The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ypppink3, 2022-01-16 22:27:39

angthong Annual report 2564

รายงานประจำปี 2564

รายงานประจำปี 2564 1
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

2 รายงานประจำปี 2564

สารผู้บริหารหนว่ ยงาน

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นหน่วยงานทำหน้าที่

ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงาน

ด้านต่างๆ ให้กับสหกรณ์ และ

“เราอาจตอ้ งเหนอ่ื ยมากข้ึน กลุ่มเกษตรกร ภายใน
จังหวัดอ่างทอง โดยยึด
ยุ่งยากมากข้นึ แต่เราทุกคนต้อง กรอบแนวทางปฎิบัติให้
ดูแลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ให้ สอดคล้องกับแผนระดับ
ก้าวต่อไปเพื่อผ่านชว่ งเวลาที่ 3 ข อ ง ก ร ม ส ่ ง เ ส ริ ม
ยากลำบากและช่วงวิกฤตนี้ ส ห ก ร ณ์ ป ร ะ จ ำ ปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 เพ่ือ
ไปด้วยกนั ให้ได.้ ..”

พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ สามารถทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนแก้ไข

ปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน ให้ชุมชนสหกรณ์และชุมชนกลุ่ม

เกษตรกรมีภูมิคมุ้ กนั มเี ศรษฐกจิ ที่ดี โดยอาศยั ความร่วมมอื จากทกุ ภาค

ส่วนในการบูรณาการร่วมกันทำงานเพื่อพัฒนา แก้ไขปัญหาและ

นายทินกร ตรเี วช อปุ สรรคต่างๆ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ จนทำให้งานโครงการต่างๆประสบ
สหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง ผลสำเร็จเป็นไปตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ก่อให้เกิด

15 มกราคม 2565 ประสิทธิผลสูงสุดโดยยึดประโยชน์ของทางราชการและประชาชนใน

จงั หวดั อา่ งทองเป็นสำคญั

สดุ ท้ายน้ี ในนามผบู้ รหิ ารสำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง ขอขอบคณุ บุคลากรสำนกั งานสหกรณ์จังหวัด

อ่างทอง และขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินการและเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ของกลุ่มเกษตรกร

หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ตลอดจนผทู้ มี่ สี ่วนเกี่ยวข้องทกุ ท่าน ท่ีใหค้ วามรว่ มมือใน

การขับเคลื่อนส่งเสริมสนับสนุน ผลักดัน พัฒนาแก้ไขปัญหาต่างๆให้กับสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งเป็น

สถาบันเกษตรกรของประชาชนในจังหวัดอ่างทอง ให้สามารถทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนแก้ไขปัญหาและ

พฒั นาเศรษฐกจิ ความเป็นอยู่ของคนในชมุ ชนต่างๆของจังหวดั อ่างทองดีขึน้

สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 3

ทำเนียบบคุ ลากรสำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง

4 รายงานประจำปี 2564

ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป

นางสาวนชิ าภา เน้อื เยน็ นักจัดการงานทวั่ ไปชำนาญการ

(หวั หน้าฝา่ ยบริหารท่วั ไป)

นางสาวกงิ่ กานต์ อนิ ทร์อุไร เจ้าพนกั งานธุรการชำนาญงาน

นางมนสั ชยา สุปนั ณี พนกั งานพิมพ์ ส4

นายเสนห่ ์ ภเู่ จริญ พนักงานขบั รถยนต์

นางสาวปภงั กร พลพงษ์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน

นางสาวยุพาพร เฉลิมกลิ่น นักจดั การงานทว่ั ไป

นางสาวชดาษา แสงระยบั เจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวปาลิกา เดชฤดี เจา้ พนักงานธรุ การ

นางสาวสุรีรตั น์ ปญั ญาวนั เจ้าพนกั งานการเงินและบัญชี

กลมุ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาการบริหารการจดั การสหกรณ์

นายชยั ยทุ ธ กองเขต นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ

(ผอู้ ำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบรหิ ารการจัดการ

สหกรณ์)

นางสาวนุชนาถ วชริ ศกั ดโ์ิ สภานะ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ

นางทพิ วรรณ สหวรรณางกูร นักวชิ าการสหกรณ์

กลมุ่ ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์

นายสนั ติ จนั ทร์สถานนท์ นกั วิชาการสหกรณช์ ำนาญการ

(ผอู้ ำนวยการกลุ่มสง่ เสรมิ และพัฒนาธุรกิจสหกรณ)์

นายเอกพจน์ เจริญพานนท์ นักวิชาการสหกรณช์ ำนาญการ

นางสาวปัณณภสั ร์ ตันประดับสิงห์ นกั วิชาการมาตรฐานสนิ คา้

นายขจรยศ วลั ไพจิตร กลุม่ จดั ตัง้ และส่งเสริมสหกรณ์
นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ
นางสาวสรารตั น์ บุญวงค์ (ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ)์
นางสาวณีรนุช คงปรีชา นักวชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั ิการ
นางสาวกันยา จนั ทร์หอมหวล เจา้ พนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์
เจ้าพนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 5

นางธนภร ชูพนิ ิจ กลมุ่ ตรวจการสหกรณ์

นางสาวเด่นนภา สืบไทย นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ
ว่าท่รี ้อยตรีพิเชษฐ์ เพชรทับ (ผูอ้ ำนวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์)
นิตกิ รปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวรจนา สวัสด์ิจติ ร นติ กิ ร
กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 1
นายกิตตศิ ักดิ์ ภูวโิ รจน์ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
นางสาวสพุ ตั รา เทียมพนัส (ผู้อำนวยการกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1)
นางศิวพร ทวีสขุ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
นางสาวนติ ยา กล่นิ บำรุง นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ
นกั วิชาการสหกรณ์ปฏบิ ัติการ
นายบุญธรรม ปลกู งาม นกั วชิ าการสหกรณ์
กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2
นายวัชราคม ทัพไชย เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์อาวโุ ส
นางสาวกชพร ศรแี ผ้ว (ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2)
นางสาวอาณภา ลมิ้ บรรเจิด เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์อาวโุ ส
นายพีรทตั รน่ื รมย์ นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ
นางนภารตั น์ รอดบำรุง นักวิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ
วา่ ทรี่ ้อยเอกสาธติ เจริญศิลป์ นกั วิชาการสหกรณ์ปฏบิ ตั ิการ
นางสาวสวรรยา ผลเวช นักวิชาการสหกรณ์
นกั วชิ าการสหกรณ์
เจา้ พนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

6 รายงานประจำปี 2564

บทสรปุ ผู้บรหิ าร

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการขับเคลื่อน
งานส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ์ และกลุม่ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็งอยา่ งยง่ั ยนื ผลการปฏบิ ัติงานส่งเสริมสหกรณแ์ ละ
กลุ่มเกษตรกร ของจังหวัดอ่างทองประจำปี 2564 มีสหกรณ์ 30 แห่ง สมาชิก 47,758 คน แบ่งเป็นสหกรณ์ภาค
การเกษตร 17 แห่ง สมาชิก 37,530 คน สหกรณ์นอกภาคเกษตร 13 แห่ง สมาชิก 10,468 คน กลุ่มเกษตรกร 47
แหง่ สมาชกิ 2,279 คน

ทนุ ดำเนนิ งานของสหกรณ์รวม 5,542,536,815.22 บาท ปริมาณธุรกิจของสหกรณร์ วม 7,246.70 ลา้ นบาท
และทุนดำเนนิ งานของกลมุ่ เกษตรกร 17,046,496.81 บาท ปริมาณธรุ กจิ ของกลมุ่ เกษตรกร รวม 16.59 ลา้ นบาท

ในปีงบประมาณ 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองดำเนินงานตามแผนงานตามแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการเกษตร กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ดงั น้ี

แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ
ส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ เป็นหน่วยงานหลักในการรับผิดชอบส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็งใน
ระดับมาตรฐานเพิ่มขึ้น โดยมีเกณฑ์วัดประสิทธิภาพด้านการบริการ การดำเนินธุรกิจ การจัดการองค์กร และการ
บริหารงาน โดยนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมาจัดระดับชั้นเป็น 4 ชั้น ซึ่งจังหวัดอ่างทองไม่มีชั้น 4 ผลจากการ
ดำเนินงาน สหกรณ์การเกษตรทั้งหมด 16 แห่ง ชั้น 1 มี 3 แห่ง ชั้น 2 มี 12 แห่ง และชั้น 3 มีเพียง 1 แห่ง สหกรณ์
ประมงมี 2 แห่ง อย่ชู ั้น 2 ทัง้ 2 แหง่ สหกรณอ์ อมทรพั ย์มี 6 แห่ง ช้นั 1 5 แหง่ และอยู่ในชั้น 2 จำนวน 1 แห่ง สหกรณ์
บริการท้งั หมด 4 แห่ง ชัน้ 2 มี 3 แห่ง และชน้ั 3 มี 1 แห่งสหกรณเ์ ครดติ ยูเนยี่ น มี 2 แหง่ อยใู่ นช้นั 3 ท้งั 2 แห่ง กลุ่ม
เกษตรกรทั้งหมด 49 แห่ง อยู่ในชั้น 2 จำนวน 47 แห่ง และอยู่ในชั้น 3 จำนวน 2 แห่งจากผลการดำเนินงานใน
ภาพรวมของจังหวัดอ่างทอง สหกรณ์ทั้งหมด 30 แห่ง ระดับสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้น 1 และชั้น 2
จำนวน 26 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 86.66 % กลุ่มเกษตรกรท้งั หมด 49 แหง่ ระดบั กลมุ่ เกษตรกรท่ีมตี วามเข้มแข็งอยู่ใน
ระดบั ช้นั 1 และช้นั 2 จำนวน 47 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 95.92%

แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสรา้ งพลงั ทางสงั คม ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมคลินิกสหกรณ์เพื่อใหบ้ ริการแก่เกษตรกร
จำนวน 2 ครัง้ มเี กษตรกรเข้ารบั บริการ จำนวน 500 ราย การทำกจิ กรรมการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ ทำให้
สมาชิกจำนวน 150 ราย มีผลผลิตทางการเกษตรไว้สำหรับบริโภคในครัวเรือน ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายภายใน
ครัวเรือน อีกทั้งผลผลิตทางการเกษตรยังสามารถจำหน่ายเป็นรายได้ของครอบครัวด้วย นักเรียนและครูโรงเรียน
ตน้ แบบสหกรณ์การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ประจำปี พ.ศ. 2552 – 2559 จำนวน 7 แห่ง ไดร้ บั การแนะนำ ส่งเสริม
และสนับสนุนสื่อการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ในโรงเรียน และการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถาบัน
เกษตรกร จำนวน 2 แหง่ ส่งผลให้มกี ารประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดำเนินงาน และส่งผลต่อ
สมาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ กี ารดำเนนิ ชวี ติ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 7

แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สำนักงานสหกรณ์
จังหวัดอ่างทอง ได้ขอเบิกเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วม
โครงการ จำนวน 7 สหกรณ์ ได้รับจัดสรร เป็นเงินชดเชยดอกเบี้ยที่ขอเบิกทั้งสิ้น 2,044,743.58 บาท ทำให้สมาชิก
สหกรณ์ จำนวน 2,409 ราย ลดภาระดอกเบย้ี และลดตน้ ทุนในการประกอบอาชีพการเกษตร

แผนงานบรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก การพฒั นาผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจุภณั ฑส์ ินคา้ เกษตร
แปรรูปภายใต้โครงการ 1 อำเภอ 1 ผลิตภัณฑ์ สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง เกิดแนวคิดในการพัฒนาผลิตภณั ฑ์
และบรรจุภัณฑส์ ินค้าเกษตรของสหกรณผ์ ู้เพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ อ่างทอง จำกัด เน่ืองจากสมาชกิ ส่วนใหญเ่ ล้ียงปลานิลและ
ประสบปัญหาจึงได้แปรรูปเป็นปลานิลส้ม และจำหน่ายผ่านช่องทาง ออนไลน์ ส่งผลให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตรของกลุ่มเกษตรกรทำไร่นาสวนผสมสมาชิกแปลงใหญ่ตำบล วังน้ำเย็น
เนื่องจากเป็นแหล่งเพาะปลูกขา้ วหอมมะลิทีใ่ หญ่ทสี่ ุดในจังหวดั อ่างทอง และได้รบั รองมาตรฐานสนิ ค้าปลอดภยั ส่งผล
ใหเ้ กษตรกรลดตน้ ทุนการผลิต คนในจงั หวัดอา่ งทองบริโภคขา้ วหอมมะลทิ ี่ปลอดภยั

ผลการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้ดำเนินโครงการสนับสนุนเงินทุน
เพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเข้าร่วม 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง
จำกัด และสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด มีสมาชิกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 ราย ทำให้สมาชิกมี
ระบบน้ำในไร่นาจำนวน100 ราย มีแหล่งน้ำสำรองในไร่นาถึง 3,157 ไร่ และโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของ
สมาชิกสหกรณ์ มีสหกรณ์เข้าร่วม 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด และสหกรณ์ผู้เลี้ยงและค้าสัตว์
อ่างทอง จำกัด เกิดการจัดทำแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจสินเชื่อและแผนการแก้ไขปัญหานี้ค้างชำระ
ของสมาชิกสหกรณ์ สง่ ผลให้สมาชิกสหกรณก์ ล่มุ นำร่อง จำนวน 10 ราย มหี นีค้ ้างลดลงมากกว่าร้อยละ 5 จากหน้ีสิน
ทง้ั หมด

จากการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ที่ผ่านมาเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรค
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบให้การแนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรบางกิจกรรมไม่สามารถ
ดำเนินงานได้ตามแผนที่กำหนด เช่น การฝึกอบรม การตรวจการสหกรณ์ ซึ่งทางสำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้
ปรับเปลี่ยนวิธกี ารดำเนนิ งานโดยการประชุมผา่ นทางระบบออนไลน์

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง

8 รายงานประจำปี 2564

สารบญั

ส่วนท่ี 1 : ข้อมลู ภาพรวมของหน่วยงาน 11
1) วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ อำนาจหน้าท่ี 11
2) แนวทางการขบั เคลื่อนงาน/โครงการทสี่ อดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ 12
3) โครงสร้างและกรอบอัตรากำลัง ประจำปี 2564 13
4) งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14
5) สรปุ ขอ้ มลู สหกรณ์ กล่มุ เกษตรกร และกลุม่ อาชพี ในสังกดั สหกรณ์ 15
ส่วนที่ 2 : ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติ 19
งานและงบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ
1) ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติและงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 20
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นที่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
ประเดน็ แผนแมบ่ ท 3 การเกษตร 21
แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 23
25
• งานสง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรใหม้ ีความเข้มแข็งตามศกั ยภาพ 27
28
• โครงการพฒั นาและสง่ เสรมิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตกรรสดู่ เี ดน่
32
• โครงการสหกรณพ์ ฒั นาศักยภาพสหกรณน์ อกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง
34
• โครงการสง่ เสริมพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 36
38
• งานการกำกบั ดูแล การแก้ไขขอ้ บกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ประเด็นแผนแม่บท 15 พลงั ทางสังคม
แผนงานยทุ ธศาสตร์เสริมสร้างพลงั ทางสงั คม

• โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณน์ กั เรียน ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

• โครงการขับเคลอ่ื นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร

• โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่

• โครงการคลินกิ เกษตรเคล่ือนทใ่ี นพระราชานเุ คราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกฎุ ราชกุมาร

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 9

แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ สนับสนนุ ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 40

• โครงการชว่ ยเหลือด้านหนีส้ ินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 43
ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 46
ประเด็นแผนแมบ่ ท 16 เศรษฐกจิ ฐานราก 48
แผนงานบรู ณาการพัฒนาและส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 54

• โครงการสง่ เสรมิ และสรา้ งทักษะในการประกอบอาชีพฯ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน) 53

• โครงการสง่ เสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรบั สนิ คา้ เกษตร 55
57
• โครงการพฒั นาศกั ยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธรุ กจิ ชมุ ชน 60
2) ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคญั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 63
งานกำกบั ตดิ ตามและงานแกป้ ญั หา 64
66
• แนวทางการสง่ เสรมิ สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรให้ความชว่ ยเหลือเกษตรสมาชิกทมี่ ี 68
ปญั หาในการประกอบอาชีพทางการเกษตร (สนบั สนนุ เงนิ กจู้ ากกองทนุ พฒั นาสหกรณ)์ 70
71
• โครงการสนบั สนนุ เงนิ ทุนเพ่อื สรา้ งระบบน้ำในไร่นา ระยะท่ี 2 72
73
• การสนบั สนุนเงินทนุ สหกรณโ์ ดยกองทนุ พฒั นาสหกรณ์

• โครงการแกไ้ ขปัญหาหนีค้ า้ งชำระของสมาชิกสหกรณ์
ส่วนท่ี 3 : กิจกรรมประชาสมั พันธ์งานสหกรณฯ์ โดดเด่นในรอบปงี บประมาณ พ.ศ.2564

1) งานบรณู าการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด
2) ภาพกจิ กรรมของหนว่ ยงานร่วมกับจงั หวัด ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
3) ภาพกิจกรรมของหนว่ ยงานรว่ มกบั สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ส่วนท่ี 4 : รายงานข้อมูลงบการเงนิ (ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564)
1) งบแสดงฐานะการเงิน
2) งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงนิ
3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน และบทวิเคราะหข์ อ้ มูลทางดา้ นงบประมาณ

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

10 รายงานประจำปี 2564

ส่วนที่ 1

ขอ้ มลู ภาพรวม
ของหน่วยงาน

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 11

สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรมีความเข้มแข็ง

สามารถพ่งึ ตนเอง และเป็นทพ่ี ึ่งของสมาชิกได้

อยา่ งยั่งยืน

วิสยั ทัศน์

สำนักงาน พันธกจิ 1. สรา้ งองคค์ วามรูเ้ พื่อส่งเสริม เผยแพรเ่ กี่ยวกับ
สหกรณ์จงั หวัด อุดมการณ์ หลักการและวธิ กี ารสหกรณ์
อำนาจหนา้ ท่ี 2. คุ้มครองระบบสหกรณใ์ ห้เข้มแข็งและเปน็ ไปตาม
อา่ งทอง กฎหมายสหกรณ์
3. พัฒนาขดี ความสามารถในการบริหารจดั การ
การดำเนนิ ธรุ กจิ และเทคโนโลยใี ห้แกส่ หกรณแ์ ละ
กลุ่มเกษตรกร
4. เสรมิ สรา้ งโอกาสการเข้าหาแหลง่ ทนุ ใหแ้ กส่ หกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร

(1) ดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั งานด้านกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าดว้ ยการจดั ที่ดินเพ่อื การครองชีพ
และกฎหมายอ่นื ท่เี กี่ยวข้อง
(2) สง่ เสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุม่ เกษตรกร
(3) สง่ เสริม เผยแพร่ และให้ความรเู้ ก่ียวกับอุดมการณ์ หลักการ และวธิ ีการสหกรณใ์ หแ้ กบ่ คุ ลากร
สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป
(4) สง่ เสริมและพัฒนาธรุ กจิ ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
(5) ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง

12 รายงานประจำปี 2564

แนวทางการขับเคลือ่ นงาน/โครงการท่ีสอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 13

โครงสรา้ งและกรอบอตั รากำลัง
ของสำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ประจำปี 2564

การแบง่ สว่ นราชการ อัตรากำลงั

1.นกั บรหิ ารระดบั ตน้ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ รวม
2.ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป 1
3.กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบรหิ าร 1 9
การจดั การสหกรณ์ 3
4.กลุ่มส่งเสรมิ และพัฒนาธุรกิจ 22 5
สหกรณ์ 3
5.กลมุ่ จัดต้ังและส่งเสรมิ สหกรณ์ 21
6.กลมุ่ ตรวจการสหกรณ์ 4
7.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 21 3
8. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 5
2 2 8
รวม 2 1 36
4 1
5 3
20 2 14

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง

14 รายงานประจำปี 2564

งบประมาณรายจ่ายล้านบาท
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ผลการเบกิ จ่ายภาพรวมสำนกั งานสหกรณ์จังหวดั อา่ งทอง (แยกตามยุทธศาสตรจ์ ดั สรรงบประมาณ)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

4

3.5
3.0
2.5
2.0

1.5
1.0

0.5

แผนงานพ้นื ฐาน แผนงาน แผนงาน แผนงานบรู ณาการ แผนงาน
ดา้ นการสรา้ ง ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ พฒั นาและสง่ เสริม บุคลากรภาครัฐ
ความสามารถ เสริมสร้างพลงั สนับสนุนดา้ นการ เศรษฐกจิ ฐานราก
ในการแข่งขัน ทางสงั คม สร้างโอกาสและ
ความเสมอภาค
งบประมาณ 2,721,157.66 70,600 ทางสังคม 106,680 3,663,000
ผลการเบกิ จ่าย 2,721,157.66 70,600 106,680 3,663,000
2,044,743.58
2,044,743.58

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 15

ข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชพี ประจำปีงบประมาณ 2564

ขอ้ มูลสหกรณ์ในจงั หวดั อา่ งทอง

จำนวนสหกรณ์ท้งั หมด 33 แห่ง โดยแยกเป็นสถานะดำเนินการ จำนวน 30 แหง่ และสถานะ

เลิกสหกรณ์ (อยู่ระหวา่ งชำระบญั ช)ี จำนวน 3 แหง่ (ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564)

หน่วย : แหง่

ประเภทสหกรณ์ สถานะสหกรณ์ รวม

ดำเนินงาน ยังไมเ่ ร่มิ เลิก/ชำระบญั ชี

ดำเนินงาน

สหกรณ์ภาคการเกษตร 18 - 1 19

1. สหกรณก์ ารเกษตร 16 - 1 17

2. สหกรณป์ ระมง 2- -2

3. สหกรณน์ คิ ม -- --

สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 11 - 2 13

4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 6- -6

5. สหกรณ์ร้านค้า -- --

6. สหกรณ์บริการ 4- 26

7. สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี น 2 - -2

รวม 30 - 3 33

1. จำนวนสมาชิกทงั้ หมด (แยกสมาชกิ สามัญและสมาชกิ สมทบ) จำนวนสมาชิกท่ที ำธรุ กิจกับสหกรณ์

และรอ้ ยละของสมาชิกท่มี ีส่วนร่วมในการดำเนินธรุ กิจ ณ 30 ก.ย. 2564

ประเภทสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ จำนวนสมาชิก ร้อยละสมาชิก

(คน) ท่ีทำธรุ กจิ ทที่ ำธุรกจิ

สามัญ สมทบ รวมท้ังหมด ทงั้ หมด

(คน)

สหกรณภ์ าคการเกษตร 34,600 2,690 37,290 8,723 23.39

1. สหกรณก์ ารเกษตร 34,436 2,690 37,126 8,606 23.18

2. สหกรณ์ประมง 164 - 164 117 71.34

3. สหกรณ์นคิ ม -- - - -

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

16 รายงานประจำปี 2564

ประเภทสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ จำนวนสมาชกิ ร้อยละสมาชกิ

สหกรณน์ อกภาค (คน) ที่ทำธุรกจิ ทที่ ำธรุ กิจ
การเกษตร
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ สามัญ สมทบ รวมทั้งหมด ทงั้ หมด
5. สหกรณร์ ้านคา้
6. สหกรณบ์ ริการ (คน)
7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
9,629 839 10,468 8,715 83.25
รวม
8,323 836 9,159 8,102 88.46
- - - - -
656 - 656 209
650 3 653 404 31.86
3,529 61.87
44,229 47,758 17,438 36.51

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 17

2. ปริมาณธุรกิจของสหกรณแ์ ยกตามประเภทของสหกรณ์

2.ข้อมลู กลมุ่ เกษตรกรในจังหวัดอา่ งทอง

จำนวนกลุ่มเกษตรกรทงั้ หมด 49 แห่ง
โดยแยกเปน็ สถานะดำเนินการ
จำนวน 45 แหง่ ยงั ไม่เร่ิมดำเนนิ งาน
จำนวน 2 แหง่ และสถานะเลกิ (อยู่
ระหว่างชำระบญั ช)ี จำนวน 2 แห่ง
(ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564)

ประเภทกลุ่มเกษตรกร ดำเนนิ งาน สถานะกลมุ่ เกษตรกร รวม
(แห่ง)
1. กล่มุ เกษตรกรทำนา 37 ยังไมเ่ ริ่ม เลกิ /ชำระบัญชี
2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 5 ดำเนินงาน 39
3. กลุม่ เกษตรกรเลีย้ งสตั ว์ 3 7
45 -2 3
รวม 2- 49
--
22

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

18 รายงานประจำปี 2564

1.ปรมิ าณธรุ กิจของกลุ่มเกษตรกรแยกตามประเภทของกลุม่ เกษตรกร

3.จำนวนกลุ่มอาชพี แยกตามประเภทผลติ ภัณฑ์ในจังหวัดอ่างทอง

ประเภทผลิตภัณฑ์ จำนวนกล่มุ ร้อยละ
อาหารแปรรูป 17 40.48
ผา้ และเคร่ืองแตง่ กาย 2 4.76
ของใช้/ของตกแต่ง/ของทีร่ ะลึก/เคร่ืองประดบั 20 47.62
เพาะปลูก 3 7.14

จำนวนกลมุ่ อาชีพทั้งหมด 42 กลมุ่

สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 19

สว่ นที่ 2

ผลสมั ฤทธ์ิของการปฏบิ ัติงาน และผลการ
ปฏบิ ตั งิ าน/โครงการภายใตแ้ ผนปฏิบัตงิ านและ
งบประมาณร่ายประจำปงี บประมาณ 2564

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

20 รายงานประจำปี 2564

1)ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัตงิ านและ
งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ
พ.ศ.2564

แผนงานพน้ื ฐาน

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 21

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นท่ี 2 การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
ประเดน็ แผนแมบ่ ท 3 การเกษตร
แผนงานพ้ืนฐาน

แผนงานพื้นฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
1.งานส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ

1.วัตถุประสงค์
เพ่อื แนะนำ ส่งเสรมิ สนับสนุน พฒั นาและกำกบั สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรให้มคี วามเขม้ แข็ง

2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พ้นื ท่ดี ำเนนิ การ
สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรในพ้นื ท่ี จำนวน 82 แหง่ (สหกรณ์ 33 แหง่ และกลมุ่ เกษตรกร 49 แห่ง)

3.ผลสัมฤทธ์ิ/ผลประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1. สหกรณม์ คี วามเขม้ แข็งระดบั 1 และระดับ 2 รวมกนั ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 88
2. กลุม่ เกษตรกรมีความเข้มแขง็ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 24
3. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรท่นี ำมาจัดมาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามทกี่ รมกำหนด
4. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3 ของปีทีผ่ า่ นมา
5. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรผ่านเกณฑธ์ รรมภิบาลในระดับที่กรมกำหนด

4.งบประมาณทไี่ ดร้ บั ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทไี่ ด้รับ ผลเบกิ จา่ ย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนนิ งาน 140,300 140,300 รอ้ ยละ
140,300 140,300 100
รวมท้ังสิน้ 100

5.สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด/กิจกรรม

ตัวชีว้ ดั /กิจกรรม หนว่ ยนับ แผน ผล รอ้ ยละ

ตัวชี้วดั งาน

1.สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ แหง่ 77 77 100

พัฒนาความเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ

2.จำนวนเกษตรกรและบคุ คลทัว่ ไปสมคั รใจเขา้ รว่ ม ราย 448 448 100

เปน็ สมาชกิ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

22 รายงานประจำปี 2564

ตวั ชี้วัด หนว่ ยนับ แผน ผล ร้อยละ

ผลการแนะนำสง่ เสริมและผลการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตกรร

1.แนะนำสง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร แหง่ 77 77 100

ตามแผนการดำเนนิ งานและแผนการส่งเสริมรายแห่ง

2.สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรท่มี วี ันสิ้นปีทางบญั ชีเดือน แหง่ 77 75 97.4

สิงหาคม 2563 - กรกฎาคม 2564 สามารถปิดบญั ชีได้

3.ผลการรับรองงบการเงินของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง 77 75 97.4

ทมี่ วี ันส้ินปที างบัญชีเดือนสิงหาคม 2563 - กรกฎาคม

2564

4.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรทีม่ วี ันสน้ิ ปที างบญั ชีระหว่าง แหง่ 77 75 97.4

เดือนมีนาคม 2563 - กมุ ภาพันธ์ 2564 สามารถจดั

ประชุมใหญส่ ามัญประจำปีได้

5. สมาชิกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรขาดจากสมาชกิ ภาพ ราย - 285 100

5.2 ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการดำเนนิ งาน

1.สหกรณม์ ีความเขม้ แข็งในระดับ 1 และ 2 จำนวน 26 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 89.65 ของสหกรณท์ มี่ ีสถานะ

ดำเนินธรุ กจิ ทั้งหมด 29 แห่ง

2.กลมุ่ เกษตรกรมีความเข้มแข็งในระดับ 1และ 2 จำนวน 47 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 95.92 ของกลมุ่ เกษตรท่ีมี

สถานะดำเนินธุรกจิ ทง้ั หมด 49 แห่ง

3.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมปี รมิ าณธุรกจิ รวม 7,263.29 ล้านบาท (สหกรณ์ 7,246.70 ล้านบาท และ

กลุม่ เกษตรกร 16.59 ลา้ นบาท) เพ่ิมขนึ้ จากปี 2563 จำนวน 245.33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.37

4.สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรสามารถชำระบญั ชีแลว้ เสร็จถอนชือ่ ไดแ้ ล้ว จำนวน 4 แหง่ แบ่งเป็นสหกรณ์ 2

แหง่ กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง

6. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
1. ไม่ใหค้ วามสำคัญในการปฏิบัติหน้าทส่ี มาชิกในฐานะเจา้ ของกิจการ เชน่ การพิจารณาลงมติตามระเบยี บ

วาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี สมาชิกไม่มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเนอื้ หาสาระสำคญั และจำเป็นท่ีท่ปี ระชุม
ใหญ่เสนอให้พจิ ารณา จงึ ทำใหก้ ารออกเสยี งในวาระต่างๆ ขาดความเขา้ ใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีเสียท่จี ะได้รับ
จากการตดั สนิ ใจ เชน่ ระเบยี บวาระการอนมุ ตั คิ ่าใชจ้ า่ ยต่างๆ

2. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่เปน็ ผู้สูงอายุ ส่งผลให้จำนวนสมาชกิ ลดลงตอ่ เน่ือง
3. พน้ื ท่ีทำการเกษตรได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ สง่ ผลใหส้ มาชิกขาดรายได้
4. ผลกระทบอันเนื่องจากการแพร่ระบาดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID19)
5. การเปลี่ยนแปลงกฎหมายสหกรณ์ สง่ ผลต่อสหกรณ์ในการปรับตวั อาจใช้เวลาในการปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตาม
กฎหมายสหกรณ์

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 23

7. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
1. สมาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงานสหกรณแ์ ละกลุ่ม

เกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญและจำเป็นในการเลือก
ผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี และที่
ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ

2. การให้ความรู้เรื่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้กับเยาวชน และเกษตรกรรุ่นใหม่ในชุมชน ได้เข้าใจใน
ระบบสหกรณ์ สทิ ธปิ ระโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

3. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้ปรับวิธีการดำเนินงานในรูปแบบผ่านช่องทางออนไลน์เพ่ือ
ติดตอ่ สื่อสารกับสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรในช่วงมีการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)

2.โครงการพัฒนาและส่งเสรมิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสดู่ เี ด่น

1.วัตถปุ ระสงค์
เพอ่ื ยกย่องประกาศเกยี รติคุณและเผยแพร่ผลงานให้สาธารณชนท่วั ไปได้รู้จักและยึดถือเปน็ แบบอย่างแนวทางใน

การปฏิบัตงิ าน อีกท้งั เป็นการเสริมสร้างให้เกดิ ขวัญกำลงั ใจในการสรา้ งผลงานที่เป็นประโยชนต์ ่อส่วนรวม
2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พื้นที่ดำเนินการ

1.สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จำกัด
และสหกรณ์ออมทรพั ยส์ หภาพไทยคารบ์ อนแบลค็ จำกดั

2.สหกรณ์ในภาคการเกษตร จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรไชโย จำกัด และสหกรณ์การเกษตร
วเิ ศษชัยชาญ จำกัด

3.กลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 แหง่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ เกษตรกรทำนาไชภมู ิ และกลุม่ เกษตรกรทำนาตรีณรงค์
3.ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน

1.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรทเี่ ข้าร่วมโครงการฯ
ได้รบั การพฒั นาและสง่ เสรมิ สู่ดีเด่น

2.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรท่ีไดร้ ับการคดั เลือกสามารถ
เป็นต้นแบบสำหรับการพัฒนาให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรอนื่ ได้

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง

24 รายงานประจำปี 2564

4.ผลการดำเนนิ งานโครงการ

4.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วดั /กิจกรรม

ตวั ช้ีวดั /กจิ กรรม หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ

ตัวชีว้ ัดงาน

ความสำเร็จของการดำเนนิ การคัดเลอื กสหกรณ์และ คร้ัง 1 1 100

กลุ่มเกษตรกรดีเดน่

กจิ กรรม

1.กำหนดสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเปา้ หมาย คร้งั 1 1 100

2.ประเมนิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรเปา้ หมาย ครั้ง 1 1 100

3.ขดั ประชมุ คัดเลอื กระดบั จงั หวัด ครง้ั 1 1 100

4.ประกาศผลการคดั เลือกระดบั จังหวัด ครงั้ 1 1 100

4.2 ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน

เชิงปริมาณ

1.สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จำนวน 2 แหง่ ผา่ นการคัดเลอื กระดบั จังหวัด

2.สหกรณ์ในภาคการเกษตร จำนวน 1 แหง่ ผ่านการคดั เลือกระดับจงั หวดั

เชงิ คุณภาพ

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับรู้ถึงจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

เพื่อจุดเด่นจะได้ทำการรักษาให้คงมาตรฐานเดิม ส่วนจุดที่ควรพัฒนาจะได้ดำเนินการปรบั ปรุงพัฒนาให้สามารถผ่าน

การคัดเลอื กตอ่ ไปได้

5. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
เกณฑ์การให้คะแนนการคัดเลอื กค่อนข้างละเอยี ด ทำใหก้ ารเกบ็ ข้อมลู ค่อนข้างใชเ้ วลามาก

6. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรใดที่มีผลคะแนนรวมทง้ั 5 หมวด ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 และคะแนนแตล่ ะหมวดไม้น้อย

กว่าร้อยละ 60 ควรพิจารณาให้เป็นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดีเด่น ระดับจังหวัด และประกาศเชิดชูเกียรติ โดยมอบ
ประกาศนียบัตรเชิดชเู กยี รตใิ หส้ หกรณ์/กลุม่ เกษตรกร

สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 25

3.โครงการสหกรณพ์ ฒั นาศกั ยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง

1.วัตถุประสงค์
1.เพอ่ื พัฒนาศักยภาพผจู้ ดั ทำบัญชขี องสหกรณ์บรกิ ารเมืองใหมช่ ยั มงคล จำกดั และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

บา้ นบอ่ แร่ จำกัด (สหกรณ์ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ) ใหส้ ามารถจัดทำบญั ชี และงบการเงนิ ได้
2. เพือ่ ให้สหกรณท์ ี่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถจดั ทำบญั ชแี ละงบการเงนิ ใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั และปิดบัญชีได้ตาม

กฎหมายกำหนด

2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พืน้ ทด่ี ำเนนิ การ
คณะทำงานปิดบัญชีสหกรณ์ คณะปฏิบัติงานจัดทำบัญชีสหกรณ์บริการเมืองใหม่ชัยมงคล จำกัด และคณะ

ปฏิบัติงานจัดทำบัญชีสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านบ่อแร่ จำกัด ผู้แทนจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อ่างทอง และ
เจ้าหน้าทสี่ ำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง จำนวน 20 คน

3.ตวั ชี้วดั ความสำเร็จของการดำเนนิ งานโครงการ

1. สหกรณ์ท่ีเขา้ รว่ มโครงการฯ มีแผนปฏิบัติงานในการแก้ไขปญั หาการปดิ บัญชีสหกรณ์ จำนวน 2 แหง่

2. รอ้ ยละ 70 ของสหกรณ์ที่เขา้ ร่วมโครงการฯ สามารถจัดทำบัญชี งบการเงิน และปดิ บัญชไี ดเ้ ปน็ ปจั จบุ นั
หรอื สามารถเลื่อนระดบั การจัดทำบัญชแี ละงบการเงนิ ได้อย่างนอ้ ย 1 ระดับ

4.ผลสัมฤทธ/์ิ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1. สหกรณท์ ี่เขา้ รว่ มโครงการฯ สามารถสร้างความเข้มแข็งในการจัดทำบัญชีและงบการเงินได้
2. สหกรณ์ทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ สามารถปดิ บัญชีไดต้ ามกฎหมายกำหนด
3. กรมสง่ เสริมสหกรณไ์ ดช้ ดุ องคค์ วามร้เู พอ่ื แก้ไขปญั หาการปดิ บญั ชีสหกรณ์

5.งบประมาณทไี่ ด้รบั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณทีไ่ ด้รับ ผลเบิกจ่าย หนว่ ย:บาท
งบดำเนนิ งาน 11,600.00 11,600.00 รอ้ ยละ

รวมท้ังสิน้ 11,600.00 11,600.00 100.00

100.00

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

26 รายงานประจำปี 2564

6.ผลการดำเนนิ งานโครงการ หนว่ ยนับ แผน ผล รอ้ ยละ
6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม แห่ง 2 --
ตวั ชวี้ ัด/กจิ กรรม
แห่ง 2 2 100
ตัวช้ีวดั งาน แห่ง 2 2 100
สหกรณ์เปา้ หมายสามารถจดั ทำบญั ชเี ป็นปัจจุบัน
และจดั ทำงบทดลองหรืองบการเงนิ สง่ ผู้สอบบัญชี
รบั รองได้
กิจกรรม
1.สหกรณท์ ีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ มีแผนปฏิบตั งิ านใน
การแก้ไขปญั หาการปดิ บัญชสี หกรณ์
2.ตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงาน

4.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ

1.สหกรณท์ เี่ ข้าร่วมโครงการฯ มแี ผนปฏิบตั ิงานในการแก้ไขการปดิ บญั ชสี หกรณ์ จำนวน 2 แผน
2.สหกรณส์ ามารถจัดทำทะเบยี นทุนเรอื นหุ้น ทะเบียนเงนิ ฝาก คงเหลอื ทะเบียนลูกหน้ีท่ียงั ไมแ่ ล้วเสรจ็
เชิงคณุ ภาพ

คณะกรรมการสหกรณ์และเจา้ หนา้ ท่สี หกรณ์ท้งั 2 แห่ง เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการจดั ทำบญั ชี
งบการเงนิ และสามารถปดิ บญั ชไี ด้เปน็ ปจั จบุ ัน

5. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
1.สมาชิกสหกรณไ์ ม่ค่อยให้ความร่วมมอื กับทางคระกรรมการ

ดำเนินการสหกรณ์ เชน่ การส่งหนังสือเพื่อทำการสอบทานหน้ีของสมาชิก
2.สาเหตจุ ากเจ้าหนา้ ท่ีสหกรณ์ไม่สามารถจัดทำงบการเงินได้
3.รายละเอียดประกอบการลงบญั ชีไมต่ รงกับงบการเงิน เชน่

รายละเอยี ดลูกหนี้
6. แนวทางแก้ไข และข้อเสนอแนะ

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองออกคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
กำกับ แนะนำปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ เพื่อให้
คำแนะนำสหกรณ์

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 27

4.โครงการสง่ เสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่มู าตรฐานสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร

1.วัตถปุ ระสงค์
ผลกั ดันใหส้ หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร สามารถใหบ้ ริการแก่สมาชิก และสามารถดำเนนิ ธุรกจิ อย่างยัง่ ยืน

2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พนื้ ท่ดี ำเนนิ การ
สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร จำนวน 77 แห่ง

3.ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนนิ งานโครงการ

1. จำนวนสหกรณ์ท่ผี า่ นเกณฑม์ าตรฐาน ร้อยละ 80

2. กลมุ่ เกษตรกรทีผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 80

4.ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาและยกระดับสู่มาตรฐาน มีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถ

ดำเนินธรุ กจิ ใหบ้ ริการแก่สมาชิกได้ตรงตามความต้องการ

5.ผลการดำเนินงาน

5.1 ผลสำเร็จตามตัวช้ีวัด/กิจกรรม

ตวั ช้วี ัด/กจิ กรรม หน่วยนบั แผน ผล รอ้ ยละ

1.จำนวนสหกรณท์ ่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80 65.51 65.51

2.จำนวนกลุ่มเกษตรกรท่ผี ่านเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 80 76.74 76.74

3.วเิ คราะห์ ใหค้ ำแนะนำ ส่งเสริมสนับสนนุ สหกรณ์ ครงั้ 12 12 100

และกล่มุ เกษตรกรสมู่ าตรฐาน

4.ติดตามประเมินผลมาตรฐานสหกรณ์และกลมุ่ ครั้ง 1 1 100

เกษตรกร

5.2 ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน

เชงิ ปริมาณ

1. สหกรณส์ ามารถพฒั นาสู่มาตรฐานได้ จำนวน 19 แหง่ จากสหกรณท์ ี่นำมาจดั มาตรฐาน 29 แหง่

2. กลมุ่ เกษตรกรสามารถพัฒนาส่มู าตรฐานได้ จำนวน 33 แห่ง จากกลุ่มเกษตรกรท่นี ำมาจดั มาตรฐาน 43 แหง่

เชงิ คณุ ภาพ

สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ท่ผี ่านเกณฑม์ าตรฐานในปกี ่อน สามารถรักษาระดับมาตรฐานได้ ประกอบด้วย

52 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรท่ผี า่ นมาตรฐาน

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

28 รายงานประจำปี 2564

6. ปัญหา อุปสรรคของการดำเนินงานโครงการ
1.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาการดำเนินธุรกจิ ขาดทนุ เน่ืองจากมกี ารตั้งหนสี้ งสยั จะสูญเป็นจำนวน

มาก ทำให้เกิดการขาดทนุ และการหักค่าเส่ือมราคาสนิ ทรัพยม์ ากกว่ากำไร จึงทำให้สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรขาดทนุ
2.สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาไม่สามารถปิดบัญชีได้ จำนวน 4 แห่ง ทำให้ประชุมใหญ่ได้ภายใน

150 วัน แต่ไม่มีการอนมุ ตั ิงบการเงนิ

7.แนวทางแกไ้ ข หรอื ขอ้ เสนอแนะ
ให้คำแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์แผนงานประจำปี กำหนดแผนธุรกิจแต่ละประเภทให้เพิ่ม

ปรมิ าณธุรกิจ ควบคุมคา่ ใชจ้ ่าย และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกกบั สหกรณ์ใหม้ ากขน้ึ ผ่านกิจกรรม

5.งานการกำกบั ดูแล การแก้ไขขอ้ บกพร่องสหกรณ์ และงานตรวจการ

1.วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้งานกำกบั ดูแล และการแนะนำสง่ เสริมสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร มปี ระสิทธภิ าพ
2. เพื่อพัฒนางานดา้ นกำกบั ดูแลสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ให้เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมสหกรณ์และผเู้ กย่ี วข้องใหม้ ี

ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะในการปฏิบัติงาน
3. เพื่อให้ผ้เู กย่ี วข้องติดตาม ตรวจสอบ ผลการแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง และตดิ ตามเฝ้าระวงั การดำเนนิ งานของ

สหกรณ์
2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พ้นื ท่ีดำเนนิ การ

1.คณะทำงานระดบั จงั หวดั แกไ้ ขปญั หาในการดำเนนิ งานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีข้อบกพร่อง และ
เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ทีม่ ีข้อบกพร่อง โดยดำเนินการจดั ประชุมคณะทำงาน เพอื่ หารือแนวทางการ
แก้ไขข้อบกพร่อง ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข
ข้อบกพร่อง จำนวน 4 ครัง้

2.สหกรณไ์ ด้รบั การกำกับ ดแุ ล ตรวจสอบ จำนวน 29 แห่ง

3.งบประมาณท่ีไดร้ บั ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทไ่ี ด้รับ ผลเบิกจา่ ย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนินงาน 40,600 40,600 ร้อยละ
40,600 40,600 100
รวมท้ังสนิ้ 100

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 29

4.สรปุ ผลการดำเนินงาน
4.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวช้ีวดั /กิจกรรม

กจิ กรรม หนว่ ยนบั แผน ผล ร้อยละ

1.สหกรณ์ได้รบั การกำกบั ดแู ล ตรวจสอบ ใหด้ ำเนิน แหง่ 29 26 89.66

กจิ การตามข้อบงั คับ ระเบยี บและกฎหมายรวมถึง

ข้อสงั เกตของผ้สู อบบญั ชี เพือ่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา

ข้อบกพร่อง

2.การเข้าตรวจการสหกรณ์ แหง่ 12 12 100

3.การเข้าแนะนำส่งเสรมิ สหกรณแ์ ก้ไขประเดน็ ตาม แห่ง 8 8 100

ขอ้ สังเกตของผู้สอบบัญชี

4.สหกรณ์แก้ไขประเดน็ ตามข้อสังเกตของผสู้ อบบญั ชี แห่ง 8 8 100

5.ตดิ ตามประเมนิ ผลความก้าวหนา้ การแก้ไข แหง่ 2 2 100

ขอ้ บกพร่อง

6.การชำระบญั ชสี หกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร แห่ง 8 4 100

7.แนะนำส่งเสริมสหกรณอ์ อมทรัพย์และเครดิตยูเน่ยี น แห่ง 8 8 100

เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มเข้าสูเ่ กณฑ์การกำกับดแู ลตาม

ม.89/2

4.2 ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการดำเนนิ งาน

เชิงปริมาณ

ตดิ ตามประเมนิ ผลความก้าวหน้าการแก้ไขขอ้ บกพร่อง จำนวน 4 คร้ัง

เชิงคุณภาพ

1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย มีการกำหนดแผนการติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องอย่าง

ชดั เจน และปฏิบตั ติ ามแผนได้ โดยรายงานสำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทองทราบเปน็ ระยะ

2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย สามารถติดตาม และตรวจสอบผลการแก้ไขข้อบกพร่อง เฝ้า

ระวังการเกดิ ขอ้ บกพรอ่ งของสหกรณ์ได้

3. ที่ประชุมคณะทำงานฯ มีการอภิปรายถึงข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแต่ละแห่ง เป็น

การสร้างกรอบการดำเนินงานให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่เข้าร่วมประชุม สามารถแนวทางการป้องกัน หรือแก้ไข

ปัญหาไปเป็นแนวทางการปฏบิ ตั งิ านในสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรของตนได้

4. และสร้างความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างสำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อ่างทอง กบั สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรท่ี

มีขอ้ บกพรอ่ ง และสำนกั งานตรวจบัญชสี หกรณ์ ให้มกี ารดำเนนิ การแก้ไขปัญหาเปน็ ไปตามแนวทางเดียวกัน

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง

30 รายงานประจำปี 2564

5. ปญั หา อุปสรรคของการดำเนนิ งานโครงการ
1) สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องและมีการดำเนินคดีกับผู้ที่ทำให้สหกรณ์เสียหายต้องติดตามผลการแก้ไขภายหลัง

ดำเนินการตามขั้นตอนกฎหมายต่อไป ซึ่งเป็นเวลานานตามอายุความของคดี การติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องจึง
อาจไม่มีการเปล่ยี นแปลงจนกว่าจะครบกำหนดอายุความตามกฎหมาย

2) สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ไม่สามารถให้ข้อมลู ข้อเทจ็ จรงิ อันเปน็ สาเหตขุ องข้อบกพร่องได้ชัดเจน ข้อมูลมี
ความคลาดเคลอ่ื น ทำใหไ้ ดร้ บั คำแนะนำจากคณะทำงานไมถ่ ูกต้อง

3) สหกรณ์ไม่มีการจัดทำทะเบียนคุมรายละเอียดการดำเนินการตามกฎหมายแต่ละหมายเลขคดีให้ชัดเจน
ทำให้ขอ้ เทจ็ จรงิ ทคี่ ณะทำงานฯไดร้ บั คลาดเคลื่อน

4) สหกรณ์เปลี่ยนตัวผู้เข้าร่วมประชุมที่ให้ข้อมูลกับที่ประชุมคณะทำงาน ทำให้ข้อมูลการแก้ไขปัญหาไม่
ต่อเนือ่ ง
6.แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ

1) ให้คำแนะนำสหกรณ์/กลุ่มเกษตรที่มีข้อบกพร่องให้ดำเนินการตามขั้นตอนกฎหมายทั้งทางแพ่งและละ
อาญาภายในกำหนดอายคุ วาม

2) ให้สหกรณส์ ง่ ผแู้ ทนสหกรณท์ ี่เข้ารว่ มประชมุ ต้องเป็นเจา้ หน้าท่ีท่ีเกยี่ วข้อง กรรมการทที่ ราบข้อมลู ที่ชัดเจน
มาเข้าประชุมทุกครั้ง รวมทั้งเจา้ หน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ควรมีขอ้ มูลท่ีชัดเจน สามารถนำเสนอข้อมูลชงิ ลกึ ต่อทีป่ ระชมุ
คณะทำงานฯ ได้

3) แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินการมอบหมายเจ้าหน้าที่จัดทำทะเบียนคุมรายละเอียดผลของการดำเนินคดี แต่
ละหมายเลขคดใี หช้ ดั เจน เพื่อความสะดวกในการติดตามผลการแก้ไข

4) สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ควรมีการแต่งตั้งผู้ประสานงาน ทำหน้าที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดทั้งหมดที่
เป็นเหตุให้เกิดข้อบกพร่อง การดำเนินการแก้ไขของสหกรณ์ว่าได้ดำเนินการไปแล้วอย่างไรบา้ ง และภายหลังการเข้า
ร่วมประชุมกับคณะทำงานฯ ได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วอย่างไรบ้าง และผู้ประสานงานต้องสามารถนำเสนอข้อมูลท่ี
เปน็ ปัจจุบันของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร ตอ่ ที่ประชุมณะทำงานฯ ได้

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 31

แผนงานยุทธศาสตร์

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง

32 รายงานประจำปี 2564

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นท่ี 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

ประเด็นแผนแมบ่ ท 15 พลงั ทางสงั คม
แผนงานยทุ ธศาสตร์

แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม
1.โครงการสง่ เสริมกจิ กรรมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

1.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้การสหกรณ์ในรูปแบบการใหค้ วามรู้ด้านการสหกรณ์แก่นกั เรียน/เกษตรกร/

ประชาชนทั่วไป ตามแนวทางการดำเนินโครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดำริสมเด็จพระ
กนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี

2. เพื่อเตรียมความพร้อมให้โรงเรียนมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์การประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์
รางวัลพระราชทาน ประจำปี 2565

2.กลุ่มเปา้ หมาย/พืน้ ท่ีดำเนินการ
นักเรยี นและครโู รงเรียนต้นแบบสหกรณ์การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ ประจำปี พ.ศ. 2552 – 2559 จำนวน

7 แห่ง ดงั น้ี
1. โรงเรียนวดั รงุ้ (วบิ ลู ย์วทิ ยาคาร)
2. โรงเรียนอนบุ าลแสวงหา
3. โรงเรยี นชมุ ชนวัดน้ำพุ (นำ้ พพุ ิทยาคาร)
4. โรงเรียนอนุบาลวดั นางใน (ละเอยี ดอุปถมั ภ์)
5. โรงเรยี นวัดทา่ ชมุ นุม
6. โรงเรยี นวดั สุวรรณราชหงส์
7. โรงเรยี นบ้านดอนกร่าง (ฉากราษฎบ์ ำรุง)

3.ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน

1.นักเรยี นและครูโรงเรยี นตน้ แบบสหกรณ์การจัดการเรยี นรู้การสหกรณป์ ระจำปี พ.ศ. 2552 – 2559 จำนวน

7 แหง่ ได้รบั การแนะนำ ส่งเสริม และสนบั สนุนสอ่ื การเรียนรดู้ า้ นการสหกรณใ์ นโรงเรียน
2.มีแนวทางการดำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมให้โรงเรียนมีคุณสมบัติการประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้

การสหกรณ์รางวลั พระราชทาน ประจำปี 2565

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 33

4.งบประมาณทไี่ ด้รับในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณทไ่ี ด้รับ ผลเบิกจ่าย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนินงาน 35,000.00 35,000.00 ร้อยละ
35,000.00 35,000.00 100.00
รวมท้ังสนิ้ 100.00

5.สรปุ ผลการดำเนินงาน
5.1 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการดำเนนิ งาน
เชงิ ปริมาณ
นักเรยี นและครูโรงเรยี นต้นแบบสหกรณฯ์ ประจำปี พ.ศ. 2552 – 2559 ได้รับการแนะนำ ส่งเสริม และสนับสนุน

ส่อื การเรียนรู้ดา้ นการสหกรณ์ในโรงเรียน จำนวน 7 แห่ง
เชงิ คณุ ภาพ
นักเรียนและครูโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์ฯ ประจำปี พ.ศ. 2552 – 2559 เกิดความรู้ความเข้าใจ ด้านการ

สหกรณใ์ นรปู แบบกจิ กรรมสหกรณ์ตา่ งๆ อาทิ กจิ กรรมส่งเสริมมการผลติ กิจกรรมสหกรณร์ า้ นคา้ กิจกรรมออมทรัพย์
และกจิ กรรมสวสั ดกิ าร/การศึกษา

6. ปัญหา อปุ สรรคของการดำเนนิ งาน
เนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้นักเรียนต้องเรียนแบบออนไลน์ ทำให้การ

แนะนำ ส่งเสริม ดา้ นการสหกรณใ์ ห้แก่นักเรยี น ทำไดไ้ ม่เต็มท่ี

7. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
เป็นกิจกรรมที่ดี ได้เผยแพร่การสหกรณ์ให้แก่นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ เพื่อจะได้เป็นกำลังสำคัญใน

การขับเคลือ่ นสหกรณร์ ุน่ ต่อไป

แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนสื่อการเรยี นดา้ นการสหกรณ์ ให้เป็นโรงเรยี นต้นแบบสหกรณ์ จำนวน 7 แห่ง

2.

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง

34 รายงานประจำปี 2564

2.โครงการขับเคลือ่ นการประยุกตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร

1.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้

ในการดำเนินงาน และสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน

2. เพื่อคัดเลือกและยกย่องสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่น้อมนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับองค์กรและระดับสมาชิกได้อย่างโดดเด่น สามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรอ่นื นำไปประยุกตใ์ ช้ได้

3.เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอ่ืน
ได้น้อมนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้
สมาชกิ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชวี ติ ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.กล่มุ เป้าหมาย/พืน้ ทดี่ ำเนินการ
คณะกรรมการระดับจังหวัด การประกวดผลงานการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงในสหกรณ์

และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเจ้าหน้าท่ีสำนักงานสหกรณ์อ่างทอง จำนวน 10 คน

3.ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
1.ดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าร่วมการประกวดผลงานการขับเคลื่อนปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในระดับเขต จำนวน 2 แห่ง
2.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับแรงจูงใจ ส่งผลให้มีการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน

การดำเนนิ งาน และสง่ ผลต่อสมาชกิ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรให้มีการดำเนินชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง

4.งบประมาณทไ่ี ดร้ บั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณท่ีได้รบั ผลเบิกจ่าย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนนิ งาน 1,900.00 1,900.00 ร้อยละ
1,900.00 1,900.00 100.00
รวมท้ังสิน้ 100.00

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 35

5.สรุปผลการดำเนินงาน

5.1 ผลสำเร็จตามตัวช้ีวดั /กิจกรรม

กิจกรรม หนว่ ยนับ แผน ผล รอ้ ยละ

1.แนะนำสง่ เสรมิ สนบั สนุนสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ครง้ั 8 8 100

ให้นำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไป

ประยุกต์ใช้ทั้งในระดบั องค์กรและระดบั สมาชกิ

2.คดั เลือกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรทน่ี ำหลกั ปรัชญา แห่ง 2 2 100

เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้และสามารถเป็น

แบบอยา่ งได้

5.2 ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชนท์ ี่ได้รับจากการดำเนินงาน

เชิงปรมิ าณ

ดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าร่วมการประกวดผลงานการขับเคลื่อนปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในระดับเขต จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ

จำกัด สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำนามว่ งเต้ยี

เชงิ คุณภาพ

สมาชิกสหกรณไ์ ดร้ ับการส่งเสริมจากสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรในการนำแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ได้ เชน่ การฝกึ อาชพี เสริม โดยเฉพาะในสภาวะสถานการณ์การแพรร่ ะบาด

ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลใหร้ ายจ่ายลดลงรอ้ ยละ 1 และมรี ายได้เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 1.5 กอ่ ให้เกิดความสขุ และ

คุณภาพชีวิตแกส่ มาชิก

6. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนนิ งาน
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่ได้จัดทำแผนกลยุทธ์ หรือ

แผนปฏิบัติงานประจำปีเกี่ยวกับกิจกรรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และจำนวนสมาชิกทเี่ ข้ารว่ มโครงการนอ้ ยกว่าร้อยละ 60

7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
ในการดำเนินกิจกรรมปีต่อไป คว รส่งเสริมหรือ

ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบ เพื่อจะได้เข้าร่วมกิจกรรมกันให้มาก
ขึ้น

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง

36 รายงานประจำปี 2564

3.โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่

1.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือรำลกึ ในพระมหากรุณาธิคุณอนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ ทท่ี รงมีตอ่ ปวงชนชาวไทย
2. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตามระบบเกษตรทฤษฎี

ใหม่ และสามารถนำไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างมัน่ คงและย่งั ยืน
3. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมทางการเกษตรตามแนว

ทฤษฎีใหมข่ ้นั ท่ี 1 และสามารถนำสูข่ นั้ ที่ 2 และขัน้ ที่ 3 ต่อไป

2.กลุม่ เป้าหมาย/พื้นทด่ี ำเนนิ การ
สมาชิกสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรในโครงการทฤษฎีใหม่ เปา้ หมายปี 2560 – 2562 จำนวน 150 ราย

3.ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1. สมาชิกในโครงการฯ ไดร้ ับการแนะนำ ส่งเสริมการเกษตรทฤษฎใี หม่ จำนวน 150 ราย
2. แนะนำ สง่ เสรมิ ให้สมาชิกในโครงการฯ เปน็ จุดเรยี นเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 5 ราย

4.งบประมาณทีไ่ ดร้ บั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณท่ีไดร้ ับ ผลเบิกจา่ ย หน่วย:บาท
1) งบดำเนนิ งาน 3,800.00 3,800.00 รอ้ ยละ
3,800.00 3,800.00 100.00
รวมทั้งสิน้ 100.00

5.สรปุ ผลการดำเนินงาน

5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วดั /กิจกรรม

กจิ กรรม หนว่ ยนับ แผน ผล ร้อยละ

1.ตดิ ตามตรวจเยย่ี มการดำเนินโครงการสง่ เสรมิ ราย 150 150 100

การเกษตรตามแนวทางทฤษฎใี หม่

2.แนะนำสง่ เสริมเกษตรกรท่ีไดร้ ับการคัดเลือกเปน็ ราย 5 5 100

จุดเรียนรู้

3.บนั ทกึ ข้อมลู เกษตรกรเป้าหมายในระบบข้อมูล 5 ราย 150 150 100

ประสานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 37

5.2 ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการดำเนินงาน
เชิงปรมิ าณ
1. สมาชกิ ท่เี ขา้ รว่ มโครงการฯ ได้รับการแนะนำ สง่ เสริมการเกษตรทฤษฎใี หม่ จำนวน 150 ราย
2. สมาชิกโครงการฯ ที่เป็นจุดเรียนรู้เกษตรทฤษีใหม่ สามารถดำเนินกิจกรรมการเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อเป็น
ตน้ แบบเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 5 ราย
3. สมาชกิ ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ ไดร้ บั การสนบั สนุนปัจจัยการผลิต ตามกิจกรรมสนับสนนุ ปัจจัยการผลติ
ด้านการปรับปรงุ บำรุงดนิ จากสถานีพัฒนาทีด่ ินจงั หวดั อ่างทอง จำนวน 10 ราย
เชงิ คุณภาพ
การทำกิจกรรมการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ ทำให้สมาชิกมีผลผลิตทางการเกษตรไว้สำหรับบริโภค
ในครัวเรือน ทำใหป้ ระหยัดคา่ ใช้จา่ ยภายในครวั เรือน อีกทัง้ ผลผลติ ทางการเกษตรยังสามารถจำหน่ายเป็นรายได้ของ
ครอบครัวดว้ ย

6. ปญั หา อุปสรรคของการดำเนนิ งาน
พื้นที่ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ บางราย ขาดแคลนน้ำในการทำเกษตรในฤดูแล้ง ทำให้การดำเนิน

กจิ กรรมทางการเกษตรทำได้ไมต่ ่อเน่ือง

7. แนวทางแกไ้ ข หรือขอ้ เสนอแนะ
อยากให้มีการสนบั สนุนงบประมาณในการจดั กิจกรรมแนะนำ สง่ เสรมิ ให้สมาชกิ ในโครงการฯ มากข้ึน

แนะนำ ส่งเสรมิ ตรวจเยี่ยมสมาชิกที่
เขา้ รว่ มโครงการฯ ประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง

38 รายงานประจำปี 2564

4.โครงการคลินกิ เกษตรเคลือ่ นที่ในพระราชานเุ คราะห์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกฎุ ราชกุมาร

1.วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ในการ

พัฒนาให้มคี วามเปน็ อยูท่ ีด่ ี
2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์

สร้างจติ สำนึกในการทำงานร่วมกนั ใหป้ ระชาชน จนสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้
3. เพื่อจัดทำกระเป๋าพร้อมข้อความประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ด้านการสหกรณ์ให้แก่เกษตรกรผู้เข้ารับบริการ

วิชาด้านการสหกรณ์

2.กลมุ่ เปา้ หมาย/พื้นทดี่ ำเนินการ
เกษตรกรเข้ารบั บริการและเขา้ รว่ มโครงการคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ จำนวน 4 ครั้งๆ ละ 125 ราย รวม 500 ราย

3.ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
1. เขา้ ร่วมจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ฯี จำนวน 4 ครงั้
2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 500 ราย ได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านการสหกรณ์ รวมถึงการให้

คำปรึกษาเร่ืองสหกรณ์

4.งบประมาณที่ไดร้ บั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจา่ ย หน่วย:บาท
1) งบดำเนินงาน 21,000.00 21,100.00 รอ้ ยละ
21,000.00 21,100.00 100.00
รวมทั้งสิ้น 100.00

5.สรุปผลการดำเนนิ งาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ
5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ครง้ั 4 2 50
กจิ กรรม
สอ่ื 1 1 100
1.ร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการ ราย 500 500 100
คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ
2.จัดทำสื่อประชาสมั พันธค์ วามรดู้ า้ นสหกรณ์
3.ประชาชนท่เี ขา้ รว่ มโครงการฯ

สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 39

5.2 ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
1. เขา้ ร่วมจดั งานโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีฯ จำนวน 2 ครัง้
2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 500 ราย ได้รับความรู้ ความเข้าใจด้านการสหกรณ์ รวมถึงการให้
คำปรึกษาเรื่องสหกรณ์ อาทิ การจัดตั้งสหกรณ์ การบริหารงานในสหกรณ์ รวมถึงความรู้เกี่ยวกับกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับ
สหกรณ์
เชงิ คุณภาพ
ประชาชนที่เขา้ รว่ มโครงการฯ ได้รับบริการวิชาการด้านการสหกรณ์ เห็นถึงประโยชน์ในการเป็นสมาชิกของ
สหกรณ์
6. ปัญหา อุปสรรคของการดำเนินงาน
เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอก 4 (ตัง้ แต่เดือนเมษายน 2564 เป็นต้นมา)
ทำใหก้ ารดำเนินโครงการฯ ถกู เลอ่ื นออกไปอย่างไม่มีกำหนด จนในเดือนสิงหาคม 2564 มกี ารเปล่ียนแผนการจัดโครงการฯ
โดยกระจายการจัดโครงการฯ ในแต่ละอำเภอในจังหวดั อ่างทอง รวม 7 อำเภอ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทองได้เข้าร่วม
โครงการฯ ท้ัง 7 อำเภอ
7. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
ในการจัดนิทรรศการตามโครงการฯ สื่อประชาสัมพันธ์ด้านการสหกรณ์ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจาก
ประชาชนทเี่ ข้าร่วมโครงการฯ จงึ อยากไดร้ บั การสนับสนนุ สือ่ ประชาสมั พนั ธ์ดา้ นการสหกรณ์

เข้าร่วมจดั งานโครงการคลนิ กิ เกษตรเคลื่อนทฯ่ี
การบรกิ ารดา้ นการสหกรณแ์ ละสนบั สนุนสอ่ื
ประชาสนั พนั ธ์ด้านการสหกรณ์ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง

40 รายงานประจำปี 2564

แผนงานยทุ ธศาสตร์

แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื สนับสนุนดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
1.โครงการช่วยเหลอื ดา้ นหน้สี นิ สมาชกิ สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร

1.วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ลดภาระดอกเบ้ยี และลดต้นทนุ ในการประกอบอาชพี การเกษตรแก่สมาชกิ สหกรณ์/

กลมุ่ เกษตรกร
2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับ

การชว่ ยเหลอื ไปฟน้ื ฟปู ระกอบอาชพี ตลอดจนมีเงินทุนไวใ้ ชจ้ ่ายในครัวเรอื น

2.กลุ่มเป้าหมาย/พ้นื ท่ีดำเนินการ
สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทอง ที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันท่ี

31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการชดเชยไม่เกินรายละ 300,000 บาทแรก จำนวน 2,409 ราย ต้นเงินกู้รวม
380,483,455.41 บาท (สามรอ้ ยแปดสิบล้านส่แี สนแปดหมื่นสามพนั สี่ร้อยห้าสิบหา้ บาทส่ีสบิ เอ็ดสตางค์)

3.ผลสัมฤทธ/์ิ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1. จำนวนสมาชกิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหน้ีเงินกูเ้ พ่ือการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบ้ีย
2. ตน้ ทนุ การผลิตของสมาชิกลดลง รอ้ ยละ 3
3. เบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกำหนด รอ้ ยละ 100

4.งบประมาณทีไ่ ดร้ ับในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณที่ไดร้ บั ผลเบกิ จา่ ย หนว่ ย:บาท
1) งบอุดหนุน 2,057,399.99 2,044,743.58 รอ้ ยละ
2,057,399.99 2,044,743.58 99.38
รวมทั้งส้ิน 99.38

5.สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

5.1 ผลสำเร็จตามตัวช้ีวัด/กิจกรรม

ตวั ช้ีวดั /กิจกรรม หน่วยนับ แผน ผล รอ้ ยละ

1.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรไดร้ ับเงนิ ดอกเบย้ี เพื่อ แหง่ 7 7 100

ชดเชยใหส้ มาชิกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร

2.สมาชิกสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรท่ีมหี น้เี งินก้เู พ่ือ ราย 2,409 2,409 100

การเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบ้ยี

สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 41

ตัวชี้วัด/กิจกรรม หนว่ ยนบั แผน ผล ร้อยละ

3.ตน้ ทนุ การผลติ ของสมาชกิ ลดลง ร้อยละ 3 3 100

4.ตดิ ตาม กำกบั การเบิกจา่ ยของสหกรณ์/กลมุ่ แห่ง 7 7 100

เกษตรกรให้กบั สมาชิกทผ่ี า่ นการตรวจสอบและ

เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์

5.2 ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน

เชิงปริมาณ

1.สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รับการช่วยเหลือในการลดภาระดอกเบี้ย และต้นทุนในการผลิต

จำนวน 2,409 ราย เป็นเงนิ 2,044,743.53 บาท (สองล้านสห่ี ม่นื สี่พันเจด็ รอ้ ยสส่ี บิ สามบาทห้าสิบสามสตางค์)

2.สมาชกิ สหกรณ์จำนวน 2,409 รายสามารถลดตน้ ทุนการผลติ ได้ร้อยละ 3
เชิงคุณภาพ
สมาชกิ สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรทไี่ ด้รบั การชดเชยดอกเบย้ี เงนิ กู้มมี ีโอกาสนำเงินในสว่ นท่ีไดร้ ับการชว่ ยเหลือไป
ฟื้นฟูอาชีพอาชีพ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวทำให้มีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นการสร้าง
ความสุขทย่ี ่งั ยนื ให้แกส่ ถาบันครบครวั ของเกษตรกรสมาชกิ

6. ปัญหา อุปสรรคของการดำเนนิ งาน
ขั้นตอนในการตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความซ้ำซ้อนในบางขัน้ ตอนจึงทำ

ให้กระบวนการในการเบกิ จ่ายเงินให้แกส่ หกรณ์มคี วามล่าช้า สมาชิกสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรไดร้ บั เงินชดเชยช้าลง

7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
ลดขั้นตอนในการตรวจสอบคุณสมบตั ิของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทไี่ ด้มกี ารตรวจสอบคณุ สมบตั ิใน

การจา่ ยเงินชดเชยในคร้ังแรกแล้ว โดยไม่ตอ้ งดำเนินการตรวจสอบคุณสมบัติใหม่เน่อื งจากไดร้ บั การตรวจสอบและ
รับรองจากหนว่ ยงานภาครฐั และผู้นำชุมชนเปน็ ทีเ่ รยี นรอ้ ยแล้วในการจา่ ยเงินชดเชยในครั้งแรก

สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง

42 รายงานประจำปี 2564

แผนงานบูรณาการ

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 43

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นท่ี 4 การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม

ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกจิ ฐานราก
แผนงานบรู ณาการ

แผนงานบูรณาการพฒั นาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก
1.โครงการส่งเสริมและสร้างทกั ษะในการประกอบอาชีพฯ (นำลูกหลานเกษตรกรกลบั บ้าน)

1.วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำลูหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตรได้เข้าถึงองค์

ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพ
การเกษตร

2. เพื่อให้สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการสร้างอาชีพที่มั่นคง มีการสร้างงาน สร้างอาชีพเพิ่มราย ได้แก่ชุมชน
รวมทัง้ สามารถยกระดับสหกรณใ์ หเ้ ปน็ ทพี่ ่งึ ของสมาชกิ อยา่ งแทจ้ ริง

2.กลุม่ เป้าหมาย/พ้นื ท่ีดำเนินการ
เกษตรกรในโครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ น สานต่ออาชีพการเกษตร จำนวน 2 ราย

3.ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1.เกษตรกรทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ มรี ายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 3
2.สหกรณ์สามารถนำลูกหลานสมาชิกและบุคคลทั่วไป เข้ามาทำอาชีพการเกษตรที่บ้านเกิดของตนเอง

เกษตรมรี ายไดท้ ม่ี ัน่ คงในการดำงชวี ิต

4.งบประมาณทไี่ ด้รับในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทไี่ ดร้ ับ ผลเบกิ จ่าย หน่วย:บาท
1) งบดำเนินงาน 2,400.00 2,400.00 ร้อยละ
2,400.00 2,400.00 100.00
รวมทั้งสิน้ 100.00

สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

44 รายงานประจำปี 2564

5.สรุปผลการดำเนินงาน

5.1 ผลสำเร็จตามตัวช้ีวัด/กิจกรรม

ตวั ช้วี ัด/กจิ กรรม หน่วยนบั แผน ผล รอ้ ยละ

1.ผเู้ ข้ารว่ มโครงการไดร้ บั การพฒั นาดา้ นการ ราย 2 2 100

ประกอบอาชีพการเกษตร

2.ผ้เู ข้ารว่ มโครงการมีรายได้เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 3 16.90 563.33

3.การประชุม/ถ่ายทอดความร้แู นวทางในการ ครั้ง 2 2 100

ประกอบอาชีพเกษตรกรสมัยใหม่

4.สหกรณก์ ารเกษตรเปน็ ศนู ย์ใหบ้ รกิ ารลูกหลาน แหง่ 1 1 100

เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป

5.2 ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการดำเนินงาน

เชงิ ปริมาณ

เกษตรกรทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 2 ราย มรี ายไดจ้ ากการประกอบอาชีพเฉพาะรายไดจ้ ากการเกษตรก

เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 16.90 (รายได้ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ 788,300 บาท รายได้หลงั เขา้ ร่วมโครงการ 921,600 บาท)

เชิงคุณภาพ

1.เกษตรกรที่เข้ารว่ มโครงการฯ มที ักษะในการจัดทำแผนการผลิตที่สอดคล้องกบั ฤดูกาล พนื้ ที่ ของตนเอง

2.เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ มีทักษะในการจัดทำบัญชี เพื่อการรับรู้รายได้ รายจ่าย จากกิจกรรมการเกษตร เพ่ือ

จะได้วางแผนจดั การต้นทนุ การผลิตได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

3.เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีทักษะด้านการตลาดสินค้าเกษตรมากขึ้น มีความรู้พื้นฐานของผู้ประกอบการนำสู่

การพัฒนาสนิ คา้ เพ่อื การจำหน่าย และส่งเสรมิ ความย่งั ยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกร

4. เกษตรกรนอกเหนือจากโครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร

มีทักษะในการวางแผนการผลติ และทกั ษะดา้ นการตลาดสนิ คา้ เกษตรมากข้ึน

6. ปัญหา อุปสรรคของการดำเนนิ งาน
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ บางราย มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมทางการเกษตรจากที่วางแผนการผลิตไว้

เนอื่ งจากผลการทบจากการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ส่งผลให้รายได้จากการประกอบอาชพี เกษตรลดลง

สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 45

7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
อยากให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเกษตรท่ีเขา้ ร่วมโครงการฯ ในระดบั ประเทศ เพราะอาจจะทำให้เกษตร

เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ เพื่อนำมาปรับใช้กบั กิจกรรมการเกษตรของตนเอง

เกษตรกรในโครงการฯ เขา้ ร่วมอบรมการวางแผนการผลิต ทักษะการจดั ทำบัญชี และทักษะดา้ นการตลาดสนิ คา้ เกษตร

กจิ กรรมการเกษตรของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสง่ เสริมและสร้างทกั ษะ
ในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคการเกษตร

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง

46 รายงานประจำปี 2564

2.โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นาระบบตลาดภายในสำหรบั สนิ คา้ เกษตร

1.วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การตลาดสนิ ค้าเกษตร
2. เพื่อเชือ่ มโยงเครอื ข่ายคลสั เตอร์ของสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร

2.กล่มุ เปา้ หมาย/พน้ื ที่ดำเนินการ
1. สหกรณ์ประมงและการแปรรปู อ่างทอง จำกัด
2. สหกรณ์ผูเ้ พาะเล้ยี งสัตว์น้ำอา่ งทอง จำกัด
3. สหกรณ์ผู้เล้ียงไก่ไขล่ มุ่ แมน่ ้ำน้อย จำกัด
4. สหกรณ์การเกษตรโพธทิ์ องทอง จำกัด
5. สหกรณ์การปศสุ ัตวอ์ ่างทอง จำกัด
6. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่นาสวนผสมสมาชิกตำบลวังน้ำเย็น

3.ผลสัมฤทธ/์ิ ผลประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับจากการดำเนนิ งาน
1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเปา้ หมาย ไดร้ ับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจดั การด้านการตลาดการ

เช่ือมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์
2. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทรี่ ว่ มโครงการมีรายได้เพม่ิ ข้ึน
3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทร่ี ว่ มโครงการมีปริมาณธรุ กิจเพ่ิมข้ึน

4.งบประมาณท่ไี ดร้ บั ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทไ่ี ดร้ ับ ผลเบกิ จา่ ย หน่วย:บาท
1) งบดำเนนิ งาน 74,520 74,520 รอ้ ยละ
74,520 74,520 100
รวมท้ังสน้ิ 100

5.สรุปผลการดำเนนิ งาน

5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วดั /กิจกรรม

ตวั ช้ีวดั /กจิ กรรม หนว่ ยนบั แผน ผล ร้อยละ

1.สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรไดร้ บั การส่งเสริมและ แห่ง 6 6 100

พฒั นาการบรหิ ารการจดั การด้านการตลาดการ

เชอ่ื มโยงเครอื ข่าย/คลัสเตอร์

2.สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรทเ่ี ข้าร่วมโครงการมรี ายได้ ร้อยละ 3 3.12 104

เพ่มิ ขนึ้ ไม่น้อยกว่า

สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง

รายงานประจำปี 2564 47

5.2 ผลสัมฤทธ์/ิ ผลประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
เชิงปริมาณ
1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการมีรายได้เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 3
2. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายทัง้ 6 แห่ง ได้รบั การพฒั นาการบริหารจัดการด้านการตลาด การ
เชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย
เชงิ คณุ ภาพ
1.สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรมชี ่องทางการจำหน่ายสนิ ค้าเกษตรเพ่ิมขนึ้
2.สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรมขี ีดความสามารถในการขบั เคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจชมุ ชนได้ตลอดหว่ งโซ่
อุปทาน

6. ปัญหา อุปสรรคของการดำเนนิ งาน

1.สำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้รับแผนการ
ปฏิบัติงานและคู่มือในการดำเนินงานโครงการมา
ล่าช้า ส่งผลให้ระยะเวลาในการดำเนินโครงการมี
ความเร่งรบี และกระชนั้ ชิด

2.สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรน่า (covid -19)

7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
1.ควรขยายกรอบระยะเวลาในการจัดโครงการ
2.คู่มือและแนวทางในการดำเนินงานโครงการจาก

กรมฯ ควรมีความถูกต้องและชัดเจน ไม่ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหลายรอบ ส่งผลทำให้เกิดความสับสนกับ
ผู้ปฏิบตั งิ าน

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

48 รายงานประจำปี 2564

2.โครงการพฒั นาศักยภาพการดำเนินธุรกจิ ของสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร และธุรกจิ ชมุ ชน

1.วัตถุประสงค์
1. เพอื่ พฒั นาศักยภาพและเพ่ิมขีดความสามารถในการดำเนนิ กิจการและธุรกจิ ของสหกรณแ์ ละกลุ่ม

เกษตรกร ให้เป็นองคก์ รหลกั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ
2. เพื่อผลกั ดันให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นศนู ย์กลางในการรวบรวม จัดเกบ็ และแปรรูปผลิตสนิ คา้

เกษตรกรของสมาชิกสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร รวมถงึ การตลาดตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน

2.กลุม่ เป้าหมาย/พนื้ ทีด่ ำเนินการ
1.สหกรณ์ประมงและการแปรรปู อ่างทอง จำกัด
2.สหกรณ์ผู้เพาะเลย้ี งสัตวน์ ้ำอา่ งทอง จำกัด
3.สหกรณ์ผเู้ ลยี้ งไก่ไข่ลมุ่ แมน่ ้ำนอ้ ย จำกัด
4.สหกรณ์การเกษตรโพธ์ทิ องทอง จำกัด
5.สหกรณ์การปศุสตั ว์อา่ งทอง จำกดั
6.กล่มุ เกษตรกรทำไร่นาสวนผสมสมาชกิ ตำบลวังนำ้ เย็น

3.ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
1. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรเปา้ หมาย ได้รบั การพฒั นาศกั ยภาพในการดำเนินธรุ กิจพัฒนาองค์กร
2. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร มีรายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 3
3. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเปา้ หมายไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพการดำเนินกจิ การและธุรกจิ ให้เป็นศนู ย์กลาง

เศรษฐกิจชุมชนในระดบั อำเภอ
4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีแนวทางในการขบั เคลื่อนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแผนพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด

ความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสถาบันเกษตรกรเป้าหมาย
5. สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อ่างทอง มแี ผนบริหารจดั การสินคา้ เกษตรในระดับจงั หวัด ไปสู่การปฏิบตั ิตาม

แผนเพือ่ ส่งเสริมสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรเป้าหมาย
6. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมรี ายได้จากการดำเนินธุรกจิ รวบรวม แปรรูป จำหนา่ ยผลผลติ สนิ ค้าเกษตรและ

ใหบ้ ริการดา้ นสนิ คา้ เกษตรเพ่ิมขึ้น
7. สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร มีขดี ความสามารถในการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ชาตแิ ละสร้างสรรค์ขับเคลื่อน

กิจกรรมทางเศรษฐกิจชมุ ชนได้ตลอดห่วงโซ่อุปทาน

สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง

รายงานประจำปี 2564 49

4.งบประมาณท่ไี ดร้ บั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณทีไ่ ด้รบั ผลเบกิ จ่าย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนินงาน 74,520 74,520 ร้อยละ
74,520 74,520 100
รวมท้ังส้ิน 100

5.สรปุ ผลการดำเนินงาน หน่วยนบั แผน ผล ร้อยละ
5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วดั /กิจกรรม แห่ง 6 6 100
ตัวช้ีวดั /กิจกรรม 3.12 104
รอ้ ยละ 3
1.สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนา 40 100
ศกั ยภาพการดำเนินธรุ กจิ ราย 40
2.สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรมรี ายไดจ้ าการดำเนนิ 6 100
ธุรกิจรวบรวม แปรรูป จำหน่ายผลผลติ สินคา้ เกษตร แผน 6
และใหบ้ ริการด้านสินค้าเกษตร 6 100
3.จดั อบรมหลกั สูตรการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจุ แผน 6
ภัณฑ์สนิ คา้ เกษตรแปรรปู ภายใต้โครงการ 1 อำเภอ 2 100
1 ผลิตภัณฑส์ ินคา้ เกษตร จำนวน 2 2 100
4.สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรแต่ละแหง่ มีแผนพัฒนา ผลิตภณั ฑ์ 2
ศกั ยภาพและเพ่ิมขีดความสามารถในการดำเนิน
ธุรกจิ ของสถาบนั เกษตรกร ด้านพัฒนาองค์กรของ
สหกรณ์
5.สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกรแตล่ ะแห่ง จัดทำ
แผนพฒั นาธรุ กจิ ต่าง ๆ และแผนบรหิ ารจดั การ
ผลผลิต การผลติ รวบรวม แปรรปู พัฒนาผลติ ภณั ฑ์
บรรจภุ ณั ฑ์ การตลาด
5.จดั ทำ VTR
6.สนิ คา้ เกษตรหรือผลติ ภัณฑ์เกษตรแปรรูปของ
สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ทไี่ ดร้ ับการพฒั นาฯ จังหวดั
ละ ไม่น้อยกว่า 2 ผลติ ภณั ฑ์

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง

50 รายงานประจำปี 2564

5.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
เชงิ ปรมิ าณ
1. สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรแต่ละแหง่ มแี ผนพัฒนาศักยภาพและเพ่ิมขีดความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กิจ
ของสถาบนั เกษตรกร จำนวน 6 แผน
2. สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรแต่ละแห่ง จัดทำแผนพฒั นาธรุ กิจต่าง ๆ และแผนบรหิ ารจัดการผลผลติ
การผลติ รวบรวม แปรรูป พัฒนาผลติ ภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑ์ การตลาด จำนวน 6 แผน
3. สนิ ค้าเกษตรหรือผลติ ภัณฑเ์ กษตรแปรรูปของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทไ่ี ด้รับการพฒั นา จำนวน 2
ผลติ ภัณฑ์ ไดแ้ ก่ ผลิตภัณฑป์ ลาสม้ คลองขนากของสหกรณ์ผู้เพาะเล้ียงสัตวน์ ำ้ อา่ งทอง จำกัด และผลิตภัณฑ์ขา้ วของ
กลุม่ เกษตรกรไรน่ าสวนผสมสมาชกิ แปลงใหญ่ตำบลวังนำ้ เย็น
เชิงคุณภาพ
1.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพเป็นที่พึ่งของสมาชิกและชมุ ชน
2.สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายมขี ีดความสามารถขับเคลอ่ื นนโยบายจากภาครัฐสชู่ ุมชน
6. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
1. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้รับแผนการปฏิบัติงานและคู่มือในการดำเนินงานโครงการมาล่าช้า ส่งผลให้
ระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการมีความเร่งรีบและกระชน้ั ชิด
2. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (covid -19)
7. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
1. ควรขยายกรอบระยะเวลาในการจัดโครงการ
2. คู่มือและแนวทางในการดำเนินงานโครงการจากกรมฯ ควรมีความถูกต้องและชัดเจน ไม่ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหลายรอบ สง่ ผลทำให้เกดิ ความสับสนกับผู้ปฏิบัติ

สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง


Click to View FlipBook Version