รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 51 ขึ้นหน้าใหม่ ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ณ สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด ◼ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ภาคการเกษตรสู่องค์กรหลักระดับอำเภอ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1) เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งแก่สถาบันเกษตรกร 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารสหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ ผู้นำกลุ่มสมาชิก และสมาชิกสหกรณ์ ให้มีความรู้ ความสามารถ สมรรถนะและทัศนคติพร้อมรองรับภารกิจ การเปลี่ยนแปลงในองค์กร สามารถบูรณาการการดำเนินการที่เกี่ยวข้องในภาพรวม 3) เพื่อเสริมสร้างสหกรณ์ภาคการเกษตรทั้ง 6 แห่ง ให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมในระดับอำเภอ 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) ประสานสหกรณ์เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลักระดับอำเภอ จำนวน 6 แห่ง ที่ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก เข้าอบรม วันที่อบรม 1 สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด 50 คน 10-11 มิถุนายน 2562 2 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด 130 คน 12-13 มิถุนายน 2562 3 สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด 50 คน 17-18 มิถุนายน 2562 4 สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด 100 คน 19-20 มิถุนายน 2562 5 สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์และอ่างทอง จำกัด 50 คน 24-25 มิถุนายน 2562 6 สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด 50 คน 26-27 มิถุนายน 2562 2) ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ภาคการเกษตรสู่องค์กรหลัก ระดับอำเภอ ประกอบด้วย 3 หลักสูตร ดังนี้ 1) หลักสูตรอบรมเพิ่มศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ประกอบด้วย
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 52 ขึ้นหน้าใหม่ 1) การสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ผู้เข้าอบรมจะฝึกการแบ่งหน้าที่และ มอบหมายงานว่าใครจะเป็นคนอ่านคำสั่งใบงาน ใครจะเป็นคนวาดลงในกระดาษ ฝึกการวางแผนงาน ร่วมกันว่าควรที่จะซ้อมวาดลงในกระดาษอื่นก่อนที่จะวาดลงในกระดาษที่ใช้ส่งงาน วางแผนการอ่าน ซ้ำย้ำความถูกต้อง ฝึกการวิเคราะห์งานร่วมกันจากคำสั่งในใบงานที่ได้รับ และการกำหนดเป้าหมาย ร่วมกันว่าในคำสั่งน่าจะเป็นรูปสัตว์อะไร เพื่อนำไปใช้ในการทำงานร่วมกันต่อไปว่าในการร่วมมือกัน ทำงานทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการช่วยกันคิดช่วยกันวิเคราะห์ช่วยกันตัดสินใจการมีส่วนร่วมใน การวางแผนงาน การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และการมีเป้าหมายในงานร่วมกัน เพื่อความสำเร็จของงานที่ทำ ๒) การเพิ่มศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ พัฒนาเจ้าหน้าที่สหกรณ์ - ต้องสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ถูกต้อง - ต้องสร้างให้บุคลากรมีความรัก ความสามัคคี - สร้างจิตสำนึกในการบริการที่เป็นเลิศ - ต้องรู้จักการทำงานเป็นทีม ให้ผู้เข้าร่วมอบรมแบ่งออกเป็น 6 ทีม จากกิจกรรมนี้ทุกทีมทำงานเป็นทีมด้วยกัน อย่างมีความสุข มีภาวะผู้นำ ภาวะผู้ตาม รู้และเข้าใจบทบาท หน้าที่ ของตนเอง และพยายามความ รับผิดชอบข้อความข่าวสารที่ได้รับ เช่นเดียวกันกับงานทุกงาน ข่าวสารทุกข่าวสารที่ผู้นำหรือประธาน กลุ่มได้รับจากหน่วยงานไป เพื่อบอกต่อและเล่าสู่สมาชิกให้ทราบ ผู้นำหรือประธานกลุ่มจะต้องทำ ความเข้าใจข่าวสารนั้นเป็นอย่างดี รอบคอบ และมีวิธีการถ่ายทอดที่ดีที่เหมาะสมก่อนถ่ายทอดสู่ สมาชิกในกลุ่มให้ทราบ 2) หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจด้านสินเชื่อ ธุรกิจด้านการจัดหา สินค้ามาจำหน่าย และการบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ ให้ผู้เข้าร่วมอบรมแบ่งออกเป็น 6 ทีม กิจกรรม ระดมความคิด แลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาด้านสินเชื่อสหกรณ์ที่ ประสบอยู่ วิเคราะห์ปัญหาการบริหารหนี้ค้างชำระ วิเคราะห์ปัญหาการทำการเกษตรของแต่ละกลุ่ม เกษตรกรเพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข นำไปสู่การพัฒนาแนะนำส่งเสริมการดำเนินธุรกิจสินเชื่อ เพื่อ การบริหารสินเชื่ออย่างเป็นระบบ 3) แนวทางที่คาดว่าจะดำเนินการต่อ ๑) การวางแผนธุรกิจสินเชื่ออย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม สามารถนำไปปฏิบัติได้ ๒) การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการบริหารจัดการหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ ๓) การกำหนดชั้นลูกหนี้และการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาลูกหนี้ เงินกู้ที่ผิดนัดชำระหนี้ ๔) การวางแผนจัดหาสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคและรวบรวมผลิตผลผลิตภัณฑ์มา จำหน่ายแก่สมาชิก ๕) การอบรมปฏิบัติการวางแผนการผลิต แผนการตลาด และแผนการเงินการบัญชี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 53 ขึ้นหน้าใหม่ 4) รายงานผลการดำเนินโครงการ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอำเภอ จำนวน 6 แห่ง ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาความเข้มแข็ง 1) การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกธุรกิจมากกว่าร้อยละ 60 2) สหกรณ์ได้รับการพัฒนาชั้นคุณภาพของการควบคุมภายในของกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ อยู่ในระดับดี 3) ร้อยละของสมาชิกที่กู้เงินสามารถชำระหนี้ได้ร้อยละ 60 4) สหกรณ์ไม่เกิดข้อบกพร่องทั้ง 6 แห่ง 5) สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีบัญชีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอำเภอทั้ง 6 แห่ง ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง 2) สหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอำเภอทั้ง 6 แห่ง เป็นองค์หลักในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมในชุมชน รวมทั้งขับเคลื่อนนโยบายจากภาครัฐสู่ชุมชน 3) สมาชิกสหกรณ์มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพเกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข สมาชิกสหกรณ์ต้องการให้หน่วยงานจัดหาบุคคลากรที่มีความรู้มาช่วยในการวางแผน ปฏิบัติการด้านการบริหารงานสหกรณ์อย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การวางแผนผลิต การวางแผนการตลาด และการวางแผนทางการเงิน วันที่ 10 – 11 มิถุนายน 2562 ณ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 54 ขึ้นหน้าใหม่ วันที่ 12 – 13 มิถุนายน 2562 ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด วันที่ 17 – 18 มิถุนายน 2562 ณ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด วันที่ 24 – 25 มิถุนายน 2562 ณ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด วันที่ 26 – 27 มิถุนายน 2562 สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 55 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร (ระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1) เพื่อให้กลุ่มเกษตรมีความเข้มแข็ง เป็นองค์กรที่มีส่วนในการขับเคลื่อนการพัฒนาสถาบัน เกษตรกร 2) เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร 3) เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีแนวทางในการพัฒนากลุ่มให้ผ่านมาตรฐานและมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) ประสานเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด จำนวน 1 ราย คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร (ระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด) คณะกรรมการ ดำเนินการและสมาชิกกลุ่มเกษตร จำนวน 46 ราย พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่โครงการ จำนวน 3 ราย รวมทั้งสิ้น 50 ราย เพื่อเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนแผนการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 ครั้ง ในวันที่ 29 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โดย นายนาราศิวดล สาทอง ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริม 3 อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นวิทยากรให้ความรู้ในหัวข้อ 1) การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร 2) หลักธรรมมาภิบาลกับการดำเนินธุรกิจกลุ่มเกษตรกร 3) การสร้างเครือข่ายและการเชื่อโยงการตลาดองค์กรหลัดระดับอำเภอ 4) การส่งเสริมพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน 3) รายงานสรุปผลการประชุมเสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์ รายงานปัญหาในการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร 1) สมาชิกไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการมาประชุมเนื่องจากขาดการมีส่วนร่วม อายุมาก เดินทางลำบาก 2) การส่งเงินกู้ล่าช้าเนื่องจากราคาสินค้าเกษตรกรไม่ดี ต้นทุนการผลิตสูง 3) สมาชิกกลุ่มเกษตรไม่ค่อยได้รับข่าวสารนโยบายของรัฐบาล ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1) ให้ความรู้เรื่องความสำคัญในการมีส่วนร่วมและสมาชิกที่มีอายุมากให้มีทายาทเข้ามาเป็น สมาชิกแทน 2) ให้ความรู้การทำเกษตรเพื่อลดต้นทุน ทำสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ มีมาตรฐาน ทำให้ขาย ได้ราคาดี 3) ทำกรุ๊ปเครือข่าย Social เพื่อแจ้งข่าวสารและให้ผู้นำกลุ่มฯ ช่วยเป็นผู้แจ้งข่าวสารในกรณี ที่สมาชิกไม่มีกรุ๊ปเครือข่าย Social
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 56 ขึ้นหน้าใหม่ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร (ระดับ อำเภอ/ระดับจังหวัด) คณะกรรมการดำเนินการและสมาชิกกลุ่มเกษตร พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่โครงการ รวมทั้งสิ้น 50 ราย เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนแผนการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 3) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง เป็นองค์การที่มีส่วนในการขับเคลื่อนงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2) สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีความเป็นอยู่ดีขึ้น 3) กลุ่มเกษตรมีแนวทางในการพัฒนากลุ่มให้ผ่านมาตรฐานและมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี–
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 57 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1) เพื่อให้เกษตรกรสมาชิกของสถาบันเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ไปใช้เพื่อลด ต้นทุนการผลิต และเพิ่มรายได้ 2) เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ให้เกษตรกรสมาชิกของสถาบัน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ นำความรู้ไปใช้เพื่อจัดทำแผนประกอบอาชีพ และจัดทำแผนการเพิ่ม รายได้ภายในครัวเรือน และพัฒนาเกษตรกรสู่เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1) คัดเลือกสหกรณ์ภาคการเกษตร/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาเยาวชนที่มี อาชีพเกษตรกรรม หรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เป็นคนรุ่นใหม่ อยู่ในวัยทำงานมีความพร้อม สามารถที่จะพัฒนาเป็น Smart Farmer ได้จำนวน 60 ราย ที่มีรายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท โดยเป้าหมายเพื่อคัดเลือกสมาชิกเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ๑) สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด จำนวน 10 ราย ๒) สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด จำนวน 9 ราย ๓) สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด จำนวน 11 ราย 4) สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด จำนวน 10 ราย 5) สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด จำนวน 10 ราย 6) สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด จำนวน 10 ราย 2) จัดทำข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินศักยภาพ รายได้ รายจ่าย และความต้องการความรู้ด้าน การประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มทักษะอาชีพของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3) ให้ความรู้ด้านการสหกรณ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถนำไปปฏิบัติ ทางการเกษตรหรือต่อยอดการประกอบอาชีพที่เหมาะสมสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย หัวข้อ “ระบบการ จัดการธาตุอาหารพืชสมัยใหม่”และ“เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชผสมผสาน” ในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2562 ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด 4) คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการที่มีคุณสมบัตรพื้นฐานของ Smart Farmer จำนวน 5 ราย เข้ารับการฝึกอบรม/ร่วมกิจกรรมเพื่อปรับกระบวนความคิด หัวข้อ “ปรับแนวคิดเพื่อก้าวเข้าสู่ การเป็น Smart Member” ในวันที่ 25-27 มิถุนายน 2562 ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี การสหกรณ์ที่ 13 จังหวัดชัยนาท 5) สมาชิกผู้ผ่านการอบรมปรับแนวคิดเพื่อก้าวสู่เป็น Smart Farmer จำนวน 5 ราย มีแผนพัฒนาอาชีพตนเองคนละ 1 แผน 6) ผู้ผ่านการฝึกอบรมปรับแนวคิดจำนวน 5 ราย สร้างเครือข่ายอาชีพขยายผลไปสู่เกษตรกร รายอื่น ๆ รายละ 5 คน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 58 ขึ้นหน้าใหม่ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) ประเมินคุณสมบัติsmart Farmer - Existing Smart Farmer จำนวน 46 ราย - Developing Smart Farmer จำนวน 14 ราย 2) ผู้เข้าร่วมโครงการฯ Smart Farmer ผ่านคุณสมบัติพื้นฐานครบทั้ง ๖ ข้อ จำนวน46 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.66 ของผู้เข้ารับการอบรม 3) ผู้ที่มีคุณสมบัติของ Smart Farmer เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อปรับกระบวนความคิด ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 13 จังหวัดชัยนาท จำนวน 5 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกกลุ่มเป้าหมายมีรายได้และมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2) สมาชิกบริหารจัดการ/แก้ปัญหา/พัฒนาอาชีพตนเองได้ 3) สมาชิกสามารถให้คำแนะนำ/ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรรายอื่น ๆ ได้ 4) แปลง/ฟาร์มของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย เป็นแหล่งเรียนรู้ให้สมาชิก/เกษตรกรรายอื่น ๆ 5) สมาชิกได้รับการยกระดับเป็น Smart Farmer และ Smart Farmer ต้นแบบ 6) เกิดเกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ตามเป้าหมายของโครงการต้องการเน้นเยาวชน/ทายาทของสมาชิกสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร อายุไม่เกิน 45 ปี มีความพร้อมพัฒนาสู่การเป็น Smart Farmer แต่พบว่าปัจจุบันทายาทของสมาชิก ส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ทำงานด้านอุตสาหกรรมทำให้เป้าหมาย ในการอบรมครั้งนี้มีผู้ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณสมบัติของ Smart Farmer ทั้ง 6 ข้อ ในส่วนของ Young Smart Farmer มีเพียง 5 ราย จากจำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.87 ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน คุณสมบัติทั้ง 6 ข้อ แนวทางแก้ไข พัฒนาต่อยอดสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีความพร้อมให้สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปต่อยอดให้กับทายาทสมาชิก
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 59 ขึ้นหน้าใหม่ โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ถ่ายทอดความรู้โดย ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด การอบรมให้ความรู้“ปรับแนวคิดเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น Smart Member” วันที่ 25-27 มิถุนายน 2562 ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 13 จังหวัดชัยนาท รูปภาพประกอบโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่การเป็น Smart Farmer ณ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 13 จังหวัดชัยนาท คัดจากผู้แทนจำนวน 5 ราย เพื่อต่อยอดปรับแนวคิด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 60 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาดสินค้าสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการผลิตและการตลาดสินค้าคุณภาพแก่ขบวนการสหกรณ์ เป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด 2. สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน แนะนำ ส่งเสริมพัฒนาการดำเนินธุรกิจศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ 2. แนะนำ ส่งเสริม การดำเนินธุรกิจ การให้บริการ การสร้างเครือข่ายการผลิตและ การตลาดสินค้าสหกรณ์ 3. สรุปและรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ปริมาณธุรกิจ - สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด ปริมาณธุรกิจ ปี 2561 : 1,208,703 บาท ปริมาณธุรกิจ ปี 2562 : 2,220,550 บาท * ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 83.71 - สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จำกัด ปริมาณธุรกิจ ปี 2561 : 8,182,521.76 บาท ปริมาณธุรกิจ ปี 2562 : 8,370,365.44 บาท * ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.30 2. ยอดจำหน่ายสินค้าของศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ - สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด ยอดจำหน่ายสินค้า ปี 2561 จำนวน 12,706,590.00 บาท ยอดจำหน่ายสินค้า ปี 2562 จำนวน 17,497,165.55 บาท * ยอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 39.35
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 61 ขึ้นหน้าใหม่ - สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จำกัด ยอดจำหน่ายสินค้า ปี 2561 จำนวน 914,355.10 บาท ยอดจำหน่ายสินค้า ปี 2562 จำนวน 827,550.37 บาท * ยอดจำหน่ายลดลงร้อยละ 10 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างศูนย์กระจายสินค้าระดับจังหวัดกับศูนย์กระจายสินค้า ระดับภาค 2. บุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์และสหกรณ์มีองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพการผลิต สินค้า เพื่อให้ได้มาตรฐาน สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการศูนย์กระจายสินค้า
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 62 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ปี 2562 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผู้นำกลุ่ม ให้มีความสามารถด้านการดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรเพิ่มปริมาณธุรกิจ โดยเน้นการมีส่วนร่วมการทำธุรกิจ เป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. กลุ่มเกษตรกรทำนาไชยภูมิ 2. กลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลบางเสด็จ 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 2.1 คัดเลือก แนะนำส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ และติดตามการดำเนินงาน 2.2 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนพัฒนาของกลุ่มเกษตรกร โดยพิจารณาจาก SWOT ความต้องการของสมาชิก ตามสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา 2.3 ประสานหน่วยงานในพื้นที่และเครือข่ายธุรกิจ จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ดังนี้ - ครั้งที่ 1 สร้างความเข้มแข็งการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร - ครั้งที่ 2 ขับเคลื่อนแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร และสร้างการมีส่วนร่วม ของสมาชิก (ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายเดิม ในปี 2561) - ครั้งที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาและเชื่อมโยงธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร (กลุ่มเกษตรกรที่มี ศักยภาพการดำเนินงาน กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายใหม่ ปี 2562) 2.4 ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ โดยจัดอบรมหลักสูตรให้กับกลุ่มเป้าหมายดังนี้ 2.4.1 การพัฒนาการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 2.4.2 การพัฒนาด้านการผลิต การตลาดของกลุ่มเกษตรกร 2.4.3 การดำเนินธุรกิจ และการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิก 2.4.4 การสร้างเครือข่ายและการเชื่อมโยงธุรกิจ 2.5 ติดตามผลและรายงานผลการดำเนินโครงการให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรทำนาไชยภูมิ ปริมาณธุรกิจ ปี 2561 : 1,550,680.89 บาท
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 63 ขึ้นหน้าใหม่ ปริมาณธุรกิจ ปี 2562 : 2,034,703.25 บาท * ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.21 2. ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลบางเสด็จ ลดลง ปริมาณธุรกิจ ปี 2561 : 664,077 บาท ปริมาณธุรกิจ ปี 2562 : 257,149.89 บาท * ปริมาณธุรกิจลดลงร้อยละ 61.27 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเกษตรกรสามารถสร้างความเข้มแข็งการดำเนินธุรกิจ ตามแผนพัฒนาธุรกิจ/กิจกรรม ของกลุ่มเกษตรกร ทำให้สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มเกษตรกร และตระหนักในบทบาทหน้าที่ และความเป็นเจ้าของกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเกษตรกรสามารถเพิ่มปริมาณธุรกิจ สมาชิกให้ความร่วมมือการทำธุรกิจมากขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาของกลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลบางเสด็จ คือ คณะกรรมการบริหารงาน/เจ้าหน้าที่มี น้อย และกลุ่มยังมีค่าเสื่อมที่เกิดจากอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ์สมาชิกไม่ร่วมธุรกิจ แนวทางการแก้ไข จัดทำแผนอบรมคณะกรรมการ เรื่อง การบริหารจัดการกลุ่ม และการ บริหารธุรกิจ แผนจัดหาสินค้ามาจำหน่าย และแผนรับบริการ เพื่อให้คณะกรรมการบริหารงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสมาชิกร่วมทำธุรกิจกับกลุ่ม 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพกิจกรรมจัดประชุมสร้างความเข้มแข็งการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ครั้งที่ 1 ภาพกิจกรรมจัดประชุมขับเคลื่อนแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร และสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิก ครั้งที่ 2
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 64 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมจัดประชุมการจัดทำแผนพัฒนาและเชื่อมโยงธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ครั้งที่ 3 ◼ โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2562 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ โดยการเชื่อมโยงตลาดร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ 2. เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจำหน่าย และการบริหารจัดการร่วมกัน เป้าหมาย จำนวน 19 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1.แปลงใหญ่ปี 2559 จำนวน 4 แปลง ประกอบด้วย -แปลงใหญ่ข้าว ต.วังน้ำเย็น -แปลงใหญ่ข้าว ต.เทวราช -แปลงใหญ่ข้าว ต.ศาลาแดง -แปลงใหญ่มะม่วง ต.มงคลธรรมนิมิตร 2.แปลงใหญ่ปี 2560 จำนวน 6 แปลง -แปลงใหญ่ข้าว ต.คำหยาด -แปลงใหญ่ข้าว ต.ยางช้าย -แปลงใหญ่ข้าว ต.รำมะสัก -แปลงใหญ่กล้วย ต.บ้านแห -แปลงใหญ่กล้วย ต.รำมะสัก -แปลงใหญ่ผัก ต.หลักแก้ว
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 65 ขึ้นหน้าใหม่ 3. แปลงใหญ่ปี 2561 จำนวน 9 แปลง -แปลงใหญ่ปลาช่อน ต.ห้วยคันแหลน -แปลงใหญ่ปลานิล ต.คลองขนาก -แปลงใหญ่แพะ ต.คำหยาด -แปลงใหญ่กล้วย ต.แสวงหา -แปลงใหญ่มะม่วง ต.บ้านพราน -แปลงใหญ่ผัก/สมุนไพร ต.สีบัวทอง -แปลงใหญ่อ้อยโรงงาน ต.สีบัวทอง -แปลงใหญ่กล้วย ต.บางเสด็จ -แปลงใหญ่ไม้ดอกไม้ประดับ ต.แสวงหา 2. ผลการดำเนินงาน : 2.1 ประสานงาน แนะนำ ส่งเสริมการบริหารจัดการด้านการรวมกลุ่มในพื้นที่แปลงใหญ่ 2.2 จัดประชุมทบทวนแผนการตลาด/การซื้อขาย และการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ ปี 59 2.3 จัดประชุมทบทวนแผนการตลาด/การซื้อขาย และการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ ปี 60 2.4 จัดประชุมถ่ายทอดความรู้การจัดทำแผนการตลาด/การซื้อขายและการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ปี 61 2.5 ติดตาม แก้ไขปัญหา ประมวลผลข้อมูลของแผนการตลาดที่เข้าร่วมดำเนินการกับ สหกรณ์/เอกชน โดยแยกเป็นรายแปลง 2.6 รายงานผลการดำเนินงานตามขั้นตอน ตามที่กรมฯ กำหนด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. แปลงใหญ่มีการบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์ 2. สินค้าเกษตรจากพื้นที่แปลงใหญ่มีตลาดรองรับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 3. สหกรณ์มีบทบาททางการตลาดให้กับแปลงใหญ่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายในการจำหน่ายผลผลิตและมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. เกิดการรวมกลุ่มการผลิต การจำหน่าย การบริหารจัดการกลุ่มโดยวิธีการสหกรณ์ 3. เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตลดลง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 66 ขึ้นหน้าใหม่ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1. แปลงใหญ่บางแปลงยังไม่มีตลาดที่แน่นอน 2. ราคาผลผลิตตกต่ำ 3. ภัยธรรมชาติ ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การช่วยเหลือ 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพกิจกรรมจัดประชุมทบทวนแผนการตลาด/การซื้อขาย และการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ ปี 59 ภาพกิจกรรมจัดประชุมทบทวนแผนการตลาด/การซื้อขาย และการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ ปี 60
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 67 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมจัดประชุมถ่ายทอดความรู้การจัดทำแผนการตลาด/การซื้อขายและการเชื่อมโยงตลาด แปลงใหญ่ปี 61 ◼ โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2561/62 ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับระบบสหกรณ์ในการรวบรวม รับซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป้าหมาย จำนวน 2 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. อ่างทอง จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน : 2.1 คัดเลือกสหกรณ์ที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ 2.2 ชี้แจงโครงการและหลักเกณฑ์ให้สหกรณ์ทราบถึงแนวทางปฏิบัติ 2.3 ติดตาม แนะนำ ส่งเสริม ตามโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดย สถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2561/62 ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2.4 รายงานเข้าระบบรายงานแผนและผลการรวบรวมข้าวเปลือกของสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร ปีการผลิต 2561/62 ทุกวันจันทร์ 2.5 สรุปและรายงานผลให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 68 ขึ้นหน้าใหม่ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผลการรวบรวมข้าวเปลือกปีการผลิต 2561/62 1. สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด จำนวน 227.59 ตัน เป็นเงิน 1,608,751.25 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. อ่างทอง จำกัด จำนวน 30,830.59 ตัน เป็นเงิน 256,025,810.14 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจรวบรวม 2. สมาชิกสหกรณ์จำหน่ายข้าวได้ในราคายุติธรรม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพกิจกรรมการรวบรวมข้าวเปลือกสหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด ภาพกิจกรรมการรวบรวมข้าวเปลือกสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. อ่างทอง จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 69 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดย สถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2561/62 ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ◼ โครงการการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสหกรณ์ระยะที่ 2 ภายใต้โครงการพัฒนา ศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรให้มีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจให้ครอบคลุมทุกธุรกิจ 2. เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ 3. เพื่อให้สหกรณ์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระสมาชิกสหกรณ์ สามารถลดจำนวนหนี้ค้าง เป้าหมาย ประกอบด้วย คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการของสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองและผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 แห่ง ๆ ละ 40 คน รวมทั้งสิ้น 80 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 70 ขึ้นหน้าใหม่ 2. ผลการดำเนินงาน : ทางสำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการแต่งตั้งทีมงานร่วมกับสหกรณ์ในการแก้ไขปัญหาหนี้ ค้างชำระของสหกรณ์ ประกอบด้วย - ทีมโค้ช : สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์ จังหวัด ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่กลุ่มงาน และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ที่ดูแลรับผิดชอบสหกรณ์แต่ละแห่ง - ทีมปฏิบัติ: สหกรณ์จัดทำคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ประกอบด้วย ฝ่าย บริหารฝ่ายจัดการ และประธานกลุ่ม 1.การจัดเก็บข้อมูล และวิเคราะห์สถานภาพรายสหกรณ์ เชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ 2. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างชำระ จัดทำ แผนแก้ไขปัญหาฯและแผนป้องกันมิให้เกิดซ้ำ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ทีมโค้ช ทีมปฏิบัติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ธกส. กตส. วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา หนี้ค้างชำระ และจัดทำแผนแก้ไขปัญหาและแผนป้องกันมิให้เกิดซ้ำ สิ่งที่ต้องการจากการประชุม 2.1 แผนจัดการหนี้รายบุคคลของสมาชิก : หาแนวทางการแก้ไขปัญหาของลูกหนี้ สหกรณ์รายคน และกลุ่มปัญหาตามความเหมาะสม ซึ่งอาจจะทำแผนพัฒนาอาชีพเดิมและหรือแผน ส่งเสริมอาชีพใหม่ 2.2 แผนป้องกันการเกิดซ้ำ เช่น สร้างภูมิคุ้มกันในครอบครัว การวางแผนการผลิต ร่วมกับสหกรณ์ พัฒนาอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ เมื่อเกิดภัยพิบัติสหกรณ์มีมาตรการเยียวยา (พักชำระ หนี้ ลดดอกเบี้ย) หรือปรับปรุงระเบียบข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงินกู้ของสหกรณ์ 2.3 จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อนำแผนสู่การปฏิบัติ 3. ปฏิบัติตามแผน : สหกรณ์ดำเนินการชี้แจงทำความเข้าใจแก่สมาชิกลูกหนี้ เกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหา หนี้ค้างชำระและการพัฒนาอาชีพตามแผนที่กำหนด และนำแผนสู่ การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่กำหนดไว้จากการประชุม 4. การติดตามและประเมินผล : สหกรณ์จังหวัดติดตามผลจากทีมโค้ช และทีม ปฏิบัติ (สหกรณ์) และรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผู้ตรวจราชการกรมฯ ติดตามจากสหกรณ์จังหวัด 5.การปรับปรุง/ตรวจแก้ (Action) : เมื่อติดตามผลการดำเนินงาน แล้วดำเนินการ แก้ไขปัญหาอุปสรรคปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์โครงการ สรุป ถอดบทเรียน เพื่อให้ผู้สนใจสามารถนำไปปรับใช้ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการของสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์เจ้าหน้าที่ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองและผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับองค์ความรู้ รวมทั้งสิ้น 80 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์สามารถแก้ปัญหาหนี้ค้างชำระ มีหนี้ค้างลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2. คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารและ จัดการหนี้สิน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 71 ขึ้นหน้าใหม่ 3. สมาชิกมีรายได้เพิ่มส่งผลให้มีศักยภาพหรือความสามารถในการชำระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้ มากขึ้น 4. เกิดทีมงานและกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างสหกรณ์ กับเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. สหกรณ์สามารถมีแนวทางป้องกันมิให้เกิดปัญหาหนี้ค้างซ้ำขึ้นได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. สมาชิกบางรายไม่สนใจที่จะแก้ไขปัญหาหนี้ค้างกับสหกรณ์ 2. สมาชิกบางรายไปทำงานอยู่ต่างจังหวัด ไม่สามารถติดต่อได้ 3. สมาชิกบางรายเป็นบุคคลที่มีอายุมากหรือสมาชิกสูงอายุ 4. สมาชิกบางรายไม่ประกอบอาชีพแล้ว แนวทางที่คาดว่าจะดำเนินการต่อ/ข้อเสนอแนะ 1. ประธานกลุ่มและเจ้าหน้าที่สินเชื่อจะต้องออกติดตามพบปะสมาชิกสหกรณ์ให้บ่อยขึ้น 2. สหกรณ์จะต้องกำหนดวันที่จะรับชำระหนี้ให้แน่นอน 3. สหกรณ์จัดทำโครงการพักดอกเบี้ยค้างและพักค่าปรับค้าง วิธีการโดยให้สมาชิกชำระต้น เงินเป็นรายเดือนจนกว่าต้นเงินหมด แล้วมาชำระดอกเบี้ยค้างที่พักไว้ ส่วนค่าปรับอยู่ที่มติ คณะกรรมการว่าจะจัดเก็บหรือไม่จัดเก็บจากสมาชิก 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ภาพกิจกรรมจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างชำระ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 72 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมลงพื้นที่เก็บข้อมูลสมาชิกสหกรณ์ สอบถามปัญหา และหาวิธีแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง นานของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกได้มีโอกาสหมดหนี้ ◼ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสหกรณ์ รูปแบบประชารัฐ (1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตร ด้วยกลไกประชารัฐ 2. เพื่อส่งเสริมช่องทางการตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าสหกรณ์ เป้าหมาย ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารสหกรณ์ ฝ่ายจัดการและผู้นำของสหกรณ์การเกษตรเมือง อ่างทอง จำกัด สมาชิกกลุ่มสตรีสหกรณ์ตำบลคลองวัว เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ผู้แทนจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 25 ราย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ กลุ่มสตรีสหกรณ์ตำบลคลองวัว สังกัด สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน : สำนักงานสหกรณ์จังหวัด คัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 1 แห่ง ที่มี ศักยภาพในการพัฒนาและมีความสนใจจะเข้าร่วมกิจกรรม 1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แนะนำผลักดันให้สหกรณ์เป้าหมาย เชื่อมโยงกับหอการค้าจังหวัด 2. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการพัฒนาสหกรณ์รูปแบบประชารัฐ (1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร) เพื่อจัดทำแผนการ ดำเนินการร่วมกับ หอการค้าจังหวัด ทุกหน่วยงานภาคีที่สนับสนุน และสหกรณ์เป้าหมายเข้าร่วม โครงการ 1 ครั้ง ตามแนวทางที่เหมาะสมในด้านต่าง ๆ - ด้านการพัฒนาคุณภาพสินค้า - ด้านการแปรรูปสินค้าหรือบรรจุภัณฑ์สินค้าเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม - ด้านการพัฒนาช่องทางการตลาดสินค้า 3. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดรายงานผล หลังจากการประชุมทุกสิ้นไตรมาสตามแบบฟอร์มที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 73 ขึ้นหน้าใหม่ 3.ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมผ่านความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริม สหกรณ์และหอการค้าจังหวัด จำนวน 1 แห่ง 2. ผลิตภัณฑ์สินค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการส่งเสริมด้านช่องทางการตลาด หรือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม 3. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาด 2. ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคม โดยองค์กรภาคธุรกิจได้มีส่วนร่วมในการสนับสนุน โครงการที่เป็นประโยชน์แก่สังคมอย่างยั่งยืนผ่านสหกรณ์ภาคการเกษตร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่มี- ภาพประชุมชี้แจงโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสหกรณ์ รูปแบบประชารัฐ (1 หอการค้า 1 สหกรณ์การเกษตร)
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 74 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิต และการตลาด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 และมติคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกร ครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 เห็นชอบและอนุมัติจัดสรรเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ยืมเงินเพื่อดำเนินโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับ กลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด วงเงินจำนวน 1,000 ล้านบาท โดย ไม่มีดอกเบี้ย กำหนดชำระคืนภายใน 5 ปี (พ.ศ.2559 – 2564) และเงินจ่ายขาด จำนวน 10 ล้าน บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามโครงการของกลุ่มเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกร เฉพาะที่ผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริม สหกรณ์ เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี รวม 5 ปี 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและ ราคายุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจำหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้าง ความยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็ง ต่อไป 2. ผลการดำเนินงาน : คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด ได้ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ครั้งที่ 1/2562 เมื่อ วันที่ 19 เมษายน 2562 ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2562 อนุมัติให้กลุ่มเกษตรกร กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด จำนวน 7,800,000 บาท ให้กับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 15 กลุ่ม กลุ่มเกษตรกรกู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม เกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด จำนวน 7,800,000 บาท จำนวน 15 กลุ่ม ที่ ชื่อกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่มเกษตรกรทำนาม่วงเตี้ย 700,000 2 กลุ่มเกษตรกรทำนาสาวร้องไห้ 500,000 3 กลุ่มเกษตรกรทำนาตรีณรงค์ 500,000 4 กลุ่มเกษตรกรทำนาชัยฤทธิ์ 500,000 5 กลุ่มเกษตรกรทำนาชะไว 200,000 6 กลุ่มเกษตรกรทำนาเทวราช 500,000 7 กลุ่มเกษตรกรทำนาแสวงหา 500,000 8 กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านพราน 500,000 9 กลุ่มเกษตรกรทำนาบางระกำ 500,000
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 75 ขึ้นหน้าใหม่ 10 กลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลไผ่ดำพัฒนา 400,000 11 กลุ่มเกษตรกรทำนาไชยภูมิ 1,200,000 12 กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมตำบลรำมะสัก 300,000 13 กลุ่มเกษตรกรทำนาตำบลราษฎรพัฒนา 600,000 14 กลุ่มเกษตรกรทำนาไผ่จำศีล 500,000 15 กลุ่มเกษตรกรทำนาอบทม 400,000 รวม 7,800,000 3.ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรกู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม เกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด จำนวน 7,800,000 บาท จำนวน 15 กลุ่ม ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรสามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและราคายุติธรรม ตรงตาม ความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่มี- ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2562 ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 76 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ การสนับสนุนเงินทุนสหกรณ์โดยกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. เพื่อให้สหกรณ์กู้ยืมสำหรับเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้ สมาชิกกู้ยืม หรือ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต (1) กรณีขอกู้เงินเพื่อนำไปดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต จะต้องมีสมาชิกทำธุรกิจกับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนคนทั้งหมด (สมาชิกและ บุคคลภายนอก) ที่มาทำธุรกิจกับสหกรณ์ในแต่ละวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ โดยพิจารณาจากผลการดำเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ปีใดปีหนึ่งในรอบ 4 ปีบัญชีที่ผ่านมา (2) ในการพิจารณาจำนวนคนที่ทำธุรกิจกับสหกรณ์ตาม (1) ให้ยกเว้นกรณีที่ สหกรณ์ขอกู้เพื่อดำเนินธุรกิจสถานีบริการน้ำมันของสหกรณ์ (3) กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระเบียบฯ กำหนด ให้จังหวัดพิจารณาในเบื้องต้น พร้อมทั้งให้ความเห็น หากเห็นสมควรให้สหกรณ์กู้เงิน ให้นำเสนอคณะกรรมการบริหาร กพส. พิจารณาเป็นกรณีไป 2. เพื่อลงทุนในทรัพย์สิน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) ให้กู้ได้ไม่เกิน 80% ของวงเงินลงทุนในทรัพย์สิน และสหกรณ์ต้องสมทบการ ลงทุน ไม่น้อยกว่า 20% ของวงเงินลงทุนยกเว้นกรณีสหกรณ์ขอกู้เพื่อสร้างสำนักงานให้กู้ได้ ไม่เกิน 70% ของวงเงินลงทุนสร้างสำนักงาน และสหกรณ์ต้องสมทบการลงทุน ไม่น้อยกว่า 30% ของวงเงินลงทุน (2) ในกรณีที่สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนภายใต้โครงการเงินกู้เพื่อปรับ โครงสร้างภาคเกษตรและสามารถบริจาคเงินได้ตามกำหนดในหนังสือยินยอมบริจาค ให้มีสิทธิ กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ไปลงทุนเพิ่มเติมในปัจจัยพื้นฐาน โดยไม่ต้องสมทบการลงทุนและ คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี 2. ผลการดำเนินงาน : คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ได้จัดประชุมพิจารณา อนุมัติเงินกู้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒ อนุมัติเงินกู้ กพส. 6 สหกรณ์ 13 สัญญา ดังนี้
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 77 ขึ้นหน้าใหม่ ที่ ชื่อสหกรณ์ วัตถุประสงค์ จำนวน(บาท) ดบ.(%) วันอนุมัติ วันโอน 1 สกก.โพธิ์ทอง จก. เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 5,000,000 4.5 2๒ ก.ค.6๒ ๑ ก.ค.6๓ สกก.โพธิ์ทอง จก. จัดหาปัจจัยการผลิต 4,500,000 1 2๒ ก.ค.6๒ ๑ ก.ค.6๓ สกก.โพธิ์ทอง จก. ฟื้นฟูอาชีพหลัก(ทำนา) 2,348,000 1 2๒ ก.ค.6๒ ๑ ก.ค.6๓ 2 ส.ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นทุนหมุนเวียน 2,000,000 1 26 ก.ค.6๒ ๑ ก.ค.6๓ 3 สกก.วิเศษชัยชาญ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 200,000 1 6 ส.ค. 62 ๑ ก.ค.65 สกก.วิเศษชัยชาญ เป็นทุนหมุนเวียน 2,130,000 1 6 ส.ค. 62 ๑ ก.ค.63 สกก.วิเศษชัยชาญ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 5,๐00,000 3 6 ส.ค. 62 ๑ ก.ค.63 4 ส.ประมงและแปรรูป จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 500,000 1 5 ส.ค. 62 ๑ ก.ค.63 ส.ประมงและแปรรูป จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 1,900,000 1 5 ส.ค. 62 ๑ ก.ค.63 5 สกก.บางเสด็จ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ 2,000,000 5 26 ส.ค. 62 ๑๗ ส.ค.63 6 สกก.แสวงหา จัดหาปัจจัยการผลิต 4,500,000 1 28 ส.ค. 62 ๑๗ ส.ค.63 สกก.แสวงหา ฟื้นฟูอาชีพ 1,766,000 1 28 ส.ค. 62 ๑๗ ส.ค.63 สกก.แสวงหา ลงทุนในการเตรียมพื้นที่ 600,000 5 28 ส.ค. 62 ๑๗ ส.ค.63 รวม 32,444,000 3.ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การอนุมัติเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดอ่างทอง ที่ได้รับจัดสรรให้ดำเนินการ สหกรณ์จำนวน 6 แห่ง 13 สัญญา เป็นเงิน 3๒.๔๔๔ ล้านบาท โครงการปกติ1๓.๙๐๐ ล้านบาท โครงการพิเศษ 1๘.๕๔๔ ล้านบาท และติดตามเร่งรัดหนี้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ถึงกำหนดชำระ จำนวนสหกรณ์ 10 แห่ง 15 สัญญา เป็นเงิน 35.219 ล้านบาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีแหล่งเงินทุนเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม หรือ จัดหาสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่มี-
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 78 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการ ดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประมวลข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนต่างๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ อยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัด 2. เพื่อกำหนดแผนงานและแนวทางในการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง 3. เพื่อตรวจสอบ ดูแล และติดตามให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามแผนงานและ แนวทางภายในระยะเวลาที่กำหนด เป้าหมาย คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง จำนวน 20 คน โดยดำเนินการจัดประชุมคณะทำงาน มีการหารือ แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเป็น แนวทางในการแก้ไขข้อบกพร่อง จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 จัดในเดือน ธันวาคม 2561 ครั้งที่ 2 จัดในเดือน มีนาคม 2562 ครั้งที่ 3 จัดในเดือน มิถุนายน 2562 ครั้งที่ 4 จัดในเดือน สิงหาคม 2562 ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยๆ (1) สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง (2) ผู้อำนวยการ ธกส. สาขาอ่างทอง (3) หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อ่างทอง (4) เกษตรและสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง และผู้แทน (5) ผู้เกี่ยวข้องและผู้แทนสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง 2. ผลการดำเนินงาน คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง จำนวน 20 คน รวมทั้งข้าราชการ พนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดอ่างทองที่เกี่ยวข้อง มีการหารือร่วมกันถึงความคืบหน้าในการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง มี การกำหนดแนวทางในการช่วยเหลือสหกรณ์ให้แก้ไขข้อบกพร่องให้เป็นไปตามคำสั่งนายทะเบียน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องทราบแนวทางการแก้ไข ข้อบกพร่องและถือปฏิบัติตามวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม คำแนะนำ ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ และระเบียบข้อบังคับของ สหกรณ์
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 79 ขึ้นหน้าใหม่ 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง จำนวน 20 คน รวมทั้งข้าราชการ พนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดอ่างทอง ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องอยู่เดิมสามารถจัดทำแผนการแก้ไขข้อบกพร่อง รวมทั้งติดตาม การแก้ไขปัญหา จนทำให้ข้อบกพร่องลดน้อยลง 2. บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถติดตาม ตรวจสอบ ผลการแก้ไขข้อบกพร่องและ กำหนดแนวทางป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้ 3. ที่ประชุมคณะทำงานฯ มีการอภิปรายถึงข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แต่ละแห่ง แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่อง รวมทั้งรับทราบผลการแก้ไขข้อบกพร่อง ทำให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรมีการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และสร้างความเข้าใจ อันดีระหว่างสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องและมีการดำเนินคดีกับผู้ที่ทำให้สหกรณ์เสียหาย และคดี อยู่ระหว่างการพิจารณาในชั้นศาล จึงทำให้ผลการแก้ไขของสหกรณ์อยู่ระหว่างดำเนินการเนื่องจาก ต้องใช้ระยะเวลาตามกระบวนการพิจารณาของศาล จึงไม่สามารถเร่งรัดการดำเนินคดีให้รวดเร็วได้ 2) คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ ผู้แทนสหกรณ์ที่เข้าร่วม ประชุม ไม่มีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองในการถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม คำแนะนำ และระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ รวมถึงอำนาจหน้าที่ของ ตนเองตามที่กำหนดในข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ แนวทางแก้ไข 1) แนะนำสหกรณ์ในการติดตามความคืบหน้าผลการดำเนินคดีเมื่อศาลมีคำ พิพากษาแล้ว เพื่อชี้แจงต่อที่ประชุมคณะทำงานฯ ทุกครั้ง เพื่อให้มีความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จ และรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์เพื่อทราบ 2) ประสานกับกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการจัดสรรงบประมาณจัดอบรมให้ความรู้แก่ คณะกรรมการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ ในฐานะเป็นผู้แทนสหกรณ์ เพื่อตระหนักถึงหน้าที่และ บทบาทของตนที่มีต่อสหกรณ์ภายใต้กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 80 ขึ้นหน้าใหม่
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 81 ขึ้นหน้าใหม่ ◼ การขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรกรรมตามแนวทาง "การตลาดนำการผลิต" ภายใต้โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ของแปลงใหญ่สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยง สัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำการผลิต การบริหารจัดการร่วมกันและรวมกัน จำหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตผลผลิตเพิ่มขึ้น และมีคุณภาพได้มาตรฐาน 3. เพื่อให้เกษตรกรสามารถเป็นผู้จัดการ บริหารจัดการการผลิต ผลผลิต และการตลาดได้ เป้าหมาย ประกอบด้วย สมาชิกแปลงใหญ่สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำนวน 32 ราย พื้นที่ 73 ไร่ 2 งาน 63 บ่อ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ภายในจังหวัดอ่างทอง ทุกอำเภอ 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1. ติดต่อประสานงาน หาช่องทางการตลาด เพื่อทราบแผนการตลาด จะได้วางแผนและ กำหนดการผลิตให้สอดคล้องกัน 2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานประมงจังหวัดอ่างทอง ศูนย์วิจัย และพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอ่างทอง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (หันตรา) 3. จัดประชุมวางแผนการผลิต และชี้แจงให้สมาชิกทราบถึงตลาดที่รับซื้อผลผลิต หลักเกณฑ์ ขั้นตอนการปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่การเลี้ยง อาหาร ขนาดปลา มาตรฐานรองรับ คุณภาพ การจับ การขนส่ง ผลผลิต และการจำหน่าย และได้เชิญผู้แทนจากบริษัทไอทีฟู้ดส์อินดัสทรีส์ จำกัด มาให้ข้อมูล หลักเกณฑ์ต่างๆ 4. จัดอบรมให้ความรู้ โดยเชิญวิทยากรจาก สำนักงานประมงจังหวัดอ่างทอง ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอ่างทอง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (หันตรา) และสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มาให้ความรู้เรื่องการเลี้ยง การลดต้นทุนการผลิต มาตรฐาน คุณภาพ การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า และการบริหารจัดการกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ 5. ลงพื้นที่ติดตาม แนะนำ ส่งเสริมและเก็บข้อมูลบ่อสมาชิก ดูการเตรียมบ่อ การคำนวณ การลงลูกพันธุ์ปลา โดยลงพื้นที่ร่วมกับสำนักงานประมงจังหวัดอ่างทอง ศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอ่างทอง โครงการตามนโยบายสำคัญ
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 82 ขึ้นหน้าใหม่ 6. จัดประชุมวางแผนการเลี้ยง โดยผ่านระบบสหกรณ์ มีการรวมกันซื้อลูกพันธุ์ปลา (การซื้อ ลูกพันธุ์ปลานั้น แหล่งจำหน่ายต้องออกหนังสือกำกับการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ (FMD) (ใบเกิดของ สัตว์น้ำ) ให้กับสมาชิก เพื่อเป็นการการันตีคุณภาพ และสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้) 7. สมาชิกแปลงใหญ่เลี้ยงส่งออกจำหน่ายต่างประเทศเป็นครั้งแรก ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 8 เดือนถึง 1 ปี ผลผลิตที่ได้อาจมีแตกไซส์บ้าง 8. การจับปลาเพื่อจำหน่าย เบื้องต้นทางสหกรณ์ได้เตรียมความพร้อม โดยสร้างทีมจับปลา และสหกรณ์ได้จัดหาอุปกรณ์ ที่ใช้ในการจับ/พานปลา เรียบร้อยแล้ว เพื่อเป็นการช่วยเหลือสมาชิกใน การลดต้นทุน ทำให้สมาชิกมีค่าใช้จ่ายลดลง สรุป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่อง การตลาด ผลผลิตของสมาชิก แปลงใหญ่ จึงได้นำนโยบายของรัฐมาใช้ในการดำเนินงานคือ "การตลาดนำการผลิต" จึงได้ประสาน หาช่องทางการตลาด ได้ 3 ทาง 1.1 บริษัทไอทีฟู้ดส์อินดัสทรีส์ จำกัด สำหรับปลาแช่แข็งส่งออก (บริษัทต้องการลา สวายที่มีขนาด 4 ขีด ถึง 1 กิโลกรัม) ประกันราคาที่ กิโลกรัมละ 25 บาท 1.2 คุณปอยพ่อค้า จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำหรับปลารวมและปลาตกไซส์ 1.3 พาเจริญแพปลา จากจังหวัดนครปฐม สำหรับปลารวมและปลาตกไซส์ เนื่องจากสมาชิกเลี้ยงปลาเพื่อการส่งออกในครั้งแรกอาจมีแตกไซส์บ้างจากการคัด สำนักงาน สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้ประสานพ่อค้า เพื่อมารองรับปลาที่ตกไซส์ และปลารวม เพื่อให้สมาชิกมี ตลาดรองรับผลผลิตทั้งหมด สมาชิกมีความพึงพอใจเป็นอย่างมากในเรื่องของราคาที่รับซื้อ ผลสำเร็จ เกิดจากสหกรณ์มีการบริหารจัดการที่ดี ให้ความร่วมมือกันทุกฝ่าย ประกอบกับ ได้รับการแนะนำ ส่งเสริมจากหน่วยงานภาครัฐ/ภาคเอกชน ได้แก่ สำนักงานประมงจังหวัดอ่างทอง ศูนย์วิจัยและการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอ่างทอง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (หันตรา) และ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองบูรณาการร่วมกันทำงาน 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มแปลงใหญ่สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด มีตลาดรองรับแน่นอน ดังนี้ 1.1 บริษัทไอทีฟู้ดส์ อินดัสทรีส์ จำกัด จังหวัดสมุทรสาคร 1.2 พาเจริญแพปลา จังหวัดนครปฐม 1.3 พ่อค้า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. สมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด ผ่านการรับรอง มาตรฐาน GAP จำนวน 11 ราย
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 83 ขึ้นหน้าใหม่ 3. ยอดจำหน่ายผลผลิตของกลุ่มแปลงใหญ่สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด โดยผ่านระบบสหกรณ์ ดังนี้ ชนิดปลา จำนวน ( กิโลกรัม) ราคาต่อหน่วย เป็นเงิน 1. ปลาสวาย 13,471 25 312,565 2. ปลานิล 2,967 28.50 84,560 3. ปลาจีน 778 20 15,560 รวมทั้งสิ้น 17,216 412,685 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. มีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. มีหน่วยงานภาครัฐให้การแนะนำ ส่งเสริมและสนับสนุน 3. สมาชิกมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1. ด้านช่องทางการตลาด บริษัทที่รับซื้อส่งออกต่างประเทศมีเพียงรายเดียว ทำให้มีความ เสี่ยงทั้งในเรื่องการรับซื้อและราคา 2. การขนส่งสินค้า ปัจจุบันสหกรณ์ไม่มีรถบรรทุกปลาเพื่อส่งบริษัทที่จังหวัดสมุทรสาคร ปัจจุบันสหกรณ์ต้องจัดจ้างขั้นต่ำครั้งละ 2,500 บาท/คัน บรรทุกน้ำหนักปลาได้ 2 ตัน โดยไม่รวม น้ำแข็ง 3. ผู้รับจ้างจับ/พานปลาในแต่ละครั้งหายากไม่พอเพียงและคิดค่าจ้างแพง ทำให้สมาชิกมี ต้นทุนสูงขึ้น แนวทางการแก้ไข 1. ประสานหาพ่อค้าเพิ่มเพื่อให้สมาชิกสามารถต่อรองราคาได้ ไม่ต้องผูกขาดพ่อค้ารายเดียว 2. ของบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ในการจัดหาซื้อรถห้องเย็น เพื่อให้ สมาชิกลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งปลา 3. สร้างทีมงานจับปลา เพื่อให้สมาชิกเชื่อใจในบริการของสหกรณ์และลูกหลานสมาชิกมี อาชีพสร้างรายได้เสริม
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 84 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมประชุมร่วมกับผู้แทนบริษัทไอทีฟู้ดส์อินดัสทรีส์ จำกัด เพื่อชี้แจงขั้นตอน หลักเกณฑ์ การจำหน่ายปลาส่งออก ภาพกิจกรรมประชุมเพื่อวางแผนการผลิตและการตลาดร่วมกับ สำนักงานประมงจังหวัดและศูนย์วิจัยและพัฒนาการพันธุ์สัตว์น้ำจืดอ่างทอง ภาพกิจกรรมประชุมเพื่อวางแผนการจับปลาเพื่อส่งออกร่วมกับผู้แทน บ.ไอทีฟูดส์ อินดัสทรีส์ จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 85 ขึ้นหน้าใหม่ ภาพกิจกรรมจับปลา/พานปลา ของสมาชิก ภาพกิจกรรมส่งปลาเพื่อส่งออก ณ บ.ไอทีฟูดส์ อินดัสทรีส์ จำกัด
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 86 ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน รูปภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 87 ขึ้นหน้าใหม่ งบการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 30 กันยำยน 2562 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากคลัง 32,280.00 ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 53,352.00 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 90,632.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคาร (สุทธิ) (1) 2,756,365.67 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) (2) 1,245,482.73 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 4,001,848.40 รวมสินทรัพย์ 4,092,480.40 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 81,668.25 สาธารณูปโภคค้างจ่าย 14,220.53 เงินประกันอื่น 32,280.00 รวมหนี้สินหมุนเวียน 128,168.78 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง - ดำเนินงาน 5,000.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 5,000.00 รวมหนี้สิน 133,168.78 ทุน ทุนของหน่วยงาน 1,567,150.00 รายได้ สูง/(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 2,356,966.83 รายได้ สูง/(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 35,194.79 รวมส่วนทุน 3,959,311.61 รวมหนี้สินและทุน 4,092,480.40
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 88 ขึ้นหน้าใหม่ งบแสดงผลกำรดำเนินงำนทำงกำรเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยำยน 2562 รำยได้จำกกำรดำเนินงำน รายได้ค่าธรรมเนียมอื่น 7,400.00 รายได้จากงบบุคลากร 3,295,210.00 รายได้จากงบลงทุน 895,800.00 รายได้จากงบดำเนินงาน 3,862,453.98 รายได้จากงบอุดหนุน 9,395.58 รายได้จากงบกลาง 151,911.00 รายได้สรก.รับเงินนอก 30,000.00 รายได้ปรับเงินฝากคลัง 32,280.00 รายได้ระหว่างกันในกรม 11,454.13 รวมรำยได้จำกกำรดำเนินงำน 8,295,904.69 ค่ำใช้จ่ำยจำกกำรดำเนินงำน ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร (3) 3,295,210.00 ค่าใช้จ่ายงบดำเนินงาน (4) 3,855,909.31 ค่าใช้จ่ายงบกลาง 151,911.00 ค่าใช้จ่ายงบอุดหนุนทั่วไป (5) 9,395.58 ค่าใช้จ่ายงบรายจ่ายอื่น 90,555.00 ค่าใช้จ่ายอื่น 857,729.02 รวมค่ำใช้จ่ำยจำกกำรดำเนินงำน 8,260,709.91 รำยได้สูง/(ต่ำ)กว่ำค่ำใช้จ่ำยสุทธิ 35,194.79
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 89 ขึ้นหน้าใหม่ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยำยน 2562 หมำยเหตุที่ 1 อำคำร (สุทธิ) อาคารพักอาศัย 813,800.00 ค่าเสื่อมสะสม-อาคารพักอาศัย -30,610.04 อาคารสำนักงาน 6,279,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารสำนักงาน -4,922,250.25 อาคารเพื่อประโยชน์อื่น 1,288,213.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารเพื่อประโยชน์อื่น -1,288,209.00 สิ่งปลูกสร้าง 978,849.00 ค่าเสื่อมสะสม - สิ่งปลูกสร้าง -363,227.04 2,756,365.67 หมำยเหตุที่ 2 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) ครุภัณฑ์สำนักงาน 416,172.50 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์สำนักงาน -394,692.32 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 4,304,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ยานพาหนะ -3,367,131.62 ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ 229,459.21 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ -172,961.94 ครุภัณฑ์โฆษณา 374,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์โฆษณา -284,789.28 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 749,999.83 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ -610,175.65 ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 14,600.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว -14,598.00 1,245,482.73 หมำยเหตุที่ 3 ค่ำใช้จ่ำยงบบุคลำกร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 3,295,210.00 3,295,210.00
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 90 ขึ้นหน้าใหม่ หมำยเหตุที่ 4 ค่ำใช้จ่ำยงบดำเนินงำน ค่าล่วงเวลา 37,900.00 เงินสมทบประกันสังคม 120,300.00 ค่าเช่าบ้าน 364,146.17 เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน 5,118.00 ค่าใช้จ่ายอบรมในประเทศ 9,650.00 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม-ภายนอก 854,910.00 เบี้ยเลี้ยง 272,580.00 ค่าที่พัก 26,730.00 ค่าใช้จ่ายเดินทางภายในประเทศ 53,756.00 ค่าวัสดุ 375,094.51 ค่าซ่อมแซมและบำรุงฯ 118,914.51 ค่าเชื้อเพลิง 193,837.00 ค/จ เหมาบริการ-ภายนอก 954,845.00 ค่าไฟฟ้า 130,819.04 ค่าประปาและน้ำบาดาล 12,712.48 ค่าโทรศัพท์ 61,644.59 ค่าสื่อสารและโทรคมนาคม 19,260.00 ค่าไปรษณีย์และขนส่ง 30,847.00 ครุภัณฑ์ต่ำกว่าเกณฑ์ 35,000.00 ค่าใช้จ่ายในการประชุม 116,345.00 ค่าประชาสัมพันธ์ 48,600.00 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน 12,900.00 3,855,909.30 หมำยเหตุที่ 5 ค่ำใช้จ่ำยงบอุดหนุนทั่วไป อุดหนุน ดำเนินงานธุรกิจอื่น 9,395.58 9,395.58
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 91 ขึ้นหน้าใหม่ งบทดลอง ณ วันที่ 30 กันยำยน 2562 ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากคลัง 32,280.00 รายได้ค้างรับ 53,352.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคารพักอาศัย 813,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารพักอาศัย 30,610.04 อาคารสำนักงาน 6,279,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารสำนักงาน 4,922,250.25 อาคารเพื่อประโยชน์อื่น 1,288,213.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารเพื่อประโยชน์อื่น 1,288,209.00 สิ่งปลูกสร้าง 978,849.00 ค่าเสื่อมสะสม - สิ่งปลูกสร้าง 363,227.04 ครุภัณฑ์สำนักงาน 416,172.50 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์สำนักงาน 394,692.32 ครุภัณฑ์ยานหาพนะ 4,304,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - ยานพาหนะและขนส่ง 3,367,131.62 ครุภัณฑ์ไฟฟ้า&วิทยุ 229,459.21 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 172,961.94 ครุภัณฑ์โฆษณา 374,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 284,789.28 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 749,999.83 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 610,175.65
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 92 ขึ้นหน้าใหม่ ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต ครุภัณฑ์โฆษณา 374,800.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 284,789.28 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 749,999.83 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 610,175.65 ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 14,600.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 14,598.00 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ 81,668.25 สาธารณูปโภคค้างจ่าย 14,220.53 เงินประกันอื่น 32,280.00 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการจากคลัง - เพื่อดำเนินการ 5,000.00 ส่วนทุน ทุน ทุนของหน่วยงาน 1,567,150.00 รายได้ (สูงต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 2,356,966.83 รำยได้ รายได้ค่าธรรมเนียมอื่น 7,400.00 รายได้จากงบบุคลากร 3,295,210.00 รายได้จากงบลงทุน 895,800.00 รายได้จากงบดำเนินงาน 3,862,453.98 รายได้จากงบอุดหนุน 9,395.58 รายได้จากงบกลาง 151,911.00 รายได้จากสรก.รับเงินนอก 30,000.00
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 93 ขึ้นหน้าใหม่ ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต รายได้ปรับเงินฝากคลัง 32,280.00 รายได้ระหว่างกันในกรม 11,454.13 ค่ำใช้จ่ำย ค่าล่วงเวลา 37,900.00 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 3,295,210.00 เงินสบทบประกันสังคม 120,300.00 ค่าเช่าบ้าน 364,146.17 เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน 5,118.00 เงินช่วยการศึกษาบุตร 66,150.00 ค่ารักษาพยาบาล-นอก-ร.พ.รัฐ 6,959.00 ค่ารักษาพยาบาล-ใน-เอกชน 39,000.00 ค่ารักษาพยาบาลบำนาญ-นอก-ร.พ.รัฐ 5,313.00 ค่ารักษาพยาบาลบำนาญ-ใน-เอกชน 34,489.00 ค่าใชจ่ายอบรมในประเทศ 9,650.00 ค่าใชจ่ายฝึกอบรม-ภายนอก 854,910.00 ค่าเบี้ยเลี้ยง 272,580.00 ค่าที่พัก 26,730.00 ค่าใช้จ่ายเดินทางภายในประเทศ 53,756.00 ค่าวัสดุ 375,094.51 ค่าซ่อมแซมและบำรุงรักษา 118,914.51 ค่าเชื้อเพลิง 193,837.00 ค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอก 954,845.00 ค่าไฟฟ้า 130,819.04 ค่าน้ำประปา 12,712.48 ค่าโทรศัพท์ 61,644.59
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 94 ขึ้นหน้าใหม่ ชื่อบัญชี เดบิต เครดิต ค่าสื่อสารและโทรคมนาคม 19,260.00 ค่าไปรษณีย์และขนส่ง 30,847.00 ครุภัณฑ์ต่ำกว่าเกณฑ์ 35,000.00 ค่าใช้จ่ายในการประชุม 116,345.00 ค่าประชาสัมพันธ์ 48,600.00 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน 12,900.00 ค่าเสื่อมอาคารพักอาศัย 30,610.04 ค่าเสื่อมอาคารสำนักงาน 384,174.21 ค่าเสื่อมอาคารอื่น 16,364.61 ค่าเสื่อมสิ่งปลูกสร้าง 65,257.08 ค่าเสื่อมครุภัณฑ์สำนักงาน 9,179.86 ค่าเสื่อมยานพาหนะและขนส่ง 205,000.00 ค่าเสื่อมครุภัณฑ์ไฟฟ้า 28,419.36 ค่าเสื่อมครุภัณฑ์โฆษณา 31,580.03 ค่าเสื่อมครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 84,610.31 ค่าเสื่อมครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 2,533.52 อุดหนุนดำเนินงานธุรกิจอื่น 9,395.58 จำหน่ายครุภัณฑ์สำนักงาน 5.00 จำหน่ายครุภัณฑ์โฆษณา 3.00 จำหน่ายครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 17.00 T/E เบิกเกินส่งคิน 20,850.00 T/E โอนรายได้แผ่นดินให้ สรก. 32,280.00 T/E โอนรายได้แผ่นดินให้ บก. 7,400.00 T/E ปรับเงินฝากคลัง 30,000.00 23,801,835.44 23,801,835.44
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 95 ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนที่ 4 กิจกรรมเด่นของ สสจ.อ่างทอง
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 96 ขึ้นหน้าใหม่ กิจกรรมเด่นของ สสจ./สสพ. ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1.โครงการส่งเสริมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง กรมส่งเสริมสหกรณ์ มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาให้สหกรณ์ เป็นองค์กรที่เข้มแข็งเป็นที่พึ่งแก่มวลสมาชิก ในการส่งเสริมให้สหกรณ์เป็นองค์กรที่สามารถ บริหารงานไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นสหกรณ์สีขาวด้วย ธรรมาภิบาล ตามแผนยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยยึดหลักธรรภิบาล 9 หลัก คือ 1) หลักประสิทธิผล 2) หลักประสิทธิภาพ 3) หลักการตอบสนอง 4) หลักภาระรับผิดชอบ 5) หลัก ความโปร่งใส 6) หลักการมีส่วนร่วม 7) หลักการมอบอำนาจ 8) หลักนิติธรรม 9) หลักความเสมอ ภาค โดยกำหนดเป้าหมายในการส่งเสริมสหกรณ์ ต้องผ่านการประเมินตั้งแต่ร้อยละ 85 ขึ้นไป และ ต้องได้คะแนนแต่ละหลักไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 มีสหกรณ์สมัครใจ เข้าร่วมโครงการส่งเสริมให้มีธรรมาภิบาล รวม 6 สหกรณ์ ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จำกัด 5. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จำกัด 6. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบล็ค จำกัด ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างบรรทัดฐานในการปฏิบัติตามหลักสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล ทั้ง 9 หลัก ให้สหกรณ์ทั้ง 6 แห่ง เป็นแนวทางเดียวกันและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน จึงได้จัดประชุม ชี้แจงการส่งเสริมธรรมาภิบาลสีขาวในสหกรณ์ขึ้น เพื่อให้ผู้แทนสหกรณ์และข้าราชการที่มีหน้าที่ ในการส่งเสริมของแต่ละพื้นที่ คณะทำงานทั้ง 2 คณะ ได้เข้าใจและมีความรู้ ตลอดจนได้รับการ ถ่ายทอดประสบการณ์และเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน อันเป็นการเพิ่มทักษะและสามารถนำไปปฏิบัติ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์แก่สหกรณ์ต่อไป กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ แนะนำส่งเสริมสหกรณ์และเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และ จำนวน 6 สหกรณ์ คณะทำงานส่งเสริมธรรมาภิบาลทำการตรวจประเมินธรรมาภิบาลเบื้องต้นร่วมกับสหกรณ์ จำนวน 6 สหกรณ์ ผลการตรวจประเมินครั้งที่ 1 ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด 31.56 คะแนน 2. สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด 34.01 คะแนน 3. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด 27.57 คะแนน 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จำกัด 46.72 คะแนน 5. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จำกัด 32.50 คะแนน 6. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบล็ค จำกัด 51.47 คะแนน
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 97 ขึ้นหน้าใหม่ หลักการประเมิน การผ่านการประเมินต้องได้คะแนนรวม ตั้งแต่ร้อยละ 85 ขึ้นไป และต้อง ได้คะแนนในแต่ละหลักไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ดังนั้น จึงไม่มีสหกรณ์ผ่านการประเมินธรรมาภิบาล ประจำปี 2562 ครั้งที่ 1 ภาพประกอบกิจกรรมเด่น ในรอบปี 2562
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 98 ขึ้นหน้าใหม่ 2.โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยที่เกษตรกรไทยในช่วงที่ผ่านมาประสบปัญหาหลายด้านไม่ว่าจะเป็นปัญหาจาก ภัยธรรมชาติ ราคาปัจจัยการผลิตที่นับวันจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ราคาพืชผลการเกษตรตกต่ำ ทำให้เกษตรกร ทำการผลิตมีรายได้ไม่คุ้มค่าใช้จ่าย ปัญหาหนี้สินภาคเกษตรจึงอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกษตรกรรายย่อยที่ได้รับผลกระทบทางการเงินมากไม่สามารถใช้หนี้ได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการแบ่งเบา ภาระหนี้สินให้เกษตรกรในส่วนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ลดต้นทุนในการผลิตและมีรายได้ เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือนและเหลือพอในการชำระหนี้ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงได้กำหนด โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขึ้น เพื่อช่วยเหลือสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และสอดคล้องกับนโยบายภาครัฐในการแก้ไขปัญหาความยากจนให้เกษตรกร มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงิน ส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ตรวจสอบเอกสารประกอบการขอเบิกเงินชดเชยของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของโครงการ และได้ส่งรายงานขอเบิกเงินชดเชยและ แบบสรุปการขอรับจัดสรรงบประมาณไปยังกรมส่งเสริมสหกรณ์แล้ว เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 โดยสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 7 แห่ง ดังนี้ ๑. สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จำกัด จำนวน 336,765.39 บาท ๒. สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัด จำนวน 1,583,877.75 บาท ๓. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด จำนวน 2,224,339.82 บาท ๔. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด จำนวน 2,574,037.90 บาท ๕. สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จำกัด จำนวน 107,390.42 บาท ๖. สหกรณ์ผู้เพาะเลี่ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด จำนวน 12,866.32 บาท ๗. สกก.ผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด จำนวน 109,166.89 บาท รวมดอกเบี้ยที่ขอชดเชย 6,948,444.49 บาท
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 99 ขึ้นหน้าใหม่ 3. โครงการการประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อซักซ้อมแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ให้เข้าใจใน อำนาจหน้าที่ เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ และข้อบังคับของสหกรณ์ 2. เพื่อให้ผู้ตรวจสอบกิจการและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการ ตรวจสอบกิจการไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์หรือผู้แทนสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ผู้ร่วมสังเกตการณ์ ในจังหวัดอ่างทอง รวมทั้งสิ้นจำนวน 50 คน 2. ผลการดำเนินงาน ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 แห่ง จำนวน 36 คน รวมทั้ง ข้าราชการ พนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นผู้ร่วมสังเกตการณ์ จำนวน 18 คน รวมจำนวน 54 คน มีการอภิปรายการผลการปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบกิจการ ปัญหาอุปสรรคที่พบในการปฏิบัติหน้าที่ มีการ ซักถามบทบาท การทำหน้าที่ผู้ตรวจสอบกิจการตามข้อบังคับและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ นำไปสู่การปฏิบัติ หน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน หลักสูตรในการอบรม - บทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการและแนวทางการปฏิบัติ - จริยธรรม และการรายงานผลการตรวจสอบกิจการ 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้ร่วม สังเกตการณ์ รวมจำนวน 54 คน 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 30 แห่ง 2. ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ จำนวน 36 คน 3. ข้าราชการ พนักงานราชการสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จำนวน 18 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์แต่ละแห่ง มีความเข้าใจมากขึ้นในเรื่องบทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ รวมถึงข้อกฎหมายที่ต้องรู้เพื่อการทำหน้าที่ได้อย่าง ถูกต้อง รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการทำหน้าที่ผู้ตรวจสอบกิจการที่ดี
รายงานประจำปี 2562 (Annual Report) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 100 ขึ้นหน้าใหม่ 2) ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์และผู้เข้าร่วมประชุม มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากมีการเปิดโอกาสให้มีการซักถามข้อสงสัย และมีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุม ร่วมตอบข้อซักถามสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์ 3) ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากรผู้ให้ความรู้ ซึ่งทำให้ ทราบถึงกรณีศึกษาต่างๆ เพื่อการบริหารงานที่ถูกต้องและป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1) ผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ บางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์และคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ที่จำเป็น ต้องทราบ 2) ผู้ตรวจสอบกิจการบางแห่ง ยังไม่เคยผ่านอารอบรมการตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ แนวทางแก้ไข 1) ด้านการขาดขาดความรู้ความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ ข้อบังคับและระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์วิทยากรได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาสหกรณ์อื่นๆ ขึ้นเป็นแนวทางในการปฏิบัติ หน้าที่ เพื่อเพิ่มทักษะ ความเข้าใจ จากประสบการณ์จริงของวิทยากร โดยคณะผู้จัดอบรมได้แจก เอกสารเกี่ยวกับระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อศึกษาเป็นแนวทาง 2) ประสานกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ในการจัดโครงการให้ความรู้หลักสูตรผู้ตรวจสอบ กิจการให้กับผู้ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ที่ยังไม่เคยเข้ารับการอบรม ให้มีคุณสมบัติพร้อมตามระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ พ.ศ. 2559 จัดประชุมวันที่ 4 มิถุนายน 2562 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง ภาพประกอบกิจกรรมเด่น ในรอบปี 2562