกันเช่น ค ำกริยำที่แสดงพฤติกรรมที่คำดหวังนั้น ผู้สอนต้องสังเกตได้อย่ำงชัดเจน 2. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนต้องเรียงลำดับพฤติกรรมที่เกิดก่อนตำมล ำดับ ซึ่งพฤติกรรมที่เกิดก่อน จะเป็นพื้นฐำนของพฤติกรรมที่ตำมมำ 3. พฤติกรรมที่กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมจะต้องเป็นพฤติกรรมที่แสดงภำยหลังเรียนจบบทเรียน นั้น ๆ แล้ว 4. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนขึ้นอำจไม่ครบทั้ง 3 องค์ประกอบก็ได้ แต่ต้องพิจำรณำว่ำวัตถุประสงค์ นั้นสมบูรณ์พอที่จะเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม อำจละเว้นสถำนกำรณ์ หรือเกณฑ์ของพฤติกรรมบำงประ บำงอย่ำงไว้ในฐำนที่เข้ำใจ หำกพิจำรณำถึงแนวทำงกำรเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมทั้งหมดแล้วนั้น จะพบว่ำวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมด้ำนจิตพิสัยนั้นเขียนได้ยำก เพรำะผู้สอนไม่อำจสังเกตได้โดยตรง ในกรณีนี้ถ้ำไม่สำมำรถเขียน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมได้ อำจเขียนเป็นวัตถุประสงค์เฉพำะโดยใช้ค ำว่ำ บอกคุณค่ำ บอกประโยชน์ เป็น ต้น


Click to View FlipBook Version