เกษตรกรรมยั่งยืน
(Sustainable Agriculture)
เรื่องที่ 1 เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
สารบัญ 1 เกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
(SUSTAINABLE AGRICULTURE)
2 รูปแบบระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
ระบบวนเกษตร (ARGO FORESTRY)
เกษตรธรรมชาติ (NATURAL FARMING)
ระบบไร่หมุนเวียน
ระบบเกษตรผสมผสาน
(INTEGRATEDFARMING)
เกษตรอินทรีย์ (ORGANIC FARMING)
เกษตรทฤษฏีใหม่
(NEW THEORY AGRICULTURE)
1
เกษตรกรรมยั่งยืน
(Sustainable Agriculture)
“ความมั่ นคงด้านอาหารของโลกขึ้นอยู่กับการกลับสู่พื้ นฐาน
เพื่ อสนับสนุนเกษตรกรรมชนบท
การทำการเกษตรและการผลิตที่ฉลาดขึ้นจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของทางแก้ปัญหา"
เฮเลน คลาร์ก ผู้อำนวยการบริหาร UNDP
เกษตรกรรมยั่งยืน หน้าที่ 1 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
(Sustainable Agriculture)
SDGs 17
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความหมาย หน้าที่ 2 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
“ระบบเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
(Sustainable Agriculture)”
SDGs เป้าหมายที่ 2 : ยุติความหิวโหยบรรลุความมั่นคงทางอาหาร
และยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน
หน้าที่ 3 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
มิติด้านสังคม มิติเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน หน้าที่ 4 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
1.1 ยุติความหิวโหย (Sustainable Agriculture)
และสร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง
1.2 ยุติภาวะขาดสาอาหาร
และแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหาร
1.3 เพิ่มผลิตภาพทางการเกษตร ทรัพยากร
ปัจจัยนำเข้าในการผลิต และกระบวนการผลิต
มิติด้านเศรษฐกิจ
1.6 เพิ่มการลงทุนตลอดจนการยกระดับ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ในเรื่องโครงสร้างพื้นฐานในชนบท
1.7 แก้ไขและป้องกันการกีดกัน
และการบิดเบือนทางการค้าในตลาดเกษตรโลก มิติด้านสิ่งแวดล้อม
1.8 สร้างตลาดโภคภัณฑ์อาหาร 1.4 สร้างระบบการผลิตอาหารที่ยั่งยืน
และการซื้อขายได้อย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงการรักษาระบบนิเวศ
ปรับตัวกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง
รวมถึงช่วยพัฒนาที่ดินและคุณภาพดิน
1.5 คงความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล็ดพันธุ์
และชนิดพันธุ์ตามธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับพืชและสัตว์เหล่านั้น
หน้าที่ 5 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
2
รูปแบบระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
หน้าที่ 6 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
ระบบวนเกษตร
(Argo Forestry)
1.การปลูกไม้ป่าผสมลักษณะบ้านสวน หน้าที่ 7 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
เพื่อนำไม้ป่าประเภทไม้กินได้ รวมทั้งไม้สมุนไพรต่างๆ
ไปปลูกภายใน บริเวณหรือสวนหลังบ้าน ปลูกห่างกัน 6-8 เมตร
ไม้ป่าอเนกประสงค์ ประเภทโตเร็ว
ได้แก่ สะเดาบ้าน, กระถิน, ขี้เหล็ก, แค
บ้าน, มะรุม, มะยม, มะขาม, มะเฟือง, ไผ่
ไม้ผล
ได้แก่ มะม่วง, ฝรั่ง, มะนาว, ละมุด,
น้อยหน่า, ขนุน, มะพร้าว, กล้วย
พืชสมุนไพร
ได้แก่ ขิง, ข่า, ตะไคร้ เป็นต้น
2.การปลูกป่าล้อมไร่นา
เพื่อเป็นแนวป้องกันลมพายุ
แนวเขตของพื้นที่ไร่นา ปลูกห่างกัน 3-4 เมตร
ไม้ป่าอเนกประสงค์ ประเภทโตเร็ว
ได้แก่ สะเดาบ้าน, กระถิน, ขี้เหล็ก, แคบ้าน,
มะรุม, มะยม, มะขาม, มะเฟือง, ไผ่
ไม้ผล
ได้แก่ มะม่วง, ฝรั่ง, ละมุด,
น้อยหน่า, มะนาว, เป็นต้น
นาข้าว
3.การปลูกไม้ผลผสมไม้ป่า หน้าที่ 8 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
เพื่อจัดการพื้นที่อย่างผสมผสาน
เพื่อเป็นอาหารหรือขายเป็นรายได้
เพื่อมีไม้สำหรับใชส้อยในครัวเรือน
ไม้โตเร็วประเภทที่ 1 (ไม้ชั้น 3)
ได้แก่ ไม้กระถินเทพา
ไม้โตเร็วประเภทที่ 2 (ไม้ชั้น 2)
ได้แก่ ไม้ยูคาลิปตัสที่ปรับปรุงพันธุ์แล้ว
พืชไร่
ได้แก่ ถั่วลิสง, ถั่วเขียว, ข้าวโพด เป็นต้น
ไม้ผล (ไม้ชั้น 1 )
ได้แก่ มะม่วง, มะขามหวาน เป็นต้น
4.การปลูกผสมไม้ป่าสลับเป็นแถวกบัการปลูกพืชไร่
เพื่อต้องการผลผลิตทางด้าน
อาหารไม้ฟืน ไม้ก่อสร้างขนาดเล็ก
ไม้พื้นเมืองมีค่าทางเศรษฐกิจ
ได้แก่ ไม้สัก ไม้ยางนา ไม้พะยูง
พืชไร่
ได้แก่ มันสำปะหลัง,ถั่วลิสง, ถั่วเขียว,
ข้าวโพด, อ้อย, สับปะรด เป็นต้น
5.การปลูกไม้ป่าผสมกับพืชไร่ และพืชอาหารสัตว์ภายในพื้นที่เดียวกัน หน้าที่ 9 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
เพื่อต้องการผลผลิตทางดา้น อาหารไม้ฟืน ไม้กอสร้างขนาดเล็ก
ไม้โตเร็วประเภทที่ 1 (ไม้ชั้น 3)
ได้แก่ ไม้กระถินเทพา ไม้กระถินณรงค์
ไม้โตเร็วประเภทที่ 2 (ไม้ชั้น 2)
ได้แก่ ไม้ยูคาลิปตัสที่ปรับปรุงพันธุ์แล้ว
พืชไร่/พืชอาหารสัตว์
ได้แก่ ถั่วลิสง, ถั่วเขียว, ข้าวโพด เป็นต้น
ข้อแนะนำควรปลูกพืชไร่แบบหมุนเวียน
ควบกับไม้ป่าผสม
ปีที่ 1 ถั่วลิสง ขา้วโพด ขา้วไร่
ปีที่ 2 ต้นปอหรือมันสำปะหลัง
ปีที่ 3 สัปปะรดหรือหม่อน
ปีที่ 4-5 หญ้าอาหารสัตว์
ปีที่ 5-6 หญ้ากินนีสีม่วง
หญ้าซิกแนล และหญ้ารูซี่
ผสมกับถั่ว ฮามาตา้ (ถั่วเวอราโนสไตโล)
6.การปลูกไม้ในพื้นที่นาข้าว หน้าที่ 10 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
การนำไม้ประเภทโตเร็วไปปลูกบนคันนา
เพื่อจำหน่ายให้โรงงานผลิตชิ้นไม้สับ
และโรงงานผลิตเยื่อกระดาษ หรือจำหน่ายเป็นไม้เสาเข็ม
ไม้โตเร็วประเภทที่ 2 (ไม้ชั้น 2)
ได้แก่ ไม้ยูคาลิปตัสที่ปรับปรุงพันธุ์แล้ว
นาข้าว
คันนาปรับแต่ง
(ความกว้าง 150-160 ซม.)
ปลูกได ้2 แถวแบบสลบั ฟันปลา (แถวคู่)
ซึ่งจะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
คันนาเก่าที่มีอยู่เดิม
(ความกว้างประมาณ 50-60 ซม.)
ปลูกแถว เดี่ยวระยะห่างระหว่างต้น 1.5-2.5 ม.
เกษตรธรรมชาติ หน้าที่ 11 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
(Natural farming)
นักเกษตรกรรมธรรมชาติ มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ(Masanobu Fukuoka)
หลักการและ การไม่ใช้ปุ๋ยเคมี การไม่ใช้สารเคมี หน้าที่ 12 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
เงื่อนไขของเกษตรธรรมชาติ หรือทำปุ๋ยหมัก ปราบศัตรูพืช
การไม่ไถพรวนดิน การทำปุ๋ยหมักจะมีผลต่อพืชในเวลา การใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชนอกจาก
อันสั้น มีธาตุอาหารที่ไม่สมบูรณ์ จะทำลายศัตรูพืชแล้ว และยังก่อให้
ธรรมชาติดินมีการไถพรวนดินโดย และยังมีผลต่อโครงสร้างของดินและ เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม มลพิษ
ตัวมันเองอยู่แล้วจากการชอนไชของ ความอุดมสมบูรณ์ในระยะสั้น และปัญหาสารพิษตกค้างตามมาอีก
แมลง และสิ่งมีชีวิตเล็กในดิน ทำให้ ด้วย
การไถพรวนดินก่อให้เกิดการทำลาย
โครงสร้างของดิน ทำให้ดินจับตัวกัน การไม่กำจัดวัชพืช
แน่นแข็ง
มีผลต่อโครงสร้างดินและ
ทำให้ดินขาดพืชคลุมดินดังนั้น
จึงควรยอมรับการดำรงอยู่ของ
วัชพืช
หลักเกษตรธรรมชาตินี้ได้แนวคิดมาจากชาวญี่ปุ่นคือ โมกิจิ โอกาดะ
ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มค้นคว้าเกษตรธรรมชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 โมกิจิโอกาดะ กล่าวว่า
“พลังที่เป็นหลักสําคัญในการเจริญเติบโตของพืชนั้นมาจากธาตุดิน
โดยมีพลังของธาตุนํ้าและธาตุไฟเป็นส่วนเสริม
เนื่ องจากการเจริญเติ บโตของพืชขึ้ นอยู่กับคุณสมบัติ ของดิ น
ซึ่งเป็นพลังหลักที่สําคัญ ดังนั้น เงื่อนไขที่สําคัญที่สุดของการเพาะปลูกจึงอยู่ที่ต้องปรับปรุงดิน
ให้มีคุณภาพดี ทั้งนี้เพราะดินยิ่งดีก็จะยิ่งได้ผล
ส่วนวิธีการปรับปรุงดินก็คือ การเพิ่มความกระปรี้กระเปร่าให้ดิน
ซึ่งทําได้โดยการทําให้มีความสะอาดและบริสุทธิ์
เพราะว่าดินยิ่งบริสุทธิ์ ก็จะยิ่งทําให้พลังการเจริญเติบโตของพืชดีขึ้น “
หน้าที่ 13 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
ระบบไร่หมุนเวียน
องค์ประกอบเกษตรกรรมระบบไร่หมุนเวียน หน้าที่ 13 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
ป่าอนุรักษ์หรือป่าชุมชน ไร่ปีที่ 7 ชุมชนที่อยู่อาศัย
พืชอาหาร/สมุนไพร
ไร่ปีที่ 5-6 ไร่ปีที่ 2
พืช/สมุนไพร/ไม้ใช้สอย 35 ชนิด พืชอาหาร 16 ชนิด
สัตว์ป่า 19 ชนิด
75 ชนิด สัตว์ป่า 7 ชนิด
สัตว์ป่า 30 ชนิด ไร่ปีที่ 3-4 สมุนไพร 13 ชนิด
สัตว์ป่า 12 ชนิด พืชใช้สอย 10 ชนิด
สัตว์ป่า 7 ชนิด
สมุนไพร 13 ชนิด
ไร่ปีที่ 1
พืชอาหาร 30 ชนิด
ข้าว 28 สายพันธ์ุ
“กะเหรี่ยงอยู่กับป่า หากินในป่า ช่วยกันดูแลป่า เราทำไร่
เราปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทุกอย่าง แล้วไม่ดีหรือ ?
พวกเธอ (ป่าไม้) ให้เราทำไร่ในป่าอ่อน พวกเราทำไม่ได้
ถ้าพวกเราทำอย่างนั้น ความเชื่อ ความเคารพนับถือกฎเกณฑ์ของเราจะสูญเสียไปหมด
พวกเราเคารพกฎเกณฑ์ของเราไม่ดีหรือ ?”
บทสัมภาษณ์ ผู้บื่อ อายุ 90 ปี
ผู้เฒ่าผู้แก่บ้านจะแกในทุ่งใหญ่นเรศวร
ที่มา โครการ"ศึกษาไร่หมุนเวียนของกะเหรี่ยงเพื่อเสนอเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม"
ระบบเกษตรผสมผสาน หน้าที่ 14 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
(Integrated farming)
กิจกรรมในการดำเนินระบบเกษตรแบบผสมผสาน หน้าที่ 15 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
ปลูกพืชตระกูลถั่ว
ช่วยในการดึง
ไนโตรเจนในดิน
เลี้ยงไก่บนบ่อปลา ใช้มูลวัว/เป็ด/ไก่
เพื่อใช้มูลไก่เลี้ยงปลา ทำเป็นปุ๋ยของพืช
เลี้ยงปลาในนาข้าว
เพื่อช่วยกำจัดแมลงศัตรูพืช
ระบบเกษตรอินทรีย์ หน้าที่ 16 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
(Organic farming)
หน้าที่ 17 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
ที่มา : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2561)
หลักการระบบเกษตรอินทรีย์ หน้าที่ 18 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
2. พัฒนาระบบการผลิตที่พึ่งพาตนเอง
ที่พึ่งพาตนเองโดยเฉพาะปุ๋ยจากวัสดุ
ธรรมชาติภายในพื้นที่เกษตร
1.พัฒนาระบบการผลิต 4. รักษาความสมดุลของ
ไปสู่แนวทางเกษตรผสมผสาน ธรรมชาติและความยั่งยืน
ที่มีความหลากหลายของพืชและสัตว์ ของระบบนิเวศโดยรวม
3. ฟื้นฟูและรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน
และคุณภาพน้ำด้วยอินทรีย์วัตถุ
เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก
และปุ๋ยพืชสดอย่างต่อเนื่อง
หลักการระบบเกษตรอินทรีย์ หน้าที่ 19 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
6.ยึดหลักการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
และการแปรรูปที่เป็นวิธีธรรมชาติประหยัดพลังงาน
และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
5.ป้องกันและหลีกเลี่ยงปฏิบัติ 8.ผลิตผล ผลิตภัณฑ์หรือส่วนประกอบของ
ที่ทำให้เกิดมลพิษ ผลิตภัณฑ์ต้องไม่มาจากการดัดแปรงพันธุกรรม
ต่อสิ่งแวดล้อม
หรือ GMOและต้องไม่ผ่านการฉายรังสี
7.รักษาความหลากหลายทางชีวภาพของ
ระบบการเกษตรและระบบนิเวศรอบข้าง
รวมทั้งอนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ
ของพืชและสัตว์ป่า
“เป้าหมายของเกษตรกรรมยั่งยืนคือการตอบสนองความต้องการด้านอาหาร
และสิ่งทอของสังคมในปัจจุบัน
โดยไม่ลดทอนความสามารถของคนรุ่นต่อไปในการตอบสนองความต้องการของตนเอง”
เกษตรทฤษฏีใหม่ หน้าที่ 20 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
(New Theory Agriculture)
การจัดแบ่งแปลงที่ดินระบบเกษตรทฤษฎัใหม่ หน้าที่ 21 : เกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
10%
ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนน
หนทาง คันดิน โรงเรือนและสิ่งก่อสร้าง
อื่น๐ รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะ
ชำ ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ
30% 30% 30%
ให้ขุดสระเก็บกักน้ำ เพื่อให้มีน้ำใช้สม่ำเสมอ ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารประจำ พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้
ตลอดปี โดยเก็บกักน้ำฝนในฤดูฝน และใช้ วันสำหรับครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ
เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้ง โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เป็นการลด อย่างผสมผสานกัน และหลากหลายใน
ช่วง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ และพืชน้ำต่างๆ ค่าใช้จ่าย และสามารพึ่งตนเองได้ พื้นที่เดียวกัน เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวัน
เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด โสน ฯลฯ หากเหลิอจากการบริโภคก็นำไปขายได้
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร
ได้มีพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2538 ณ ศาลาดุสิดาลัย มีความตอนหนึ่ง ดังนี้
"...การทำทฤษฎี ใหม่นี้มิใช่ของง่าย ๆ แล้วแต่ที่ แล้วแต่โอกาส
และแล้วแต่งบประมาณ
เพราะว่าเดี๋ยวนี้ประชาชนทราบถึงทฤษฎีใหม่นี้กว้างขวาง
และแต่ละคนก็อยากได้ ให้ทางราชการขุดสระแล้วช่วย
แต่มันไม่ใช่สิ่งง่ายนักบางแห่งขุดแล้วไม่มีน้ำ
แม้จะมีฝนน้ำก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่ามันรั่ว
หรือบางทีก็เป็นที่ที่รับน้ำไม่ได้ ทฤษฎีใหม่นี้จึงต้องมีพื้นที่ที่เหมาะสมด้วย...
ฉะนั้น การที่ปฏิบัติตามทฤษฎีใหม่หรืออีกนัยหนึ่ง
ปฏิบัติเพื่อหาน้ำให้แก่ราษฎร เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ง่าย ต้องช่วยกันทำ..."
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
สนับสนุนโดย