รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 1 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 2 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 3 ขึ้นหน้าใหม่ สารจากสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน และทันต่อการเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นสิ่งที่ข้าราชการทุกคนมุ่งมั่นที่จะ ร่วมกันพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สู่ความเข้มแข็งและมั่นคง ตามวิสัยทัศน์ดังกล่าวและ มีภารกิจต้องดำเนินการขับเคลื่อนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาชุมชน โดยอยู่ภายใต้การดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการ ครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นองค์ที่สำคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคม ในระดับ ฐานรากให้เป็นที่พึ่งของสมาชิกสหกรณ์ เกษตรกร และชุมชนในอำเภอ และเพื่อเสริมสร้างสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนดังนั้น เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรซึ่งถือว่าปฏิบัติหน้าที่อันทรงเกียรตินี้อยู่ มีส่วนร่วมในการวางแผนและ ผลักดันนโยบาย แผนงาน และโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงภารกิจ และความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากบุคลากร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งที่ดีเช่นดีตลอดไป และขอบคุณขบวนการสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทอง ที่ร่วมมือในการขับเคลื่อนนโยบายแผนงาน/โครงการของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองด้วยดีตลอดมา (นายจิระชัย อินทรโชติ) สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง (ม.ค./๒๕๖๓)
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 4 ขึ้นหน้าใหม่ บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่ช่วยขับเคลื่อนงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ของจังหวัดอ่างทองประจำปี ๒๕๖๒ ดำเนินงานตามแผนงานของกรมส่งเสริม สหกรณ์ ดังนี้ แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโต จากภายใน ผลการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพ พบว่าอัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จำนวนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 513 ราย อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของ สมาชิกในสหกรณ์ภาคการเกษตร นอกภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 62 และดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรส่งผลให้กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการ จำนวน 2 กลุ่ม มีอัตราขยายตัวปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร ดำเนินโครงการจำนวน ๕ โครงการ ดังนี้ 1.โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การตลาด การบริการและการบริหาร จัดการ จำนวน 9 แห่ง สมาชิกได้รับประโยชน์ 420 คน ส่งผลให้อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2.โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จำนวนแปลงเกษตรกรแปลงใหญ่มีการบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์จำนวน 3 แปลง เกษตรกร ได้รับประโยชน์ 430 คน ๓.โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ สหกรณ์ได้รับการ พัฒนาเป็นศูนย์กลางในการให้บริการด้านการเกษตรแก่สมาชิกและชุมชน จำนวน 6 สหกรณ์ 4.โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ผลการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการสหกรณ์จำนวน 6 สหกรณ์ 6.โครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (Smart Famer) สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ ไม่ต่ำกว่า ๑๘๐,๐๐๐ บาท จำนวน 60 คน แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ดำเนินการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์เพื่อให้บริการแก่เกษตรกร จำนวน 4 ครั้ง มีเกษตรกรเข้ารับ บริการ จำนวน 500 คน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 5 ขึ้นหน้าใหม่ ผลสำเร็จจากการดำเนินงานจังหวัดอ่างทองมีสหกรณ์ 32 แห่ง สมาชิก 43,386 คน กลุ่มเกษตรกร 50 กลุ่ม สมาชิก 2,267 คน ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ 11,305.67 ล้านบาท ปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร 21.49 ล้านบาท สหกรณ์มีผลกำไร 23 สหกรณ์ เป็นเงิน 307.79 ล้าน บาท ขาดทุน 9 แห่ง เป็นเงิน 1.349 ล้านบาท กลุ่มเกษตรกรมีกำไร 47 กลุ่ม เป็นเงิน 0.4 ล้าน บาท ขาดทุน 3 กลุ่ม เป็นเงิน 0.27 ล้านบาท ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ สหกรณ์ชั้น 1 จำนวน 4 สหกรณ์ สหกรณ์ชั้น 2 จำนวน 27 สหกรณ์ และสหกรณ์ชั้น 4 จำนวน 1 สหกรณ์ สหกรณ์ไม่มี ข้อบกพร่อง จำนวน 30 สหกรณ์ พบข้อบกพร่องเพียง 2 สหกรณ์ และอยู่ในระหว่างดำเนินการแก้ไข ทั้ง 2 สหกรณ์ จากการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ที่ผ่านมา อาศัยความร่วมมือ ร่วม แรง ร่วมใจ ในการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จตรงตามเป้าหมายที่ได้วาง ไว้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานให้มากที่สุด สิ่งที่สำคัญคือ การสร้าง ความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืน ของขบวนการสหกรณ์ ต่อไป
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 6 ขึ้นหน้าใหม่ สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 1 1.2 โครงสร้างและอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2 1.3 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ... 1.4 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ... ส่วนที่ 2 ผลการดำเนินงาน ... 2.1. สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ... 2.2 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ... 2.3 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1) งาน/โครงการตามภารกิจ 2) โครงการตามนโยบายสำคัญ … … ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน 3.1 งบแสดงฐานะการเงิน 3.2 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 3.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ... … … … ส่วนที่ 4 กิจกรรมเด่นของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ... บรรณานุกรม ...
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 7 ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 8 ขึ้นหน้าใหม่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน และทันต่อการเปลี่ยนแปลง 1) ยกระดับคุณภาพและขยายการให้บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการและความ คาดหวังของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และ ประชาชนทั่วไป 2) ขยายเครือข่ายความร่วมมือและการบูรณา การระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและ ต่างประเทศเพื่อการพัฒนาระบบสหกรณ์ 3) เร่งรัดการจัดที่ดินและส่งเสริมอาชีพในเขต นิคมสหกรณ์ 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตสำนึก ความเป็นสหกรณ์ และการมีส่วนร่วม 5) ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่าย พันธมิตรทางด้านการบริหารจัดการทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งในระบบสหกรณ์ 6) สนับสนุนและคุ้มครองสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในการดำเนินงานเพื่อ ตอบสนองความต้องการของสมาชิกและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้หลักการสหกรณ์ สากล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร พัฒนาระบบ บริหารจัดการภาครัฐและบุคลากรให้เอื้อต่อ การส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ 1) ดำเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมาย ว่าด้วย การจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร 3) ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน ทั่วไป 4) ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5)ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย อ ำหน้ำที่ของ หน่วยงำน พันธกิจ วิสัยทัศน์
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 9 ขึ้นหน้าใหม่ โครงสร้างและอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โครงสร้างสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 10 ขึ้นหน้าใหม่ อัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หน่วย : คน ประเภทอัตรำกำลัง ชำย หญิง รวม ข้ำรำชกำร 7 13 21 ลูกจ้ำงประจำ 2 1 3 พนักงำนรำชกำร 2 12 14 รวม 11 26 37 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 55% 8% 37% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 11 ขึ้นหน้าใหม่ แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจาก ภายใน ผลผลิต/โครงการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นกลไกการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมและสังคมในระดับชุมชน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร - งานอำนวยการ - งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ - งานกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1.กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากรกลุ่มเกษตรกร โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ปี 2562 2.กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา/ประชาชนทั่วไป 3.กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (๑. สร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด (๒. ติดตามเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร (๓. ติดตามเร่งรัดดำเนินการทางคดีและการชำระหนี้ค้างชำระของเงินกองทุนนอก งบประมาณ 4.กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (พัฒนาด้านระบบการบริหารจัดการและธรรมาภิบาลในการบริหารสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร) 2. แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร 2.1 โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรและกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก สนับสนุนการดำเนินการบริหารการจัดการเกษตรแปลงใหญ่ใน รูปแบบสหกรณ์ กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.3 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ กิจกรรมหลัก สนับสนุนการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 12 ขึ้นหน้าใหม่ 2.4 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักสนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร กิจกรรมรอง ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 2.5 โครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (Smart Famer) กิจกรรมหลักพัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Member) 3. แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลผลิต/โครงการ ส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 4. แผนงานบุคลากรภาครัฐ (ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการ เติบโตจากภายใน) ผลผลิต รายการค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 13 ขึ้นหน้าใหม่ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60- ๒๕๖2 จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย ล้านบาท หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 รวมทั้งสิ้น 9,347,714.37 8,836,906.86 8,016,499.74 งบบุคลากร 3,244,550.00 3,329.540.00 3,295,210.00 งบดำเนินงาน 3,778,172.76 3,658060.00 3,816,094.19 งบลงทุน 46,800.00 1,478,900.00 895,800.00 เงินอุดหนุน 2,278,191.61 371,306.86 9.395.58 งบรายจ่ายอื่น (ถ้ามี) - - - 0 1 2 3 4 งบบุคลำกร งบด ำเนินงำน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรำยจ่ำยอื่น ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 14 ขึ้นหน้าใหม่ สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวนสหกรณ์และจำนวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) จำนวนสมาชิก ทั้งหมด (คน) จำนวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ 1. สหกรณ์การเกษตร 17 34,875 15,499 44.44 2. สหกรณ์ประมง 2 177 138 77.96 3. สหกรณ์นิคม - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 7,045 6,385 90.63 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 681 135 19.82 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 608 113 18.58 รวม 32 43,386 22270 51.33 ที่มา : รายงานประจำปีของสหกรณ์ในจังหวัดอ่างทอง สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดดำเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ชำระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 16 - 1 - 17 2. สหกรณ์ประมง 2 - - - 2 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 4 1 1 - 6 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 - - - 1 รวม 29 1 2 - 32 ที่มา : กลุ่มตรวจการสหกรณ์สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 15 ขึ้นหน้าใหม่ ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณ ธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจำหน่าย รวบรวม ผลผลิต และแปร รูป บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์การเกษตร 17 580.85 654.89 346.58 251.79 0.00 1,834.13 2. สหกรณ์ประมง 2 0.10 3.52 0.72 0.00 0.00 4.35 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 1,674.85 7,774.82 0.00 0.00 0.00 9,449.67 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 0.025 10.54 0.00 0.00 0.007 10.58 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนียน 1 1.94 4.98 0.00 0.00 0.00 6.93 รวมทั้งสิ้น 32 2,257.78 8,448.78 347.30 251.79 0.007 11,305.6 7 ที่มา : ข้อมูลจากงบการเงินที่รับรองจากผู้สอบบัญชี ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมีผลกำไร - ขาดทุน (1) จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้านบาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) สหกรณ์ที่มีผลกำไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) กำไร (ล้านบาท) (6) จำนวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้านบาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 17 68.38 42.05 13 26.42 4 0.25 26.16 2. สหกรณ์ประมง 2 0.26 0.083 2 0.17 - - 0.17 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 358.20 76.014 6 281.003 - - 281.00 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 0.61 0.73 2 0.19 4 0.31 -0.12 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 1 6.93 7.71 - - 1 0.77 -0.77 รวมทั้งสิ้น 32 434.40 126.59 23 307.79 9 1.344 306.45 ที่มา : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบบัญชี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 16 ขึ้นหน้าใหม่ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ จำแนกตามประเภทของสหกรณ์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ ชั้น 1 สหกรณ์ ชั้น 2 สหกรณ์ ชั้น 3 สหกรณ์ ชั้น 4 รวม สหกรณ์ภาคการเกษตร 1. สหกรณ์การเกษตร 2 14 - 1 17 2. สหกรณ์นิคม - - - - - 3. สหกรณ์ประมง - 2 - - 2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 2 4 - - 6 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน - 1 - - 1 6. สหกรณ์บริการ - 6 - - 6 7. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - รวม 4 27 1 32 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กองแผนงาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2560 – 2562) ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 (แห่ง/ร้อยละ) ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 (แห่ง/ร้อยละ) ชั้น 1 7/21.87 9/28.12 4/12.50 ชั้น 2 22/68.75 22/68.75 27/84.38 ชั้น 3 1/3.13 - - ชั้น 4 2/6.25 1/3.13 1/3.13 รวม 32 32 32 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 กองแผนงาน 0 20 40 60 80 100 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 17 ขึ้นหน้าใหม่ ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (คน) หนี้สิน ทุนของสหกรณ์ สหกรณ์รวม 49,003 4,599,478,030.00 9,765,996,878.28 4,401,954,477.61 5,364,042,400.67 434,400,283.23 126,597,459.96 306,454,120.10 325,018,433.00 2,257,785,844.44 8,448,783,280.98 347,307,634.68 251,791,673.25 7,920.00 11,305,676,353.35 6,555,978,121.61 สหกรณ์การเกษตร รวม 38,346 372,211,510.00 1,188,325,064.34 720,140,089.71 468,184,974.63 68,388,342.11 42,057,271.10 26,167,160.62 27,825,940.57 580,852,817.76 654,898,836.57 346,587,634.68 251,791,673.25 0.00 1,834,130,962.26 1,433,665,091.36 1. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด 30 มิถุนายน 5,111 A 2 ด าเนินการ 7 5,057,520.0 0 234,011,919.4 7 229,915,914.0 1 4,096,005.4 6 14,984,454.71 14,055,084.96 929,369.75 14,482,027.53 166,558,087.1 1 190,612,190.3 8 6 1,728,520.5 7 0.0 0 0.0 0 418,898,798.06 236,917,768.26 2. สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จ ากัด 31 ธ นวาคม 183 F 2 ด าเนินการ 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 -398,928.54 0.0 0 1,457,571.2 7 154,560.0 0 0.0 0 0.0 0 1,612,131.27 1,612,131.27 3.สหกรณ์การเกษตรสามโก้จ ากัด 31 มีนาคม 1,145 F 2 ด าเนินการ 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 -7,577,899.50 9 2,654,615.4 9 2 2,983,202.1 6 0.0 0 0.0 0 0.0 0 115,637,817.65 2,434,552.81 4. สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น้ าน้อย จ ากัด 30 มิถุนายน 3 4 B 2 ด าเนินการ 788,900.0 0 6,043,918.5 1 791,223.9 7 5,252,694.5 4 832,457.43 177,092.00 655,455.37 422,617.31 688,238.4 7 897,000.0 0 1,641,397.0 0 0.0 0 0.0 0 3,226,635.47 2,888,174.03 5 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด 31 มีนาคม 3,029 A 2 ด าเนินการ 113,626,220.0 0 360,843,795.7 0 182,198,377.0 4 178,645,418.6 6 19,076,972.65 8,649,963.68 10,427,008.97 7,300,649.10 160,193,719.6 6 138,459,086.0 0 7 8,037,552.5 8 0.0 0 0.0 0 376,690,358.24 428,794,480.93 6 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 2 1,561 C 2 ด าเนินการ 2 4,647,650.0 0 8 8,499,467.4 4 5 3,281,647.3 1 3 5,217,820.1 3 4,834,994.08 3,213,433.09 1,621,560.99 1,043,587.45 0.0 0 0.0 0 3 7,049,967.2 1 251,791,673.2 5 0.0 0 288,841,640.46 138,624,013.04 7 สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 201 F 2 ด าเนินการ 1,107,670.0 0 1 0,105,413.7 9 1,525,934.7 8 8,579,479.0 1 908,854.16 1,166,561.69 -257,707.53 27,369.23 1,322,899.9 7 1,485,000.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 2,807,899.97 9,212,335.26 8 สหกรณ์สตรีไชโย จ ากัด 31 ธันวาคม 3 3 B 2 ด าเนินการ 6 5,250.0 0 189,501.8 9 0.0 0 189,501.8 9 11,023.59 5,208.53 5,815.06 2,650.54 0.0 0 175,000.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 175,000.00 145,429.26 9 สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด 31 มีนาคม 996 B 2 ด าเนินการ 2 0,269,160.0 0 9 7,308,069.0 3 6 0,420,370.1 2 3 6,887,698.9 1 5,789,198.75 3,127,704.31 2,661,494.44 2,889,778.87 3 3,611,417.9 0 4 2,843,666.6 1 5 2,636,447.3 7 0.0 0 0.0 0 129,091,531.88 117,100,275.64 1 0.ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 1 0 F 2 ด าเนินการ 2,634,500.0 0 5,797,929.1 9 7,251,008.0 0 -1,453,078.8 1 287,229.61 105,091.80 18,137.81 485,942.87 0.0 0 2,000,000.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 2,000,000.00 2,000,000.00 1 1.สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 802 C 2 ด าเนินการ 6,334,690.0 0 2 3,653,586.3 9 9,406,060.5 7 1 4,247,525.8 2 823,742.20 807,424.44 16,317.76 119,968.72 1,221,662.8 9 2,745,000.0 0 1,359,645.0 0 0.0 0 0.0 0 5,326,307.89 6,199,575.75 1 2.สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 907 B 2 ด าเนินการ 3,932,990.0 0 1 8,355,187.9 0 4,651,641.8 9 1 3,703,546.0 1 2,104,457.71 1,594,450.61 510,007.10 432,065.45 3,860,524.3 4 1 0,448,490.0 0 1 4,668,123.0 0 0.0 0 0.0 0 28,977,137.34 23,446,294.90 1 3.สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด 31 มีนาคม 667 A 1 ด าเนินการ 1 6,836,300.0 0 6 4,326,647.2 1 4 0,190,701.9 1 2 4,135,945.3 0 3,268,357.19 2,174,064.51 1,094,292.68 1,221,019.97 3,922,066.9 4 2 2,259,000.0 0 1 6,134,144.5 5 0.0 0 0.0 0 42,315,211.49 45,278,596.57 1 4.สหกรณ์การเกษตรบางเสด็จ จ ากัด 31 ธันวาคม 206 F 2 ด าเนินการ 603,900.0 0 2,899,078.8 0 2,057,851.9 9 841,226.8 1 176,528.99 48,466.00 128,062.99 21,168.95 8 3,228.0 0 3,314,950.0 0 388,645.0 0 0.0 0 0.0 0 3,786,823.00 2,467,804.94 1 5.สหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม - - 2 ช าระบัญชี 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 1 6.สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 31 มีนาคม 3,367 A 1 ด าเนินการ 104,823,350.0 0 273,975,257.3 8 128,401,896.5 2 145,573,360.8 6 15,153,852.13 6,801,629.26 8,352,222.87 7,359,942.77 116,692,546.3 9 214,098,680.1 5 8 2,788,632.4 0 0.0 0 0.0 0 413,579,858.94 415,196,599.70 1 7. สหกรณ์การปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น จ ากัด 31 มีนาคม 9 4 C 2 ด าเนินการ 1,483,410.0 0 2,315,291.6 4 4 7,461.6 0 2,267,830.0 4 136,218.91 131,096.22 5,122.36 -6,020.15 4 3,810.6 0 1,120,000.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 1,163,810.60 1,347,059.00 สหกรณ์ประมง รวม 181 1,489,060.00 5,492,702.58 3,348,147.50 2,144,555.08 262,876.35 83,066.29 179,810.06 131,296.00 104,124.56 3,527,257.60 720,000.00 0.00 0.00 4,351,382.16 4,532,893.00 1. สหกรณ์ประมงและแปรรูปอ่างทอง จ ากัด 30 พฤศจิกายน 5 6 C 2 ด าเนินการ 233,900.0 0 1,835,237.5 2 1,578,347.8 4 256,889.6 8 42,422.90 20,289.00 22,133.90 864.42 0.0 0 1,500,000.0 0 720,000.0 0 0.0 0 0.0 0 2,220,000.00 1,200,000.00 2. สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 125 B 2 ด าเนินการ 1,255,160.0 0 3,657,465.0 6 1,769,799.6 6 1,887,665.4 0 220,453.45 62,777.29 157,676.16 130,431.58 104,124.5 6 2,027,257.6 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 2,131,382.16 3,332,893.00 สหกรณ์ออมทรัพย์รวม 9,251 4,224,289,510.00 8,550,770,965.08 3,663,223,105.47 4,887,547,859.61 358,202,591.52 76,014,555.86 281,003,242.88 296,138,493.03 1,674,856,137.76 7,774,820,829.81 0.00 0.00 0.00 9,449,676,967.57 5,058,274,672.00 1.สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 1,020 A 2 ด าเนินการ 345,650,080.0 0 586,938,054.3 3 184,196,426.9 3 402,741,627.4 0 24,518,270.78 3,213,256.27 21,305,014.51 21,529,188.82 181,749,320.5 7 404,108,372.0 4 0.0 0 0.0 0 0.0 0 585,857,692.61 20,172,602.24 2.สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบล็คจ ากัด 31 ธันวาคม 291 A 1 ด าเนินการ 241,622,420.0 0 376,170,257.6 8 104,685,518.1 9 271,484,739.4 9 15,380,322.40 2,792,501.20 12,587,821.20 11,672,266.08 101,338,406.1 9 285,186,575.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 386,524,981.19 424,463,110.22 3. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 31 ธันวาคม 1,539 A 2 ด าเนินการ 364,308,100.0 0 564,179,579.9 4 150,229,714.0 2 413,949,865.9 2 25,809,458.83 5,853,317.90 17,247,367.45 18,036,374.12 146,509,422.4 6 366,804,141.9 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 513,313,564.36 563,828,917.34 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจอ่างทอง จ ากัด 30 กันยายน 834 A 1 ด าเนินการ 332,691,170.0 0 816,244,217.3 2 401,153,632.8 1 415,090,584.5 1 45,189,069.84 3,528,937.86 41,771,030.42 38,076,953.20 203,768,159.4 6 806,876,284.2 2 0.0 0 0.0 0 0.0 0 1,010,644,443.68 414,015,467.06 5. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จ ากัด 30 พฤศจิกายน 4,424 A 2 ด าเนินการ 2,456,757,490.0 0 5,587,913,502.7 7 2,752,450,665.7 8 2,835,462,836.9 9 215,811,018.67 57,321,631.94 159,902,468.99 178,232,575.64 974,058,588.2 7 5,386,578,584.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 6,360,637,172.27 3,229,597,516.73 6.สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 1,143 B 2 ด าเนินการ 483,260,250.0 0 619,325,353.0 4 7 0,507,147.7 4 548,818,205.3 0 31,494,451.00 3,304,910.69 28,189,540.31 28,591,135.17 6 7,432,240.8 1 525,266,872.6 5 0.0 0 0.0 0 0.0 0 592,699,113.46 406,197,058.41 สหกรณ์บริการ รวม 616 1,487,950.00 13,168,780.73 12,961,550.42 207,230.31 610,308.89 730,430.03 -120,121.14 719,620.45 25,600.00 10,547,357.00 0.00 0.00 7,920.00 10,580,877.00 51,603,129.07 1. สหกรณ์บริการสหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 31 ธันวาคม 6 0 - 2 หยุดกิจการ 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 573,272.06 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 50,499,293.49 2. สหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสุทธาวาส จ ากัด 31 ธันวาคม 3 0 F 2 ด าเนินการ 145,750.0 0 2,626,731.4 7 2,283,530.2 1 343,201.2 6 165,397.00 132,099.25 33,297.75 27,274.84 2 5,600.0 0 139,797.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 165,397.00 1,260.00 3. สหกรณ์บริการเมืองใหม่ชัยมงคล จ ากัด 31 ธันวาคม 400 F 2 ด าเนินการ 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 74,671.23 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 248,532.58 4. สหกรณ์อ่างทองเดินรถ จ ากัด 31 ธันวาคม 2 9 F 2 ด าเนินการ 689,800.0 0 274,081.3 6 1,627,948.5 6 -1,353,867.2 0 159,023.72 469,755.01 -310,731.29 -127,668.24 0.0 0 1,387,528.0 0 0.0 0 0.0 0 7,920.0 0 1,395,448.00 0.00 5.สหกรณ์บริการการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยชาวอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม - - - ช าระบัญชี 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 0.00 0.00 17,083.86 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 0.00 174,845.00 6.สหกรณ์บ้านมั่นคงเทศบาลป่าโมก จ ากัด 31 ธันวาคม 9 7 B 2 ด าเนินการ 652,400.0 0 1 0,267,967.9 0 9,050,071.6 5 1,217,896.2 5 285,888.17 128,575.77 157,312.40 154,986.70 0.0 0 9,020,032.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 9,020,032.00 679,198.00 สหกรณ์เครดิตยูเนียน รวม 609 0.00 8,239,365.55 2,281,584.51 5,957,781.04 6,936,164.36 7,712,136.68 -775,972.32 203,082.95 1,947,164.36 4,989,000.00 0.00 0.00 0.00 6,936,164.36 7,902,336.18 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านบ่อแร่จ ากัด 31 ธ นวาคม 609 F 2 ด าเนินการ 0.0 0 8,239,365.5 5 2,281,584.5 1 5,957,781.0 4 6,936,164.36 7,712,136.68 -775,972.32 203,082.95 1,947,164.3 6 4,989,000.0 0 0.0 0 0.0 0 0.0 0 6,936,164.36 7,902,336.18 ระดับชั้น สหกรณ์ ปี2562 ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) รวมปริมาณธุรกิจปีล่าสุด (พ.ศ. 2562) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้ามา จ าหน่าย รวบรวมผลผลิตและ แปรรูป บริการและ อื่น ๆ ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง สหกรณ์ ปีบัญชี จ านวนสมาชิก ผลการจัด มาตรฐาน ประจ าปี2562 สถานะสหกรณ์ สถานะทั่วไปของสหกรณ์ปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (บาท) ก าไร/(ขาดทุน) ปี บัญชีล่าสุด ก าไร/(ขาดทุน) ปี บัญชีก่อนหน้า ปริมาณธุรกิจปีบัญชี ก่อนหน้า (พ.ศ. 2561) ทุนเรือนหุ้น สินทรัพย์ ทุนด าเนินงาน รายได้ค่าใช้จ่าย
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 18 ขึ้นหน้าใหม่ ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำนวนกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) จำนวนสมาชิก กลุ่มเกษตรกรทั้งหมด (คน) จำนวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ (คน) ร้อยละ 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 40 2,002 1,250 62.43 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 7 196 132 67.34 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 69 46 66.66 รวม 50 2,267 1,428 62.99 ที่มา : รายงานประจำปีกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทอง สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จำนวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ชำระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 36 4 - - 40 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 4 - - 3 7 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - 1 - 3 รวม 42 4 1 3 50 ที่มา : กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 19 ขึ้นหน้าใหม่ ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประเภท กลุ่มเกษตรกร ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่ม เกษตรกร(แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจำหน่าย รวบรวม ผลผลิตและ แปรรูป บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 40 0.11 12.17 7.63 0.00 0.27 20.20 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 7 0.00 0.39 0.00 0.00 0.00 0.39 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 0.00 1.09 0.30 0.00 0.00 1.39 รวมทั้งสิ้น 50 0.11 13.66 7.94 0.00 0.27 21.99 ที่มา : ข้อมูลจากงบการเงินที่รับรองจากผู้สอบบัญชี ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการดำเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมีผลกำไร - ขาดทุน (1) จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้านบาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลกำไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) กำไร (ล้านบาท) (6) จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 40 5.91 4.65 37 0.31 3 0.27 0.59 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 7 0.33 0.28 7 0.05 - - 0.05 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 0.34 0.30 3 0.04 - - 0.04 รวมทั้งสิ้น 50 6.60 5.24 47 0.40 3 0.27 0.68 ที่มา : ข้อมูลผลการดำเนินงานจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบบัญชี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 20 ขึ้นหน้าใหม่ ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 21 ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนที่ 2 ผลการดำเนินงาน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 22 ขึ้นหน้าใหม่ สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิต/โครงการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและสังคมใ น ระดับชุมชน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1.จำนวนสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาการผลิต การตลาด การบริการและ การบริหารจัดการ สหกรณ์/ กลุ่ม เกษตรกร 32 สหกรณ์ 49 กลุ่ม เกษตรกร 100 1,907,100 1,907,100 100 2.อัตราส่วนเงินออมต่อ หนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์ ภาคการเกษตร นอกภาค การเกษตรและกลุ่ม เกษตรกรมีสัดส่วนเพิ่ม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ร้อยละ 62 101 3.อัตราการขยายตัวปริมาณ ธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรเพิ่มขึ้น ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 3 22.45 100 4.จำนวนสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น 513 ราย 513 ราย 100 5.สหกรณ์ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานของกรมส่งเสริม สหกรณ์ตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 50 62.5 6.ร้อยละของกลุ่มเกษตรกร ที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน อยู่ในระดับมาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 ร้อยละ 88 97.77 7.ควบคุมการใช้จ่าย งบประมาณตามงบรายจ่าย และกิจกรรมหลัก ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 23 ขึ้นหน้าใหม่ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย) …… หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิต/โครงการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและสังคมใ น ระดับชุมชน กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2.กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากรกลุ่มเกษตรกร โครงการพัฒนาศักยภาพ การดำเนินงานของกลุ่ม เกษตรกร 1.กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการได้รับการพัฒนา ศักยภาพการดำเนินธุรกิจ และมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น กว่าปีที่ผ่านมา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 100 42,100 42,100 100 3.กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา/ประชาชนทั่วไป จำนวนบุคลากรใน สถานศึกษา/บุคคลทั่วไป ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้าน การสหกรณ์ 140 คน 140 คน 100 55,400 55,400 100 4.กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ 1.ระดับความสำเร็จของการ ติดตามตรวจสอบกลุ่ม เกษตรกรให้มีการนำเงินกู้ไป ใช้ ตรงตามวัตถุประสงค์ใน การรับรู้ ระดับ 5 ระดับ 5 100 12,500 12,500 100 2.ร้อยละของสถาบัน เกษตรกรที่กู้เงินสามารถส่ง ชำระหนี้โครงการสนับสนุน เงินทุน เพื่อสร้างระบบน้ำใน ไร่นาของสมาชิกสถาบัน เกษตรกร ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 100
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 24 ขึ้นหน้าใหม่ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วย นับ) ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย)… … หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร กิจกรรมหลัก พัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 1.จำนวนสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับการส่งเสริม และพัฒนาการผลิต การตลาด การบริการและ การบริหารจัดการ 9 แห่ง 420 คน 9 แห่ง 420 คน 100 340,400 340,400 100 2.ปริมาณธุรกิจของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 100 กิจกรรมหลัก สนับสนุนการดำเนินการบริหารการจัดการเกษตรแปลงใหญ่ในรูปแบบสหกรณ์ กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1.จำนวนแปลงเกษตรกร แปลงใหญ่มีการบริหาร จัดการในรูปแบบสหกรณ์ 3 แห่ง 430 คน 3 แห่ง 430 คน 100 102,970 102,970 100 2.สินค้าเกษตรจากพื้นที่ เกษตรแปลงใหญ่มีตลาด รองรับไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ไม่น้อย กว่าร้อย ละ 10 ร้อยละ 10 100 กิจกรรมหลัก สนับสนุนการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ กิจกรรมรอง การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ 1.จำนวนสหกรณ์ได้รับการ พัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริการและการ บริหารจัดการตามรูปแบบประชา รัฐ 8 แห่ง 145 คน 8 แห่ง 145 คน 100 81,000 81,000 100 2.สหกรณ์ได้รับการพัฒนาเป็น ศูนย์กลางในการให้บริการด้าน การเกษตรแก่สมาชิกและชุมชน 6 แห่ง 6 แห่ง 100 3.ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ เป้าหมายโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อย กว่าร้อยละ 3 ไม่น้อย กว่าร้อย ละ 3 ร้อยละ 3 100
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 25 ขึ้นหน้าใหม่ แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วย นับ) ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+ โอนเพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ (อธิบาย)… … หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร กิจกรรมหลักสนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมรอง ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1.เกษตรกรเป้าหมายเข้ารับ การอบรมมีการรวม กลุ่มเป้าหมายในสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มใน รูปแบบสหกรณ์ ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 100 30,100 30,100 100 2.จำนวนศูนย์เรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตรเป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ จำนวน 7 ศพก. จำนวน ๗ ศพก. 100 30,100 30,100 100 กิจกรรมหลักพัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Member) โครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง (Smart Famer) 1.จำนวนสมาชิกสหกรณ์ที่ เข้าร่วมโครงการมีรายได้ไม่ ต่ำกว่า ๑๘๐,๐๐๐ บาท 60 ราย 60 ราย 100 23,200 23,200 100 2.เกษตรกรสมาชิก กลุ่มเป้าหมายได้รับการ ยกระดับเป็น Smart Farmer ร้อยละ ๗๐ ร้อยละ ๗๐ 100 23,200 23,200 100 แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ผลผลิต/โครงการ ส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ เพื่อให้บริการแก่เกษตรกร จำนวน 4 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง 100 26,400 26,400 100 แผนงานบุคลากรภาครัฐ (ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน) กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ ควบคุมการใช้จ่าย งบประมาณตามงบรายจ่าย และกิจกรรมหลัก ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100 3,943,900 3,943,900 100 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 26 ขึ้นหน้าใหม่ ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 954 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 379 คน ⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ใน เขตอำเภอป่าโมก ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการดำเนินงานที่ดี โดยการช่วยเหลือสมาชิกทั้งทางด้านเงินทุน ในการประกอบอาชีพและสร้างที่อยู่อาศัย(สหกรณ์บ้านมั่นคง) พร้อมทั้งจัดหาปัจจัยการผลิตที่มี คุณภาพมาจำหน่ายแก่สมาชิก ทำให้สมาชิกสหกรณ์มีความกินดีอยู่ดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการ จัดตั้งสหกรณ์ พร้อมทั้งทำให้สหกรณ์มีระบบการบริหารงานเป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรกรในเขตอำเภอป่าโมกไม่ มีข้อบกพร่อง และไม่มีการทุจริตในสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงาน สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ไม่ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของกิจการ 2. ไม่ให้ความสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่สมาชิกในฐานะเจ้าของกิจการ เช่น การพิจารณา ลงมติตาม ระเบียบวาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี สมาชิกไม่มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา สาระสำคัญและจำเป็นที่ที่ประชุมใหญ่เสนอให้พิจารณา จึงทำให้การออกเสียงในวาระต่างๆ ขาด ความเข้าใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีเสียที่จะได้รับจากการตัดสินใจ เช่น ระเบียบวาระการอนุมัติ ค่าใช้จ่ายต่างๆ 3. สมาชิกส่วนใหญ่ของสหกรณ์เป็นผู้สูงอายุ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ส่งผลให้จำนวน สมาชิก ลดลงอย่างต่อเนื่อง 4. พื้นที่ทำกินได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติส่งผลให้สมาชิกมีรายได้ไม่แน่นอน 5. ปัญหาหนี้ค้างในสหกรณ์ อำเภอป่าโมก
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 27 ขึ้นหน้าใหม่ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงาน สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญ และจำเป็นในการเลือกผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี และที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 2. ส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการ เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ 3. กำหนดมาตรการติดตามหนี้ มาตรการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือการดำเนินคดีตาม กฎหมาย ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด เป็นสหกรณ์ระดับอำเภอที่มีสมาชิก ทั้งสิ้นจำนวน 666 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562) ดำเนินธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย และให้สินเชื่อ ผลการดำเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์จัดหาปัจจัยการผลิต และสินค้าอุปโภค บริโภคมาจำหน่ายตามความต้องการของสมาชิก โดยให้บริการจัดส่งถึงบ้านสมาชิก โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด เข้าร่วมโครงการ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให้สามารถรองรับการปรับตัวของเศรษฐกิจ และ รูปแบบการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปของสมาชิก โดยการเชื่อมโยงกับ ร้านค้าประชารัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน และวัดในพื้นที่ สามารถตอบสนองความต้องการของสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เป็นที่พึ่งของสมาชิกได้อย่างดี ด้วยความร่วมมือกันของคณะกรรมการดำเนินงาน เจ้าหน้าที่ และ สมาชิกของสหกรณ์
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 28 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 29 ขึ้นหน้าใหม่ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้เข้าแนะนำส่งเสริม ให้สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด เป็น สหกรณ์ระดับอำเภอ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของชุมชน โดยการเชื่อมโยงธุรกิจกับร้านค้าประชา รัฐ โรงพยาบาล โรงเรียน และวัดในพื้นที่ ร่วมถึงการให้บริการสมาชิกโดยการบริการส่งสินค้าถึง บ้านสมาชิก ส่งผลให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย เพิ่มขึ้นจากปีก่อน (2561) ร้อย ละ 6.72 มีปริมาณสมาชิกที่ร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์ ร้อยละ 83.28 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด สามารถติดตามหนี้ค้างชำระได้ร้อยละ 30.40 ประกอบด้วย สหกรณ์ 13 แห่ง สมาชิก 10,606 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 399 คน ⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ใน เขตอำเภอเมือง ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการดำเนินงานที่ดี โดยการช่วยเหลือสมาชิกทั้งทางด้านเงินทุน ในการประกอบอาชีพและสร้างที่อยู่อาศัย(สหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสุทธาวาส จำกัด) พร้อมทั้ง จัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพมาจำหน่ายแก่สมาชิก ทำให้สมาชิกสหกรณ์มีความกินดีอยู่ดี เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสหกรณ์ พร้อมทั้งทำให้สหกรณ์มีระบบการบริหารงานเป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของกิจการ อำเภอ เมือง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 30 ขึ้นหน้าใหม่ 2. ไม่ให้ความสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่สมาชิกในฐานะเจ้าของกิจการ เช่น การพิจารณา ลงมติตามระเบียบวาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี สมาชิกไม่มีความรู้ความเข้าใจใน เนื้อหาสาระสำคัญและจำเป็นที่ที่ประชุมใหญ่เสนอให้พิจารณา จึงทำให้การออกเสียงในวาระต่างๆ ขาดความเข้าใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีเสียที่จะได้รับจากการตัดสินใจ เช่น ระเบียบวาระการ อนุมัติค่าใช้จ่ายต่างๆ 3. สมาชิกส่วนใหญ่ของสหกรณ์เป็นผู้สูงอายุ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ส่งผลให้จำนวน สมาชิกลดลงอย่างต่อเนื่อง 4. พื้นที่ทำกินได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติส่งผลให้สมาชิกมีรายได้ไม่แน่นอน 5. ปัญหาการรุกล้ำของสังคมเมือง ทำให้พื้นที่ทำการเกษตรลดลง 6. ปัญหาหนี้ค้างในสหกรณ์ ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญและจำเป็นในการเลือกผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี และที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 2. ส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่ให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ 3. กำหนดมาตรการติดตามหนี้ มาตรการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือการดำเนินคดีตาม กฎหมาย ร่วมทั้งทบทวนหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อโดยคำนึงถึงความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้ และหลักประกันความเสี่ยงเป็นสำคัญ ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จำกัด ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จำกัด ประเภทการเกษตร เป็นสมาชิกระดับอำเภอที่มี สมาชิกจำนวน 802 คน ดำเนินธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย ให้สินเชื่อกับสมาชิก สหกรณ์จะมีการส่งเสริมให้คณะกรรมการดำเนินการ และสมาชิก ให้เข้าร่วมโครงการอบรม ต่างๆ ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่สมาชิกและคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ ส่งผลให้ปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.77 สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง โดยการติดตามหนี้ค้างชำระได้ร้อยละ 4.92 ของหนี้ ค้างยกมาต้นปี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 31 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 32 ขึ้นหน้าใหม่ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ สหกรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง ประสบปัญหาหนี้ค้างชำระ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทองได้เข้าแนะนำส่งเสริมการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ ในช่วง ระยะเวลาการดำเนินการติดตามหนี้ค้างชำระ ทำให้สามารถติดตามหนี้ค้างได้ร้อยละ 4.92 ของหนี้ ค้างทั้งหมด (ณ 30 ตุลาคม 2562) ประกอบด้วย สหกรณ์ 6 แห่ง สมาชิก 25,050 คน กลุ่มเกษตรกร 10 แห่ง สมาชิก 401 คน ⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์มีการกำหนดระเบียบต่าง ๆ และแก้ไขข้อบังคับของสหกรณ์ให้สอดคล้องกับ ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์และประกาศกฎกระทรวง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของ สหกรณ์ สหกรณ์ส่วนใหญ่มีทุนภายในของสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน ในการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องหนี้ค้างชำระได้บ้างบางส่วนและมีการติดตาม หนี้อย่างเคร่งครัด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการดำเนินธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการจัดหาสินค้ามา จำหน่าย การรวบรวมผลผลิต (ข้าวเปลือก) ในภาพรวมทุกธุรกิจมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นและมีการ ให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึง มีความพึงพอใจในสหกรณ์ระดับอำเภอมีการออมทรัพย์ โดยการระดมถือ หุ้นเพิ่มและเงินฝากเพิ่มขึ้นมีการเชื่อมโยงธุรกิจมากขึ้น รวมทั้งให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้ของรัฐ ได้แก่ เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ทำให้สภาพคล่องในการ ดำเนินการมากขึ้น ⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประสบปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำ เช่น ราคา พืชผัก ราคาผลไม้ ราคาข้าวเปลือกและประสบปัญหาโรคแมลงระบาดบางพื้นที่ การทำการเกษตร ประสบปัญหาการขาดทุน ไม่สามารถส่งชำระหนี้สหกรณ์ได้ครบตามสัญญาและสมาชิกบางรายรอ อำเภอ วิเศษชัยชาญ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 33 ขึ้นหน้าใหม่ การซื้อหนี้แทนจากสำนักงานกองทุนพื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร การไม่เข้าใจรายละเอียดเกี่ยวกับ เงื่อนไขของกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ทำให้สหกรณ์ประสบปัญหามีหนี้ค้างเพิ่มขึ้นและปัญหา เกี่ยวกับสมาชิกมีหนี้ซ้ำซ้อนหลายทาง และประสบปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ ราคาปัจจัยการผลิตมีราคาสูง ทำให้ประกอบอาชีพทางการ เกษตรมีรายได้ไม่พอค่าใช้จ่าย จึงทำให้มีหนี้ค้างกับสหกรณ์ ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกให้การศึกษาอบรม อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ปลูกจิตสำนึกให้สมาชิกรักและศรัทธาสหกรณ์ รู้จักการช่วยเหลือตนเอง และ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างจริงจัง รู้จักการรวมกลุ่มเพื่อต่อรองราคาสินค้าเกษตรและปัจจัยการผลิต และการรวมตัวกันเป็นแปลงใหญ่เกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตรและส่งเสริมการดำเนิน ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงรู้จักใช้จ่ายอย่างประหยัด ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด 1. ธุรกิจสินเชื่อ 2. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 3. ธุรกิจรวบรวมอาหารดิบและเครื่องปรุง 4. ธุรกิจรับฝากเงิน ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธาสหกรณ์และร่วมใช้บริการสหกรณ์มากขึ้น ร่วมซื้อสินค้าจาก สหกรณ์และร่วมระดมทุนถือหุ้นเพิ่มในสหกรณ์ตลอดจนนำเงินมาฝากกับสหกรณ์และการ ประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ ทำให้สมาชิกร่วมซื้อสินค้ากับสหกรณ์เป็นอย่างดีตลอดจนการแก้ไขปัญหาเรื่องหนี้ค้างของสหกรณ์โดย การติดตามและเชิญสมาชิกเข้ามาเจรจาทำข้อตกลงการชำระหนี้ทั้งหนี้เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะปาน กลางและลูกหนี้การค้า ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการร่วมประชุม คณะกรรมการ ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ชี้แจงทำความเข้าใจกับคณะกรรมการและสมาชิกถึง นโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ลงสู่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตลอดจนประกาศนายทะเบียนและ ประกาศกฎกระทรวงต่าง ๆ แจ้งให้คณะกรรมการทราบและเข้าใจ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและ ชี้แจงสมาชิกถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกตลอดจนสิทธิหน้าที่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 34 ขึ้นหน้าใหม่ 2. ปัจจัยสำเร็จอีกส่วนหนึ่งคือสหกรณ์มีผู้นำของสหกรณ์ที่เข้มแข็ง เช่น ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ ประธานกลุ่มต่าง ๆ สามารถที่จะดึงดูดสมาชิกให้ร่วมกิจกรรมกับสหกรณ์ด้าน ต่าง ๆ ได้ดี 3. สมาชิกมีความศรัทธาในสถาบันสหกรณ์ให้ความร่วมมือกับสหกรณ์ด้วยดีการร่วม กิจกรรมประชุมกลุ่มสมาชิก ร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์ ร่วมระดมทุนในสหกรณ์ เงินฝากและถือหุ้น เพิ่มด้วยความสมัครใจ 4. ภารกิจของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด ส่งเสริมแนะนำเรื่องการรวบรวมผลผลิต (ข้าวเปลือก) โดยการประสานงานกับพาณิชย์จังหวัดของบประมาณสนับสนุน เพื่อส่งเสริมการ รวบรวมผลผลิตของสหกรณ์โดยการมีงบประมาณสนับสนุนจ่ายให้สหกรณ์เป็นค่าบริการตราชั่ง ลาน ตาก จ่ายให้สหกรณ์โดยที่สหกรณ์จะไม่เก็บค่าบริการจากพ่อค้าข้าว จะทำให้พ่อค้ารับซื้อข้าวได้สูง กว่าตลาดอื่นเล็กน้อย ทำให้สมาชิกจำหน่ายผลผลิตได้ราคาดี ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 5,705 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 335 คน ⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จากการเข้าไปแนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีที่ผ่านมาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้น ทำให้สามารถนำทุนมาบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีแหล่งเงินทุน ที่มาจากแหล่งเงินทุนภายในที่เข็มแข็งโดยไม่ต้องพึ่งแหล่งเงินทุนภายนอกมากนัก สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรส่วนใหญ่มีกำไรมากขึ้นกว่าปีก่อนๆ สำหรับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ยังไม่มีเงินทุน หมุนเวียนที่เพียงพอก็ได้รับการช่วยเหลือด้านเงินทุนจากเงินกู้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์และกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรทำให้สามารถมีเงินทุนหมุนเวียนในการทำธุรกิจเพิ่มขึ้น การแนะนำส่งเสริมให้ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ดำเนินสรุปภาพรวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรในอำเภอโพธิ์ทอง ยังเป็น ที่พึ่งของสมาชิกได้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพ ⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาและอุปสรรคที่พบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เรื่องของภัยธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย ในพื้นที่ ทำให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้รับผลกระทบ พืชสวน ไร่นาได้รับความเสียหาย ทำให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ จนส่งผลกระทบให้สมาชิกสหกรณ์ บางส่วน ไม่สามารถชำระหนี้กับสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรได้ตรงตามกำหนด ต้องผิดนัดชำระหนี้ บางสหกรณ์สมาชิกมีอายุมาก จนเป็นอุปสรรคในการมาติดต่อสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร และปัญหา เรื่องเงินรับฝากที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ตามรายงานของผู้สอบบัญชี และปัญหาการจ่ายคืน ทุนเรือนหุ้นไม่ได้ เนื่องจากสหกรณ์มีผลขาดทุนสะสม ยกมา ทำให้สมาชิกบางรายมาร้องเรียนศูนย์ ดำรงธรรมและคณะกรรมการสหกรณ์ สำหรับสหกรณ์เครดิตยูเนียนในพื้นที่ปัจจุบันไม่สามารถปิด บัญชีได้และไม่ปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับ อาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้ในอนาคต อำเภอ โพธิ์ทอง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 35 ขึ้นหน้าใหม่ ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรมีนโยบายหรือกำหนดระเบียบเกี่ยวกับการช่วยเหลือสมาชิกที่ ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ต่าง ๆ และควรมีการดำเนินการหาสมาชิกรายใหม่ ๆ เข้ามาเป็น สมาชิกแทนสมาชิกที่มีอายุมากขึ้นโดยประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงข้อดีและประโยชน์ของการเป็นสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่วนเงินรับฝากที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ให้ดำเนินการแก้ไข โดยแจ้ง ให้ผู้ฝากเงินมาทยอยถอนเงินฝากหรือปิดบัญชี เพื่อไม่ให้กระทบกับสภาพคล่องของสหกรณ์ส่วนการ ปัญหาการจ่ายคืนทุนเรือนหุ้นไม่ได้ให้สหกรณ์ทำความเข้าใจกับสมาชิกในที่ประชุมกลุ่มสมาชิกและ การประชุมใหญ่ประจำปี สำหรับสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน จำกัดได้ติดตามแก้ไขปัญหาการปิดบัญชี โดย ทางสำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้ติดตามการแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิดและเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการเพื่อติดตามเป็นรายเดือน โดยให้ปฏิบัติภายในกรอบของระเบียบ ข้อบังคับ ให้ถูกต้อง ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด 1. จำนวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 มิถุนายน 2562 จำนวน ๕,๐99 รายแยกเป็น สมาชิกสามัญ ชาย ๑,๒๒7 ราย หญิง ๒,๑53 ราย รวมสมาชิกสามัญ ๓,๓80 ราย สมาชิกสมทบ ชาย ๗๙๔ ราย หญิง ๙๒5 ราย รวมสมาชิกสมทบ ๑,๗19 ราย 2. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว 3. ธุรกิจที่สหกรณ์ดำเนินการ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ,ธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ 4. ผลการดำเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาการทุจริตสหกรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยคณะกรรมการดำเนินการ ฝ่ายจัดการและผู้ตรวจสอบกิจการ และสมาชิก ร่วมกันดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์อยู่ในทิศทางที่ดีขึ้นเรื่อยๆ ปีบัญชี 2560 สิ้นสุด 30 มิถุนายน 2562 มีกำไรสุทธิ 929,369.75 บาท 5. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น ๑. โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร (เข้าสู่ ปีที่ 2 ) ได้รับเงินทุนหมุนเวียนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อนำไป สนับสนุนเงินกู้ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ จำนวน ๓๓ ราย เป็นเงิน ๑,๖๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อส่งเสริมการ จัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ำในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพาน้ำจากระบบ ชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ เพื่อสร้างโอกาสในการทำเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการ ขาดแคลนน้ำ โดยสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย แห่งละ ๕๐,๐๐๐ บาท มีระยะเวลาคืนเงินทุน ๕ ปี ๒. โครงการศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ เป็นการนำสินค้าราคาถูกเพื่อช่วยเหลือสมาชิก และเกษตรกร เพื่อเป็นการลดค่าครองชีพ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 36 ขึ้นหน้าใหม่ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ สหกรณ์เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ที่มีความพร้อม มีอุปกรณ์ทางการตลาดที่สามารถดำเนิน ธุรกิจเพื่อบริการสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดีได้ และคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ก็มีความสามารถใน การบริหารและแก้ไขปัญหา มีการประชุมคณะกรรมการประจำเดือนและประชุมคณะกรรมการอื่นๆ เป็นประจำ ประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อแจ้งข่าวสารให้กับสมาชิกได้รับทราบผลการดำเนินงานของ สหกรณ์ และรับทราบ รับฟังปัญหาของสมาชิก และนำข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไข การ บริการ เพื่อให้ตรงใจสมาชิกมากที่สุด ปัจจุบันสหกรณ์มีการติดตามแก้ไขปัญหาการทุจริตที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ปี2559 โดยได้รับการสนับสนุนเงินทุนในการรักษาสภาพคล่องจากธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร การได้รับสนับสนุนความรู้ด้านการเกษตรจาก สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทองและการให้คำแนะนำด้านการบัญชีจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ อ่างทอง ทำให้สมาชิกมีความเชื่อมั่นในการดำเนินงานของสหกรณ์ส่งผลต่อผลการดำเนินงานที่ สามารถปฏิบัติได้ตามแผนงาน ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 3,395 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 286 คน ⚫ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อำเภอแสวงหา เป็นการปฏิบัติงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ มีการดำเนินงานที่เน้นเป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งมวล สมาชิกเป็นไปตามพื้นฐานหลักตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการของสหกรณ์ สร้างการมีส่วนร่วม ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ มีธรรมาภิบาลและการควบคุม ภายในเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สามารถบริการให้เกิดความพึงพอใจแก่สมาชิก ให้ทันต่อสถานการณ์ ต่างๆที่เปลี่ยนแปลง สร้างความพึงพอใจและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ระบบสหกรณ์โดยส่วนรวม ทำให้คุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ แนะนำส่งเสริม การตรวจการ สหกรณ์ การสร้างศูนย์เรียนรู้ การฝึกอบรม ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การจัดทำ แผนกลยุทธ์สหกรณ์ สามารถพัฒนางานสหกรณ์ให้ดำเนินงานอย่างถูกต้องไม่ขัดต่อกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ และรวมทั้งกฎหมายอื่นให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแต่ละประเภท คือ สามารถให้บริการและแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและ สังคมของสมาชิกได้ โดยให้ดำเนินการตามหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้ง ในระดับบุคคลและระดับองค์กร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน กลุ่มเกษตรกรในอำเภอแสวงหา ประกอบด้วยกลุ่มเกษตรกร จำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม เกษตรกรทำนาแสวงหา กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านพราน กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมสมาชิก วังน้ำเย็น กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่ไม้มงคลตำบลแสวงหา และกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มะม่วงตำบล บ้านพราน อำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง กลุ่มเกษตรกรทำธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจ อำเภอ แสวงหา
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 37 ขึ้นหน้าใหม่ สินเชื่อ และให้บริการเกี่ยวข้าวแก่สมาชิก สมาชิกได้รับบริการทั่วถึงและเป็นการช่วยลดต้นทุนให้แก่ สมาชิก มีความสนใจและศรัทธาร่วมดำเนินธุรกิจเป็นอย่างดีและอีก 2 กลุ่มเกษตรกรเป็นกลุ่ม เกษตรกรตั้งใหม่กำลังเริ่มดำเนินธุรกิจ ⚫ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.ปัญหาด้านบุคลากร 1.1 สมาชิกสหกรณ์สมาชิกส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจหลักการและปรัชญาสหกรณ์ที่ เน้นการรวมกลุ่มกันเพื่อดำเนินธุรกิจและจัดสรรกำไรจากการดำเนินงานที่เป็นธรรมกับสมาชิก และไม่ มีความสนใจในกิจการของสหกรณ์ทั้งเรื่องการบริหาร การเงิน การตลาด และการหาผลิตภัณฑ์ ซึ่ง โดยหลักการแล้วสมาชิกสหกรณ์คือเจ้าของสหกรณ์หรือเจ้าของกิจการ แต่กลับพบว่าเจ้าของสหกรณ์ กลับไม่ทราบข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์ เช่น ทุนสหกรณ์ ผลการดำเนินการ เป็นต้น เป็นเพราะสมาชิก ยังขาดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและไม่มาประชุม เนื่องจากขาดการประชาสัมพันธ์และสมาชิก อยู่กันกระจัดกระจาย ในบางกรณีพบว่าการมาเป็นสมาชิกสหกรณ์เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น ต้องการสินค้าราคาถูกๆ ต้องการกู้เงิน เพื่อการต่อรองผลประโยชน์ที่รัฐมอบให้ผ่านสหกรณ์ เป็นต้น คณะกรรมการสหกรณ์มีจำนวนไม่มากที่จะเข้าใจหลักการบริหารจัดการ ส่วนใหญ่แล้ว ขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการหรือบริหารกิจการสหกรณ์ เพราะคณะกรรมการ คือสมาชิก สหกรณ์นั่นเอง การหาผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นคณะกรรมการยากมากในบางสหกรณ์ การเลือก คณะกรรมการมีลักษณะเป็นระบบอุปถัมภ์ ไม่ได้เลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในบางสหกรณ์มี ข้อจำกัดในการหาคณะกรรมการ เนื่องจากสมาชิกต้องใช้เวลาในการทำอาชีพของตน เช่น ทำไร่ ปลูก ข้าว โดยหลักการแล้วคณะกรรมการต้องเป็นผู้กำหนดนโยบาย แต่ผู้กำหนดนโยบายไม่มีความรู้ในด้าน การจัดการ การตลาด และการเงิน บัญชี ทำให้นโยบายไม่มีความชัดเจน 2.ปัญหาด้านการจัดการ การขาดข้อมูลและสารสนเทศในการจัดการรวมถึงการนำไปใช้ การไม่มีความรู้ในเรื่องข้อมูล เกี่ยวกับบริหารธุรกิจทั้งการเงิน และบัญชีการตลาด การบริหารบุคคล รวมทั้งการเข้าไม่ถึงข้อมูล สารสนเทศทางการจัดการ นอกจากนี้การที่จะทำให้บุคลากรของสหกรณ์การเกษตรสามารถใช้ สารสนเทศเป็นเรื่องยากลำบาก แม้จะมี(Software)ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและบัญชีที่ไม่เสีย ค่าใช้จ่ายก็ตาม รวมถึงความไม่พร้อมในการแข่งขันกับภาคเอกชนสหกรณ์การเกษตรมีการปรับตัวช้า ไม่ทันต่อความต้องการของเกษตร รวมไปถึงธุรกิจที่มีความเฉพาะและซับซ้อนส่งผลให้ภาคเอกชนซึ่งมี ความคล่องตัวและมีความสามารถในการแข่งขันสามารถตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกร ได้มากดีกว่าภาคสหกรณ์ เช่น ความรวดเร็ว การนำสินค้าไปใช้ก่อน การประกันราคา การเข้าถึงแหล่ง ผลิต และขาดการบริการที่ครบวงจร สหกรณ์หลายแห่งทำธุรกิจหรือให้บริการเพียงด้านเดียวไม่ครบ วงจร ทำให้สมาชิกต้องติดต่อหลายแห่งไม่คุ้มกับเวลาและค่าใช้จ่ายในการเลือกใช้บริการทำให้ ผู้ใช้บริการหรือสมาชิกสหกรณ์เลือกใช้บริการที่ครบวงจร 3.ปัญหาด้านกฎหมายและอื่นๆ พระราชบัญญัติสหกรณ์ใช้กับสหกรณ์ทุกประเภทในประเทศไทยแบ่งสหกรณ์ออกเป็น 7 ประเภท การใช้กฎหมายฉบับเดียวเพื่อใช้กับสหกรณ์ทั้ง 7 ประเภท เป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความยุ่งยาก เหมือนการตัดเสื้อขนาดเดียวแล้วให้คนทั้งประเทศสวมใส่ ระเบียบที่วางกำหนดไว้โดยนายทะเบียน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 38 ขึ้นหน้าใหม่ สหกรณ์ ในบางโอกาสไม่สามารถยืดหยุ่นได้ กฎหมายสหกรณ์ในบางครั้งเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน ระเบียบปฏิบัติก็ยังไม่เอื้อต่อการดำเนินธุรกิจในสภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของรัฐบาล ในบางครั้งนโยบายที่ถูกกำหนดโดยคณะรัฐบาลชุดใหม่ก็จะมีผลกระทบต่อนโยบายของเดิมและในบาง ช่วงเวลา นโยบายรัฐบาลที่ส่งผ่านโครงการความช่วยเหลือแก่สหกรณ์ ก็ทำให้สหกรณ์นั้นต้องเสีย ผลประโยชน์รายได้ที่จะเข้ามาสู่สหกรณ์เช่นกัน และนอกจากนี้กฎหมาย ระเบียบ บางอย่างกำหนด ขึ้นมาเพราะต้องการแก้ปัญหาของสหกรณ์ออมทรัพย์ แต่กลับส่งผลต่อสหกรณ์การเกษตร เพราะเป็น เรื่องยากที่จะหาผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานสหกรณ์ บางสหกรณ์ใช้เวลาร่วม 10 ปี ใน การพัฒนาบุคลากร การกำหนดเช่นนี้โดยขาดการเตรียมการจึงไม่เป็นผลดีต่อสหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกรที่ตั้งใหม่ยังขาดเงินทุนในการดำเนินงาน ส่วนกลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสม สมาชิกแปลงใหญ่วังน้ำเย็น พบปัญหาเรื่องการบริหารจัดการภายในเกี่ยวกับการให้บริการเรื่องรถ เกี่ยวข้าว การจัดทำสมุดคุมรายการต่างๆ ยังไม่เป็นระบบ ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ควรสร้างความรู้ความเข้าใจในวิธีการดำเนินงานของสหกรณ์ที่จะประสบความสำเร็จได้ต้อง ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทั้ง 4 ส่วน สมาชิกสหกรณ์ต้องมีส่วนร่วม คณะกรรมการสหกรณ์ต้อง มีความรู้ความเข้าใจมีวิสัยทัศน์และนโยบายที่ชัดเจน ฝ่ายจัดการต้องมีความโปร่งใสและมีทักษะการ บริหารการจัดการรวมถึงฝ่ายตรวจสอบกิจการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงตรง ซึ่งทั้งหมดคือ หัวใจของการเจริญก้าวหน้าในสหกรณ์การเกษตร นอกจากนี้เมื่อใดก็ตามที่สหกรณ์การเกษตรสามารถ จัดการความรู้และใช้ข้อมูลสารสนเทศในด้านการจัดการทางธุรกิจ เมื่อนั้นจะทำให้การบริการเป็นไป อย่างครบวงจรตรงต่อความต้องการของสมาชิก และเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันกับภาคเอกชน รวมไปถึงหน่วยงานของรัฐโดยตรงที่ดูแลสหกรณ์ ได้แก่กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ จะต้องมีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่องพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ในวิทยาการสมัยใหม่และ ดูแลสหกรณ์อย่างใกล้ชิดและทั่วถึง ให้ความสำคัญกับการบูรณาการระหว่าง 2 หน่วยงาน จะทำให้ การพัฒนาสหกรณ์มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ปัญหาที่พบเรื่องการบริหารจัดการเครื่องจักร อุปกรณ์รถเกี่ยวข้าว แนะนำให้กลุ่มเกษตรกร มีมติให้คณะกรรมการมอบหมายผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนและกำหนดค่าตอบแทนให้ชัดเจน และกำหนด ระเบียบว่าด้วยการใช้เครื่องจักรกลเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน ⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด เป็นสหกรณ์ระดับอำเภอที่ได้ผ่านการคัดเลือกพัฒนาให้ เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ ตามโครงการ 1 สหกรณ์ 1 อำเภอ สร้างความเข้มแข็งสร้างประโยชน์แก่ เกษตรกรสมาชิกได้อย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และ ดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อขับเคลื่อนให้ สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด ก้าวหน้าต่อไป พร้อมกับสมาชิกของสหกรณ์มีความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นพร้อมทั้งขับเคลื่อนทำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 39 ขึ้นหน้าใหม่ เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน พร้อมทั้งช่วยต่อยอดนโยบายของรัฐบาลในการดูแลและส่งเสริมความรู้ เทคโนโลยีที่ทันสมัยแก่สมาชิกเกษตรกร ผลผลิตหลักของสหกรณ์ได้แก่ ข้าว สหกรณ์มีจำนวนสมาชิก ทั้งหมด 3,505 คน แยกเป็น สมาชิกสามัญ 2,001 คน และ สมาชิกสมทบ 1,364 คน ธุรกิจของ สหกรณ์ได้แก่ 1. ธุรกิจสินเชื่อ มูลค่า 214,098,680.15 บาท 2. ธุรกิจรับฝากเงินมูลค่า 116,692,546.97 บาท 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย มูลค่า 22,788,632.40 บาท นอกจากนี้สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์การเกษตร และได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นศูนย์เรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการสหกรณ์อย่างเป็น ระบบและยั่งยืน สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด มีการสนับสนุนพัฒนากลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ได้แก่ กลุ่มอาชีพผู้ผลิตไผ่หวาน มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมอาชีพ สร้างโอกาส สร้างรายได้ของสมาชิก ซึ่ง ในปีที่ผ่านมาสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์โดยผ่าน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จัดโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบัน เกษตรกร โดยสนับสนุนปัจจัยพื้นฐาน ให้กับกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน ดังนี้1. หม้อต้มส แตนเลส เบอร์ 50 จำนวน 10 ใบ 2. โต๊ะแสตนเลส ขาพับ จำนวน 4 ตัว รวมถึงเงินสนับสนุน เพื่อ การใช้ประโยชน์สำหรับเป็นอุปกรณ์ในขั้นตอนของกระบวนการผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของ กลุ่ม เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์รวมถึงจัดฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจ 2 แผน 1. แผนพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน 2. แผนพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ซึ่งผลสำเร็จที่ได้รับคือ ทางกลุ่มมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ ได้แก่ หน่อไม้หยอง ทำให้เกิดการ สร้างรายได้เพิ่มมากขึ้นให้กับกลุ่มและสมาชิก รวมถึงสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและเพิ่มช่องทางการ จำหน่ายมากขึ้น ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 1,324 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 245 คน 1. สหกรณ์การเกษตรสามโก้จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ณ วันสิ้นปีวันที่ 31 มีนาคม 2562 มีสมาชิกทั้งสิ้น 1,141 คน การดำเนินงานของสหกรณ์เกิดข้อบกพร่องการทุจริตปลอมแปลง ปลอม แปลงสัญญาเงินกู้ ลูกหนี้การค้า และเงินรับฝากพิเศษ แล้วไม่บันทึกบัญชี รวมทั้งสิ้นเบื้องต้นเป็น เงิน 146,761,094.61 บาท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2562 สหกรณ์ได้ดำเนินการประชุมใหญ่ สามัญประจำปีและได้เลือกคณะกรรมการดำเนินการ จำนวน 9 คน ตามข้อบังคับของสหกรณ์เข้ามา บริหารสหกรณ์ ตลอดจนดำเนินการฟื้นฟูการปรับปรุงและพัฒนาสหกรณ์ในการประเมินผลการจัด มาตรฐานสหกรณ์ปี2562 ไม่ผ่านมาตรฐานสหกรณ์ เกรด F 2. สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดเล็กอยู่ในอำเภอสามโก้ ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 ธันวาคม 2561 มีสมาชิกทั้งสิ้น 183 คน ในปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561 สหกรณ์ยังไม่ สามารถปิดบัญชีได้ เนื่องจากรายละเอียดในการตัดแผ่นการ์ดลูกหนี้รายตัวยังไม่เสร็จสมบูรณ์สหกรณ์ ดำเนินธุรกิจด้านสินเชื่อและธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายแก่สมาชิก สหกรณ์มีลูกหนี้ค้างชำระเป็น จำนวนมาก และค้างชำระเป็นเวลานาน สมาชิกขาดความศรัทธาสหกรณ์สังเกตได้จากการประชุม อำเภอ สามโก้
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 40 ขึ้นหน้าใหม่ กลุ่มสมาชิก และการประชุมใหญ่สามัญประจำปีสมาชิกร่วมประชุมน้อย สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ จำนวน 650,000.- บาท สหกรณ์ยังไม่สามารถส่งชำระหนี้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ได้ครบ ตามสัญญาส่งชำระได้เพียงบางส่วน ปัจจุบันยังค้างชำระในการประเมินผลการจัดมาตรฐาน สหกรณ์ ปี 2562 ไม่ผ่านมาตรฐาน เกรด F 3. กลุ่มเกษตรกรในอำเภอสามโก้ จำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรทำนามงคลธรรม นิมิต กลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลราษฎรพัฒนา กลุ่มเกษตรกรทำนาโพธิ์ม่วงพันธ์ กลุ่มเกษตรกรทำ นาอบทม และกลุ่มเกษตรกรทำสวนครัวสุขภาพอ่างทอง กลุ่มเกษตรกรมีธุรกิจจัดหาสินค้ามา จำหน่ายแก่สมาชิกและธุรกิจสินเชื่อในภาพรวม กลุ่มเกษตรกรดำเนินธุรกิจให้บริการสมาชิกเป็น อย่างดีและสมาชิกร่วมดำเนินธุรกิจด้วยดี มีเพียงกลุ่มเกษตรกรทำสวนครัวสุขภาพอ่างทอง มีปัญหา เรื่องการปิดบัญชี ในปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2561 ยังไม่แล้วเสร็จ ⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกส่วนใหญ่อาชีพทำการเกษตร ทำนา ประสบปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากราคาปัจจัยการผลิตมีราคาสูง มีรายได้จากการทำการเกษตรไม่เพียงพอในการดำรงชีพ ทำ ให้เกิดปัญหาหนี้ค้าง และสมาชิกมีหนี้ซ้ำซ้อนหลายทาง จึงทำให้ไม่สามารถส่งหนี้สหกรณ์ได้ สหกรณ์ประสบปัญหาการเกิดข้อบกพร่องภายในสหกรณ์ ข้อบกพร่องทางบัญชี ปลอมแปลง หลักฐานการเป็นหนี้ ปลอมแปลงสัญญาเงินกู้ และหนี้การค้า ตลอดจนการรับฝากโดยไม่ได้นำมา บันทึกบัญชี (เงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษ) สมาชิกขาดศรัทธาต่อสหกรณ์เนื่องจากปัญหาทุจริต/ขาด การติดต่อในด้านข้อมูลข่าวสาร ⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์มีปัญหาข้อบกพร่องควรปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูสหกรณ์ทีได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม ใหญ่ ดังนี้ 1.1 ดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบต่างๆเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เพื่อให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาวะของสหกรณ์ 1.2 ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้ส่ง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าไปแนะนำกำกับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ที่มีปัญหา มี การเข้าร่วมประชุมกลุ่มของสมาชิกเพื่อชี้แจงความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหาและกระตุ้นให้สมาชิกมา ทำธุรกิจกับสหกรณ์ พร้อมติดตามลูกหนี้ค้างชำระเวลานานมาส่งชำระเงิน/จัดทำหนังสือรับสภาพหนี้ ทำให้ในปี 2561 และ 2562 สหกรณ์สามารถจ่ายคืนแก่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและเจ้าหนี้เงินฝาก ออมทรัพย์เป็นจำนวน 4 ครั้ง เป็นเงินประมาณ 7.3 ล้านบาท (เจ็ดล้านสามแสนบาทถ้วน) ซึ่งเป็น การบรรเทาปัญหาความคัดแย้งและความเดือดร้อนของสมาชิกและผู้เกี่ยวข้อง พร้อมสร้างความ มั่นใจแก่สมาชิกว่า สหกรณ์มิได้นิ่งนอนใจ แต่ดำเนินการแก้ไขปัญหาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกตลอด 1.3 ดำเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์เพื่อปฏิบัติงานในสำนักงาน ด้านการบัญชีและ อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 1.4 ดำเนินการเป็นผู้แทนสหกรณ์ขึ้นศาลเพื่อไกล่เกลี่ยกรณีเจ้าหนี้เงินฝากและเจ้าหนี้ เงินกู้ฟ้องดำเนินการคดีกับสหกรณ์เพื่อไปประนีประนอมกับเจ้าหนี้
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 41 ขึ้นหน้าใหม่ 1.5 เชิญเจ้าหนี้เงินฝากและเจ้าหนี้เงินกู้มาประชุมและมาชี้แจงปัญหาที่พบในสหกรณ์ ตลอดจนการเจรจาขอผ่อนผันการถอนเงินฝาก และส่งชำระหนี้เงินกู้และขอชะลอการฟ้องดำเนินคดี ต่างๆ เพื่อให้สหกรณ์มีเวลาปรับปรุงและฟื้นฟู 1.6 ดำเนินการตรวจสอบที่ดินของสหกรณ์สมาชิกที่โอนชำระหนี้ให้กับสหกรณ์ ตรวจสอบสถานะที่ดินกับสำนักงานที่ดินจังหวัดอ่างทอง สำนักงานที่ดินอำเภอสามโก้ว่าปัจจุบันเป็น กรรมสิทธิ์ของใคร 1.7 ประสานงานเจ้าหน้าที่สำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาการเกษตร เพื่อเจรจาตก ลงการซื้อขายหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ 1.8 ดำเนินการจ้างทนายความเพื่อร้องต่อศาลขอให้ปล่อยทรัพย์ กรณีที่เจ้าหน้าที่ ภายนอกฟ้องดำเนินคดีกับสหกรณ์และบังคับคดี อายัดทรัพย์ที่ดินของสหกรณ์ที่สมาชิกโอนชำระหนี้ ให้กับสหกรณ์และทำสัญญาซื้อขายที่ดินคืนจากสหกรณ์ ได้มีเอกสารหลักฐานการส่งชำระเงินค่าซื้อ ที่ดินจนครบสัญญา และบางรายใกล้ครบสัญญา ถ้าเจ้าหนี้อายัดที่ดินซึ่งเป็นชื่อของสหกรณ์ไปจะทำ ให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิกที่ทำสัญญาซื้อขายให้กับสหกรณ์ จึงดำเนินการจ้างทนายความเพื่อขอ ปล่อยทรัพย์ที่ดินดังกล่าว 1.9 ดำเนินการเชิญสมาชิกที่มีหนี้ค้างนานประชุมเพื่อเจรจาเร่งรัดชำระหนี้ทำสัญญา ประนีประนอมส่งชำระเป็นรายเดือนและกำหนดเงื่อนไขและการส่งชำระหนี้ 1.10 ดำเนินการจัดเรียบเรียงเอกสารของสหกรณ์ให้เป็นหมวดหมู่และจัดทำทะเบียนคุม ให้สามารถตรวจสอบและค้นหาได้สะดวกและตรวจสอบพบได้รวดเร็ว 1.11 ดำเนินการตรวจสอบและพิจารณาการไถ่ถอนจำนองที่ดินของสมาชิกที่ชำระหนี้ ครบตามสัญญาและไม่มีภาระติดตั้งค้ำประกันกับสหกรณ์ 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรทีดำเนินงานตามปกติแนะนำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดประชุม กลุ่มสมาชิกเพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสารและการดำเนินธุรกิจมีการสำรวจความต้องการปัจจัยการผลิต และจัดหามาบริการแก่สมาชิก ติดตามการส่งชำระหนี้ให้สมาชิกส่งตามกำหนด พร้อมแนะนำให้เห็น ความสำคัญของการรวมตัวเป็นสถานบันเกษตรกรที่ได้รับการช่วยเหลือจากทางราชการในกรณีที่ ได้รับความเดือนร้อนจากการประกอบอาชีพ ในขณะเดียวกันต้องเน้นให้สมาชิกช่วยเหลือตนเองและ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการ วิธีการสหกรณ์ ประกอบด้วย สหกรณ์ …2…. แห่ง สมาชิก …857.. คน กลุ่มเกษตรกร …8… แห่งสมาชิก …372.. คน ⚫ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ในเขต อำเภอไชโยที่ผ่านมาส่งผลให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การดำเนินงานเน้นเพื่อประโยชน์ แก่บรรดาสมาชิกโดยให้ความช่วยเหลือเพื่อให้สมาชิกมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ตามวัตถุประสงค์ อำเภอ ไชโย
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 42 ขึ้นหน้าใหม่ ของการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สำหรับกลุ่มเกษตรกรในเขตอำเภอไชโยส่วนใหญ่มีเงินทุนไม่ เพียงพอ จึงต้องอาศัยเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเพื่อนำมาใช้สำหรับหมุนเวียนในการดำเนิน ธุรกิจ ปัจจุบันกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็งขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งเกิดจากผลกำไรจากการดำเนินธุรกิจและการ ระดมหุ้นจากสมาชิก และคาดหวังว่าในอนาคตกลุ่มเกษตรกรจะเข้มแข็งขึ้นจนสามารถใช้ทุน หมุนเวียนของตนเองในการดำเนินธุรกิจเพื่อสนองความต้องการของสมาชิกได้อย่างเพียงพอโดยไม่ ต้องพึ่งพาเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก ⚫ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ ไม่เข้าใจถึง สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก จึงทำให้ไม่ให้ความสำคัญและไม่ได้ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของกิจการ ไม่ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการ ขาดความมีส่วนร่วมโดย ไม่ให้ความสำคัญกับการประชุมจึงทำให้ไม่ค่อยทราบความเคลื่อนไหวขององค์กร กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่กรรมการจะละเลยการมีส่วนร่วมในการบริหารงานกลุ่มเกษตร จะ ปล่อยให้ประธานกรรมการเป็นผู้มีอำนาจตัดสินใจบริหารงานเพียงลำพัง ⚫ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์เพื่อให้ทราบ ถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเองในฐานะสมาชิกผู้ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการ ⚫สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุ่มเกษตรกร ทำนาไชยภูมิ ผลงำน/ควำมสำเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรทำนาไชยภูมิดำเนินธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ปัจจุบันทุน ภายในของกลุ่มเกษตรกรยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกจึงต้องกู้เงินบางส่วนจากกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร ซึ่งในขณะเดียวกันก็ระดมหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิก ซึ่งในปีบัญชี 2561 กลุ่มมีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น 1,689,662.30 บาท ณ ปีบัญชี 2562 กลุ่มมีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น 2,036,400.58 บาท ทุนดำเนินงานเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 20.52 ซึ่งกลุ่มเข้มแข็งและ เติบโตขึ้นตามลำดับ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 43 ขึ้นหน้าใหม่ ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ◼ การจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. การดำเนินการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ร่วมประชุมเกษตรกรผู้ซึ่งประสงค์จะจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร และเลือกคณะผู้ก่อการ 1.2 ร่วมประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อรับทราบชื่อกลุ่มเกษตรกร การกำหนด วัตถุประสงค์ของกลุ่มเกษตรกร และพิจารณาร่างข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร เพื่อกำหนดให้เป็น ข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร 1.3 ตรวจสอบเอกสารประกอบของคณะผู้ก่อการที่ยื่นคำขอจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร ต่อนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัด 1.4 จัดส่งเอกสารการขอจดทะเบียนกลุ่มเกษตรกรให้นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำ จังหวัด เพื่อพิจารณารับจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร 1.5 แจ้งรับจดทะเบียนกลุ่มเกษตรกรให้กับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.6 เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญครั้งแรกของกลุ่มเกษตรกร 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินการจัดตั้งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2.1 กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มะม่วง ต.บ้านพราน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง จัดตั้งเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2562 2.2 กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่ไม้มงคล ต.แสวงหา อ.แสวงหา จ.อ่างทอง จัดตั้งเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2562 งาน/โครงการตามภารกิจ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 44 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ การชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. การดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๑.๑ จัดทําแผนปฏิบัติงานการชําระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตรกร ๑.๒ ประชุมชี้แจงและซักซอมความเขาใจในขั้นตอนการชําระบัญชีสหกรณ/กลุมเกษตรกร ๑.๓ ประชุมติดตามความกาวหนาในการชําระบัญชีของสหกรณ/กลุมเกษตรกร 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการชำระบัญชี ณ วันที่ 1 ต.ค. 2561 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 1. สหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทา อ่างทอง จำกัด อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/ นทส. ดำเนินการจัดการทรัพย์สิน และหนี้สิน 2. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ แสวงหา ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและ ผู้ชำระบัญชี ดำเนินการจัดการทรัพย์สิน และหนี้สิน ◼ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายปรับโครงสร้างการผลิต ภาคการเกษตรโดยกลไกสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : เพื่อพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอให้มีความพร้อมในการขับเคลื่อนนโยบาย ปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตร และพัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลางรับซื้อผลผลิตในชุมชน 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) ดำเนินการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์การเกษตร โพธิ์ทอง จำกัด ประกอบด้วยคณะกรรมการดำเนินการ ฝ่ายจัดการ ผู้นำสมาชิก ผู้ตรวจสอบกิจการ รวมทั้งสิ้น 50 คน กิจกรรมที่ดำเนินการ/ขั้นตอน ประกอบด้วย 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ประสานงาน ชี้แจง สหกรณ์เป้าหมายในการดำเนินการ และจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์การดำเนินงานของสหกรณ์ 2. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดร่วมกับสหกรณ์ประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อ ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการดำเนินงานปัจจุบัน สภาพปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อจำกัด จัดทำ ฐานข้อมูลสมาชิก รวมถึงปัญหาอุปสรรคของแต่ละสหกรณ์ เพื่อนำไปตั้งประเด็นนำเสนอในการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ร่วมกับคณะกรรมการ/ฝ่ายจัดการ/ผู้นำกลุ่มสมาชิก/ ร่วมกับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง และ สหกรณ์ร้านค้าสิงห์บุรี จำกัด เพื่อนำเสนอผลการ วิเคราะห์การดำเนินงานสหกรณ์ และร่วมจัดทำแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 45 ขึ้นหน้าใหม่ 2) ดำเนินการเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตร โพธิ์ทอง จำกัด ประกอบด้วยคณะกรรมการดำเนินการ ฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบกิจการและผู้นำ สมาชิกรวมทั้งสิ้น 50 คน ร่วมด้วยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง กิจกรรมที่ดำเนินการ/ขั้นตอน ประกอบด้วย 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ประสานงาน ชี้แจง สหกรณ์เป้าหมายในการดำเนินการ และจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์การดำเนินงานของสหกรณ์ 2. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดร่วมกับสหกรณ์ประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อ ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการดำเนินงานปัจจุบัน สภาพปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อจำกัด จัดทำ ฐานข้อมูลสมาชิก รวมถึงปัญหาอุปสรรคของแต่ละสหกรณ์ เพื่อนำไปตั้งประเด็นนำเสนอในการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ร่วมกับคณะกรรมการ/ฝ่ายจัดการ/ผู้นำกลุ่มสมาชิก/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ ธ.ก.ส จังหวัดอ่างทอง สำนักงานพาณิชย์จังหวัดอ่างทอง และสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เพื่อนำเสนอผลการวิเคราะห์การดำเนินงานและนำเสนอผลการวิเคราะห์ สถานการณ์ภาคเกษตรในพื้นที่ และจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของ สหกรณ์ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอเพื่อให้สามารถตอบสนองความ ต้องการของสมาชิกและชุมชน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัดมีแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ที่สอดคล้องกับ นโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร ทั้ง 4 แผน คือ แผนพัฒนาความสามารถในการให้บริการสมาชิก แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดองค์กร และ แผนพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารงาน 2) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง มีแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์เพื่อ เสริมสร้างศักยภาพของ สหกรณ์ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด มีแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ที่สอดคล้องกับ นโยบายปรับโครงสร้างเกษตร 2) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด มีแผนธุรกิจสหกรณ์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของ สหกรณ์ตามแนวทางพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอ 3) กรมส่งเสริมสหกรณ์มีแนวทางการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอที่ สอดคล้องกับนโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 46 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 47 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการสนับสนุนการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่ศพก. 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1. ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมพัฒนาอาชีพของเกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่ ศพก. 2. เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับพัฒนาอาชีพเพิ่มรายได้/ลดรายจ่าย 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมกลุ่มจากปี 2560 และ ปี 2561 จำนวน 3 ศพก. 2) กำหนดหลักสูตรการอบรมและทีมวิทยากร โดยจัดทำหลักสูตรการอบรมให้สอดคล้องกับ ประเด็นการพัฒนาและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ศพก. ดังนี้ -ศพก.ตำบลเทวราช หลักสูตรการขยายพันธุ์พืชและเพาะกล้า และการทำน้ำยาล้างจาน จากสมุนไพร -ศพก.ตำบลโพธิ์รังนก หลักสูตรการจัดทำฮอร์โมนพืช และการทำยาหม่องกันยุงสมุนไพร - ศพก.ตำบลบางเสด็จ หลักสูตรการผสมปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และการทำน้ำยา อเนกประสงค์ 3) ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอในเขตพื้นที่ ศพก. เข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบัติการฯ พร้อมเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง รวมจำนวน 39 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้และประสบการณ์เพื่อต่อยอดความรู้ด้านการเกษตร และความรู้ด้านการฝึกอาชีพเสริมที่ได้รับไปพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้/ลดรายจ่าย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่มี- ณ ศพก. ตำบลเทวราช อำเภอไชโย วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 48 ขึ้นหน้าใหม่ ณ ศพก. ตำบลโพธิ์รังนก อำเภอโพธิ์ทอง วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศพก. ตำบลโพธิ์รังนก อำเภอโพธิ์ทอง วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 ◼ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1) เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งแก่สถาบันเกษตรกร 2) เพื่อเสริมสร้างสหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอำเภอให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 3) เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) ประสาน ชี้แจง สหกรณ์เป้าหมายในการดำเนินงาน ได้แก่ สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลักระดับ อำเภอของจังหวัดอ่างทอง จำนวน 6 แห่ง โดยมีเป้าหมายแห่งละ 20 ราย ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด สหกรณ์ การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด และ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด 2) ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับสหกรณ์เป้าหมายเพื่อนำแผนการพัฒนา ความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ที่จัดทำขึ้นเมื่อครั้งที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ระหว่างวันที่ 17 - 20 กันยายน 2561 (สำหรับ 5 สหกรณ์) และวันที่ 24 – 25 ตุลาคม 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 49 ขึ้นหน้าใหม่ (สำหรับสหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด) เข้าสู่การปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของสหกรณ์ ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอ ได้แก่ การกำหนดเป้าหมาย การกำหนด ระยะเวลาในการดำเนินการ และการกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการตามแผนฯ 3) ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์หลักระดับอำเภอขับเคลื่อนขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ 4 แผน คือ - แผนพัฒนาความสามารถในการให้บริการสมาชิก - แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ - แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดองค์กร - แผนพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารงาน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์หลักระดับอำเภอได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง 2) สหกรณ์ระดับอำเภอเป็นศูนย์กลางการรวบรวมและแปรรูปสินค้าเกษตรในชุมชน 3) สหกรณ์เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน รวมทั้งขับเคลื่อน นโยบายภาครัฐสู่ชุมชน 4) สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไปมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตร 4. ปัญหา/อุปสรรค ชัดเจน และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ (พร้อมคำอธิบายประกอบไว้ ด้านล่างของภาพ) สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอในจังหวัดอ่างทอง มีเพียงสหกรณ์ 1 แห่ง คือสหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด ที่มีธุรกิจรวบรวม (ข้าว) แต่ไม่มีธุรกิจแปรรูป ทำให้ การเป็นศูนย์กลางในการช่วยเหลือสมาชิกในการรวบรวมผลผลิตยังไม่ครอบคลุมทั้งจังหวัด เนื่องจาก สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอแห่งอื่นยังขาดศักยภาพและ ความพร้อมเรื่อง สถานที่และอุปกรณ์การตลาดในการทำธุรกิจรวบรวมผลผลิต ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 50 ขึ้นหน้าใหม่ ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด