วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
1. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอม
เม่ือเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี โดยใช้แบบจาลองและสมการขอ้ ความ (ว 2.1 ม.3/3)
2. อธบิ ายกฎทรงมวล โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.1 ม.3/4)
3. วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกริ ยิ า (ว 2.1 ม.3/5)
4. อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ และอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วย
แสง โดยใช้สารสนเทศ รวมท้ังเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว
(ว 2.1 ม.3/6)
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
5. ระบุประโยชนแ์ ละโทษของปฏิกริ ิยาเคมีที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม
และยกตัวอย่างวิธีการป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบ
ในชวี ิตประจาวนั จากการสืบคน้ ขอ้ มูล (ว 2.1 ม.3/7)
6. ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้ความรู้เก่ียวกับ
ปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และวศิ วกรรมศาสตร์ (ว 2.1 ม.3/8)
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
ปฏิกิรยิ าเคมีในชวี ติ ประจาวัน 5 พลังงานกบั การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี
และผลของปฏกิ ริ ิยาเคมีต่อ 4
ส่ิงมชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม 3 ระบบและสงิ่ แวดลอ้ มกบั
2 การเปล่ยี นแปลงของสาร
มวลของสารกับการ
เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี
1
ปฏิกิรยิ าเคมแี ละสมการเคมี
ปฏกิ ิริยาเคมี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
สารแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว และแตกต่างจากสมบัติของสารอื่น สมบัติของสาร
อาจเปล่ียนแปลงได้ เช่น ใบไม้เปล่ียนสีจากสีเขียวเป็นสีน้าตาล อาหารเกิดการเน่าเสีย
นา้ มันปรุงอาหารทใ่ี ช้แลว้ มกี ลน่ิ หืน เมอื่ ใหค้ วามรอ้ นแก่นา้ แขง็ น้าแข็งจะหลอมเหลว และ
ถ้าให้ความร้อนต่อไปก็จะเดือดและกลายเป็นไอ การเปล่ียนแปลงเช่นนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร
เราจะได้ศึกษากระบวนการท่ีสารเปลี่ยนแปลง และผลของการเปล่ียนแปลงท่ีอาจส่งผลต่อ
ชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง คุ้มค่า ปลอดภัย ตลอดจน
สามารถป้องกนั และแก้ไขผลของการเปล่ียนแปลงนั้นอย่างถูกวิธี
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3
การเปล่ียนแปลงของสารท่ีเกิดขึ้นจะทาให้สมบัติของสารเปลี่ยนแปลงไป การ
เปลี่ยนแปลงบางอย่างอาจทาให้มีสารใหม่เกิดขึ้น ดังน้ัน หากใช้สมบัติของสารเป็นเกณฑ์
จะสามารถจาแนกประเภทของการเปล่ียนแปลงได้ 2 ประเภท คือ 1) การเปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพ และ 2) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หากสารมีสมบัติทางกายภาพเปลี่ยนไป
จัดว่าการเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็น การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หลังการเปล่ียนแปลง
ทางกายภาพ สมบตั ทิ างเคมีและองค์ประกอบทางเคมีของสารจะยงั คงเหมอื นเดิม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ปฏิกริ ยิ าเคมี (chemical reaction) เปน็ กระบวนการที่เกิดจากการ
เปล่ียนแปลงทางเคมขี องสาร ทาใหเ้ กดิ สารชนดิ ใหม่ทม่ี สี มบัตเิ ปลยี่ นแปลงไป
จากเดิม
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
ตัวอยา่ งการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของสาร
การระเหิดของลูกเหม็น การกลายเปน็ ไอของน้า ก้อนหินถูกค้อนทบุ
เปน็ การเปลยี่ นสถานะจาก เปน็ การเปล่ียนสถานะจาก จนแตกเป็นก้อนเล็ก ๆ
ของแขง็ เปน็ แก๊ส ของเหลวเปน็ แกส๊
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3
การเปล่ียนแปลงของสารบางอย่างหลังการเปล่ียนแปลง สมบัติทางเคมี
และองค์ประกอบทางเคมีของสารเปลี่ยนไป คือ มีสารใหม่เกิดข้ึน จัดว่า
การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็น การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรืออาจเรียกว่า
การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
ร
การเกิดสนมิ ของตะปู การตดิ ไฟของกระดาษ การเกดิ ฟองแกส๊
เมอ่ื หยอ่ นหนิ ปูนลงในกรด
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ตาราง เปรยี บเทยี บระหวา่ งการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
ร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3
1. ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี
สารตา่ ง ๆ ล้วนมีสมบัตเิ ฉพาะตัวที่แตกต่างจากสารอ่ืน เช่น น้าเป็นของเหลว
ใส ไม่มีสี ไม่มีกล่ิน ไม่มีรส ลูกเหม็นเป็นของแข็งสีขาว ไม่ละลายใน น้า
สว่ นเกลอื แกงเป็นของแข็งสขี าว ละลายนา้ ได้ มรี สเค็ม
นักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่าสารต่าง ๆ รอบตัวเราอาจมีสมบัติบางอย่าง
เปล่ียนแปลงไป
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
การเกดิ สนมิ เหล็ก
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
การระเบดิ ของดอกไม้ไฟ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3
ซากสตั ว์เนา่ เป่อื ย
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
การเผาไหมข้ องแกส๊ หงุ ต้ม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่ภายหลังการ
เปล่ียนแปลงจะมีสารใหม่เกิดขึ้น ซ่ึงจะมีองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติทางเคมี
แตกต่างไปจากสารเดมิ เช่น
• แกส๊ ไนโตรเจนทาปฏิกิริยากบั แกส๊ ไฮโดรเจน ได้แกส๊ แอมโมเนยี
• เหลก็ ทาปฏิกริ ยิ าเคมีกบั แก๊สออกซิเจนและนา้ ไดส้ นิมของเหล็ก
• เมื่อแยกน้าด้วยไฟฟ้า ไดแ้ กส๊ ไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจน
• การสุกของผลไม้ เป็นการเปลี่ยนแป้งที่สะสมในผลไม้ให้เป็นน้าตาล
จึงมรี สหวาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
เราเรยี กสารกอ่ นการเปลี่ยนแปลงว่าสารตั้งต้น (reactant) และเรียกสารใหม่
ทเี่ กิดขนึ้ จากปฏิกริ ิยาว่า ผลติ ภณั ฑ์ (product)
การเกิดปฏิกิริยาเคมีตามตัวอย่างท่ีกล่าวมา สามารถเขียนอธิบายการ
เปลี่ยนแปลงไดด้ ว้ ยสมการข้อความ ดงั นี้
หากใช้สัญลักษณ์ธาตุในการเขียนสูตรเคมีของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
จะเรียกสัญลักษณ์แสดงการเปล่ียนแปลงในปฏิกิริยาดังกล่าวว่า สมการเคมี
(chemical equations)
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
สมการเคมี เป็นการแสดงการเกิดปฏิกิริยาโดยใช้สัญลักษณ์หรือสูตรเคมีของ
สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ท่ีเก่ียวข้องในปฏิกิริยาเคมี ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการ
เปล่ยี นแปลงจากสารต้งั ตน้ เกิดเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ทาให้ทราบวา่
1. ชนดิ ของสารที่ทาปฏกิ ริ ยิ ากนั และชนิดของสารใหม่ท่ีเกิดข้นึ
2. ปริมาณของสารที่ทาปฏิกิรยิ าพอดกี นั และปรมิ าณสารใหม่ที่เกดิ ขน้ึ
A และ B คือ สารตัง้ ต้น
C และ D คอื ผลติ ภัณฑ์
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ตัวอย่าง
ความหมาย สารตัง้ ต้น คอื แกส๊ ไฮโดรเจน (H2 ) และแก๊สออกซเิ จน (O2)
ผลิตภัณฑ์ คอื น้า (H2O)
ถ้าใช้ H22 โมเลกุล ทาปฏิกริ ยิ าพอดีกับ O2 1 โมเลกุล เกดิ H2 O 2 โมเลกลุ
อา่ นว่า แก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกลุ ทาปฏิกริ ยิ าพอดีกับแกส๊ ออกซเิ จน 1 โมเลกุล
เกดิ เป็นน้า 2 โมเลกลุ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
ปฏิกิริยาการแยกน้าด้วยไฟฟ้า สามารถเขียนสมการ
ข้อความและสมการเคมีแสดงการเปล่ียนแปลงของ
ปฏิกริ ิยาได้ ดังตัวอยา่ ง
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
ตัวอยา่ ง
สมการข้อความเขียนได้ ดงั น้ี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3
ตวั อย่าง
สมการเคมแี สดงปฏกิ ริ ยิ าดงั กลา่ ว คือ
น้า 2 โมเลกุลถูกแยกสลายด้วยไฟฟ้าเกิดเป็นแก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุล
และแกส๊ ออกซเิ จน 1 โมเลกลุ
เมื่อ H2O แทน นา้
H2 แทน แก๊สไฮโดรเจน
O2 แทน แก๊สออกซเิ จน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ และสารละลายเลด (II) ไนเตรต
เป็นของเหลวใส ไม่มีสีเหมือนกัน แต่เมื่อเทสารท้ัง 2 ชนิดรวมกัน จะมีตะกอน
สเี หลอื งเกดิ ขน้ึ นั่นแสดงว่ามสี ารชนดิ ใหมเ่ กิดขึน้ ซึง่ สารใหมจ่ ะมีสมบัติเปลี่ยนไป
จากสารเดิม เช่น มีสีเหลือง ไม่ละลายน้าจึงทาให้มองเห็นเป็นตะกอน เราเรียก
การเปล่ียนแปลงในลักษณะดังกล่าวว่าการเปล่ียนแปลงทางเคมี เพราะเป็นการ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางเคมีของสาร สามารถเขียนสมการ
ข้อความแสดงกระบวนการเปลยี่ นแปลงสารต้ังต้นเกิดเปน็ ผลติ ภัณฑไ์ ด้ ดงั นี้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
เขยี นสมการเคมแี สดงการเปล่ียนแปลงในปฏิกิรยิ าได้ ดงั นี้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
การทดลองในหลอดทดลองที่ 2 พบว่า เม่ือใส่ลวดแมกนีเซียมลงในสารละลาย
กรดไฮโดรคลอริกสารต้ังต้นทั้งสองจะทาปฏิกิริยากันและเกิดการเปล่ียนแปลง
ได้สารใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาท่ีสามารถตรวจสอบได้ และเขียนแสดง
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสารตัง้ ตน้ กบั ผลิตภัณฑไ์ ด้ ดว้ ยสมการข้อความ ดังนี้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
สมการเคมีของปฏกิ ริ ิยาน้เี ขยี นได้ ดงั น้ี
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
ตวั อย่าง
ปฏิกิริยาเคมี แสดงการเกดิ นา้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ตวั อยา่ ง
แก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุล แก๊สออกซเิ จน 1 โมเลกลุ น้า 2 โมเลกลุ
(มี H = 4 อะตอม) (มี O = 2 อะตอม) (มี H = 4 อะตอม
O = 2 อะตอม)
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ตัวอย่าง 2AB(g)
ในปฏกิ ิรยิ า A2(g) + B2 (g)
แก๊ส A2 1 โมเลกุล แกส๊ B2 1 โมเลกลุ แก๊ส AB 2 โมเลกุล
(มี A = 2 อะตอม) (มี B = 2 อะตอม) (มี A = 2 อะตอม B = 2 อะตอม)
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3
2. ระบบและสิง่ แวดลอ้ มกบั การเปลีย่ นแปลงของสาร
การศึกษาเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของสารจะต้อง
กาหนดขอบเขตที่จะศึกษา โดยสสารหรือสิ่งต่าง ๆ ท่ีเรา
กาลังสนใจศึกษาเรียกว่า ระบบ (system) ส่วนสิ่งท่ีอยู่
นอกขอบเขตที่เราต้องการศึกษา เช่น ภาชนะ อุปกรณ์
ค วามดั น อุณห ภูมิข อ งอากา ศ โดย รอบ เ รียกว่ า
สิง่ แวดลอ้ ม (environment)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
ตวั อยา่ งการเปลี่ยนแปลงตอ่ ไปนี้ นักเรยี นทราบหรอื ไม่ว่า
สิ่งใดจดั เป็นระบบและสิ่งใดจดั เป็นสงิ่ แวดลอ้ ม
ก. การละลายของนา้ ตาลในนา้ ท่อี ณุ หภูมหิ อ้ ง ข. การเผาลวดแมกนีเซียมในอากาศ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
ประเภทของระบบ
ระบบในการเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี จาแนกออกเป็น 3 ระบบ
ตามการเปลี่ยนแปลงของมวลและพลงั งานทเี่ กี่ยวขอ้ งในระบบน้ัน ดังนี้
1) ระบบเปิด (open system) คือ ระบบที่มีการถ่ายโอนทั้งพลังงานและ
มวลของสารในระบบกับส่ิงแวดล้อม ทาให้มวลและพลังงานของระบบก่อนทา
ปฏิกิริยาไม่เท่ากับหลงั ทาปฏิกริ ิยา เชน่
• ตั้งน้าปูนใสท้ิงไว้จะมีตะกอนขุ่นขาวเกิดขึ้น มวลของสารจะเพิ่มข้ึน
เน่ืองจากมีแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นอากาศลงไปทาปฏกิ ิรยิ า
• การระเหดิ ของลูกเหม็นในบกี เกอร์ ทาใหม้ มี วลลดลง
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
2) ระบบปิด (closed system) คือ ระบบท่ีไม่มีการถ่ายโอนมวลของสาร
ในระบบกับส่ิงแวดล้อมแต่มีการถ่ายโอนพลังงาน ทาให้มวลของสารก่อนและ
หลงั ทาปฏกิ ริ ิยาเทา่ กันแต่พลงั งานไมเ่ ท่ากัน เชน่
• การละลายน้าตาลในน้า
• น้าแข็งหลอมเหลวเปน็ น้า
ถา้ ระบบใด ๆ ทีม่ ีแกส๊ เกีย่ วขอ้ งอย่ดู ้วย การเปิด-ปิดภาชนะจะมีผลต่อชนิดของระบบ
นั้นด้วย คอื
• ถา้ เปดิ ภาชนะ ระบบนั้นเปน็ ระบบเปิด เพราะมวลเปลย่ี นแปลง (แกส๊ หนีออกไป)
• ถา้ ปดิ ภาชนะ ระบบนน้ั เป็นระบบปดิ เพราะมวลคงที่ (แก๊สหนีออกไม่ได)้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
3) ระบบโดดเด่ียว (isolated system) คือ ระบบที่ไม่มีการถ่ายโอนท้ัง
มวลและพลังงานในระบบกับสิ่งแวดล้อม ทาให้มวลและพลังงานของระบบก่อน
และหลังทาปฏิกริ ยิ าเท่ากนั เชน่
• กระตกิ นา้ ร้อนท่มี ีฉนวนหมุ้ อย่างดี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
ตาราง การเปล่ียนแปลงพลงั งานและการเปลยี่ นแปลงมวล
ของสารในระบบเปิด ระบบปิด และระบบโดดเด่ยี ว
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3
3. มวลของสารกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เม่ือสารเกิดปฏิกิริยาเคมี มวลของสารในระบบมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่
อย่างไร นกั เรียนจะไดศ้ ึกษาจากการทดลองตอ่ ไปนี้
เม่อื หย่อนหนิ ปูนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกพบว่า มีปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึน
สังเกตได้จากมีฟองแก๊สเกิดข้ึน ซึ่งสามารถเขียนสมการข้อความและสมการเคมี
แสดงปฏิกริ ยิ าได้ ดังน้ี
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
สมการขอ้ ความ
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
สมการเคมี
เมือ่ นาสารไปชง่ั มวลปรากฏวา่ มวลรวมของระบบก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมี
ค่าคงที่ไม่เปล่ียนแปลง เพราะปฏิกิริยานี้เกิดในระบบปิด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ซ่ึงเป็นสารผลิตภัณฑ์ยังคงอยู่ในภาชนะไม่สามารถออกไปได้ จึงทาให้ไม่มีการ
ถ่ายโอนมวลสารระหว่างระบบกับสิง่ แวดลอ้ ม ซ่งึ เป็นไปตามกฎทรงมวล
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
กฎทรงมวลของสาร
พ.ศ. 2317 อองตวน-โลรอง ลาวัวซิเอร์ ได้เสนอกฎทรงมวลของสารข้ึน
ดงั น้ี
การเปล่ียนแปลงใด ๆ ของสารท่ีอยู่ในระบบปิด มวลรวมของสารก่อน
เกิดปฏิกิรยิ าเทา่ กบั มวลรวมของสารหลงั เกดิ ปฏกิ ิริยา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
ตัวอยา่ งที่ 1
ปฏกิ ริ ยิ า A + B C + D เกดิ ในระบบปิด
ตามกฎทรงมวลจะได้วา่ มวลสาร A + มวลสาร B = มวลสาร C + มวลสาร D
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3
ตวั อยา่ งท่ี 2
ปฏกิ ิริยา 2Mg + O2 2MgO เกดิ ในระบบปิด
ตามกฎทรงมวลจะไดว้ า่ มวล Mg + มวล O2 = มวล MgO
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ท่ีเป็นเช่นนี้เพราะในระบบปิดใด ๆ การเกิดปฏิกิริยาเคมี อะตอมของ
สารต้ังต้นไม่หายไปไหนแต่จะมีการจัดเรียงตัวกันใหม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์
ซ่ึงมีสมบัติแตกต่างจากสารต้ังต้น โดยอะตอมแต่ละชนิดก่อนและหลัง
เกิดปฏิกิริยามีจานวนเท่ากัน มวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาจึง
เทา่ กนั ด้วย
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
4. พลังงานกบั การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสารโดยท่ัวไปจะมกี ารเปล่ียนแปลงพลังงานของระบบด้วย
เสมอ สังเกตได้จากหลังการเปล่ียนแปลงของสารมักมีอุณหภูมิเปล่ียนไปด้วย
บางคร้ังเย็นลง บางคร้ังร้อนข้ึน สาเหตุที่เป็นเช่นน้ีเพราะเกิดการถ่ายโอนพลังงาน
ระหว่างระบบกับส่ิงแวดล้อม ดังนั้น การวัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์ จะทาให้
ทราบว่าระบบมีการเปลีย่ นแปลงความร้อนอย่างไร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
• ถ้าหลังการเปล่ียนแปลง ระบบมี
พลังงานสูงข้ึน ระบบจะถ่ายโอนพลังงานให้
สิ่งแวดล้อมจึงทาให้สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิ
สูงข้ึน เรียกการเปล่ียนแปลงดังกล่าวว่า
การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอ้ น
(exothermic change) เช่น การละลายของ
แคลเซียมคลอไรด์ในน้าแล้วทาให้อุณหภูมิ
สูงข้ึน การหายใจ การเผาไหม้เชื้อเพลิงรถยนต์
การควบแนน่ ของไอน้าเปน็ หยดน้า
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3
เทอร์มอมิเตอร์จัดเป็นส่ิงแวดล้อม
เม่ือระบบถ่ายโอนพลังงานให้ปรอทใน
เทอร์มอมิเตอร์ ปรอทได้รับความร้อน
จึงขยายตวั ดนั ข้นึ ไปในหลอดแก้ว ทาให้
อ่านอุณหภูมไิ ดส้ งู ขึ้น
ระบบคายพลงั งานให้ส่ิงแวดลอ้ ม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3
• ถ้าหลังการเปล่ียนแปลง ระบบมี
พลังงานต่าลง ระบบจะดูดพลังงานจาก
สิ่งแวดล้อม จึงทาให้ส่ิงแวดล้อมมี
อุณหภูมิต่าลง เรียกการเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าวว่า การเปล่ียนแปลงแบบดูด
พ ลั ง ง า น ( endothermic change)
เ ช่ น ก า ร ห ล อ ม เ ห ล ว ข อ ง น้ า แ ข็ ง
การกลายเป็นไอของเหงอ่ื
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3
5. ปฏิกริ ิยาเคมีในชวี ิตประจาวัน และผลของปฏกิ ิรยิ าเคมีต่อสิง่ มีชีวติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดข้ึนจากสารตั้งต้นเข้าทาปฏิกิริยากัน เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง
ชนิดกัน ผลิตภัณฑ์ท่ีได้มีทั้งประโยชน์และโทษ รอบตัวเรานั้นมีปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึน
มากมาย ดังนน้ั การเรียนรูเ้ กี่ยวกับปฏกิ ิริยาเคมีจึงมีความสาคญั
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
ตวั อยา่ งปฏกิ ิรยิ าเคมี
1. ปฏกิ ิริยาการเผาไหม้
2. ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ
3. ปฏิกริ ิยาการเกดิ สนิมของโลหะ
4. ปฏิกริ ิยาของเบสกับโลหะบางชนดิ
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอยา่ งปฏิกริ ยิ าเคมี (ต่อ)
5. ปฏกิ ิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต
6. ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั เบส
7. ปฏกิ ิริยาการเกดิ ฝนกรด
8. ปฏิกริ ิยาการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3