The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่๑หลักการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Winrat Asadee, 2021-11-09 02:18:15

บทที่๑หลักการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน

บทที่๑หลักการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน

1

ครูสมถวลิ รัตน์ อาษาดี

2

หลักการจัดการโลจิสตกิ ส์และห่วงโซ่อุปทาน
ความหมายของการจัดการโลจสิ ตกิ ส์

การจดั การโลจิสติกส์ หมายถงึ ระบบบรหิ ารการส่ังซ้ือ การจัดลำเลียง
สินค้า การเคล่อื นยา้ ยการจัดเตรียมวตั ถดุ บิ และการจัดเกบ็ วตั ถดุ ิบสินค้า
ระหวา่ งการผลิต หรอื เป็นกระบวนการในการจดั การวางแผน การจดั ลำเลยี ง
สินค้าเพอ่ื ให้มีคา่ ใชจ้ ่ายต่ำทส่ี ุด โดยเรมิ่ เกยี่ วข้องต้งั แต่การจดั หาวตั ถุดบิ ไปจนถงึ
มือผบู้ ริโภค
การจัดการโลจิสตกิ สจ์ ดั ไดว้ า่ เปน็ กิจกรรมหน่ึงทสี่ ำคัญเปน็ อย่างมากในธรุ กจิ
ต่างๆ ณ ปัจจุบนั หลายๆธรุ กิจพงุ่ เป้าไปที่การลดตน้ ทุนทางดา้ นน้ีเปน็ หลักไม่
เว้นแม้กระทั่งธรุ กิจในสหรฐั อเมรกิ าหรอื แมก้ ระท่งั ประเทศญีป่ ุ่นเองก็ตามรวมทง้ั
ประเทศทพ่ี ฒั นาแล้วอกี หลายๆประเทศ

3

ระบบบรหิ ารการส่งั ซ้อื
ระบบการจดั ซอื้ เป็นระบบซ่ึงต้องอาศยั ขอ้ มูลสินค้าคงเหลือเกยี่ วกับ

จํานวนท่ีส่งั ซื้อแต่ละคร้ังร้านคา้ ท่ที าํ การจัดซื ้อ เงือ่ นไขการสง่ ของ การชําระเงิน
ราคาสินคา้ โดยหลักการในกิจการ แตล่ ะแหง่ จะแบ่งหนา้ ท่ี การจดั ซื ้อ การรบั
และการจ่ายเงนิ ค่าซื ้อออกจากกนั เพื่อประโยชน์ใน การควบคุมภายในและมี
การกาํ หนดวิธีการให้รัดกมุ และใช้แบบฟอรม์ ตา่ งๆ เช่น แบบฟอรมใ์ บ เสนอซื อ้
(Purchase Requistion) ใบสงั่ ซื อ้ (Purchase Order) ใบรับของ (Receiving
Slip) การนําคอมพวิ เตอร์มาใช้จะช่วยในการจดั เกบ็ ข้อมูล การเรยี กใช้ การพิมพ์
ใบสง่ั ซื อ้ พมิ พ์ใบรับ ของ ตลอดจนการวิเคราะหผ์ ลการดําเนินงานของระบบ
และออกรายงานเพื่อสนองตอบผู้ ปฎบิ ัตงิ าน และผ้บู รหิ ารไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ ถูกต้อง รวดเรว็ และเป็ นระบบท่สี ามารถ ตรวจสอบได้ทันที

การจดั ลำเลยี งสินค้า
ระบบลำเลียงเป็นโซลูชั่นการขนส่งท่ีเชื่อถือได้ซึ่งทำให้การเคลื่อนไหวทาง

กายภาพของวัสดุต่างๆจากที่หน่ึงไปยงั อกี ที่หนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับและมกี ารตดิ ตง้ั

4

กันอย่างแพร่หลายในคลังสินค้าส่วนใหญ่ โซลูชั่นเหล่านี้ได้รับการยอมรับมาก
ที่สุดสำหรับความสามารถในการขนส่งวัสดุหนักและขนาดใหญ่ แต่ก็ยังให้
ประโยชน์แก่นักอุตสาหกรรมในการทำงานร่วมกับกระบวนการอื่น ๆของ
กระบวนการผลิตปลอดภัยกว่ารถยกและเครื่องลำเลียงอื่น ๆ ระบบลำเลียงช่วย
ปกป้องสินคา้ และความปลอดภยั ของมนษุ ย์ ระบบลำเลียงเป็นตัวเลือกท่ยี ืดหยุ่น
มาก เนื่องจากสามารถติดตั้งได้เกือบทุกที่ในคลังสินค้า หากต้องการระบบ
ลำเลียงสามารถปรับแต่งเพื่อให้เหมาะสมกับกระบวนการของผู้ผลิตแต่ละราย
ขึ้นอยู่กับความต้องการเฉพาะด้านอุตสาหกรรมหรือข้อ จำกัด ด้านพื้นที่ปัจจัย
ต่างๆเชน่ อตั ราการเคลื่อนไหว ขนาด นำ้ หนัก อัตราการใชง้ าน ผลลัพธ์ การหยิบ
ชิ้นงาน และจุดโหลดสินค้า ซึ่งเหล่านี้ควรได้รับการพิจารณาก่อนการเลือกใช้
สำหรับ บริษัท ที่จะต้องเลือกระบบที่เหมาะสำหรับการสนับสนุนกระบวนการ
คลงั สนิ ค้าของตนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ

ซึ่งทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ผลิต การรวมระบบสายพานลำเลียง
ต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อรองรับการดำเนินงานคลังสินค้าโดยรวม ระบบการลำเลียง
ขั้นสูงที่เพิ่มขึ้นจะถูกนำมาใช้โดย บริษัท ผู้ผลิตอาหารเพราะนวัตกรรมเหล่านี้
สามารถช่วยให้สายการผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารมีความคล่องตัวได้มากขึ้น ด้วย
ความช่วยเหลือของซัพพลายเออร์อุปกรณ์การจัดการวัสดุอย่างมืออาชีพเช่น
Consoveyo อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มสามารถกำหนดคลังสินค้าและ
โซลูชั่นการผลิตที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพและการไหลเวียน
ของสนิ ค้าโดยรวมท่ีราบรืน่ ยิ่งขนึ้

ระบบการลำเลียงเป็นส่วนสำคัญสำหรับคลังสนิ คา้ และศูนยก์ ระจายสินค้า
เนื่องจากมีส่วนช่วยให้ บริษัทต่าง ๆสามารถรักษาความยืดหยุ่นในขณะเดียวกัน
เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและลดจำนวนแรงงานเช่น การเคลื่อนย้ายสินค้า
จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เป็นผลให้บริษัทลดต้นทุนเพิ่มผลกำไรได้มากข้ึน

5

ด้วยนวัตกรรมใหม่ๆถูกพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ระบบลำเลียงที่สามารถ
จดั เก็บขอ้ มูลการใช้ เปน็ ต้น

โดยท่ัวไปกิจการจะเกบ็ สนิ ค้าคงคลงั ไว้ในระดับทีเ่ หมาะสม หากกจิ การ
เก็บไว้มากเกนิ ความจำเปน็ กจ็ ะทำให้เกดิ การสูญเสยี ในรูปดอกเบ้ีย
(Interest) ค่าเก็บรกั ษา (Inventory Carrying costs)เส่ือมค่า (Depreciate
) และคา่ ดแู ลอนื่ ๆ ทง้ั นกี้ ็เพื่อ “ มีให้ทันทเี มือ่ ยามต้องการ ” ตรงกันข้ามหาก
กิจการมีสินค้าคงคลงั นอ้ ยไปไม่พอกับความต้องการก็จะเกิดความเสียหายข้นึ ต่อ
กจิ การ การผลิตอาจจะหยดุ ชะงกั ลง ลกู คา้ ขาดความน่าเช่ือถอื โอกาสยอดขาย
ที่หายไป
ประเภทของสินค้าคงคลงั (Type of inventory) แบ่งออกเป็น 5 ประเภท

1. วัตถุดิบ (Raw Materials) เป็นสิ่งของที่กิจการซื้อมาเพื่อ
ปอ้ นเข้าสูก่ ระบวนการผลติ สำหรับผลิตเปน็ สินคา้ สำเร็จรปู

2. ช้ินส่วน (Assembly) เป็นช้ินสว่ นทก่ี ิจการซ้ือมาหรือผลิต
ขึ้นเพื่อนำไปผลิตต่อเป็นสินค้าสำเร็จรูปต่อไปหรือเป็ นชิ้นส่วนประกอบที่เป็น
ส่วนหนงึ่ ของสินค้าสำเรจ็ รูป

6

3. วสั ดสุ ้ินเปลอื ง (Supplies) เป็นวสั ดุท่กี จิ การมีไว้ใช้ในการ
ดำเนินการผลิตที่ได้เป็นส่วนสำคัญของสินค้าสำเร็จรูปต่อไป เช่น ด้าย กระดุม
กระดาษ ปากกา เปน็ ตน้

4. สินค้าระหว่างการผลิต (Work in Process) เป็นวัตถุดิบ
และชนิ้ สว่ นต่าง ๆ ท่อี ย่รู ะหว่างขั้นตอนการผลิตต่าง ๆ

5. สนิ ค้าสำเรจ็ รปู (Finished Goods) เป็นสินคา้ หรือ
ผลติ ภณั ฑท์ ผ่ี ลติ เสร็จแลว้ พรอ้ มจะจำหน่ายแกล่ ูกค้าต่อไป แต่ในบางธรุ กิจ
อาจจะแบง่ ประเภทของสนิ คา้ คงคลัง (Type of inventory) ออกเป็น 4
ประเภท

5.1. สนิ คา้ คงคลังประเภทเบด็ เตล็ด (odds and ends) สนิ ค้า
คงคลังประเภทเบ็ดเตลด็ หมายถึง วตั ถุดบิ ประเภทช่วยเหลอื ให้การผลติ ดำเนิน
ไปได้ เชน่ อุปกรณ์ สำนักงาน น้ำมนั เช้ือเพลิง เปน็ ต้น ชน้ิ สว่ นสนิ คา้ คงคลงั
ประเภทเบด็ เตล็ดน้ี จะไมเ่ ป็นสว่ นหนึ่งของสินค้าสำเร็จรูป

5.2. สนิ ค้าคงคลังประเภทวตั ถดุ ิบและอะไหล่ (Raw material
or Spare parts) สนิ ค้า คงคลังประเภทน้ี ไดแ้ ก่ ชิ้นสว่ นหรอื สว่ นประกอบที่
เปน็ ส่วนหนงึ่ ของสนิ ค้าสำเรจ็ รูป เช่น น๊อต หวั เทยี นทีจ่ ะใส่รถยนต์ เหล็กจะ
นำมาผลิตเป็นตัวถังรถยนต์ หนิ ปนู ที่จะนำผลติ ปูนซเี มนต์ เป็นต้น

5.3. สินคา้ คงคลงั ประเภทกง่ึ สำเรจ็ รูป สนิ คา้ ก่งึ
สำเรจ็ รปู (Work in process inventory) หมายถงึ วสั ดทุ ีผ่ า่ นจากวัตถุดิบ
มาแลว้ แต่ยงั ไมเ่ ป็นสินคา้ สำเรจ็ รปู เช่น เครื่องเคลือบดนิ เผาทผ่ี า่ น การเผามา
ครัง้ หนงึ่ แลว้ ยังตอ้ งนำมาเขียนสีก่อน จะตอ้ งเกบ็ ในกระบวนการผลติ แล้วจงึ
นำไปเผา เคลอื บเปน็ สินคา้ สำเรจ็ รูป ปูนอัดเม็ด เปน็ ต้น

5.4. สินค้าคงคลังประเภทสำเรจ็ รูป สนิ ค้าสำเร็จรปู (Ready
made or Finished products) หมายถึง สินค้าท่ีสมบรู ณ์เรียบรอ้ ย แลว้ นำไป

7

เก็บในคลังสินค้าเพ่ือรอจำหน่ายกลายเปน็ สินคา้ ประเภทสำเรจ็ รปู รถยนต์
มามา่ ผงชรู ส เปน็ ตน้

สรุปได้ว่า กิจการจะเก็บสินค้าคงคลังในรูปแบบใดก็ตาม ถ้า
ธุรกิจมีสินค้าคงคลังน้อยเกินไป ก็อาจประสบปัญหาสินค้าขาดแคลนไม่
เพียงพอ (Stock out) สูญเสียโอกาสในการขายสินค้าให้แก่ ลูกค้า เป็นการเปิด
ช่องใหแ้ ก่คู่แข่งขัน และกอ็ าจตอ้ งสูญเสยี ลกู ค้าไปในท่สี ดุ นอกจากน้ถี ้าส่ิงท่ี ขาด
แคลนนั้นเป็นวัตถุดิบที่สำคัญ การดำเนินงานทั้งการผลิตและการขายก็อาจต้อง
หยุดชะงัก ซึ่งอาจ ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของธุรกิจในอนาคตได้ ดังนั้นจึงเป็น
หน้าที่ของผู้ประกอบการในการจัดการ สินค้าคงคลังของตนให้อยู่ในระดับท่ี
เหมาะสม ไม่มาก หรือน้อยจนเกินไป เพราะการลงทุนในสินค้า คงคลังต้องใช้
เงินจำนวนมาก และอาจสง่ ผลกระทบถึงสภาพคลอ่ งของธุรกิจได้ หากไม่มีสินคา้
คง คลัง การผลิตอาจจะไม่ราบรื่น โดยทั่วไปฝ่ายขายค่อนข้างพอใจหากมีสินค้า
คงคลังจำนวนมากๆ เพราะให้ความรู้สึกมั่นใจว่าอย่างไรก็มีสินค้าให้พอขาย แต่
หน้าที่ของสินค้าคงคลงั คือ รักษาความ สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ทำให้
เกิดการประหยัด ต่อขนาด (Economy of Scale) เพราะการ สั่งซื้อจำนวน
มาก ๆ เปน็ การลดตน้ ทุน และคลงั สินค้าช่วยเกบ็ สนิ คา้ ปริมาณมากน้นั

8

ห่วงโซ่อปุ ทาน(Supply Chain)
โซ่อุปทาน หรือ ห่วงโซ่อุปทาน หรือ เครือข่ายโลจิสติกส์ คือ การใช้
ระบบของหน่วยงาน คน เทคโนโลยี กิจกรรม ข้อมูลข่าวสาร และทรัพยากร มา
ประยุกต์เข้าด้วยกัน เพื่อการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้จัดหาไปยัง
ลูกค้า กิจกรรมของห่วงโซ่อุปทานจะแปรสภาพรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ และ
วัสดุอื่นๆให้กลายเป็นสินค้าสำเร็จ แล้วส่งไปจนถึงลูกค้าคนสุดท้าย (ผู้บริโภค
หรือ End Customer) ในเชิงปรัชญาของโซ่อุปทานน้ัน วัสดุที่ถูกใช้แล้ว อาจจะ
ถูกนำกลับมาใช้ใหม่ที่จุดไหนของห่วงโซ่อุปทานก็ได้ ถ้าวัสดุนั้นเป็นวัสดุที่นำ
กลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ (Recyclable Materials) โซอ่ ปุ ทานมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ห่วงโซ่
คุณค่า
โดยทวั่ ไปแลว้ จดุ เรม่ิ ตน้ ของห่วงโซม่ กั จะมาจากทรพั ยากรธรรมชาติ ไม่ว่า
จะเป็นทรัพยากรทางชีววิทยาหรือนิเวศวิทยา ผ่านกระบวนการแปรรูปโดย
มนุษย์ผ่านกระบวนการสกัด และการผลิตที่เก่ียวข้อง เช่น การก่อโครงร่าง, การ
ประกอบ หรอื การรวมเขา้ ด้วยกนั ก่อนจะถูกสง่ ไปยังโกดัง หรอื คลังวัสดุ โดยทุก
ครั้งที่มีการเคลื่อนย้าย ปริมาณของสินค้าก็จะลดลงทุกๆครั้ง และไกลกว่าจุด
กำเนิดของมนั และท้ายทส่ี ุด ก็ถูกสง่ ไปถึงมอื ผบู้ รโิ ภค

9

การแลกเปลีย่ นแตล่ ะคร้ังในห่วงโซ่อุปทาน มักจะเกดิ ข้ึนระหว่างบริษัทต่อ
บริษทั ท่ตี ้องการเพ่มิ ผลประกอบการ ภายใตส้ ภาวะทีพ่ วกเขาสนใจ แต่ก็อาจจะ
มีความรู้น้อยนิด/ไม่มีเลย เกี่ยวกับบริษัทอื่นๆในระบบ ปัจจุบันนี้ ได้เกิดบริษัท
จำพวกบริษัทลูก ที่แยกออกมาเป็นเอกเทศจากบริษัทแม่ มีจุดประสงค์ในการ
สรรหาทรัพยากรมาปอ้ นใหบ้ ริษทั แม่

1. ผู้จัดจ่ายวตั ถุดิบ/ส่วนประกอบ (Raw Material/ component
suppliers)

2. ผู้ผลิต (Manufacturers)

3. ผคู้ ้าสง่ /ผกู้ ระจายสินคา้ (Wholesalers/distributors)

4. ผ้คู า้ ปลีก (Retailers)

5. ผ้บู รโิ ภค (Customer)

อย่างไรก็ตาม ในห่วงโซ่อุปทานของแต่ละบริษัท ไม่จำเป็นต้องมี
ส่วนประกอบเหล่านี้ทุกตัวก็ได้ ตัวอย่างเชน่ เดลล์ คอมพิวเตอร์ ท่ีลูกค้าสามารถ
สั่งซ้ือผา่ นเว็บไซต์ของบริษัท แลว้ บรษิ ทั ซึ่งเป็นผูผ้ ลติ จะผลิตและจดั ส่งสินค้าถึง
มือลูกคา้ โดยตรงเลย โดยไมผ่ า่ นมือผู้ค้าสง่ /ผกู้ ระจายสนิ คา้ หรอื ผคู้ า้ ปลีกเลย

SCOR-Model (Supply Chain Operations Reference) ถูกพัฒนาโดย
สภาห่วงโซ่อุปทาน ใช้ในการวัดสมรรถนะของห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ มันเป็น
กระบวนการท่ีใช้ในการอา้ งอิงในการบรหิ ารห่วงโซอ่ ุปทาน ครอบคลุมไปถงึ ผู้จัด
จ่ายของผู้จัดจา่ ย และ ลูกค้าของลกู คา้ ซึ่งรวมไปถึงสมรรถนะในการขนส่ง และ
การเติมเต็มคำสั่งซื้อ, ความหลากหลายของสินค้า, การประกันคุณภาพ และ
คา่ ใชจ้ า่ ยในการรบั ของคนื (สินคา้ ไม่ไดค้ ุณภาพ) , วสั ดคุ งคลังและเงนิ หมุนเวียน,
และปัจจัยอ่นื ๆในการวัดคุณภาพโดยรวมของระบบห่วงโซ่อุปทาน

10

โกลบอล ซัพพลาย เชน ฟอรัม (Global Supply Chain Forum, GSCF)
แนะนำถึงรูปแบบอื่นของการจัดห่วงโซ่อุปทาน กรอบของงานถูกสร้างขึ้นจาก 8
กระบวนการสำคัญทางธุรกิจ ที่มีทั้งการข้ามหน่วยงาน (Cross-Functional)
และข้ามบริษัท (Cross-Firm) กระบวนการจะถูกจัดการโดยทีมงานที่มาจาก
หลายสาขาความรู้ โดยเป็นตวั แทนจากฝ่าย การผลิต, การเงิน, การตลาด, จดั ซ้ือ
, ฝ่ายวิจัย และ ลอจิสติกส์ โดยแต่ละกระบวนการจะต้องเผชิญหน้ากับลูกค้า
และผู้จัดหาคนสำคัญ, การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship
Management) , การจัดการผู้จัดหา (หรือจัดจ่าย) สัมพันธ์ ( Supplier
Relationship Management) เพือ่ สร้างการเชือ่ มโยงหลกั ในห่วงโซอ่ ุปทาน

ในช่วงปี 1980s คำว่า"การจัดการห่วงโซ่อุปทาน"ถูกสร้างและพัฒนาข้ึน
เพื่อสนองต่อความต้องการในการสนธิกระบวนการหลักทางธุรกิจเข้าด้วยกัน
จากผู้บริโภครายสุดท้าย ย้อนไปจนถึงผู้จัดหาต้นน้ำ (ผู้จัดหารายแรกสุด) จากผู้
จัดหาต้นนำ้ ทจี่ ัดหาสนิ คา้ , บริการ และข้อมลู มาเพอื่ เพิม่ มลู คา่ ให้แก่ลูกค้าและผู้
มีส่วนร่วมในบรรษัท แนวคิดพื้นฐานของการจัดการห่วงโซ่อุปทานคือการที่
บรรษัททั้งหลายในห่วงโซ่อุปทานเข้ามามีส่วนร่วมด้วยการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารซง่ึ กันและกัน โดยคำนงึ ถึงความผันผวนของตลาด และกำลังในการผลิต

ถ้าบริษัทในห่วงโซ่อุปทานสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้ ทุกบริษัทก็
จะสามารถช่วยหรือมองหาความช่วยเหลือ เพื่อที่จะให้ห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบ
เข้าถึงจุดดุลยภาพได้ โดยไม่ต้องพึ่งพิงการคาดเดาความต้องการของตลาดใน
พืน้ ท่ี อันอาจจะทำให้เกดิ ปรากฏการณ์แสม้ ้าได้ ซ่งึ จะนำไปสกู่ ารวางแผนงานท่ีดี
ขึ้นทั้งในการผลิตและจัดจ่าย อันจะทำให้เกิดการลดต้นทนุ ที่ไม่จำเป็น และผลิต
สินค้าที่ดึงดูดตลาดมากกว่าเดิม ซึ่งสุดท้ายจะทำให้ได้ยอดขายที่สูงขึ้น และ
บรษิ ัทในหว่ งโซ่น้ันจะได้ผลประกอบการทด่ี ขี นึ้ กวา่ เดิม

11

ปรากฏการณ์แส้ม้า (Bullwhip Effect) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดการผัน
ผวนในการบริหารงานโซ่อุปทาน (Supply Chain) ทำให้มีปัญหาสินค้าขาด
แคลนหรือสินค้าเหลือล้นตลาด เหตุผลที่มาของปัญหาก็เพราะการที่ผู้ผลิตและ
ผู้ขายไม่สามารถคาดเดาหรือรู้ในความต้องการที่ถูกต้องของลูกค้า หรือเกิดจาก
การทคี่ วามตอ้ งการของลูกค้ามคี วามแปรปรวนหรือผนั ผวน

ความร่วมมือในห่วงโซ่อุปทานอย่างสมบูรณ์ ก่อให้เกิดการแข่งขันในมิติ
ใหม่ในตลาดโลก การแข่งขันในปัจจุบันได้เปลี่ยนจากการแข่งขันในรูปแบบ
บรษิ ทั ต่อบรษิ ทั มาเป็นห่วงโซ่อุปทานตอ่ ห่วงโซอ่ ุปทานแทน

เป้าหมายพื้นฐานของการจัดการห่วงโซ่อุปทานคือการเติมเต็มความ
ต้องการของลูกค้า โดยใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด ซ่ึงรวมไปถึงกำลังในการ
กระจายสินค้า, วัสดุคงคลังและแรงงาน โดยทฤษฎี ห่วงโซ่อุปทานมีความมุ่ง
หมายที่จะสนองความต้องการของตลาด และใช้วัสดุคงคลังให้น้อยที่สุด
ส่วนประกอบของการสร้างจุดดุลยภาพของห่วงโซ่อุปทานนั้นหลากหลาย
ประกอบด้วย การร่วมมือระหว่างบริษัทเพื่อกำจัดคอขวด, การจัดหาเชิง
ยุทธศาสตร์เพื่อสร้างจุดสมดุลระหว่างราคาวัสดุต่ำสุดกับการขนส่ง, การนำ

12

เทคนิค Just in Time เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อทำให้เกดิ จุดดุลยภาพของการผลิต,
รักษาจุดเหมาะสมในการต้ังโรงงานและคลังวัสดุ เพื่อการบริการลกู ค้า, และการ
ใช้การวางตำแหน่ง, การวิเคราะห์เส้นทางการขนส่ง, Dynamic programming,
และการสร้างดลุ ยภาพในระบบลอจสิ ติกส์ เพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพของฝง่ั จัดจ่าย

เป็นที่สับสนกันมากถึงความแตกต่างระหว่างลอจิสติกส์กับห่วงโซ่อุปทาน
คำว่าลอจิสติกสน์ ี้หมายถึงกิจกรรมภายในบริษัท/องค์กรหนึ่งๆ เพื่อการกระจาย
สินค้า ในขณะที่ห่วงโซ่อุปทานครอบคลุมไปถึงการผลิตและการส่งคำสั่งซ้ือ
ดังนั้นห่วงโซ่อุปทานจะมีขอบข่ายกว้างกว่าลอจิสติกส์ และครอบคลุมหลายๆ
บริษัท รวมทั้งผู้จดั หา, ผู้ค้าสง่ และผู้ค้าปลีก เพื่อทำงานรว่ มกัน มุ่งหาเป้าหมาย
เดยี วกันคือทำให้ลูกค้าพงึ พอใจ

นับแต่ปี 1990s เป็นต้นมา หลายบริษัทเริ่มหันมาใช้บริการบริษัทอื่นเพ่ือ
จัดการขนส่งสินค้าให้ โดยเรียกบริษัทขนส่งเอาท์ซอร์ซซิงเหล่านี้ว่า ผู้ให้บริการ
ขนส่งที่สาม นอกจากนี้ หลายบริษัทยังใช้บริการบริษัทอื่นมาผลิตชิ้นส่วนให้ตน
อีกดว้ ย


Click to View FlipBook Version