รายงานประจำปี 2564 51
โครงการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศกั ยภาพการดำเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร และธรุ กจิ ชมุ ชน
กจิ กรรมประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารจัดทำแผนพฒั นาเพิ่มขดี ความสามารถในการดำเนนิ ธุรกจิ ของสถาบนั เกษตรกร
และแผนบรหิ ารจัดการสินค้าเกษตรระดับจงั หวดั
โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาศกั ยภาพการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน
กจิ กรรมประชุมเชิงปฏิบตั ิอบรมหลักสูตรพฒั นาผลิตและบรรจภุ ณั ฑ์สนิ คา้ เกษตรแปรรูป
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
52 รายงานประจำปี 2564
2)ผลการดำเนนิ งาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ
ประจำปงี บประมาณพ.ศ.2564
งานกํากบั ติดตาม
และงานแก้ปญั หา
สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2564 53
แนวทางการส่งเสรมิ สหกรณใ์ หค้ วามชว่ ยเหลือเกษตรกรสมาชิกทมี่ ีปญั หาในการประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร (สนับสนนุ เงนิ กู้จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์)
1.โครงการสร้างความเข้มแข็งใหก้ บั กลุ่มเกษตรกรเพื่อเขา้ ถงึ แหล่งเงินทนุ ในการผลติ และการตลาด
1.วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื สนับสนุนเงนิ กู้ยืม ขยายเวลาการชำระหน้ีให้กับกล่มุ เกษตรกร เพือ่ ใช้เป็นเงินทนุ หมนุ เวยี น
ในระยะเวลา 1 ปี
2. เพ่ือให้กล่มุ เกษตรกรท่ปี ระสงค์ขอกยู้ มื เงินหรือขยายเวลาการชำระหน้ไี ดร้ บั การพิจารณาใหก้ ยู้ ืมหรือขยาย
เวลาการชำระหนี้ตามมตขิ ยายโครงการตามมตทิ ่ปี ระชมุ คณะกรรมการสงเคราะหเ์ กษตรกร
3. เพอื่ ส่งเสรมิ เกษตรกรให้สามารถจัดหาปจั จยั การผลติ ทางการเกษตรทีม่ ีคณุ ภาพและราคายตุ ิธรรม ตรง
ตามวัตถุประสงค์ของเกษตรกร เพอ่ื เป็นการลดต้นทุนการผลติ ของเกษตรกรรวมทัง้ สร้างรายได้เพิ่ม
จากการรวบรวมผลผลติ เพอ่ื จำหนา่ ย หรอื แปรรปู ผลผลิตร่วมกนั
4. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหลง่ เงนิ ทุนให้กับกลมุ่ เกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืนในการ
เพม่ิ ทุนภายใน เพ่ือใหก้ ารบริหารจดั การกลมุ่ เกษตรกรมศี ักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป
2.กลมุ่ เป้าหมาย/พน้ื ทีด่ ำเนินการ
กลมุ่ เกษตรกรในจังหวดั อ่างทอง ท่มี ีความประสงค์ขอขยายระยะเวลาการสง่ ชำระหนี้
3.ผลสัมฤทธ์ิ/ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
1. กลุม่ เกษตรกรได้รับเงนิ ทุนเพ่ือจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคายตุ ธิ รรม ตรงตาม
ความประสงค์ของเกษตรกร เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้างรายได้เพิ่ม
จากการรวบรวมผลผลิตเพ่ือจำหน่าย หรือแปรรปู ผลผลิตร่วมกัน
2. กลมุ่ เกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน นำไปใช้ในการร่วมกันแก้ไขปัญหาและความสร้างความยั่งยืนใน
การเพิ่มทนุ ภายใน เพอื่ ให้การบรหิ ารจัดการกล่มุ เกษตรกรมีศกั ยภาพและความเขม้ แขง็
4.งบประมาณทไ่ี ด้รบั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
หน่วย:บาท
ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทีไ่ ด้รับ ผลเบกิ จา่ ย ร้อยละ
1) งบเงนิ อุดหนนุ 800,000.- 300,000.- 37.50
รวมท้ังสิ้น 800,000.- 300,000.- 37.50
*กล่มุ เกษตรกรมคี วามประสงคข์ อรบั เงนิ กูแ้ ละขอขยายเวลาชำระหนี้ 2 กลุ่มฯ แต่เนือ่ งจากระยะเวลาการสง่ ชำระหนีไ้ มเ่ ปน็ ไปตามรอบการผลติ
จงึ ไม่ขอรับเงนิ กู้ มีเพียง 1 กล่มุ เกษตรกรขอขยายระยะเวลาชำระหน้ี
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
54 รายงานประจำปี 2564
5.สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด/กิจกรรม
ตัวชว้ี ดั /กจิ กรรม หนว่ ยนับ แผน ผล รอ้ ยละ
ติดตามกลมุ่ เกษตรกรใช้เงินกู้กองทุนสงเคราะหท์ ี่ แห่ง 1 1 100
ไดร้ บั การขยายเวลาชำระหนี้ ให้เป็นไปตาม
วตั ถปุ ระสงค์
5.2 ผลสัมฤทธ/์ิ ผลประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการดำเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ
กลุ่มเกษตรกรทำนาอบทม ขอขยายระยะเวลาการชำระหน้ี ตน้ เงินจำนวน 300,000 บาท ขยายระยะเวลา
ชำระหน้ถี งึ วันท่ี 28 กมุ ภาพันธ์ 2565
เชิงคณุ ภาพ
1. เกษตรกรสมาชกิ มีเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และช่วยลดต้นทนุ การผลติ แบ่งเบาภาระ
คา่ ใช้จ่ายของเกษตรกร
2. กล่มุ เกษตรกร มคี วามสามารถในการบรหิ ารจดั การกลุ่มเกษตรกรเพ่ือตอบสนองความต้องการ
ของสมาชิก มีทุนภายในเพิม่ ขนึ้ สรา้ งความเข้มแข็งม่ังคงให้กบั กลมุ่ เกษตรกร
6. ปญั หา อุปสรรคของการดำเนินงาน
กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ประสบปัญหาภัยแล้ง โรคระบาด และอุทกภัย ส่งผลให้ไม่สามารถประกอบอาชีพ
เกษตรได้
7. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ
1. ติดตามการใชเ้ งนิ กู้กองทุนสงเคราะห์ที่ไดร้ บั การขยายเวลาชำระหนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์
2. ตดิ ตามการสง่ ชำระหนี้ของกล่มุ เกษตรกรท่ีขอขยายระยะเวลาการชำระหน้ี ใหเ้ ป็นตามกำหนดเพ่ือให้
กล่มุ เกษตรกรมโี อกาสในการเขา้ ถึงแหล่งเงินทุน ดอกเบยี้ ต่ำในโครงการต่อไป ซ่ึงจะเป็นการช่วยเหลอื สมาชิก และ
สร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่กลุม่ เกษตรกรต่อไป
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2564 55
2.โครงการสนบั สนุนเงนิ ทนุ เพอ่ื สร้างระบบนำ้ ในไร่นา ระยะที่ 2
1.วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ สรา้ งโอกาสในการทำเกษตรกรรม และลดความเสีย่ งจากการขาดแคลนนำ้
2. เพื่อสง่ เสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยงั่ ยนื มีแหลง่ น้ำในฟารม์ ของตนเอง
ลดการพ่งึ พานำ้ จากระบบชลประทานและแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ
3. เพอ่ื สร้างการเปล่ยี นแปลงจากระบบการทำเกษตรกรรมแบบพง่ึ ธรรมชาติ เป็นการเกษตรแบบบรหิ าร
จัดการเพื่อลดความเสย่ี งจากการขาดนำ้
2.กลมุ่ เป้าหมาย/พ้นื ท่ดี ำเนินการ
สมาชิกสถาบนั เกษตรกรในจังหวัดอา่ งทอง ทีม่ คี วามต้องการพัฒนาแหล่งนำ้ ในไร่นาของตนเอง
3.ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
1.สมาชิกสถาบันเกษตรกรที่ต้องการพัฒนาแหล่งน้ำในไร่นาของตนเอง ได้รับการพัฒนาระบบน้ำในไร่นาให้
สามารถมีน้ำใช้ในไร่นาได้จริง หรือมีระบบน้ำใช้เพื่อการเกษตร สามารถลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ำเพื่อใชใ้ น
การเกษตรในฤดแู ลง้ สมาชิกสถาบันเกษตรกร จำนวน 100 ราย 2 สถาบันเกษตรกร
2. ลดความเสยี่ งจากวกิ ฤตการขาดแคลนน้ำ เน่อื งจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดนำ้ อย่างตอ่ เน่อื ง
3.เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ำต้นทุน ส่งผลให้ผลผลิต
ทยอยออกสตู่ ลาดในระยะเวลาท่ีเหมาะสม
4. ลดภาระหนี้สนิ ที่เกิดความเสี่ยงจากการทำการเกษตรตามระบบธรรมชาติ มาเป็นการเกษตรมีระบบน้ำใน
พน้ื ท่ขี องตนเอง ลดการพงึ่ พาการบริหารจดั การนำ้ จากระบบชลประทานหรอื แหลง่ นำ้ ตามธรรมชาติ
4.งบประมาณที่ไดร้ ับในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณทีไ่ ด้รบั ผลเบกิ จ่าย หน่วย:บาท
1) งบเงนิ อดุ หนนุ 5,000,000.- 5,000,000.- ร้อยละ
5,000,000.- 5,000,000.- 100
รวมทั้งสิ้น 100
5.สรุปผลการดำเนินงาน หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ
5.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วดั /กิจกรรม แหง่ 2 2 100
ตวั ชี้วดั /กจิ กรรม
สมาชกิ สถาบันเกษตรกรท่ตี ้องการพัฒนาแหล่งน้ำใน
ไร่นาของตนเอง ไดร้ บั การพัฒนาระบบนำ้ ในไร่นาให้
สามารถมีนำ้ ใช้ในไรน่ า
สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อา่ งทอง
56 รายงานประจำปี 2564
5.2 ผลสัมฤทธ์ิ/ผลประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการดำเนินงาน
เชงิ ปริมาณ
1.สมาชิกสหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด จำนวน 62 ราย ได้รบั เงินทนุ ในการพัฒนาแหลง่ น้ำ
ในไรน่ าของตนเอง จำนวนรวม 3,100,000 บาท
2.สมาชิกสหกรณก์ ารเกษตรแสวงหา จำกัด จำนวน 38 ราย ได้รับเงนิ ทุนในการพัฒนาแหล่งนำ้
ในไร่นาของตนเอง จำนวนรวม 1,900,000 บาท
เชิงคณุ ภาพ
เกษตรกรสมาชิกที่เขา้ รว่ มโครงการ สามารถพฒั นาแหลง่ น้ำในไร่นาของตนเองให้สามารถมนี ำ้ ไวใ้ ช้ในการทำ
การเกษตรได้จรงิ สามารถเพิ่มรอบการผลติ ของเกษตรกร และลดความเส่ยี งจากการขาดแคลนนำ้ ในฤดูแลง้ ได้ สรา้ ง
ความยง่ั ยนื ในการทำการเกษตรของสมาชิก
6. ปัญหา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
1. ปญั หาการแพรร่ ะบาดของไวรสั โควิด 19 ต่อการติดตามการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2. พน้ื ท่ขี องสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการประสบปัญหาอุทกภยั ทำให้ไม่สามารถทำการเกษตรกรได้
7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
ควรส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรใหม้ ีความยง่ั ยืน มีแหลง่ น้ำในฟารม์ ของตนเอง ลดการพง่ึ พาน้ำ
จากระบบชลประทานและแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ขยายระยะเวลาการดำเนนิ โครงการใหค้ รอบคลุมทกุ สถาบันเกษตรกร
สำรวจการขดุ เจาะบอ่ ดาดาลในไร่นา
ของเกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร
สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 57
3. การสนบั สนุนเงินทนุ สหกรณ์โดยกองทนุ พัฒนาสหกรณ์
1.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้สหกรณ์กู้ยืมสำหรับเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม
หรอื จดั หาสินค้ามาจำหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต
- กรณขี อก้เู งินเพ่ือนำไปดำเนินธรุ กจิ จัดหาสนิ ค้ามาจำหน่าย หรอื รวบรวมผลผลิตจะตอ้ งมีสมาชิกทำธุรกิจ
กับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนคนทั้งหมด (สมาชิกและบุคคลภายนอก) ที่มาทำธุรกิจกับสหกรณ์ในแต่ละ
วตั ถุประสงคท์ ี่ขอกู้ โดยพจิ ารณาจากผลการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณป์ ใี ดปหี นง่ึ ในรอบ 4 ปีบญั ชีผ่านมา
- ในการพิจารณาจำนวนคนที่ทำธุรกิจกับสหกรณ์ตาม (๑) ให้ยกเว้นกรณีที่สหกรณ์ขอกู้เพื่อดำเนินธุรกิจ
สถานีบรกิ ารน้ำมันของสหกรณ์
- กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระเบียบฯ กำหนด ให้จังหวัดพิจารณาในเบื้องต้นพร้อมทั้งให้ความเห็นหาก
เห็นสมควรให้สหกรณ์กู้เงนิ ให้นำเสนอคณะกรรมการบริหาร กพส. พิจารณาเป็นกรณไี ป
2. เพือ่ ลงทุนในทรัพยส์ ิน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลกั เกณฑ์ ดังน้ี
- ให้กู้ได้ไม่เกิน 80 % ของวงเงินลงทุนในทรัพย์สิน และสหกรณ์ต้องสมทบการลงทุน ไม่น้อยกว่า 20%
ของวงเงนิ ลงทุน ยกเว้นกรณีสหกรณ์ขอกู้เพื่อสร้างสำนักงานให้กู้ได้ไมเ่ กิน 70% ของวงเงนิ ลงทุนสร้างสำนักงาน และ
สหกรณ์ต้องสมทบการลงทนุ ไมน่ ้อยกวา่ 30% ของวงเงนิ ลงทุน
- ในกรณที ีส่ หกรณไ์ ด้รับการสนับสนุนเงนิ ทนุ ภายใตโ้ ครงการเงนิ กู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคเกษตรและ
สามารถบริจาคเงินได้ตามกำหนดในหนังสือยนิ ยอมบริจาค ใหม้ ีสิทธกิ ูเ้ งินกองทุนพฒั นาสหกรณ์ไปลงทุนเพ่ิมเติมใน
ปจั จัยพื้นฐาน โดยไมต่ ้องสมทบการลงทุนและคิดดอกเบ้ียในอตั ราร้อยละ 1 ตอ่ ปี
2.กลุ่มเป้าหมาย/พ้ืนท่ดี ำเนนิ การ
อนุมตั ิเงินกูก้ องทุนพฒั นาสหกรณ์ระดับจงั หวัดอา่ งทอง ทไี่ ด้รับจดั สรรใหด้ ำเนินการโครงการปกติ 15 ลา้ น
บาท โครงการพเิ ศษ 14.60 ล้านบาท รวมท้ังสนิ้ 29.60 ล้านบาท ติดตามเรง่ รัดหน้สี ินเงินกองทุนพฒั นาสหกรณ์ที่ถึง
กำหนดชำระ 5 สหกรณ์ เปน็ เงิน 28.600 ลา้ นบาท
3.ผลสัมฤทธ์ิ/ผลประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
1. จำนวนสหกรณ์ที่ขอก้เู งนิ กองทนุ พัฒนาสหกรณส์ ง่ ชำระหนี้ได้ตามกำหนด รอ้ ยละ 100
2. สหกรณม์ ีโอกาสเข้าถึงแหลง่ เงินทนุ ดอกเบย้ี ต่ำ เพื่อช่วยเหลอื สมาชิกสหกรณ์
3. สมาชิกสหกรณ์ได้รับการช่วยเหลือให้มีเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพพัฒนาอาชีพ ฟื้นฟูอาชีพ
และลดต้นทนุ การผลติ จากการไดร้ ับเงนิ กดู้ อกเบ้ียตำ่
4. สมาชกิ สหกรณม์ รี ายไดเ้ พิม่ ขนึ้ จากการประกอบอาชพี
สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง
58 รายงานประจำปี 2564
4.งบประมาณทไ่ี ดร้ ับในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณทไ่ี ด้รบั ผลเบิกจ่าย หนว่ ย:บาท
1) งบเงนิ อดุ หนนุ 29,600,000 19,600,000 รอ้ ยละ
29,600,000 19,600,000 66.22
รวมทั้งสน้ิ 66.22
5.สรุปผลการดำเนินงาน
5.1 ผลสำเร็จตามตัวช้ีวดั /กิจกรรม
ตัวชีว้ ดั /กจิ กรรม หนว่ ยนบั แผน ผล รอ้ ยละ
จำนวนสหกรณ์ทข่ี อกู้เงินกองทุนพฒั นาสหกรณ์สง่ แหง่ 4 4 100
ชำระหนไี้ ด้ตามกำหนด
5.2 ผลสัมฤทธ/ิ์ ผลประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
เชงิ ปรมิ าณ
สหกรณท์ ีม่ ีความประสงคข์ อกู้เงินกองทนุ พฒั นาสหกรณ์ จำนวน 4 แห่ง ไดร้ ับการพจิ ารณาอนุมัติเงินกู้
กองทุนพัฒนาสหกรณ์ จำนวน 19,600,000 บาท (สิบเก้าล้านหกแสนบาทถ้วน) และสหกรณ์ไดน้ ำเงนิ ไปใชเ้ ป็นไป
ตามวตั ถุประสงคแ์ หง่ การขอกู้ตามสญั ญาเงินก้กู องทนุ พฒั นาสหกรณ์
เชิงคณุ ภาพ
สหกรณไ์ ดน้ ำเงนิ กู้กองทุนพฒั นาสหกรณ์ไปใช้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การกู้ยืมเงินกองทนุ พัฒนาสหกรณ์
สมาชกิ สหกรณ์ไดน้ ำเงนิ ที่ได้ไปใช้เกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่การประกอบอาชีพ ลดรายจา่ ย เพมิ่ รายได้ในครอบครัว ซง่ึ
เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ในการช่วยเหลอื เงินทุนแกส่ หกรณ์
6. ปัญหา อปุ สรรคของการดำเนนิ งาน
จังหวัดอ่างทองประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย การแพร่ระบาดของโรคและแมลงระบาด บางคร้ัง
ฝนทิ้งชว่ ง สง่ ผลใหผ้ ลผลติ ทางการเกษตรของสมาชิกเสยี หาย รายได้ไม่เพยี งพอต่อการชำระหน้ีหรือต่อการดำรงชีพ
7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
สหกรณท์ ่ขี อกูเ้ งินกองทนุ พฒั นาสหกรณ์ตอ้ งทำความเขา้ ใจกับสมาชิกในการนำเงินกไู้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
สูงสุดเป็นไปตามเงนิ ไขและวัตถปุ ระสงค์ของเงนิ กู้ และมีการบรหิ ารจดั การหน้ีอยา่ งเป็นระบบของสมาชิกในการทจ่ี ะ
สามารถชำระหน้ีไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง
รายงานประจำปี 2564 59
ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินก้กู องทนุ พัฒนาสหกรณร์ ะดบั จงั หวัดอา่ งทอง
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
60 รายงานประจำปี 2564
4.โครงการแกไ้ ขปญั หาหนคี้ า้ งชำระของสมาชิกสหกรณ์
1.วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรให้มีการบรหิ ารจัดการสินเชื่อที่มปี ระสิทธภิ าพ
2. เพ่อื ส่งเสรมิ ใหส้ มาชิกมีความสามารถในการชำระหนี้ให้กบั สหกรณ์
2.กลุ่มเป้าหมาย/พืน้ ทีด่ ำเนินการ
1. สหกรณท์ ่เี ขา้ รว่ มโครงการแก้ไขปัญหาหน้ีคา้ งชำระของสหกรณ์ ระยะที่ 1 และระยะท่ี 2 จำนวน 2 แห่ง
2. สมาชิกสหกรณ์ที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ (กลุ่มนำ
ร่อง) และผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง จำนวน 25 คน
3.ผลสัมฤทธิ/์ ผลประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
1. สมาชิกสหกรณ์ที่เขา้ รว่ มโครงการมีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การหน้ี และการเสรมิ
สร้างอาชีพ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. สหกรณส์ ามารถบริหารจัดการสนิ เช่อื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแกไ้ ขปญั หาหน้ีค้างชำระให้แก่
สมาชกิ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการได้
3. สมาชิกสหกรณท์ ่เี ข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการชำระหน้ใี หก้ บั สหกรณ์ได้
4.งบประมาณทไ่ี ด้รบั ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ประเภทงบรายจา่ ย งบประมาณทไี่ ด้รับ ผลเบิกจ่าย หนว่ ย:บาท
1) งบดำเนินงาน 24,660 24,660 รอ้ ยละ
24,660 24,660 100
รวมท้ังส้ิน 100
5.สรุปผลการดำเนนิ งาน
5.1 ผลสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด/กิจกรรม
ตวั ช้ีวดั /กิจกรรม หนว่ ยนบั แผน ผล รอ้ ยละ
1.สหกรณท์ เ่ี ข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ รอ้ ยละ 80 100 100
เกยี่ วกับการบรหิ ารจัดการธรุ กิจสินเช่อื สหกรณ์
2.สมาชิกสหกรณท์ ี่เข้าร่วมโครงการ (กลุม่ นำรอ่ ง) ร้อยละ 5 5.02 100.4
มหี นี้คา้ งลดลงไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 5
สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั อา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 61
5.2 ผลสัมฤทธ์ิ/ผลประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการดำเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ
สมาชกิ (กลุ่มนำร่อง) สมาชิกสหกรณ์ละ 5 ราย
1. สหกรณก์ ารเกษตรผเู้ ลย้ี งและคา้ สัตว์อา่ งทอง จำกดั มหี นี้คา้ งชำระต้นเงินลดลง 550 บาท ค่าปรับค้าง
ลดลง 13,256.71 บาท หนคี้ ้างชำระรวมลดลงคิดเปน็ ร้อยละ 0.73
2. สหกรณก์ ารเกษตรโพธ์ทิ อง จำกัด มคี ่าปรับคา้ งลดลง 1,936.57 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 26.08
สมาชิกท่เี ขา้ ร่วมโครงการ (สหกรณล์ ะ 50 ราย)
1. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จำกัด มีหนี้ค้างชำระต้นเงินลดลง 199,167 บาท คิดเป็น
รอ้ ยละ 5.10 ของหนีค้ า้ งชำระต้นเงนิ ก่อนเขา้ รว่ มโครงการ
2. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จำกัด มีหนี้ค้างชำระต้นเงินลดลง 966,854.38 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.49
ของหนค้ี า้ งชำระตน้ เงนิ กอ่ นเขา้ ร่วมโครงการ
สมาชิกนอกโครงการ
1. สหกรณก์ ารเกษตรผเู้ ลี้ยงและคา้ สัตว์อา่ งทอง จำกัด นำแนวทางการสง่ เสริมและพัฒนาการบรหิ ารจัดการ
สนิ เช่ือทมี่ ปี ระสิทธิภาพไปปรับใช้เพม่ิ เติมกบั สมาชิกท่ีมีหนี้ค้างชำระ 11 ราย สง่ ผลใหต้ ้นเงินคา้ งชำระลดลง 26,879
บาท ดอกเบยี้ คา้ งลดลง 14,470 บาท ค่าปรับค้างลดลง 500 บาท หนค้ี า้ งชำระรวมลดลง 41,849 บาท คดิ เป็นร้อย
ละ 5.93 ของหนค้ี ้างชำระ
เชงิ คุณภาพ
สหกรณ์นำแนวทางการดำเนินงานของโครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ไปใช้ในการ
ดำเนินการกับสมาชิกทีม่ ีหน้ีค้างชำระของสหกรณ์ (นอกโครงการ) ซึ่งมีสมาชิกสนใจเข้าร่วมโครงการของสหกรณ์ทำ
ให้สมาชิกมีหนี้ค้างชำระลดลง และสหกรณ์สามารถดำเนินการตามแนวทางของโครงการในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง
ชำระของสมาชกิ ได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพเพม่ิ ขึ้น
6. ปญั หา อปุ สรรคของการดำเนินงาน
1. ปัญหาการแพรร่ ะบาดของไวรัสโควิด 19 ส่งผลต่อการประกอบอาชีพของสมาชกิ
2. พื้นท่ขี องสมาชิกทเ่ี ข้าร่วมโครงการประสบปญั หาอุทกภัย ทำให้ไมส่ ามารถ ทำการเกษตรกรได้ สง่ ผลกระทบต่อ
การชำระหน้ีของสมาชิกท่ีเข้ารว่ มโครงการ
สำนักงานสหกรณ์จังหวดั อ่างทอง
62 รายงานประจำปี 2564
7. แนวทางแกไ้ ข หรือข้อเสนอแนะ
สหกรณท์ ุกแห่งควรนำแนวทางการดำเนินงานของโครงการแกไ้ ขปญั หาหนี้ค้างชำระของสมาชกิ สหกรณไ์ ปใช้
ในการดำเนนิ การกับสมาชกิ ท่ีมหี นี้คา้ งชำระของสหกรณ์เพื่อแก้ไขปัญหาสหกรณ์ขาดทนุ และเปน็ การชว่ ยเหลือ
สมาชกิ สหกรณ์อยา่ งแท้จรงิ
โครงการแก้ไขปัญหาหน้ีคา้ งชำระของสมาชกิ สหกรณ์
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 63
สว่ นท่ี 3
กจิ กรรมประชาสมั พนั ธ์
งานสหกรณ์โดดเด่น
สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง
64 รายงานประจำปี 2564
งานบูรณาการรว่ มกับหน่วยงานตา่ ง
ภายในจงั หวัดอ่างทอง
ประชาสมั พนั ธล์ ดการเผาเศษซากพชื วนั พฤหัสท่ี 22 เมษายน
นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ในฐานะชุด
ปฏิบัติการเพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการเผาเศษซากพืชหรือ
วัชพืชและเศษวัสดุทางการเกษตร ในพื้นที่เกษตร จังหวัด
อ่างทอง ปี 2563/64 ร่วมลงพนื้ ท่ีสร้างการรบั รู้ ใหแ้ ก่เกษตรกร
กล่มุ เปา้ หมาย (เกษตรกรทำนา) ประชาสมั พนั ธ์ขอความร่วมมือ
เกษตรกรพื้นที่งดการเผาซากพืชหรือวัชพืชและเศษวัสดุทาง
การเกษตร รวมถึงให้คำแนะนำในการบริหารจัดการเศษวัสดุ
เหลือใช้ทางการเกษตร เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการเผาใน
พื้นที่เกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ โดยมี
ผู้อำนวยการโครงการชลประทานอ่างทอง เป็นประธานชุด
ปฏิบัติการ พร้อมหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ร่วมลงพื้นที่
ณ หมู่ 7 ตำบลศาลาแดง อำเภอเมือง และหมู่ 7 ตำบลสี่ร้อย
อำเภอวเิ ศษชยั ชาญ จงั หวดั อา่ งทอง
สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั อา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 65
พัฒนาและต่อยอดสินค้าของสมาชิก วันศุกร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๔
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจได้จัด
โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร
ฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน ปี ๒๕๖๓ ระหว่างวันที่ ๔-๕ มิถุนายน ๒๕๖๔ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและต่อยอดสินค้าของสมาชิก/สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า กระตุ้นให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้าง
รายได้ ให้แก่สมาชิกทำให้มีความเป็นอยู่ที่ดีข้นึ โดยมี นางพรสวรรค์ เริงมิตร
สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นประธานเปิดการอบรมฯ และได้รับเกียรติจาก
นายอภิรักษ์ พานนูน สหกรณ์จังหวัดเลย มาร่วมบูรณาการด้านองค์ความรู้
การแปรรูปปลา และเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการผลิต และในโอกาสนี้ได้เชิญ
หัวหนา้ สว่ นราชการ/ผแู้ ทน จากสำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง
สำนักงานประมงจังหวัดอ่างทอง และสำนักงานพาณิชย์จังหวัดอ่างทอง เข้า
ร่วมกิจกรรมแบบบูรณาการตามนโยบาย "ตลาดนำการผลิต" และ"เกษตร
ผลิตพาณิชย์ตลาด" ณ สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอ่างทอง จำกัด ตำบล
คลองขนาก อำเภอวิเศษชยั ชาญ จงั หวดั อา่ งทอง
ถ่ายทอดเทคโนโลยี Field day วนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2564 นายพิชยั ปานแก้ว สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมดว้ ย
นายขจรยศ วัลไพจติ ร ผอู้ ำนวยการกล่มุ จดั ตงั้ และสง่ เสรมิ สหกรณ์ และข้าราชการ พนักงานราชการในสงั กัดเขา้
รว่ มงาน ถา่ ยทอดเทคโนโลยี Field day เพือ่ เริ่มต้นฤดูกาลผลติ ใหม่ เพ่ือใหค้ วามรู้กบั เกษตรกรผู้เข้าร่วมงาน ณ
ศูนยเ์ รียนร้กู ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตร (ศนู ยเ์ ครอื ข่าย) ตำบลศาลเจา้ โรงทอง อำเภอวิเศษชยั ชาญ
จงั หวัดอา่ งทอง
สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง
66 รายงานประจำปี 2564
ภาพกจิ กรรมของหน่วยงานร่วมกับ
จงั หวัด ปงี บประมาณ พ.ศ.2564
กิจกรรมจิตอาสา เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2564 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วย
นางสาวรจนา สวัสดิ์จิตร ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และข้าราชการ พนักงานราชการ ในสังกัด
เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาศาลากลางจังหวัดอ่างทอง และกิจกรรม 5 ส Big Cleaning Day บริเวณ
โดยรอบศาลากลางจังหวัดอ่างทอง และกล่าวคำขวัญจิตอาสาโดยพร้อมเพรียงกันว่า“เราทำความดี
ดว้ ยหวั ใจ” โดยมี นายขจรเกียรติ
รักพานิชมณี ผู้ว่าราชการจังหวัด
อ่างทอง เป็นประธานในพิธีฯ
ณ บริเวณซุ้มเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หน้าศาลากลางจังหวัดอ่างทอง
อำเภอเมืองอา่ งทอง
ทอดผ้าป่าสมทบกองทนุ พัฒนาเด็กชนบทจังหวัดอา่ งทอง
นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วย
นางสาวนิชาภา เนื้อเย็น หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป และ
ข้าราชการและพนักงานราชการในสังกัด เข้าร่วมงานพิธี
ทอดผ้าป่าสมทบกองทุนพัฒนาเด็กชนบทจังหวัดอ่างทองใน
พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และ สยามบรม
ราชกุมารี ประจำปี 2564 มอบทุนอุปการะเด็ก โครงการสาน
ฝนั ปนั สขุ เพ่อื น้อง กองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (CDF
Share happiness) ณ พระอโุ บสถวัดขนุ อนิ ทประมลู
อำเภอโพธท์ิ อง จงั หวดั อ่างทอง
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 67
ตรวจและติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันพุธที่ 19 พฤษภาคม
2564 นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ในฐานะคณะทำงานตรวจและติดตามสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019(โควดิ -19) ชุดท่ี 5 อำเภอไชโย ร่วมกบั คณะตดิ ตามฯพร้อมด้วย
เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองและจัดหางานจังหวัดลงพื้นที่ตรวจติดตามสถานการณ์ และประชาสัมพันธ์แนว
ทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ให้แก่แรงงานต่างด้าว ณ โรงสีทองไชโย
ตำบลหลักฟ้า อำเภอไชโย จงั หวัดอา่ งทอง
สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง
68 รายงานประจำปี 2564
ภาพกจิ กรรมของหนว่ ยงานร่วมกบั
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ปีงบประมาณพ.ศ.2564
ร่วมกับสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด ปันน้ำใจ สู้ภยั โควดิ -19 วนั ศุกรท์ ี่ 9 กรกฎาคม 2564 สำนกั งาน
สหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง นำโดย นางพรสวรรค์ เริงมิตร สหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วยขา้ ราชการ ลูกจ้าง
พนักงานราชการ และผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จำกัด ขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ "ร่วมกันปัน
น้ำใจ สู้ภัยโควดิ -19" โดยการมอบพัดลม น้ำดื่ม และนมกล่อง เพื่อเป็นกำลงั ใจให้กบั บุคลากรทางการแพทย์
และผู้ป่วยในโรงพยาบาลแสวงหาโดยมี ผู้อำนวยการโรงพยาบาลแสวงหา พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่รพ.เป็นผู้รับ
มอบฯ ณ โรงพยาบาลแสวงหา อ.แสวงหา จ.อ่างทอง
ร่วมเป็นวิทยากรอบรมหลักสูตรการขับเคลื่อนภาค
การเกษตร วันศกุ รท์ ี่30 กรกฎาคม 2564 นางพรสวรรค์
เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้ นายขจร
ยศ วัลไพจิตร ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริม
สหกรณ์ เข้าร่วมเป็นวิทยากรอบรมหลักสูตรการ
ขับเคลื่อนภาคการเกษตร ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงละเกษตรทฤษฎีใหม่ ในหัวข้อ”การพัฒนากลุ่ม
เกษตรกรและแนวทางการส่งเสริมการตลาดให้กับ
เกษตรกร” ภายใต้โครงการ 1 ตำบล 1 กลุ่มเกษตร
ทฤษฎีใหม่ โดยมีเกษตรกรในโครงการฯ เข้าอบรม
จำนวน 20 ราย ณ โครงการชลประทานอ่างทอง ตำบล
ศาลาแดง อำเภอเมอื ง จังหวดั อา่ งทอง
สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง
รายงานประจำปี 2564 69
ร่วมกับสหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกัดมอบเงินให้กับ
โรงพยาบาลสนาม วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม 2564 นางพรสวรรค์
เริงมิตร สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้นางสาวนิชาภา
เนื้อเย็น หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป และนายวัชราคม ทัพไชย เจ้า
พนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส เข้าร่วมกับ สหกรณ์การเกษตร
วิเศษชัยชาญ จำกัด และสมาชิกกลุ่มผู้ส่งอาหารเรือนจำ เพื่อร่วม
บริจาค เครื่องอุปโภคบริโภคให้กับสมาชิกสหกรณ์ฯ จำนวน 3,100
ชุด และมอบเงินให้กับโรงพยาบาลสนามอำเภอวิเศษชัยชาญ ,
โรงพยาบาลโพธิ์ทอง และสาธารณสุขอำเภอวิเศษชัยชาญ รวม
มูลค่าทั้งสิ้น 800,000 บาทเนื่องในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โควดิ -19 ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จำกดั
ลงพน้ื ทป่ี ระสานงาน/เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าสหกรณ์ วันพฤหสั บดีท่ี 8 เมษายน 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัด
อา่ งทอง โดย นางพรสวรรค์ เรงิ มติ ร สหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง พรอ้ มด้วยนายสนั ติ จันทรส์ ถานนท์ ผอู้ ำนวยการ
กลมุ่ สง่ เสริมและพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์ และเจา้ หนา้ ในสงั กัด ลงพื้นที่ประสานงาน/เช่อื มโยงเครอื ข่ายสินคา้ สหกรณ์
กบั รา้ นสหกรณส์ งิ ห์บุรี จำกัด ซึ่งเป็น ศูนย์กระจายสินค้าสหกรณร์ ะดับภาค (ซูเปอรม์ าร์เก็ตสหกรณ์) เพื่อเตรียม
ความพร้อมในการจดั นทิ รรศการ ตามแนวทาง “ตลาดนดั ชมุ ชน วถิ ีสหกรณ์ (ซเู ปอร์มารเ์ ก็ตสหกรณ)์
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั อา่ งทอง
70 รายงานประจำปี 2564
สว่ นท่ี 4
รายงานข้อมูลงบการเงนิ
ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดอา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 71
สว่ นราชการสำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั อ่างทอง ปี 2563
งบแสดงฐานะการเงิน
ปี 2564 5,000.00
32,280.00
สนิ ทรพั ย์ เงินทดรองราชการ 5,000.00
สินทรัพย์หมนุ เวียน เงนิ ฝากคลงั 41,170.00 1040.00
ลูกหนีเ้ งินยืม 53,352.00
สนิ ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน ค้างรบั จากกรมบญั ชีกลาง 0.00 91,672.00
รวมสนิ ทรพั ย์หมนุ เวียน 53,352.00
หนี้สิน 99,522.00 2,296,067.57
หนีส้ นิ หมนุ เวียน อาคาร (สทุ ธิ) 1,205,916.72
ครุภณั ฑ์ (สุทธ)ิ (1) 1,835,769.47 3,501,984.29
หน้สี ินไมห่ มนุ เวียน รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (2) 1,762,185.51 3,593,656.29
รวมสินทรพั ย์
ทนุ 3,597,954.98 53,800.00
3,697,476.98 3,516.00
32,280.00
เจ้าหน้กี ารคา้ -บุคคลภายนอก 53,800.00 89,596.00
สาธารณปู โภคคา้ งจา่ ย 11,850.49
เงนิ ประกันอื่น 41,170.00 5,000.00
รวมหนี้สนิ หมนุ เวียน 106,820.49 5,000.00
94,596.00
เงินทดรองราชการรบั จากคลงั - 5,000.00
ดำเนนิ งาน 5,000.00 1,567,150.00
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 111,820.49 2,392,161.62
รวมหน้สี นิ (460,251.33)
1,567,150.00 3,499,060.29
ทนุ ของหน่วยงาน 1,931,910.29 3,593,656.29
รายได้ สงู /(ตำ่ ) กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายสะสม
รายได้ สูง/(ตำ่ ) กวา่ คา่ ใช้จ่ายสุทธิ 86,596.20
รวมส่วนทนุ 3,585,656.49
รวมหน้สี ินและทนุ 3,697,476.98
สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง
72 รายงานประจำปี 2564
สว่ นราชการ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดอ่างทอง
งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน
สำหรับปี ส้ินสดุ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564
รายไดจ้ ากการดำเนนิ งาน (3) 344.19
รายไดด้ อกเบย้ี อ่นื (4) 3,663,000.00
รายไดจ้ ากงบบคุ ลากร
รายไดจ้ ากงบลงทุน (5) 971,400.00
รายได้จากงบดำเนินงาน 2,514,992.66
รายไดจ้ ากงบอดุ หนนุ 2,044,743.58
รายได้จากงบกลาง
รายได้ปรบั เงนิ ฝากคลงั 53,090.00
รวมรายไดจ้ ากการดำเนนิ งาน 8,890.00
9,256,460.43
ค่าใช้จา่ ยจากการดำเนนิ งาน
ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร 3,663,000.00
คา่ ใชจ้ า่ ยงบดำเนนิ งาน 2,482,322.15
ค่าใชจ้ ่ายงบกลาง
ค่าใช้จา่ ยงบอุดหนนุ ทว่ั ไป 53,090.00
ค่าใชจ้ า่ ยงบรายจ่ายอืน่ 2,044,743.58
คา่ ใช้จ่ายอน่ื
รวมคา่ ใช้จ่ายจากการดำเนนิ งาน 22,108.26
รายได้ สงู /(ต่ำ)กวา่ คา่ ใช้จ่ายสุทธิ 904,600.24
9,169,864.23
86,596.20
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดอา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 73
สว่ นราชการ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง 813,800.00
หมายเหตุประกอบงบการเงิน -139,116.70
6,279,800.00
สำหรบั ปี สน้ิ สุดวันท่ี 30 กันยายน 2564 -5,603,825.62
1,288,213.00
หมายเหตุท่ี 1 อาคาร (สุทธ)ิ
อาคารพกั อาศัย -1,288,209.00
ค่าเสื่อมสะสม-อาคารพักอาศัย 978,849.00
อาคารสำนักงาน -493,741.21
คา่ เสอ่ื มสะสม - อาคารสำนักงาน
อาคารเพื่อประโยชนอ์ ่ืน 1,835,769.47
ค่าเสอ่ื มสะสม - อาคารเพื่อประโยชนอ์ ่นื
สิง่ ปลกู สรา้ ง 542,479.00
ค่าเสือ่ มสะสม - ส่ิงปลูกสร้าง -320,312.80
4,690,400.00
หมายเหตุที่ 2 ครภุ ัณฑ์ (สุทธ)ิ -3,361,329.88
ครภุ ัณฑส์ ำนักงาน 240,159.21
ค่าเสื่อมสะสม - ครุภณั ฑส์ ำนักงาน -232,049.74
ครุภณั ฑ์ยานพาหนะ 408,500.00
ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑย์ านพาหนะ -347,958.35
ครภุ ัณฑไ์ ฟฟา้ และวิทยุ 829,399.83
คา่ เสอ่ื มสะสม - ครภุ ัณฑ์ไฟฟ้าและวทิ ยุ -719,417.67
ครภุ ัณฑ์โฆษณา
คา่ เสื่อมสะสม - ครุภัณฑโ์ ฆษณา 14,600.00
ครภุ ณั ฑ์คอมพิวเตอร์ -14,598.00
คา่ เสอ่ื มสะสม - ครุภณั ฑ์คอมพวิ เตอร์ 36,000.00
ครภุ ณั ฑ์งานบ้านงานครวั -3,686.09
ค่าเสอ่ื มสะสม - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 1,762,185.51
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์
คา่ เส่ือมสะสม - โปรแกรมคอมพิวเตอร์
สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทอง
74 รายงานประจำปี 2564 3,663,000.00
3,663,000.00
หมายเหตุที่ 3 คา่ ใชจ้ า่ ยงบบุคลากร
คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ 79,344.00
446,966.00
หมายเหตุท่ี 4 ค่าใชจ้ า่ ยงบดำเนนิ งาน
เงินสมทบประกันสงั คม 6,200.00
ค่าเช่าบา้ น 90,570.00
เงนิ สมทบกองทนุ เงินทดแทน 95,440.00
ค่าใช้จ่ายฝกึ อบรม-ภายนอก 10,900.00
เบยี้ เลยี้ ง 13,500.00
ค่าที่พัก 226,859.22
ค่าใช้จา่ ยเดนิ ทางภายในประเทศ 221,154.54
ค่าวัสดุ 117,230.80
คา่ ซ่อมแซมและบำรุงฯ 781,546.02
คา่ เชอ้ื เพลงิ 135,808.09
คา่ จา้ งเหมาบริการบุคคล-ภายนอก 14,798.87
คา่ ไฟฟา้ 65,135.61
คา่ ประปาและน้ำบาดาล 20,250.00
คา่ โทรศพั ท์ 36,639.00
ค่าสื่อสารและโทรคมนาคม 96,060.00
คา่ ไปรษณียแ์ ละขนสง่ 23,600.00
ค่าใชจ้ ่ายในการประชุม
ค่าประชาสมั พนั ธ์ 320.00
ค่าใชส้ อยอน่ื 2,482,322.15
หมายเหตุที่ 5 คา่ ใชจ้ ่ายงบอุดหนุนทว่ั ไป 2,044,743.58
อุดหนุน ดำเนนิ งานธรุ กิจอืน่ 2,044,743.58
สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง
รายงานประจำปี 2564 75
บทวิเคราะหข์ ้อมูลทางด้านงบประมาณของสำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั อ่างทอง
ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้รับการจัดสรร
งบประมาณ จำนวน 9,183,573.99บาท และในปีก่อน พ.ศ. 2563 จำนวน 8,157,439.21 บาท เมื่อจำแนกตาม
งบประมาณท่ีไดร้ ับ พบวา่ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ไดร้ ับงบบคุ ลากร 3,663,000 บาท งบดำเนินงาน 2,482,322.15
บาท งบลงทนุ 971,400 บาท งบเงนิ อดุ หนุน 2,044,743.58 บาท และงบรายจ่ายอน่ื 22,108.26 บาท ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ได้รับงบบุคลากร 3,431,040 บาท งบดำเนินงาน 2,377,876.18 บาท งบลงทุน 281,700 บาท งบเงิน
อดุ หนนุ 2,015,055.41 บาท และงบรายจ่ายอื่น 51,767.62 บาท รายละเอียดดงั ตาราง
ตารางงบประมาณรายจ่ายสำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดอา่ งทองประจำปงี บประมาณ พ.ศ 2564 – พ.ศ 2563
หน่วย : บาท
ปงี บประมาณ งบรายจา่ ย
งบบคุ ลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงนิ อุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน รวม
2564 3,663,000 2,482,322.15 971,400 2,044,743.58 22,108.26 9,183,573.99
2563 3,431,040 2,377,876.18 281,700 2,015,055.41 51,767.62 8,157,439.21
งบประมาณที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้รับในแต่ละปีจะถูกจัดสรรให้หลุ่มงานตามแผนงาน/
โครงการเพื่อดำเนินการตามภารกิจ ซึ่งงบประมาณที่ได้รับจัดสรรรวมถึงการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นตัวชี้วัดหนึ่งท่ี
สะท้อนประสิทธิภาพของการดำเนินงานและการบริหารจัดการภายในหน่วยงาน จากการวิเคราะห์งบประมาณ
ประจำปี พ.ศ. 2564 และ พ.ศ. 2563 พบว่า งบประมาณที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้รับจัดสรรเป็นงบ
ดำเนินงาน และงบลงทุน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้รับจัดสรรงบประมาณ 9,183,573.99 บาท แบ่งเป็นงบ
ดำเนินงาน 8,212,173.99 บาท คิดเป็นร้อยละ 89.42 และงบลงทุน 971,400 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.58 สำหรับ
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ได้รับจัดสรรงบประมาณ 8,157,439.21 บาท แบ่งเป็นงบดำเนินงาน 7,875,739.21 บาท
คดิ เป็นร้อยละ 96.55 และงบลงทนุ 281,700 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 3.45
หากพิจารณาเปรียบเทียบงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 และพ.ศ. 2563 พบว่า
งบดำเนินงานและงบลงทุน มีแนวโนม้ ได้รับจัดสรรเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณางบประมาณในภาพรวม พบว่า ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ได้รบั การจัดสรรงบประมาณในภาพรวมเพมิ่ ข้ึน คดิ เป็นร้อยละ 11.17
สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั อา่ งทอง
76 รายงานประจำปี 2564
สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดอ่างทอง