The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ypppink3, 2023-03-21 02:57:28

รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำปี 2561

Keywords: รายงานประจำปี 2561

รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 1 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มกราคม/2562 กรมส่งเสริมสหกรณ์ รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มกราคม 2562 กรมส่งเสริมสหกรณ์ รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 2 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มกราคม 2562 กรมส่งเสริมสหกรณ์ รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 3 สารสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมส่งเสริม สหกรณ์ มีภารกิจอันส าคัญยิ่งในการสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดย อยู่ภายใต้การด าเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการ ครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป รวมทั้งสนับสนุนและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร น าไปสู่ความอยู่ดีมีสุขของเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นองค์ที่ส าคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เป็นก าลังส าคัญในการ พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรซึ่งถือว่าปฏิบัติหน้าที่อันทรงเกียรตินี้อยู่ มีส่วนร่วมในการวางแผน และผลักดันนโยบาย แผนงาน และโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในโอกาสนี้ ผมขอเป็นก าลังใจและขอแสดงความชื่นชมที่ทุกท่านได้ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการปฏิบัติงาน มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบุคลากรทุกคนของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จะเป็นก าลังส าคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์ในการร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งที่ดีเช่นดีตลอดไป และขอบคุณ ขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่างทอง ที่ร่วมมือในการขับเคลื่อนนโยบาย แผนงาน/ โครงการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองด้วยดีตลอดมา นายจิระชัย อินทรโชติ สหกรณ์จังหวัดอ่างททอง มกราคม/2562


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | ก บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) การส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นหนึ่งในหน้าที่ความ รับผิดชอบของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคของกรมส่งเสริม สหกรณ์ ที่ช่วยขับเคลื่อนงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร โดยต้องมีการวาง แผนการปฏิบัติงานที่มีการเชื่อมโยงกับวิธีการกับเป้าหมายในการด าเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ วางไว้ เพื่อขับเคลื่อนการปฏิบัติงานตามแนวทางการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี2561 และการส่งเสริมงานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของจังหวัดอ่างทองประจ าปี 2561ด าเนินงานตามแผนงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ดังนี้ แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนลดความเหลื่อมล้ า และสร้างการ เติบโตจากภายใน เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์จ านวน 31 สหกรณ์ 47 กลุ่มเกษตรกร ในปีที่ผ่านมามี 2 สหกรณ์ที่ช าระบัญชี และ 1 กลุ่มเกษตรกร ด าเนินการถอนชื่อออกจากระบบได้ 1 สหกรณ์ 1 กลุ่ม เกษตรกรเหลืออีก 1 สหกรณ์เนื่องจากลูกหนี้ทยอยการช าระหนี้ ในส่วนของการสนับสนุนให้กลุ่ม เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด จ านวน 16 กลุ่ม แผนงานยุทธศาสตร์การส่งเสริมการด าเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ของพอเพียง ด าเนินการเผยแพร่ความรู้ด้านการสหกรณ์ การรวมกลุ่ม และกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง จ านวน 4 ครั้ง เกษตรกรในจังหวัดอ่างทองได้รับบริการจ านวน 600 ราย แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ด าเนินโครงการ จ านวน 2 โครงการ คือ โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีสหกรณ์ที่ เข้าร่วมโครงการจ านวน 3 สหกรณ์สมาชิกได้รับการช่วยเหลือด้านหนี้สินที่ประสบอุทกภัย ปี 2559/2560 จ านวน 29 ราย มูลหนี้เงินต้น 1,747,933 บาท ดอกเบี้ยขอรับการชดเชย 21,926.86 บาท และโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร จ านวน 2 กลุ่ม ได้รับ งบสนับสนุนอุปกรณ์การตลาดท าให้สหกรณ์พัฒนาผลิตภัณฑ์ปลานิลแดดเดียว และหน่อไม้หยอง แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าภาคเกษตร ด าเนินการขับเคลื่อน ภายใต้นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ านวน 8 โครงการ คือ 1.โครงการระบบส่งเสริม การเกษตรแบบแปลงใหญ่ สมาชิกแปลงใหญ่ได้รับความรู้การวางแผนการผลิต การตลาด จ านวน 738 ราย 2.โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ด าเนินการบรรยายการ รวมกลุ่มให้กับเกษตรกรในพื้นที่พร้อมจัดท าสื่อประชาสัมพันธ์ จ านวน 7 ศพก. 3.โครงการพัฒนา เกษตรกรปราดเปรื่อง อบรมให้กับสมาชิกสหกรณ์จ านวน 65 ราย ให้เกษตรกรมีรายได้ไม่น้อยกว่า


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | ข 180,000 บาท และมีความรู้ในการประกอบอาชีพ4.โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมให้สหกรณ์จัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ จ านวน 31 สหกรณ์5.โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์ภาค การเกษตร ด าเนินการส่งเสริมสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด เข้าร่วมโครงการประชารัฐ เพื่อช่วยสนับสนุนการจัดหาปัจจัยการผลิตในราคายุติธรรมเพื่อการลดต้นทุนการผลิต 6.โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยคัดเลือก สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 33 ราย ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อ ลดต้นทุนการผลิตและสร้างรายได้ให้กับสมาชิก และโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ด าเนินการต่อยอดใน พื้นที่จังหวัดอ่างทอง จ านวน 50 ราย เป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด เพื่อส่งเสริมให้ สมาชิกสหกรณ์วางแผนการผลิต และมีความรู้ในการประกอบอาชีพ ผลส าเร็จจากการปฏิบัติงานตามแนวทางการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curvr ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี 2561 สหกรณ์ในจังหวัดอ่างทองมีทั้งหมด 31 แห่ง ผลจากการน า แนวทางการสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพบว่า สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง จ านวน 30 สหกรณ์ พบข้อบกพร่องเพียง 2 สหกรณ์ และอยู่ในระหว่างด าเนินการแก้ไขทั้ง 2 สหกรณ์ แนวทางขับเคลื่อนงานนโยบายโดยส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบาย รัฐ/ยกกระดาษ A4 พบว่าสหกรณ์ในจังหวัดอ่างทองให้ความร่วมมือเป็นอย่างเดียวมีทั้งสิ้น 3 สหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการส าคัญของกระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ และอีกแนวทางหนึ่งที่ส าคัญคือยกระดับ คุณภาพและมาตรฐานสินค้าให้กับสหกรณ์มี 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด น าผลิตภัณฑ์ปลานิลมาแปรรูปในนามกลุ่มอาชีพภายใต้สังกัดสหกรณ์ และสหกรณ์ประมงและแปรรูป อ่างทอง จ ากัด น าปลาช่อนมาแปรรูปเป็นน้ าพริกปลาช่อน สร้างรายได้ให้กับสมาชิกมากขึ้น จากการ ด าเนินการที่ผ่านมาของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่ายไม่ว่าจะ เป็นภาคสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ และภาคเอกชนที่ให้ความร่วมมือเสมอมา จึงเกิดผลส าเร็จในการปฏิบัติงานของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | ค สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร ก ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด 1 1.2 โครงสร้างและอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัด 2 1.3 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 11 1.4 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 15 ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงาน 22 2.1. สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 23 2.2 สรุปผลส าเร็จจากการปฏิบัติงานตามแนวทางการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี 2561 25 2.3 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 30 2.4 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1) งาน/โครงการตามภารกิจ 2) โครงการตามนโยบายส าคัญ (Agenda) 49 83 ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน 3.1 งบแสดงฐานะการเงิน 3.2 งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน 3.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 91 92 99 100 ส่วนที่ 4 กิจกรรมของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 102 บรรณานุกรม 107


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของส านักงานสหกรณ์ จังหวัดอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน และทันต่อการเปลี่ยนแปลง พันธกิจ 1) ยกระดับคุณภาพและขยายการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 2) ขยายเครือข่ายความร่วมมือและการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ภายในประเทศและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาระบบสหกรณ์ 3) เร่งรัดการจัดที่ดินและส่งเสริมอาชีพในเขตนิคมสหกรณ์ 4) ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตส านึกความเป็นสหกรณ์ และ การมีส่วนร่วม 5) ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านการบริหาร จัดการทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในระบบสหกรณ์ 6) สนับสนุนและคุ้มครองสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการด าเนินงานเพื่อ ตอบสนองความต้องการของสมาชิกและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้หลักการสหกรณ์สากล และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7) ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐและ บุคลากรให้เอื้อต่อการส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ อ านาจหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 1) ด าเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วย การจัด ที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร 3) ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน ทั่วไป 4) ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือ ที่ได้รับมอบหมาย


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 2 โครงสร้างและอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โครงสร้างส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ฝ่าย บริหาร ทั่วไป กลุ่ม จัดตั้ง และ ส่งเสริม สหกรณ์ กลุ่ม ส่งเสริม และการ บริหาร จัดการ สหกรณ์ กลุ่ม ส่งเสริม และ พัฒนา ธุรกิจ สหกรณ์ กลุ่ม ตรวจการ สหกรณ์ กลุ่ม ส่งเสริม สหกรณ์ พื้นที่ 1 กลุ่ม ส่งเสริม สหกรณ์ พื้นที่ 2 - ข้าราชการ 2 อัตรา - ลูกจ้างประจ า 2 อัตรา - พนักงาน ราชการ 5 อัตรา - ข้าราชการ 3 อัตรา - พนักงาน ราชการ 1 อัตรา - ข้าราชการ 2 อัตรา - ลูกจ้างประจ า 1 อัตรา - พนักงาน ราชการ 1 อัตรา - ข้าราชการ 2 อัตรา - พนักงาน ราชการ 1 อัตรา - ข้าราชการ 2 อัตรา - พนักงาน ราชการ 1 อัตรา - ข้าราชการ 4 อัตรา - พนักงาน ราชการ 1 อัตรา - ข้าราชการ 6 อัตรา - พนักงาน ราชการ 3 อัตรา


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 3


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 4


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 5


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 6


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 7


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 8


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 9


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 10 อัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หน่วย : คน ประเภทอัตราก าลัง ชาย หญิง รวม ข้าราชการ 8 13 21 ลูกจ้างประจ า 2 1 3 พนักงานราชการ 2 11 13 รวม 12 25 37 *** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 57% 8% 35% ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ รวม 37 คน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 11 แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1.แผนงานบุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเลื่อมล้ า และสร้างการเติบโตจาก ภายใน ผลผลิต: สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะน าส่งเสริมและก ากับ กิจกรรมหลัก: ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง: ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบ CPS งาน/โครงการ: CPS แบบ 1 [การแนะน า ส่งเสริม] งาน/โครงการ: CPS แบบ 2 [ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร] งาน/โครงการ: CPS 3 [การก ากับ ตรวจสอบสหกรณ์] กิจกรรมรอง: ส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งาน/โครงการ: พัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 3.แผนงานยุทธศาสตร์การส่งเสริมการด าเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลผลิต: โครงการส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก: การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรอง: ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์อันเนื่องมาจากพระราชด าริ งาน/โครงการ: โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร งาน/โครงการ: ประกวดผลงานการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง: ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง งาน/โครงการ: การปรับเปลี่ยนแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ 4. แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ผลผลิต: โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก: พัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร กิจกรรมรอง: พัฒนากลุ่มอาชีพในสถาบันเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม งาน/โครงการ: พัฒนากลุ่มอาชีพในสถาบันเกษตรกรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 12 ผลผลิต: โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก: ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยปี2559/2560 กิจกรรมรอง: อุดหนุนเพื่อช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ ประสบอุทกภัยปี 2559/2560 5.แผนงานบูรณาการการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร ผลผลิต: โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมหลัก: พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรอง: ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจสินค้าเกษตรในสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร งาน/โครงการ: โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจสินค้า เกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร [สนับสนุนอุปกรณ์การตลาด] ผลผลิต: โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก: สนับสนุนการด าเนินการบริหารจัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในรูปแบบ สหกรณ์ กิจกรรมรอง: สนับสนุนการด าเนินการบริหารจัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่ใน รูปแบบสหกรณ์ งาน/โครงการ: โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ผลผลิต: โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก: สนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร กิจกรรมรอง: พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร งาน/โครงการ: ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร[ศพก.] ผลผลิต: โครงการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก: เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์ภาค การเกษตร กิจกรรมรอง: พัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ งาน/โครงการ: พัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ กิจกรรมรอง: พัฒนาสหกรณ์ภายใต้ความร่วมมือ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์ งาน/โครงการ: พัฒนาสหกรณ์ ภายใต้ความร่วมมือ 1 หอการค้า 1 สหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 13 กิจกรรมหลัก: พัฒนาความเข้มแข็งเพื่อยกระดับชั้นสหกรณ์ งาน/โครงการ: พัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก: ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง: ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลผลิต: โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมหลัก: ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง: ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งาน/โครงการ: พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง ผลผลิต: โครงการพัฒนาเกษตรปราดเปรื่อง Smart Farmer งาน/โครงการ: พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 6.แผนงานบูรณาการการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ผลผลิต: โครงการส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก: สนับสนุนการการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร กิจกรรมรอง: สนับสนุนการการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร งาน/โครงการ: สนับสนุนการรวมกลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตร 7.แผนงาน: การขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี 2561 ผลผลิต: แนวทางที่ 1 สร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก: ก ากับ ตรวจสอบและสนับสนุนธรรมมาภิบาลอย่างเข้มข้น รวมทั้งเร่ง แก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเชิงรุก กิจกรรมหลัก: การพัฒนาศักยภาพการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลผลิต: แนวทางที่ 2 ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ ผลผลิต: แนวทางที่ 3 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า_สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก: ส่งเสริม พัฒนาสหกรณ์ในการยกระดับคุณภาพสินค้าของสมาชิกและ สหกรณ์ให้มีมาตรฐาน กิจกรรมหลัก: ส่งเสริมการผลิตการเกษตรแบบยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในสหกรณ์ กิจกรรมหลัก: ส่งเสริม พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มอาชีพในสหกรณ์ ในการยกระดับ ราคาสินค้า โดยการแปรรูปและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ กิจกรรมหลัก: เพิ่มช่องทางการตลาดสินค้าเกษตร ให้เป็นแหล่งจ าหน่ายสินค้า ปลอดภัยและสินค้ามาตรฐานของสมาชิก ผลผลิต: แนวทางที่ 4 พัฒนาคน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 14 งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2561 แผนภูมิแสดงงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559- 2561 จ าแนกตามประเภทงบรายจ่าย ล้านบาท หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 รวมทั้งสิ้น 13,954,131.86 9,347,714.37 8,836,906.86 งบบุคลากร 3,015,665.00 3,244,550.00 3,329,540.00 งบด าเนินงาน 4,265,567.80 3,778,172.76 3,658,060.00 งบลงทุน 216,999.73 46,800.00 1,478,000.00 เงินอุดหนุน 6,455,898.33 2,278,191.61 371,306.86 งบรายจ่ายอื่น (ถ้ามี) - - - 0 2 4 6 8 งบบุคลากร งบด าเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 15 สรุปข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ านวนสหกรณ์และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิกสหกรณ์ (คน) 1. สหกรณ์การเกษตร 17 37,067 2. สหกรณ์ประมง 2 184 3. สหกรณ์นิคม - 0 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 5,802 5. สหกรณ์ร้านค้า - 0 6. สหกรณ์บริการ 7 726 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 599 รวม 33 44,378 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์บริการ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์บริการ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 16 สถานะสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุดด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. สหกรณ์การเกษตร 16 - 1 - 17 2. สหกรณ์ประมง 2 - - - 2 3. สหกรณ์นิคม - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 - - - 6 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 - 1 - 7 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 - - - 1 รวม 31 - 2 - 33 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประเภทสหกรณ์ ปริมาณธุรกิจ ของสหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวมผลผลิต และแปรรูป บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. สหกรณ์การเกษตร 16 389.47 496.73 355.45 191.33 2.00 1,433.66 2. สหกรณ์ประมง 2 1.13 0.70 2.69 - - 4.53 3. สหกรณ์นิคม - - - - - - - 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 529.88 4,528.28 - - 0.10 5,058.27 5. สหกรณ์ร้านค้า - - - - - - - 6. สหกรณ์บริการ 6 0.05 0.83 50.67 - 0.03 51.60 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนียน 1 1.85 6.04 - - - 7.90 รวมทั้งสิ้น 31 922.38 5,032.58 408.81 191.33 2.13 6,555.96 ที่มา : (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 17 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (2) รายได้ (ล้านบาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) สหกรณ์ที่มีผลก าไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. สหกรณ์การเกษตร 16 615.89 588.07 13 27.82 3 7.98 19.84 2. สหกรณ์ประมง 2 2.77 2.64 2 0.13 0 0 0.13 3. สหกรณ์นิคม - 0.00 0.00 0 0.00 0 0.00 0.00 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 485.50 189.37 6 28.59 0 0 28.59 5. สหกรณ์ร้านค้า - 0.00 0.00 0 - 0 0 0.00 6. สหกรณ์บริการ 6 52.51 51.80 5 0.84 1 0.12 0.72 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน 1 0.91 0.70 1 0.20 0 0 0.20 รวมทั้งสิ้น 31 1,157.58 832.58 27 57.58 4 8.1 49.48 ที่มา : (ข้อมูลผลการด าเนินงานจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบบัญชีแล้วปี 2561)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 18 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (คน)หนี้สิน ทุนของสหกรณ์ สหกรณ์รวม 44,378 4,314,532,640.00 9,765,536,863.97 4,694,389,530.38 5,070,616,333.59 1,157,614,173.68 832,595,740.68 325,018,433.00 285,984,900.79 922,406,986.51 5,032,601,358.33 408,824,970.06 191,333,137.82 2,149,128.88 6,555,978,121.61 7,258,769,239.19 สหกรณ์การเกษตร รวม 37,067 399,835,180.00 1,404,431,077.53 1,036,411,430.23 368,019,647.30 615,899,683.97 588,073,743.40 27,825,940.57 12,799,958.95 389,471,589.70 496,735,504.38 355,458,042.57 191,333,137.82 2,004,276.88 1,433,665,091.36 1,175,205,696.11 1. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด 30 มิถุนายน 5,077 A ด าเนินงาน 74,244,300.00 243,259,709.31 239,988,247.94 3,271,461.37 103,346,444.55 88,864,417.02 14,482,027.53 1,693,055.76 65,125,762.77 93,966,660.16 77,825,345.33 0.00 0.00 236,917,768.26 165,948,858.75 2. สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จ ากัด 31 ธ นวาคม 185 F ด าเนินงาน 734,890.00 1,782,305.04 902,921.22 879,383.82 432,298.51 831,227.05 -398,928.54 -324,744.37 0.00 1,457,571.27 154,560.00 0.00 0.00 1,612,131.27 1,174,823.25 3.สหกรณ์การเกษตรสามโก้จ ากัด 31 มีนาคม 1,141 F ด าเนินงาน 23,845,140.00 40,193,874.96 131,438,481.24 -91,244,606.28 20,233,118.28 27,811,017.78 -7,577,899.50 -9,311,487.33 2,149,202.81 193,000.00 92,350.00 0.00 0.00 2,434,552.81 10,357,783.02 4. สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น้ าน้อย จ ากัด 30 มิถุนายน 34 B ด าเนินงาน 738,900.00 4,468,984.79 797,516.88 3,671,467.91 2,144,354.71 1,721,737.40 422,617.31 363,204.71 576,562.55 828,500.00 1,483,111.48 0.00 0.00 2,888,174.03 2,836,759.03 5 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด 31 มีนาคม 3,109 A ด าเนินงาน 115,583,090.00 549,038,085.74 375,027,567.63 174,010,518.11 167,112,567.29 159,811,918.19 7,300,649.10 6,801,119.19 141,709,771.60 127,394,780.00 78,744,835.26 80,945,094.07 0.00 428,794,480.93 409,588,046.20 6 สกต. อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 21,593 C ด าเนินงาน 24,714,740.00 52,836,213.08 18,761,394.13 34,074,818.95 139,509,507.37 138,465,919.92 1,043,587.45 831,354.91 0.00 0.00 28,235,969.29 110,388,043.75 0.00 138,624,013.04 121,961,559.54 7 สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 205 B ด าเนินงาน 1,029,100.00 10,477,164.47 1,655,638.29 8,821,526.18 7,222,633.32 7,195,264.09 27,369.23 30,865.48 209,805.43 2,009,247.20 6,993,282.63 0.00 0.00 9,212,335.26 8,661,013.92 8 สหกรณ์สตรีไชโย จ ากัด 31 ธันวาคม 31 B ด าเนินการ 37,750.00 156,213.34 0.00 156,213.34 9,075.31 6,424.77 2,650.54 5,640.66 0.00 145,000.00 0.00 0.00 429.26 145,429.26 86,390.00 9 สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด 31 มีนาคม 832 B ด าเนินการ 20,204,910.00 94,446,123.65 57,986,614.18 36,459,509.47 51,007,765.30 48,117,986.43 2,889,778.87 1,522,371.56 49,699,520.17 18,366,233.56 49,034,521.91 0.00 1,337,459.99 117,100,275.64 83,128,110.96 10.ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 7 F ด าเนินงาน 2,634,500.00 5,659,791.38 7,271,008.00 -1,611,216.62 289,234.05 196,708.82 - 485,942.87 -17,624.81 0.00 2,000,000.00 0.00 0.00 0.00 2,000,000.00 2,000,000.00 11.สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 839 C ด าเนินงาน 6,898,150.00 26,099,598.71 11,160,456.98 14,939,141.73 2,964,940.40 2,844,971.68 119,968.72 -119,407.09 2,437,445.75 2,577,000.00 1,185,130.00 0.00 0.00 6,199,575.75 6,878,926.74 12.สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 904 B ด าเนินงาน 3,986,690.00 21,936,938.13 8,377,306.43 13,559,631.70 17,367,285.42 16,935,219.97 432,065.45 565,445.47 5,617,441.90 2,335,000.00 15,493,853.00 0.00 0.00 23,446,294.90 28,407,815.26 13.สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด 31 มีนาคม 687 A ด าเนินงาน 16,329,490.00 65,857,577.97 42,226,609.15 23,630,968.82 4,532,876.16 3,311,856.19 1,221,019.97 1,266,855.08 6,928,284.20 22,567,000.00 15,118,356.21 0.00 664,956.16 45,278,596.57 46,471,719.66 14.สหกรณ์การเกษตรบางเสด็จ จ ากัด 31 ธันวาคม 192 F ด าเนินงาน 506,300.00 2,680,845.09 2,065,069.58 615,775.51 105,405.25 84,236.30 21,168.95 30,090.72 71,373.47 2,395,000.00 0.00 0.00 1,431.47 2,467,804.94 1,891,506.36 15.สหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 15 ไม่จัด ช าระบัญชี 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 16.สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 31 มีนาคม 2,115 A ด าเนินงาน 106,774,040.00 281,775,010.35 137,342,377.74 144,432,632.61 99,409,888.31 92,049,945.54 7,359,942.77 9,417,563.59 114,899,360.05 219,200,512.19 81,096,727.46 0.00 0.00 415,196,599.70 284,329,430.35 17. สหกรณ์การปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น จ ากัด 31 มีนาคม 101 B ด าเนินงาน 1,573,190.00 3,762,641.52 1,410,220.84 2,352,420.68 212,289.74 218,309.89 -6,020.15 45,655.42 47,059.00 1,300,000.00 0.00 0.00 0.00 1,347,059.00 1,482,953.07 สหกรณ์ประมง รวม 184 1,339,100.00 4,681,201.09 2,792,026.95 1,889,174.14 2,775,044.35 2,643,748.35 131,296.00 63,878.61 1,138,844.00 702,520.00 2,691,529.00 0.00 0.00 4,532,893.00 3,814,017.09 1. สหกรณ์ประมงและแปรรูปอ่างทอง จ ากัด 30 พฤศจิกายน 54 ไม่ครบ 2 ปีด าเนินงาน 157,600.00 753,888.31 595,423.89 158,464.42 612,842.49 611,978.07 864.42 0.00 0.00 600,000.00 600,000.00 0.00 0.00 1,200,000.00 0.00 2. สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด 31 มีนาคม 130 B ด าเนินงาน 1,181,500.00 3,927,312.78 2,196,603.06 1,730,709.72 2,162,201.86 2,031,770.28 130,431.58 63,878.61 1,138,844.00 102,520.00 2,091,529.00 0.00 0.00 3,332,893.00 3,814,017.09 สหกรณ์ออมทรัพย์รวม 5,802 3,904,598,730.00 8,316,752,624.17 3,625,203,484.12 4,691,549,140.05 485,509,446.11 189,370,953.08 296,138,493.03 272,482,594.86 529,880,261.45 4,528,288,756.55 0.00 0.00 105,654.00 5,058,274,672.00 6,016,205,839.59 1.สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 799 A ด าเนินงาน 324,138,980.00 568,102,033.51 188,901,234.23 379,200,799.28 28,631,552.92 7,102,364.10 21,529,188.82 20,585,507.55 5,959,862.57 14,115,785.67 0.00 0.00 96,954.00 20,172,602.24 596,296,236.35 2.สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยคาร์บอนแบล็ค จ ากัด 31 ธันวาคม 264 A ด าเนินงาน 231,274,070.00 362,733,497.78 103,747,722.49 258,985,775.29 19,012,258.16 7,339,992.08 11,672,266.08 11,592,645.79 49,821,378.22 374,641,732.00 0.00 0.00 0.00 424,463,110.22 450,102,671.37 3. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 31 ธันวาคม 1,215 A ด าเนินงาน 349,969,510.00 536,660,290.52 138,154,440.05 398,505,850.47 25,794,976.07 7,758,601.95 18,036,374.12 17,294,625.16 121,469,317.34 442,359,600.00 0.00 0.00 0.00 563,828,917.34 603,830,000.00 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจอ่างทอง จ ากัด 30 กันยายน 836 B ด าเนินงาน 312,585,790.00 772,606,452.37 387,528,389.07 385,078,063.30 56,733,040.31 18,656,087.11 38,076,953.20 34,421,468.70 77,264,477.06 336,750,990.00 0.00 0.00 0.00 414,015,467.06 456,946,322.00 5. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จ ากัด 30 พฤศจิกายน 1,570 B ด าเนินงาน 2,235,961,980.00 5,499,337,819.29 2,743,027,779.29 2,756,310,040.00 321,848,528.25 143,615,952.61 178,232,575.64 161,234,345.92 257,841,716.73 2,971,755,800.00 0.00 0.00 0.00 3,229,597,516.73 3,451,660,603.43 6.สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 1,118 B ด าเนินงาน 450,668,400.00 577,312,530.70 63,843,918.99 513,468,611.71 33,489,090.40 4,897,955.23 28,591,135.17 27,354,001.74 17,523,509.53 388,664,848.88 0.00 0.00 8,700.00 406,197,058.41 457,370,006.44 สหกรณ์บริการ รวม 726 2,857,980.00 31,333,620.49 27,927,705.57 2,874,914.92 52,519,855.62 51,800,235.17 719,620.45 436,441.54 56,532.58 832,000.00 50,675,398.49 0.00 39,198.00 51,603,129.07 56,119,506.41 1. สหกรณ์บริการสหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 31 ธันวาคม 124 F ด าเนินงาน 464,500.00 8,165,521.91 7,458,408.33 176,113.58 50,533,540.01 49,960,267.95 573,272.06 158,988.45 0.00 0.00 50,499,293.49 0.00 0.00 50,499,293.49 54,576,247.72 2. สหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสุทธาวาส จ ากัด 31 ธันวาคม 40 F ด าเนินงาน 145,750.00 2,808,439.84 2,491,543.58 316,896.26 158,941.44 131,666.60 27,274.84 40,457.75 0.00 0.00 1,260.00 0.00 0.00 1,260.00 1,050.00 3. สหกรณ์บริการเมืองใหม่ชัยมงคล จ ากัด 31 ธันวาคม 373 F ด าเนินงาน 628,630.00 7,580,257.99 5,615,151.66 1,965,106.33 707,876.19 633,204.96 74,671.23 130,477.10 56,532.58 192,000.00 0.00 0.00 0.00 248,532.58 234,934.29 4. สหกรณ์อ่างทองเดินรถ จ ากัด 31 ธันวาคม 27 F ด าเนินงาน 682,800.00 521,605.59 1,571,741.50 -1,050,135.91 162,679.20 290,347.44 -127,668.24 -116,194.90 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 153,200.00 5.สหกรณ์บริการการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยชาวอ่างทอง จ ากัด 31 ธันวาคม 65 F ด าเนินงาน 340,000.00 495,053.92 87,302.98 407,750.94 196,433.86 179,350.00 17,083.86 22,310.31 0.00 0.00 174,845.00 0.00 0.00 174,845.00 1,027,671.00 6.สหกรณ์บ้านมั่นคงเทศบาลป่าโมก จ ากัด 31 ธันวาคม 97 B ด าเนินงาน 596,300.00 11,762,741.24 10,703,557.52 1,059,183.72 760,384.92 605,398.22 154,986.70 200,402.83 0.00 640,000.00 0.00 0.00 39,198.00 679,198.00 126,403.40 สหกรณ์เครดิตยูเนียน รวม 599 5,901,650.00 8,338,340.69 2,054,883.51 6,283,457.18 910,143.63 707,060.68 203,082.95 202,026.83 1,859,758.78 6,042,577.40 0.00 0.00 0.00 7,902,336.18 7,424,179.99 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านบ่อแร่จ ากัด 31 ธ นวาคม 599 c ด าเนินงาน 5,901,650.00 8,338,340.69 2,054,883.51 6,283,457.18 910,143.63 707,060.68 203,082.95 202,026.83 1,859,758.78 6,042,577.40 0.00 0.00 0.00 7,902,336.18 7,424,179.99 ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) รวมปริมาณธุรกิจปี ล่าสุด (พ.ศ. 2561) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้ามา จ าหน่าย รวบรวมผลผลิต และแปรรูป บริการและอื่น ๆ สหกรณ์ ปีบัญชี จ านวน สมาชิก ผลการจัด มาตรฐาน ประจ าปี 2561 สถานะ สหกรณ์ สถานะทั่วไปของสหกรณ์ปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (บาท) ก าไร/(ขาดทุน) ปีบัญชีล่าสุด ก าไร/(ขาดทุน) ปีบัญชีก่อนหน้า ปริมาณธุรกิจปีบัญชี ก่อนหน้า (พ.ศ. 2560)ทุนเรือนหุ้น สินทรัพย์ ทุนด าเนินงาน รายได้ค่าใช้จ่าย


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 19 ข้อมูลสถิติของกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ านวนกลุ่มเกษตรกรและจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร (คน) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 40 2,120 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 4 247 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 4 138 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - รวม 48 2,505 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ) สถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนกลุ่ม เกษตรกรทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (1) หยุด ด าเนินงาน/ ธุรกิจ (2) เลิก /ช าระบัญชี (3) จัดตั้งใหม่ (4) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 36 3 1 1 41 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 4 - - - 4 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 1 - - 4 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - รวม 43 4 1 1 49 ที่มา : (กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 20 ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประเภท กลุ่มเกษตรกร ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิตและ แปรรูป บริการ และอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 40 0.08 9.76 8.55 0.06 0.13 18.58 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 4 - 0.25 0.37 1.50 0.004 2.124 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 4 - 1.00 1.20 - - 2.20 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง - - - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 48 0.08 11.01 10.12 1.56 0.017 22.904 ที่มา : (กลุ่มพัฒนาธุรกิจและส่งเสริมสหกรณ์) ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 40 8.72 8.19 38 0.53 2 0.005 0.525 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 4 1.82 1.81 3 0.01 1 0.002 0.008 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 1.24 1.19 3 0.05 - - 0.05 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ - - - - - - - - 5. กลุ่มเกษตรกรท า ประมง - - - - - - - - 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ - - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 47 11.78 11.19 44 0.59 3 0.007 0.583 ที่มา : (กลุ่มพัฒนาธุรกิจและส่งเสริมสหกรณ์)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 21 ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีบัญชีล่าสุด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (คน) หนี้สิน ทุนของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร รวม 2,505 3,343,300.00 33,266,976.73 18,620,017.25 14,585,233.13 11,796,519.35 11,203,538.49 592,980.86 -13,932.43 84,680.89 11,020,377.00 10,130,753.00 1,568,666.10 141,422.50 22,955,719.49 19,470,362.68 กลุ่มเกษตรกรท านา รวม 2,120 2,897,500.00 29,688,044.77 17,465,102.23 12,168,018.20 8,725,320.79 8,195,021.11 530,299.68 -73,244.77 84,680.89 9,760,029.00 8,553,458.00 60,641.00 137,317.46 18,605,946.35 17,121,702.68 1 กลุ่มเกษตรกรท านาไชยภูมิ 31 มีนาคม 72 ผ่าน ด าเนินการ 198,600.00 1,689,662.30 1,113,309.44 576,352.86 344,242.44 297,211.92 47,030.52 27,237.41 84,680.89 1,125,000.00 341,000.00 0.00 0.00 1,550,680.89 1,216,742.04 2 กลุ่มเกษตรกรท านาตรีณรงค์ 31 มีนาคม 63 ผ่าน ด าเนินการ 108,800.00 921,245.25 566,652.70 336,646.72 22,655.83 4,710.00 17,945.83 16,593.50 0.00 634,000.00 0.00 0.00 0.00 634,000.00 630,539.00 3 กลุ่มเกษตรกรท านาเทวราช 31 มีนาคม 48 ผ่าน ด าเนินการ 63,950.00 652,742.46 500,048.63 142,966.54 10,543.29 816.00 9,727.29 11,425.92 0.00 560,000.00 0.00 0.00 0.00 560,000.00 565,001.00 4 กลุ่มเกษตรกรท านาชัยฤทธิ์ 31 มีนาคม 41 ผ่าน ด าเนินการ 56,950.00 604,574.43 501,884.14 93,790.26 9,820.03 920.00 8,900.03 9,322.00 0.00 590,000.00 0.00 0.00 0.00 599,820.00 540,580.00 5 กลุ่มเกษตรกรท านาชะไว 31 มีนาคม 37 ผ่าน ด าเนินการ 24,450.00 265,694.51 208,789.80 53,115.94 4,248.77 460.00 3,788.77 5,810.24 0.00 241,000.00 0.00 0.00 0.00 241,000.00 233,566.00 6 กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลราชสถิตย์ 31 มีนาคม 41 ผ่าน ด าเนินการ 26,350.00 209,960.45 1,750.00 200,104.79 8,760.66 655.00 8,105.66 5,694.68 0.00 165,000.00 610,990.00 0.00 0.00 775,990.00 132,700.00 7 กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลไชโย 31 มีนาคม 39 ผ่าน ด าเนินการ 67,500.00 232,756.01 18,000.00 208,298.25 7,377.76 920.00 6,457.76 5,810.07 0.00 175,000.00 0.00 0.00 0.00 175,000.00 387,080.00 8.กลุ่มเกษตรกรท านามงคธรรมนิมิต 31 มีนาคม 89 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 110,950.00 759,326.76 0.00 759,326.76 1,336,195.70 1,320,048.00 16,147.70 9,064.11 0.00 0.00 1,334,350.00 0.00 0.00 1,334,350.00 670,185.00 9.กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลราษฎรพัฒนา 31 มีนาคม 32 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 47,500.00 818,105.50 633,267.28 184,838.22 616,857.05 599,982.50 16,874.55 6,053.72 0.00 165,000.00 610,990.00 0.00 0.00 775,990.00 731,060.00 10.กลุ่มเกษตรกรท านาโพธิ์ม่วงพันธ์ 31 มีนาคม 34 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 58,200.00 373,976.32 66,000.00 307,976.32 82,631.92 73,622.00 9,009.92 8,747.16 0.00 255,000.00 72,720.00 0.00 0.00 327,720.00 303,960.00 11.กลุ่มเกษตรกรท านาอบทม 31 มีนาคม 44 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 21,600.00 928,978.13 600,445.07 328,533.06 510,870.54 502,304.29 8,566.25 4,120.95 0.00 58,900.00 504,995.00 0.00 0.00 563,895.00 69,110.00 12.กลุ่มเกษตรกรท านาม่วงเตี้ย 30 มิถุนายน 54 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 90,700.00 1,044,890.77 703,150.00 341,740.77 807,936.26 796,705.25 11,231.01 6,411.28 0.00 82,000.00 806,820.00 0.00 0.00 888,820.00 2,028,440.00 13.กลุ่มเกษตรกรท านายี่ล้น 30 มิถุนายน 39 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 169,650.00 954,038.12 0.00 954,038.12 34,759.97 7,235.00 27,524.97 23,803.94 0.00 585,000.00 0.00 0.00 0.00 585,000.00 555,000.00 14.กลุ่มเกษตรกรท านาบางจัก 30 มิถุนายน 61 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 122,800.00 633,355.30 0.00 633,355.30 17,856.74 6,420.00 11,436.74 17,760.42 0.00 265,000.00 0.00 0.00 0.00 265,000.00 269,500.00 15.กลุ่มเกษตรกรท านาสาวร้องไห้ 30 มิถุนายน 37 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 145,400.00 1,078,687.16 872,659.33 206,028.83 465,590.84 451,423.61 14,167.23 7,501.14 0.00 412,800.00 443,320.00 0.00 0.00 856,120.00 465,650.00 16.กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมต าบลท่าช้าง 30 มิถุนายน 79 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 9,700.00 335,320.49 0.00 335,320.49 504,295.09 496,320.00 7,975.09 6,413.55 0.00 0.00 503,540.00 0.00 0.00 503,540.00 586,610.00 17.กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมไผ่วงพัฒนา 30 มิถุนายน 36 ไม่จัดมาตรฐาน หยุดด าเนินงาน 8,000.00 9,788.99 12,539.00 -2,750.01 391.06 -4,176.00 4,567.06 3,703.55 0.00 0.00 360.00 0.00 0.00 360.00 0.00 18.กลุ่มเกษตรกรท านาสี่ร้อย 30 มิถุนายน 32 ไม่จัดมาตรฐาน หยุดด าเนินงาน 4,350.00 106,739.89 8,838.73 97,901.16 108,287.02 107,450.00 837.02 191.86 0.00 122,327.00 108,250.00 0.00 0.00 230,577.00 0.00 19.กลุ่มเกษตรกรท านาองครักษ์ 31 มีนาคม 40 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 97,850.00 417,006.30 0.00 417,006.30 41,892.64 0.00 41,892.64 39,979.94 0.00 365,585.00 0.00 0.00 0.00 365,585.00 319,000.00 20.กลุ่มเกษตรกรท านาบางระก า 31 มีนาคม 51 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 126,300.00 1,091,786.75 501,721.96 590,064.79 1,056,910.86 1,020,683.27 36,227.59 30,344.63 0.00 505,880.00 1,012,880.00 0.00 0.00 1,518,760.00 1,307,180.00 21.กลุ่มเกษตรกรท านายางช้าย 31 มีนาคม 42 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 13,150.00 159,039.55 0.00 159,039.55 85,355.83 81,557.50 3,798.33 735.41 0.00 0.00 85,000.00 0.00 0.00 85,000.00 106,990.00 22.กลุ่มเกษตรกรท านาหนองแม่ไก่ 31 มีนาคม 47 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 18,100.00 163,437.98 71.00 163,366.98 203,446.09 191,010.00 12,436.09 14,571.06 0.00 41,112.00 201,340.00 0.00 0.00 242,452.00 151,085.00 23.กลุ่มเกษตรกรท านาไผ่จ าศีล 30 มิถุนายน 37 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 263,400.00 1,015,910.32 502,282.00 513,628.32 750,250.73 706,709.09 43,541.64 29,784.44 0.00 220,384.00 484,206.00 0.00 0.00 704,590.00 849,845.00 24.กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลไผ่ด าพัฒนา 30 มิถุนายน 32 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 31,100.00 754,894.80 405,776.34 349,118.46 20,680.52 -1,493.60 22,174.12 17,830.14 0.00 731,041.00 0.00 0.00 20,680.52 751,721.52 705,041.00 25 กลุ่มเกษตรกรท านาค าหยาด 31 มีนาคม 32 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 36,550.00 166,791.23 0.00 166,791.23 27,092.26 19,810.00 7,282.26 4,034.70 0.00 130,000.00 19,520.00 0.00 0.00 149,520.00 149,550.00 26. กลุ่มเกษตรกรท านาแสวงหา 31 มีนาคม 83 ผ่านมาตรฐาน ด าเนินงาน 84,650.00 1,136,755.60 537,338.94 599,416.66 612,068.13 596,177.72 15,890.41 16,403.62 0.00 0.00 608,900.00 0.00 0.00 608,900.00 914,217.16 27.กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสวนผสมสมาชิกแปลงใหญ่ต าบลวังน้ าเย็น 31 มีนาคม 105 ผ่านมาตรฐาน ด าเนินงาน 167,200.00 7,531,256.70 7,360,079.86 171,176.84 5,036.70 2,059.86 2,976.84 0.00 0.00 0.00 2,440.00 0.00 0.00 2,440.00 0.00 28.กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านพราน 31 มีนาคม 41 ผ่านมาตรฐาน ด าเนินงาน 82,550.00 954,572.43 500,364.87 454,207.56 99,003.94 89,441.00 9,562.94 1,813.64 0.00 595,000.00 87,885.00 0.00 0.00 682,885.00 422,915.00 29กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลมหาดไทย 31 มีนาคม 102 ผ่าน ด าเนินงาน 11,700.00 133,967.49 70,985.00 62,982.49 252.33 -46,351.00 46,603.33 -213,651.14 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 30.กลุ่มเกษตรกรท านาหัวไผ่ 31 มีนาคม 39 ไม่ผ่าน ด าเนินงาน 23,200.00 94,588.45 268.19 94,320.26 2,761.03 7,560.00 -4,798.97 1,368.81 0.00 47,000.00 0.00 0.00 0.00 47,000.00 40,122.00 31.กลุ่มเกษตรกรท านาป่างิ้ว 31 มีนาคม 93 ผ่าน ด าเนินงาน 126,450.00 1,498,219.94 733,733.17 764,486.77 548,602.20 533,117.54 15,484.66 27,995.89 0.00 48,000.00 511,430.00 0.00 0.00 559,430.00 1,008,605.00 32.กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านแห 31 มีนาคม 38 ผ่าน ด าเนินงาน 34,600.00 89,586.76 1,000.00 88,586.76 3,163.77 2,491.00 672.77 -38,587.54 0.00 60,000.00 0.00 0.00 0.00 60,000.00 3,142.46 33.กลุ่มเกษตรกรท านาตลาดกรวด 31 มีนาคม 53 ผ่าน ด าเนินงาน 168,700.00 568,193.97 51,845.00 516,348.97 24,626.69 17,682.00 6,944.69 17,351.73 0.00 550,000.00 0.00 0.00 0.00 550,000.00 492,000.00 34. กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสวนผสมคลองวัว 30 เมษายน ผ่าน ด าเนินงาน 7,800.00 118,829.11 790.00 118,039.11 1,237.96 550.00 687.96 602.81 0.00 0.00 650.00 0.00 0.00 650.00 500.00 35.กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงนกกระทาและแปรรูปสินค้าเกษตรอ่างทอง 31 ธันวาคม 35 ผ่าน ด าเนินงาน 38,400.00 224,904.13 6,190.00 218,714.13 2,719.20 200.00 2,519.20 2,519.20 0.00 30,000.00 0.00 0.00 0.00 30,000.00 30,000.00 36.กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลสายทอง 31 มีนาคม 44 ผ่าน ด าเนินงาน 19,650.00 135,923.37 7,393.15 128,530.22 58,795.75 54,905.00 3,890.75 5,464.25 0.00 60,000.00 56,185.00 0.00 2,610.75 118,795.75 130,951.25 37.กลุ่มเกษตรกรท านานรสิงห์ 31 มีนาคม 103 ผ่าน ด าเนินงาน 42,300.00 277,378.27 3,927.00 273,451.27 7,708.30 1,400.00 6,308.30 5,831.39 0.00 150,000.00 0.00 0.00 7,708.30 157,708.30 150,092.39 38.กลุ่มเกษตรกรท านาโผงเผง 31 มีนาคม 55 ผ่าน ด าเนินงาน 69,100.00 356,285.99 2,332.42 353,953.57 14,493.95 4,015.00 10,478.95 8,676.89 0.00 270,000.00 0.00 0.00 14,493.95 284,493.95 231,649.89 39.กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลบางเสด็จ 31 มีนาคม 111 ผ่าน ด าเนินงาน 75,650.00 1,137,509.86 968,144.13 169,365.73 260,107.25 243,779.16 16,328.09 -170,018.50 0.00 520,000.00 145,687.00 60,641.00 86,030.25 812,358.25 722,891.13 40.กลุ่มเกษตรกรท านาเอกราช 31 มีนาคม 59 ไม่จัด หยุดด าเนินงาน 23,650.00 41,362.93 3,525.08 37,837.85 5,793.69 6,690.00 -896.31 -51,961.64 0.00 0.00 0.00 0.00 5,793.69 5,793.69 202.36 กลุ่มเกษตรกรท าสวน รวม 247 243,400.00 1,465,015.33 853,311.69 604,901.63 1,825,921.36 1,814,862.38 11,058.98 11,800.46 0.00 250,400.00 373,190.00 1,508,025.10 4,105.04 2,135,720.14 508,230.00 1.กลุ่มเกษตรกรท าสวนต าบลยางช้าย 31 มีนาคม 34 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 25,100.00 115,535.03 50.00 115,485.03 3,073.65 0.00 3,073.65 2,473.94 0.00 113,000.00 0.00 0.00 0.00 113,000.00 96,180.00 2.กลุ่มเกษตรกรท าสวนอ่างทองกรีนฟาร์ม 30 พฤศจิกายน 40 ไม่จัดมาตรฐาน ด าเนินการ 40,000.00 309,151.18 262,349.17 40,000.00 1,512,130.14 1,505,328.13 6,802.01 0.00 0.00 0.00 0.00 1,508,025.10 4,105.04 1,512,130.14 0.00 3 .กลุ่มเกษตรกรท าสวนต าบลทางพระ 31 มีนาคม 76 ไม่ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 103,150.00 1,036,568.46 515,470.76 521,097.70 309,255.66 305,631.55 3,624.11 3,624.11 0.00 137,400.00 373,190.00 0.00 0.00 510,590.00 301,755.00 4. กลุ่มเกษตรกรท าสวนต าบลจ าปาหล่อ 31 มีนาคม 97 ไม่ผ่าน ด าเนินงาน 75,150.00 3,760.66 75,441.76 -71,681.10 1,461.91 3,902.70 -2,440.79 5,702.41 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 110,295.00 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์รวม 138 202,400.00 2,113,916.63 301,603.33 1,812,313.30 1,245,277.20 1,193,655.00 51,622.20 47,511.88 0.00 1,009,948.00 1,204,105.00 0.00 0.00 2,214,053.00 1,840,430.00 1.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลร ามะสัก 31 มีนาคม 45 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 23,950.00 526,616.09 300,010.13 226,605.96 1,067,956.45 1,049,575.00 18,381.45 14,522.58 0.00 0.00 1,067,055.00 0.00 0.00 1,067,055.00 676,280.00 2.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์โคกพุทรา 31 มีนาคม 34 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 113,500.00 812,988.25 253.20 812,735.05 17,080.12 1,500.00 15,580.12 15,894.64 0.00 569,948.00 0.00 0.00 0.00 569,948.00 553,000.00 3.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์แสวงหา 31 ธันวาคม 26 ไม่ผ่านมาตรฐาน หยุดด าเนินงาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หลักแก้ว 30 มิถุนายน 33 ผ่าน ด าเนินธุรกิจ 64,950.00 774,312.29 1,340.00 772,972.29 160,240.63 142,580.00 17,660.63 17,094.66 0.00 440,000.00 137,050.00 0.00 0.00 577,050.00 611,150.00 สถานะกลุ่ม เกษตรกร ค่าใช้จ่าย ก าไร/(ขาดทุน) ปี บัญชีก่อนหน้า สถานะทั่วไปของกลุ่มเกษตรกร ปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (บาท) ก าไร/(ขาดทุน) ปีบัญชีล่าสุด ทุนด าเนินงาน ทุนเรือนหุ้น ปริมาณธุรกิจปี บัญชีก่อนหน้า (พ.ศ. 2560) รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้ามา จ าหน่าย รวบรวมผลผลิต และแปรรูป บริการและ อื่น ๆ รวมปริมาณธุรกิจปี ล่าสุด (พ.ศ. 2561) รายได้ กลุ่มเกษตรกร สินทรัพย์ ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (บาท) ปีบัญชี ผลการจัด มาตรฐาน ประจ าปี2561 จ านวนสมาชิก


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 22 ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงาน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 23 สรุปผลการปฏิบัติงานและผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอน เพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ า และสร้างการเติบโตจากภายใน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการแนะน าส่งเสริมและก ากับ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบ CPS 1.ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 31แห่ง กลุ่มเกษตรกร 47กลุ่ม สหกรณ์31แห่ง กลุ่มเกษตรกร 47กลุ่ม 100 712,000 712,000 100 2.การช าระบัญชี 2 สหกรณ์ 1 กลุ่มเกษตรกร 1 สหกรณ์ 1 ก ลุ่ ม เกษตรกร 66.67 9,000 5,440 60.44 1 สหกรณ์ไม่ สามารถ ด าเนินการเลิก ได้ กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.โครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึง แหล่ง เงินทุนในก ารผลิ ตแล ะ การตลาด 16 กลุ่ม 16 กลุ่ม 100 39,300 39,300 100 กิจกรรมรองรายจ่ายเพื่อการ ล ง ทุ น ส า ห รั บ ค รุ ภั ณ ฑ์ แ ล ะ สิ่งก่อสร้าง 1 คัน 1แห่ง 1 คัน 1แห่ง 100 1,478,000 1,478,000 100 แผนงานยุทธศาสตร์การส่งเสริมการด าเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจของพอเพียง กิจกรรมหลักพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์อันเนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 27,100 27,100 100 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลักช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยปี 2559/2560 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สิน สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 4 แห่ง สหกรณ์ 4 แห่ง 100 21,926.86 21,926.86 100


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 24 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอน เพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กิจกรรมหลักพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้าง มลูค่าเพิ่มในสังกัดสถาบัน เกษตรกร 2 กลุ่ม 2 กลุ่ม 100 140,400 140,400 100 แผนงานบูรณาการการพัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าภาคเกษตร กิจกรรมหลักสนับสนุนการด าเนินการบริหารจัดการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในรูปแบบสหกรณ์ โครงการระบบส่งเสริม การเกษตรแบบแปลงใหญ่ 738 ราย 738 ราย 100 139,400 139,400 100 กิจกรรมหลักสนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โค รงก า รศูนย์เ รี ยนรู้ก า รเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 7 ศพก. 7 ศพก. 100 58,000 58,000 100 กิจกรรมหลักพัฒนาสมาชิกสหกรณ์เป็นสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Farmer) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ ก ษ ต ร ก ร ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 65 ราย 65 ราย 100 24,150 24,150 100 กิจกรรมพัฒนาความเข้มแข็งเพื่อยกระดับชั้นสหกรณ์ โครงก ารพัฒน าคว ามเข้มแข็ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 31 สหกรณ์ 31 สหกรณ์ 100 62,600 62,600 100 กิจกรรมหลักเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์ภาคการเกษตร โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ภาคการเกษตร 1 อ าเภอ 1 สหกรณ์ภาคการเกษตร 1 สหกรณ์ 1 สหกรณ์ 100 102,300 102,300 100 กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โครงก า รสนับสนุนก า รพัฒน า ระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 33 ราย 33 ราย 100 127,250 127,250 100 กิจกรรมหลักส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่ 50 ราย 50 ราย 100 5,300 5,300 100 ข้อมูล ณ วันที่30 กันยายน 2561 ที่มา : (ฝ่ายบริหารทั่วไป)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 25 สรุปผลส าเร็จจากการปฏิบัติงานตามแนวทางการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจ าปี 2561 แนวทางที่ 1 : สร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ สหกรณ์ได้รับการ ตรวจสอบอย่างเข้มข้น โดยทีมตรวจการณ์สหกรณ์ ผลการตรวจสอบสหกรณ์ ผลการแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์ เข้าตรวจสอบ ระหว่างปี งปม. 2559 - 2560 เข้าตรวจสอบ ในปี งปม. 2561 ไม่พบ ข้อบกพร่อง ในสหกรณ์ พบ ข้อบกพร่อง ในสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ด าเนินการ แก้ไขแล้ว เสร็จ สมบูรณ์ หน่วยนับ แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง สสจ. 31 แห่ง 21 10 30 2 - 2 - สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอ่างทอง จ ากัด - - - 1 - 1 - สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขอ่างทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานไทย คาร์บอนแบล็ค จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลอ่างทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจอ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรบางเสด็จ จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์เพื่อการตลาดลูกค้าธ.ก.ส. จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น้ าน้อย จ ากัด 1 - 1 - - - - ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรอ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์สตรีไชโย จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรสามโก้ จ ากัด 1 - - 1 - 1 -


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 26 สหกรณ์ สหกรณ์ได้รับการ ตรวจสอบอย่างเข้มข้น โดยทีมตรวจการณ์สหกรณ์ ผลการตรวจสอบสหกรณ์ ผลการแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ์ เข้าตรวจสอบ ระหว่างปี งปม. 2559 - 2560 เข้าตรวจสอบ ในปี งปม. 2561 ไม่พบ ข้อบกพร่อง ในสหกรณ์ พบ ข้อบกพร่อง ในสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ อยู่ระหว่าง ด าเนินการ แก้ไข แล้วเสร็จ สมบูรณ์ หน่วยนับ แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์การปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น จ ากัด - - 1 - - - - สหกรณ์บริการเมืองใหม่ชัยมงคล จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์อ่างทองเดินรถ จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสุทธวาส จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์บริการสหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์บริการการตลาดสินค้าเกษตร ปลอดภัยชาวอ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์บ้านมั่นคงเทศบาลป่าโมก จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จ ากัด - 1 1 - - - - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านบ่อแร่ จ ากัด 1 - 1 - - - - สหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด (ช าระบัญชี) 1 - 1 - - - -


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 27 แนวทางที่ 2 : ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ แนวทาง กิจกรรม 2. ช่วยเหลือ ด้านหนี้สิน สมาชิก 5. Smart Farmer 6.เกษตร ทฤษฎีใหม่ ผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ ด้าน องค์ ความรู้ ด้าน เทคโนโลยี การผลิต ด้าน การตลาด หน่วยงานที่ร่วมมือ... (ระบุชื่อ) ผลผลิต/ ผลิตภัณฑ์ ... (ระบุ) ปริมาณธุรกิจ ก่อน ด าเนิน โครงการ (ปี งปม. 2560 สะสม 10 เดือน (1 ต.ค. ปริมาณธุรกิจ หลัง ด าเนิน โครงการ (ปีงป ม. 2561 สะสม 10 เดือน (1 ต.ค. 60-31 ก.ค.61)) ผลเปรียบเทียบ เพิ่มขึ้น (ลดลง) ผล ผลิต.. (ระบุ) ปริมาณ มูลค่า ปัจจัยการ ผลิต.. (ระบุ) เช่น เมล็ด พันธุ์ปุ๋ย ฯลฯ ปริมาณ มูลค่า ผลผลิต .. (ระบุ) ปริมาณ มูลค่า ปัจจัย การผลิต.. (ระบุ) เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ฯลฯ ปริมาณ มูลค่า หน่วยนับ แห่ง แห่ง แห่ง บาท บาท บาท ราย ราย แห่ง แปลง ตัน บาท ตัน บาท ราย ตัน บาท ตัน บาท แห่ง ราย ราย สสจ. รวม 9 แห่ง 1.00 0.00 0.00 779,220.00 895,500.00 121,280.00 29.00 0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 65.00 50.00 1.00 0.00 0.00 779,220.00 895,500.00 121,280.00 29.00 0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 35.00 50.00 1 สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทองจ ากัด 1 - - ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ าจืดอ่างทอง ปลานิล 779,220 895,500 121,280 - - 1 1 0 0 0 - - - - - - - - - - - - 2 สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทองจ ากัด 0 0 0 0 0 0 0 0 11 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 50 3 สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด 0 0 0 0 0 0 0 0 13 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 0 0 0 0 0 0 0 0 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 5 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 25 0 6 สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 10 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 30.00 0.00 1 กลุ่มเกษตรกรท านาเทวราช 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 6 0 2 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลร ามะสัก 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 10 0 3 กลุ่มเกษตรกรท าสวนอ่างทองครัวสุขภาพ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 3. แปลงใหญ่ (ผลผลิต : ข้าว/ยางพารา/มันส าปะหลัง/ข้าวโพด/ปาล์มน้ ามัน/โคนม/โคเนื้อ/ผลไม้/ผัก/อื่นๆ) 4.2 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เชื่อมโยงกับ ศพก. โดย รวบรวม/รับซื้อหรือแปร รูปผลผลิตจาก ศพก. หมายเหตุ 3.1 จ านวน เกษตรกรใน พื้นที่แปลง ใหญ่ที่ซื้อ/ ขาย ผลผลิต หรือได้รับ สนับสนุน ปัจจัยการ ผลิตจาก สหกรณ์ สมาชิกที่ ได้รับการ ช่วยเหลือ - อุทกภัย ปี 59-60 - พักหนื้ผู้ ปลูกข้าว 59/60 4.1 จ านวน เกษตรกร ศพก. ที่ ซื้อ/ขาย ผลผลิต หรือได้รับ สนับสนุน ปัจจัยการ ผลิตจาก สหกรณ์ 1. ประชารัฐ แนวทางที่2 : ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีบทบาทขับเคลื่อนนโยบายรัฐ 4.3 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เชื่อมโยงกับ ศพก. โดย สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่ สมาชิก ศพก. 4. ศพก. (ผลผลิต : ข้าว/ยางพารา/มันส าปะหลัง/ข้าวโพด/ปาล์มน้ ามัน/โคนม/โคเนื้อ/ ผลไม้/ผัก/อื่นๆ) 3.2 สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่ ได้รับการรับรอง เป็นแปลงใหญ่ รวมสหกรณ์6 รวมกลุ่มเกษตรกร 3 เกษตรกรที่ เข้าร่วม โครงการ สมัครเป็น สมาชิก ของ สหกรณ์/ กลุ่ม เกษตรกร สมาชิก สหกรณ์ที่เข้า ร่วมโครงการ ผ่าน คุณสมบัติ และเป็น Smart Farmer 3.3 สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร รวบรวม/รับ ซื้อผลผลิตจากพื้นที่แปลง ใหญ่ 3.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่ สมาชิกแปลงใหญ่ (ผลการสนับสนุนปัจจัยการผลิต ที่ 4.4 สหกรณ์ ได้รับการ รับรอง เป็นศูนย์ เครือข่าย ด้าน สหกรณ์ ของ ศพก. 1.1 สหกรณ์มีความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และสหกรณ์ 1.2 มูลค่าปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ที่เข้าร่วม โครงการ (เฉพาะธุรกิจที่เกิดความร่วมมือประชา รัฐ หากมีมากกว่า1 ธุรกิจให้บวกรวมกัน)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 28 แนวทางที่ 3 : ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร แนวทาง พัฒนา บรรจุ ภัณฑ์ แปรรูป อื่นๆ ตลาด Online ตลาด Offline ระบุ.... หน่วยนับ แห่ง บาท แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง บาท แห่ง ช่องทาง ช่องทาง 1 2 2 2 0 96,930 2 1 0 1 2 2 2 0 96,930 2 1 1 1 สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า 0 ปลานิลแดดเดียว - 443,800 1 ปลานิลแดดเดียว 1 1 0 44,380 1 1 2 สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 1 หน่อไม้หยอง อย. 525,560 1 หน่อไม้หยอง 1 1 0 52,550 1 1 กิจกรรม 1.3 มาตรฐานที่ ได้รับการรับรอง (ระบุ...) 1.4 มูลค่าการ จ าหน่าย ผลิตภัณฑ์/สินค้า ในปีบัญชีปัจจุบัน/ ล่าสุด แนวทางที่3 : ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า/สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร หมายเหตุ สสจ. 2 รวม รวมสหกรณ์ 3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีช่องทางการจ าหน่ายสินค้าเกษตร ที่ 2.1 สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร (หากด าเนินการ ให้ใส่หมายเลข 1 ) 2.2 ผลิตภัณฑ์/ สินค้าที่ได้รับ การพัฒนา(ระบุ ชื่อ...) 2.3 พัฒนาและสร้าง มูลค่าเพิ่มโดย 1. สินค้าของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาและได้รับการรับรอง คุณภาพมาตรฐาน ในปี2561 มาตรฐาน : GMP GAP เกษตรอินทรีย์เกษตรปลอดภัย ISO HACCP Q สมส. 1.1 สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร (หาก ด าเนินการให้ ใส่หมายเลข 1 ) 1.2 ผลิตภัณฑ์/ สินค้า (ระบุชื่อ...) 3.1 สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรที่มีช่องทาง การตลาดเพิ่มขึ้น (หากด าเนินการให้ใส่ หมายเลข 1 ) 3.2 ช่องทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น 2.4 มูลค่าการ จ าหน่าย ผลิตภัณฑ์/สินค้า ในปีบัญชี ปัจจุบัน/ล่าสุด 2. สินค้าของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพิ่ม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 29 Unit School ส านักงาน Unit School กลุ่มงาน แนวทางที่ 4 : พัฒนาคน รูปภาพกิจกรรม แนวทางการก าหนดเรื่อง / แผนการเรียนการสอนของ Unit School หลักการของ Unit School 1) คนในหน่วยช่วยกันก าหนดเรื่องที่ต้องรู้ / แผนการเรียนการสอน 2) ใช้คนในหน่วยถ่ายทอดความรู้ 3) เป็นการซักซ้อมการปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติจริง 4) ใช้เวลาไม่มาก / ไม่กระทบเวลาท างานของหน่วย 5) ไม่ใช้งบประมาณ 6) ท าได้ทุกระดับ กลุ่ม 7) มีขั้นตอน - ก าหนดเรื่อง โครงการตามนโยบายส าคัญกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การวิเคราะห์เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์/ การส่งเสริมสหกรณ์ - ท าแผนการเรียนการสอน - แบ่งมอบความรับผิดชอบ / หาครูฝึก วิทยากร - ครูฝึก / วิทยากร / ท าแผนบทเรียน - ด าเนินการฝึก - ประเมินผล - ทบทวนการฝึก / ปรับปรุง Unit School กระทรวง Unit School - ระดับจังหวัด Unit School กรม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 30 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ประกอบด้วย สหกรณ์ 15 แห่ง สมาชิก 6,717 คน กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 422 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) การเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ในเขตอ าเภอเมือง ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานที่ดี โดยการช่วยเหลือสมาชิกทั้งทางด้านเงินทุน ในการประกอบอาชีพและสร้างที่อยู่อาศัย (สหกรณ์บริการพัฒนาชุมชนสุทธาวาส จ ากัด) พร้อมทั้ง จัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพมาจ าหน่ายแก่สมาชิก ท าให้สมาชิกสหกรณ์มีความกินดีอยู่ดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสหกรณ์ พร้อมทั้งท าให้สหกรณ์มีระบบการบริหารงานเป็นไปตาม พระราชบัญญัติสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์บริการเมืองใหม่ชัยมงคล จ ากัด และสหกรณ์บริการสหภาพแรงงานไทยเรยอน จ ากัด มีปัญหาในการปิดบัญชีประจ าปี เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ที่มีไม่สามารถปิดบัญชีประจ าปีได้ เนื่องจากขาด ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปรับปรุงรายการที่คลาดเคลื่อน และเอกสารบางส่วนสูญหาย สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ไม่ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของกิจการจึงไม่ให้ความส าคัญในการปฏิบัติหน้าที่สมาชิกใน ฐานะเจ้าของกิจการ เช่น การพิจารณาลงมติตามระเบียบวาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สมาชิกไม่มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระส าคัญและจ าเป็นที่ที่ประชุมใหญ่เสนอให้พิจารณา จึงท าให้ การออกเสียงในวาระต่าง ๆ ขาดความเข้าใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีผลเสียที่จะได้รับจากการ ตัดสินใจ เช่น ระเบียบวาระการอนุมัติค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความส าคัญ และความจ าเป็นในการเลือกผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี และที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ Unit School กระทรวง อ าเภอ เมืองอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 31 สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2561 จ านวน 904 ราย 3. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายและให้สินเชื่อ โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ จัดหาปัจจัยการผลิตมาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด จะเป็นศูนย์กลางในการจัดหาปัจจัยการผลิตมาจ าหน่ายแก่สมาชิก และสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จังหวัดอ่างทอง โดยสหกรณ์มีจุดกระจายสินค้า เพื่อสะดวกแก่สมาชิกในการซื้อปัจจัยการผลิต 5. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ และสหกรณ์จะมีการส่งเสริมให้คณะกรรมการด าเนินการ และสมาชิก ให้เข้าร่วมโครงการอบรมต่าง ๆ ของส านักงานสหกรณ์จังหวัด เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่สมาชิกและคณะกรรมการ ด าเนินการสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 32 สหกรณ์การเกษตรเมืองอ่างทอง จ ากัด


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 33 ประกอบด้วยสหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 5,662 คน ,กลุ่มเกษตรกร 10 แห่ง สมาชิก 401 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีที่ผ่านมาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนเรือนหุ้น เพิ่มขึ้น ท าให้สามารถน าทุนมาบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีแหล่งเงินทุนที่มาจากแหล่งเงินทุน ภายในที่เข็มแข็งโดยไม่ต้องพึ่งแหล่งเงินทุนภายนอกมากนัก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีก าไรมากขึ้น กว่าปีก่อนๆ ส าหรับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ยังไม่มีเงินทุนหมุนเวียนที่เพียงพอก็ได้รับการช่วยเหลือด้านเงินทุน จากเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์และกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ท าให้สามารถมีเงินทุนหมุนเวียนในการท า ธุรกิจเพิ่มขึ้น การแนะน าส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด าเนินการสรุปภาพรวมสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอโพธิ์ทอง ยังเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้เป็นอย่างดี ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาและอุปสรรคที่พบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เรื่องของภัยธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย ในพื้นที่ ท าให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้รับผลกระทบ พืชสวน ไร่นา ได้รับความเสียหาย ท าให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ จนส่งผลกระทบให้สมาชิกสหกรณ์บางส่วน ไม่สามารถ ช าระหนี้กับสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรได้ตรงตามก าหนด ต้องผิดนัดช าระหนี้ บางสหกรณ์สมาชิกมีอายุมาก จนเป็นอุปสรรคในการมาติดต่อกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และปัญหาเงินรับฝากที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย สหกรณ์ ตามรายงานของผู้สอบบัญชี และปัญหาการจ่ายคืนทุนเรือนหุ้นไม่ได้ เนื่องจากสหกรณ์มีผลขาดทุน สะสม ยกมา ท าให้สมาชิกบางรายมาร้องเรียนศูนย์ด ารงธรรมและคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรมีนโยบาย หรือก าหนดระเบียบเกี่ยวกับการช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รับ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่าง ๆ และควรมีการด าเนินการหาสมาชิกรายใหม่ๆ เข้ามาเป็นสมาชิกแทนสมาชิก ที่มีอายุมากขึ้นโดยประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงข้อดีและประโยชน์ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส่วนเงินรับฝากที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ให้ด าเนินการแก้ไข โดยแจ้งให้ผู้ฝากเงินมาทยอยถอนเงินฝาก หรือปิดบัญชีเพื่อไม่ให้กระทบกับสภาพคล่องของสหกรณ์ส่วนปัญหาการจ่ายคืนทุนเรือนหุ้นไม่ได้ให้สหกรณ์ ท าความเข้าใจกับสมาชิกในที่ประชุมกลุ่มสมาชิกและการประชุมใหญ่ประจ าปี อ าเภอ โพธิ์ทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 34 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของ สสจ./สสพ . ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ในอ าเภอที่ผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ระดับอ าเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอโดยข้อมูลที่น าเสนอ ประกอบด้วย 1. ชื่อสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัดประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 มิถุนายน 2561 จ านวน 5,077 ราย แยกเป็น สมาชิกสามัญ ชาย 1,227 ราย หญิง 2,130 ราย รวมสมาชิกสามัญ 3,357 ราย สมาชิกสมทบ ชาย 794 ราย หญิง 926 ราย รวมสมาชิกสมทบ 1,720 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย, ธุรกิจสินเชื่อและธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาการทุจริตสหกรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 โดยคณะกรรมการด าเนินการ ฝ่ายจัดการและผู้ตรวจสอบกิจการ และสมาชิก ร่วมกันด าเนินธุรกิจของ สหกรณ์อยู่ในทิศทางที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ณ ปีบัญชีสิ้นสุด 2560 ในวันที่ 30 มิถุนายน 2561 มีก าไรสุทธิ 14,482,027.53 บาท 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เช่น 6.1 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร (เข้าสู่ปีที่ 2) ได้รับเงินทุนหมุนเวียนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อน าไปสนับสนุนเงินกู้ให้แก่ สมาชิกสหกรณ์ จ านวน 33 ราย เป็นเงิน 1,650,000 บาท เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มี ความยั่งยืน มีแหล่งน้ าในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพาน้ าจากระบบชลประทานและแหล่งน้ าธรรมชาติ เพื่อ สร้างโอกาสในการท าเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ า โดยสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย แห่งละ 50,000 บาท มีระยะเวลาคืนเงินทุน 5 ปี 6.2 โครงการศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ เป็นการน าสินค้าราคาถูกเพื่อช่วยเหลือสมาชิกและ เกษตรกร เพื่อเป็นการลดค่าครองชีพ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ สหกรณ์ที่เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ที่มีความพร้อม มีอุปกรณ์ทางการตลาดที่สามารถด าเนินธุรกิจเพื่อ บริการสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดีได้ คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ก็มีความสามารถในการบริหารและแก้ไข ปัญหา มีการประชุมคณะกรรมการประจ าเดือนและประชุมคณะกรรมการอื่น ๆ เป็นประจ า ประชุมกลุ่ม สมาชิกเพื่อแจ้งข่าวสารให้กับสมาชิกได้รับทราบผลการด าเนินงานของสหกรณ์ และรับทราบ รับฟังปัญหาของ สมาชิก และน าข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไข การบริการ เพื่อให้ตรงใจสมาชิกมากที่สุด


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 35 ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 3,614 คน กลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง สมาชิก 255 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อ าเภอแสวงหา เป็นการปฏิบัติงานส่งเสริมและ พัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ มีการด าเนินงานที่เน้นเป็นไปเพื่อประโยชน์ แห่งมวลสมาชิกเป็นไปตามพื้นฐานหลักตามหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการของสหกรณ์ สร้างการมีส่วนร่วม ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ มีธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ สามารถบริการให้เกิดความพึงพอใจแก่สมาชิก ให้ทันต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ เปลี่ยนแปลง สร้างความพึงพอใจและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ระบบสหกรณ์โดยส่วนรวม ท าให้คุณภาพชีวิต ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ แนะน าส่งเสริม การตรวจการสหกรณ์ การสร้างศูนย์เรียนรู้ การฝึกอบรม ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การจัดท าแผนกลยุทธ์สหกรณ์ สามารถพัฒนางานสหกรณ์ ให้ด าเนินงานอย่างถูกต้องไม่ขัดต่อกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายอื่นให้สามารถขับเคลื่อน ไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรแต่ละประเภท คือ สามารถให้บริการและ แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกได้ โดยให้ด าเนินการตามหลักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ทั้งในระดับบุคคลและระดับองค์กร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้อย่างมั่นคง และยั่งยืน ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาด้านบุคลากร 1.1 สมาชิกสหกรณ์สมาชิกส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจหลักการและปรัชญาสหกรณ์ที่เน้นการ รวมกลุ่มกันเพื่อด าเนินธุรกิจและจัดสรรก าไรจากการด าเนินงานที่เป็นธรรมกับสมาชิก และไม่มีความสนใจใน กิจการของสหกรณ์ทั้งเรื่องการบริหาร การเงิน การตลาด และการหาผลิตภัณฑ์ ซึ่งโดยหลักการแล้วสมาชิก สหกรณ์คือเจ้าของสหกรณ์หรือเจ้าของกิจการ แต่กลับพบว่าเจ้าของสหกรณ์กลับไม่ทราบข้อมูลพื้นฐานของ สหกรณ์ เช่น ทุนสหกรณ์ ผลการด าเนินการ เป็นต้น เป็นเพราะสมาชิกยังขาดการมีส่วนร่วมในการด าเนินงาน และไม่มาประชุม เนื่องจากขาดการประชาสัมพันธ์และสมาชิกอยู่กันกระจัดกระจาย ในบางกรณีพบว่าการมา เป็นสมาชิกสหกรณ์เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น ต้องการสินค้าราคาถูกๆ ต้องการกู้เงิน เพื่อการต่อรอง ผลประโยชน์ที่รัฐมอบให้ผ่านสหกรณ์ เป็นต้น คณะกรรมการสหกรณ์ มีจ านวนไม่มากที่จะเข้าใจหลักการบริหารจัดการ ส่วนใหญ่แล้ว ขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการหรือบริหารกิจการสหกรณ์ เพราะคณะกรรมการ คือสมาชิกสหกรณ์นั่นเอง การหาผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นคณะกรรมการยากมากในบางสหกรณ์ การเลือกคณะกรรมการมีลักษณะเป็นระบบ อุปถัมภ์ ไม่ได้เลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในบางสหกรณ์มีข้อจ ากัดในการหาคณะกรรมการ เนื่องจาก อ าเภอ แสวงหา


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 36 สมาชิกต้องใช้เวลาในการท าอาชีพของตน เช่น ท าไร่ ปลูกข้าว โดยหลักการแล้วคณะกรรมการต้องเป็น ผู้ก าหนดนโยบาย แต่ผู้ก าหนดนโยบายไม่มีความรู้ในด้านการจัดการ การตลาด และการเงิน บัญชี ท าให้ นโยบายไม่มีความชัดเจน 2. ปัญหาด้านการจัดการ การขาดข้อมูลและสารสนเทศในการจัดการรวมถึงการน าไปใช้ การไม่มีความรู้ในเรื่องข้อมูลเกี่ยวกับ บริหารธุรกิจทั้งการเงินและบัญชีการตลาด การบริหารบุคคล รวมทั้งการเข้าไม่ถึงข้อมูลสารสนเทศทางการ จัดการ นอกจากนี้การที่จะท าให้บุคลากรของสหกรณ์การเกษตรสามารถใช้สารสนเทศเป็นเรื่องยากล าบาก แม้จะมี(Software) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและการบัญชีที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายก็ตาม รวมถึงความไม่พร้อมใน การแข่งขันกับภาคเอกชนสหกรณ์การเกษตรมีการปรับตัวช้าไม่ทันต่อความต้องการของเกษตร รวมไปถึงธุรกิจ ที่มีความเฉพาะและซับซ้อนส่งผลให้ภาคเอกชนซึ่งมีความคล่องตัวและมีความสามารถในการแข่งขันสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกรได้มากกว่าภาคสหกรณ์ เช่น ความรวดเร็ว การน าสินค้าไปใช้ก่อน การประกันราคา การเข้าถึงแหล่งผลิต และขาดการบริการที่ครบวงจร สหกรณ์หลายแห่งท าธุรกิจหรือ ให้บริการเพียงด้านเดียวไม่ครบวงจร ท าให้สมาชิกต้องติดต่อหลายแห่งไม่คุ้มกับเวลาและค่าใช้จ่ายในการ เลือกใช้บริการ ท าให้ผู้ใช้บริการหรือสมาชิกสหกรณ์เลือกใช้บริการที่ครบวงจร 3. ปัญหาด้านกฎหมายและอื่น ๆ พรบ.สหกรณ์ใช้กับสหกรณ์ทุกประเภทในประเทศไทยแบ่งสหกรณ์ออกเป็น 7 ประเภท การใช้กฎหมาย ฉบับเดียวเพื่อใช้กับสหกรณ์ทั้ง 7 ประเภท เป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความยุ่งยากเหมือนการตัดเสื้อขนาดเดียวแล้วให้ คนทั้งประเทศสวมใส่ ระเบียบที่วางก าหนดไว้โดยนายทะเบียนสหกรณ์ ในบางโอกาสไม่สามารถยืดหยุ่นได้กฎหมาย สหกรณ์ในบางครั้งเป็นอุปสรรคต่อการด าเนินงาน ระเบียบปฏิบัติก็ยังไม่เอื้อต่อการด าเนินธุรกิจในสภาวะการ แข่งขันที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของรัฐบาลในบางครั้งนโยบายที่ถูกก าหนดโดยคณะรัฐบาลชุดใหม่ก็มีผลกระทบ ต่อนโยบายของเดิมและในบางช่วงเวลา นโยบายรัฐบาลที่ส่งผ่านโครงการความช่วยเหลือแก่สหกรณ์ก็ท าให้ สหกรณ์นั้นต้องเสียผลประโยชน์รายได้ที่จะเข้ามาสู่สหกรณ์เช่นกัน และนอกจากนี้กฎหมายระเบียบบางอย่าง ก าหนดขึ้นมาเพราะต้องการแก้ปัญหาของสหกรณ์ออมทรัพย์ แต่กลับส่งผลต่อสหกรณ์การเกษตร เพราะเป็น เรื่องยากที่จะหาผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงานสหกรณ์ บางสหกรณ์ใช้เวลาร่วม 10 ปี ในการพัฒนา บุคลากร การก าหนดเช่นนี้โดยขาดการเตรียมการจึงไม่เป็นผลดีต่อสหกรณ์การเกษตร ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ควรสร้างความรู้ความเข้าใจในวิธีการด าเนินงานของสหกรณ์ที่จะประสบความส าเร็จได้ต้องได้รับความ ร่วมมือจากบุคลากรทั้ง 4 ส่วน สมาชิกสหกรณ์ต้องมีส่วนร่วม คณะกรรมการสหกรณ์ต้องมีความรู้ความเข้าใจมี วิสัยทัศน์และนโยบายที่ชัดเจน ฝ่ายจัดการต้องมีความโปร่งใสและมีทักษะการบริหารการจัดการรว มถึง ฝ่ายตรวจสอบกิจการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงตรง ซึ่งทั้งหมดคือหัวใจของการเจริญก้าวหน้าในสหกรณ์ การเกษตร นอกจากนี้เมื่อใดก็ตามที่สหกรณ์การเกษตรสามารถจัดการความรู้และใช้ข้อมูลสารสนเทศในด้าน การจัดการทางธุรกิจ เมื่อนั้นจะท าให้การบริการเป็นไปอย่างครบวงจรตรงต่อความต้องการของสมาชิก และ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 37 เพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันกับภาคเอกชน รวมไปถึงหน่วยงานของรัฐโดยตรงที่ดูแลสหกรณ์ ได้แก่ กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จะต้องมีนโยบายที่ชัดเจนและต่อเนื่องพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มี ความรู้ในวิทยาการสมัยใหม่และดูแลสหกรณ์อย่างใกล้ชิดและทั่วถึง ให้ความส าคัญกับการบูรณาการระหว่าง 2 หน่วยงาน จะท าให้การพัฒนาสหกรณ์มีประสิทธิภาพและยั่งยืน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของ สสจ./สสพ . ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อ าเภอแสวงหา ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด เป็นสหกรณ์ระดับอ าเภอที่ได้ผ่านการคัดเลือกพัฒนาให้เป็นองค์กร หลักระดับอ าเภอ ตามโครงการ 1 สหกรณ์ 1 อ าเภอ สร้างความเข้มแข็งสร้างประโยชน์แก่เกษตรกรสมาชิก ได้อย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และด าเนินธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อขับเคลื่อนให้สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด ก้าวหน้าต่อไปพร้อมกับสมาชิกของสหกรณ์ มีความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้นพร้อมทั้งขับเคลื่อนการท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน พร้อมทั้ง ช่วยต่อยอดนโยบายของรัฐบาลในการดูแลและส่งเสริมความรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัยแก่สมาชิกเกษตรกร ผลผลิตหลักของสหกรณ์ได้แก่ ข้าว สหกรณ์มีจ านวนสมาชิกทั้งหมด 3,523 คน แยกเป็น สมาชิกสามัญ 2,115 คน และ สมาชิกสมทบ 1,408 คน ธุรกิจของสหกรณ์ได้แก่ 1.ธุรกิจสินเชื่อ มูลค่า 218,051,010.13 บาท 2.ธุรกิจ รับฝากเงินมูลค่า114,899,360.05 บาท 3.ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย มูลค่า 96,708,768.84 บาท นอกจากนี้สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์การเกษตร และได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นศูนย์เรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการสหกรณ์อย่างเป็นระบบและยั่งยืน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 38 สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมพร้อมขับเคลื่อนนโยบาย ปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตรโดยกลไกสหกรณ์และมีการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 39 สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด มีการจัดท าแผนพัฒนาด้านบุคลากร ศึกษาอบรมดูงาน โดยให้ความรู้แก่ คณะกรรมการสหกรณ์และฝ่ายจัดการ ทั้งในและนอกสถานที่ รวมไปถึงการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่สมาชิก เพื่อน ามาปรับปรุงและพัฒนาองค์กรและตนเอง สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด มีการจัดท ากิจกรรมบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่องและให้ ความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กร ทุกภาคส่วนเป็นอย่างดี และเนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ สหกรณ์การเกษตร แสวงหา จ ากัด จึงได้รับใบประกาศเกียรติคุณสหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัด นอกจากนี้ในเขตพื้นที่อ าเภอแสวงหา มีกลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสวนผสมสมาชิกแปลงใหญ่ ต าบลวังน าเย็น อ าเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ซึ่งกลุ่มนี้ได้เข้าร่วมอยู่ในโครงการนาแปลงใหญ่ โดยสมาชิก ทั้งหมดของกลุ่มปลูกข้าวเป็นหลัก โดยมีจ านวนถึง 2,215 ไร่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มคือ ต้องการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตต่อไร่ เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการการผลิตข้าวของชุมชนแบบครบวงจร และต้องการให้มีการเชื่อมโยงตลาดระหว่างเกษตรกรกับผู้ประกอบการ ซึ่งทางกลุ่มได้รับการจัดตั้งเป็น ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ประจ าอ าเภอแสวงหา ซึ่งทางกลุ่มฯก็ได้ ด าเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า ซึ่งผลการ ด าเนินงานของกลุ่มในรอบปีที่ผ่านมา กลุ่มฯ ด าเนินกิจกรรมการบริหารงานสามารถผ่านมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมทั้งได้ด าเนินการต่อยอดการบริหารจัดการสามารถซื้อรถเกี่ยวข้าว เพื่อน ามาให้บริการแก่สมาชิกในกลุ่มแปลงใหญ่ เพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตและลดขั้นตอนระยะเวลาการเก็บเกี่ยว


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 40 นายเรวัต ประสงค์ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง และหัวหน้าส่วนราชการ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ เข้าร่วมกิจกรรมงานเกี่ยวข้าวนาแปลงใหญ่ต าบลวังน้ าเย็น นวัตกรรมข้าว ชาวนาอัจฉริยะ ของอ าเภอแสวงหา สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด มีการสนับสนุนพัฒนากลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ได้แก่ กลุ่มอาชีพ ผู้ผลิตไผ่หวาน มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมอาชีพ สร้างโอกาส สร้างรายได้ของสมาชิก ซึ่งในปีที่ผ่านมา สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์โดยผ่านส านักงานสหกรณ์ จังหวัดอ่างทอง จัดโครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร ปี 2561 โดยสนับสนุน ปัจจัยพื้นฐานให้กับกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน ดังนี้ 1. หม้อต้มสแตนเลส เบอร์ 50 จ านวน 10 ใบ 2. โต๊ะแสตนเลสขาพับ จ านวน 4 ตัว รวมถึงเงินสนับสนุน เพื่อการใช้ประโยชน์ส าหรับเป็นอุปกรณ์ใน ขั้นตอนของกระบวนการผลิต และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์รวมถึง จัดฝึกอบรมให้ความรู้ในการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ 2 แผน 1) แผนพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน 2) แผนพัฒนาบรรจุภัณฑ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 41 ซึ่งผลส าเร็จที่ได้รับคือ ทางกลุ่มมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ ได้แก่ หน่อไม้หยอง ท าให้เกิดการ สร้างรายได้เพิ่มมากขึ้นให้กับกลุ่มและสมาชิก รวมถึงสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย มากขึ้น สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด สนับสนุนและพัฒนากลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ได้แก่ กลุ่มอาชีพ ผู้ผลิตไผ่หวาน มาอย่างต่อเนื่อง ท าให้กลุ่มประสบความส าเร็จในการด าเนินงาน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 42 ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 863 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 381 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด มีการรับฝากเงินจากบุคคลที่มิใช่สมาชิกซึ่งเป็นการปฏิบัติที ่ขัดต่อ กฎหมายสหกรณ์อาจส่งผลกระทบท าให้การบริหารจัดการเงินของสหกรณ์ขาดประสิทธิภาพ และอาจส่งผล กระทบต่อสภาพคล่องของสหกรณ์ซึ่งแต่เดิมสหกรณ์มียอดเงินรับฝากจากบุคคลที่มิใช่สมาชิกจ านวน 5,401,546.40 บาท ซึ่งสหกรณ์ได้แก้ปัญหาดังกล่าวต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันมียอดเงินรับฝากจากบุคคลที่มิใช่ สมาชิกคงเหลือทั้งสิ้น จ านวน 175,415.08 บาท กลุ่มเกษตรกรมีทุนด าเนินงานเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการระดมหุ้นของสมาชิกและผลก าไรจากการด าเนิน ธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ที่ผ่านมาหลายกลุ่มในอ าเภอไชโยใช้ทุนด าเนินงานของตนเองส าหรับด าเนินธุรกิจเพื่อ บริการให้แก่สมาชิก หลังจากแนะน าให้กลุ่มเกษตรกรกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรท าให้กลุ่มเกษตรกร สามารถบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึง และกลุ่มเกษตรกรก็เติบโตขึ้นจากปีที่ผ่านมา ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ขนาดเล็กใช้ทุนด าเนินงานภายในของตนเอง และกลุ่มเกษตรกรบางกลุ่มยังมีทุนหมุนเวียนที่ใช้ ส าหรับด าเนินธุรกิจไม่เพียงพอกับความต้องการของสมาชิก ถึงแม้จะท าเรื่องกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร แต่เนื่องจากมีทุนด าเนินงานน้อยจึงท าให้ไม่สามารถกู้เงินมาใช้หมุนเวียนในการท าธุรกิจได้เพียงพอกับ ความต้องการของสมาชิก ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา ให้คณะกรรมการด าเนินการระดมหุ้นจากสมาชิกเพื่อเพิ่มทุนด าเนินงานและสร้างความเข้มแข็งให้กับ สถาบันต่อไปในอนาคต สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของ สสจ./สสพ . ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กลุ่มเกษตรกรท านาชัยฤทธิ์ ด าเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และ ธุรกิจสินเชื่อ ผลงาน/ความส าเร็จของกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรมีทุนด าเนินงานเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากกลุ่มมีการด าเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องโดย กลุ่มเกษตรกรกู้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเพื่อน ามาใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ และมีการ ระดมหุ้นจากสมาชิกจึงท าให้กลุ่มเกษตรกรเติบโตและมีความเข้มแข็งขึ้นจากปีที่ผ่านมา อ าเภอ ไชโย


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 43 สหกรณ์ 4 แห่ง ประกอบด้วย 1. สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด สมาชิก 2,934 ราย 2. สหกรณ์การปศุสัตว์อ่างทอง จ ากัด สมาชิก 204 ราย 3. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. อ่างทอง จ ากัด สมาชิก 21,593 ราย 4. สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด สมาชิก 130 ราย กลุ่มเกษตรกร 10 แห่ง ประกอบด้วย 1. กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลไผ่ด าพัฒนา สมาชิก 32 ราย 2. กลุ่มเกษตรกรท านาไผ่จ าศีล สมาชิก 37 ราย 3. กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมไผ่วงพัฒนา สมาชิก 36 ราย 4. กลุ่มเกษตรกรท านาบางจัก สมาชิก 61 ราย 5. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หลักแก้ว สมาชิก 34 ราย 6. กลุ่มเกษตรกรท านาสี่ร้อย สมาชิก 34 ราย 7. กลุ่มเกษตรกรท านาม่วงเตี้ย สมาชิก 54 ราย 8. กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสมต าบลท่าช้าง สมาชิก 79 ราย 9. กลุ่มเกษตรกรท านายี่ล้น สมาชิก 39 ราย 10. กลุ่มเกษตรกรท านาสาวร้องไห้ สมาชิก 37 ราย ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) สหกรณ์มีการก าหนดระเบียบต่าง ๆ และแก้ไขข้อบังคับของสหกรณ์ให้สอดคล้องกับระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์และประกาศกฎกระทรวง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของสหกรณ์ สหกรณ์ส่วนใหญ่ มีทุนภายในของสหกรณ์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้ด าเนินการแก้ไข ปัญหาเรื่องหนี้ค้างช าระได้บางส่วนและมีการติดตามหนี้อย่างเคร่งครัด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการด าเนิน ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย การรวบรวมผลผลิต (ข้าวเปลือก) ในภาพรวมทุกธุรกิจมีปริมาณ ที่เพิ่มขึ้นและมีการให้บริการสมาชิกได้ทั่วถึง มีความพึงพอใจในสหกรณ์ระดับอ าเภอมีการออมทรัพย์ โดยการ ระดมถือหุ้นเพิ่มและเงินฝากเพิ่มขึ้นมีการเชื่อมโยงธุรกิจมากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประสบปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ า เช่น ราคาพืชผัก ราคาผลไม้ ราคาข้าวเปลือก และประสบปัญหาโรคแมลงระบาดบางพื้นที่ การท าการเกษตรประสบปัญหา การขาดทุน ไม่สามารถส่งช าระหนี้สหกรณ์ได้ครบตามสัญญาและสมาชิกบางรายรอการซื้อหนี้แทนจาก ส านักงานกองทุนพื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร การไม่เข้าใจรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขของกองทุนฟื้นฟูและ พัฒนาเกษตรกร ท าให้สหกรณ์ประสบปัญหามีหนี้ค้างเพิ่มขึ้นและปัญหาเกี่ยวกับสมาชิกมีหนี้ซ้ าซ้อนหลายทาง อ าเภอ วิเศษชัยชาญ


Click to View FlipBook Version