The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ypppink3, 2023-03-21 02:57:28

รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำปี 2561

Keywords: รายงานประจำปี 2561

รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 44 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกให้การศึกษาอบรมอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการ สหกรณ์ ปลูกจิตส านึกให้สมาชิกรักและศรัทธาสหกรณ์ รู้จักการช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อย่างจริงจัง รู้จักการรวมกลุ่มเพื่อต่อรองราคาสินค้าเกษตรและปัจจัยการผลิต และการรวมตัวกันเป็น แปลงใหญ่เกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร และส่งเสริมการด าเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงรู้จัก ใช้จ่ายอย่างประหยัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด ประเภทสหกรณ์การเกษตรธุรกิจของสหกรณ์ คือ 1. ธุรกิจสินเชื่อ 2. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3. ธุรกิจรวบรวมอาหารดิบและเครื่องปรุง 4. ธุรกิจรับฝากเงิน ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธาสหกรณ์และร่วมใช้บริการสหกรณ์มากขึ้น ร่วมซื้อสินค้าจากสหกรณ์ และร่วมระดมทุนถือหุ้นเพิ่มในสหกรณ์ตลอดจนน าเงินมาฝากกับสหกรณ์และการประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ ท าให้สมาชิกร่วมซื้อสินค้ากับสหกรณ์เป็นอย่างดีตลอดจนการแก้ไขปัญหาเรื่องหนี้ค้างของสหกรณ์โดยการ ติดตามและเชิญสมาชิกเข้ามาเจรจาท าข้อตกลงการช าระหนี้ทั้งหนี้เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะปานกลาง และ ลูกหนี้การค้า ปัจจัยแห่งความส าเร็จ 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ ประชุมกลุ่มสมาชิก ชี้แจง ท าความเข้าใจกับคณะกรรมการและสมาชิกถึงนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ลงสู่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตลอดจนประกาศนายทะเบียนและประกาศกฎกระทรวงต่าง ๆ แจ้งให้คณะกรรมการทราบและเข้าใจ เพื่อใช้ เป็นแนวทางปฏิบัติและชี้แจงสมาชิกถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกตลอดจนสิทธิหน้าที่ 2. ปัจจัยส าเร็จอีกส่วนหนึ่งคือสหกรณ์มีผู้น าของสหกรณ์ที่เข้มแข็ง เช่น ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ ประธานกลุ่มต่าง ๆ สามารถที่จะดึงดูดสมาชิกให้ร่วมกิจกรรมกับสหกรณ์ด้านต่าง ๆ ได้ดี 3. สมาชิกมีความศรัทธาในสถาบันสหกรณ์ให้ความร่วมมือกับสหกรณ์ด้วยดีการร่วมกิจกรรม ประชุมกลุ่มสมาชิก ร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์ ร่วมระดมทุนในสหกรณ์ เงินฝากและถือหุ้นเพิ่มด้วยความสมัครใจ 4. ภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ส่งเสริมแนะน าเรื่องการรวบรวมผลผลิต (ข้าวเปลือก) โดยการประสานงานกับพาณิชย์จังหวัดของบประมาณสนับสนุน เพื่อส่งเสริมการรวบรวมผลผลิตของสหกรณ์ โดยการมีงบประมาณสนับสนุนจ่ายให้สหกรณ์เป็นค่าบริการตราชั่ง ลานตาก ท าให้สมาชิกจ าหน่ายผลผลิตได้ ราคาดี


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 45 ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 1,326 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 245 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในเขตอ าเภอสามโก้ แยกตามรายละเอียด ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรสามโก้ จ ากัด เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ในอ าเภอสามโก้ ณ วันสิ้นปีวันที่ 31 มีนาคม 2560 มีสมาชิกทั้งสิ้น 1,141 คน การด าเนินงานของสหกรณ์เกิดข้อบกพร่องการทุจริต ปลอมแปลง การทุจริตปลอมแปลงสัญญาเงินกู้ ลูกหนี้การค้า และเงินรับฝากพิเศษ แล้วไม่บันทึกบัญชี รวมทั้งสิ้นเบื้องต้นเป็นเงิน 146,761,094.61 บาท เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 สหกรณ์ได้ด าเนินการประชุม ใหญ่สามัญประจ าปีและได้เลือกตั้งคณะกรรมการด าเนินการ จ านวน 9 คน ตามข้อบังคับของสหกรณ์ เข้ามา บริหารงานสหกรณ์ ตลอดจนด าเนินการฟื้นฟูการปรับปรุงและพัฒนาสหกรณ์ ในการประเมินผล การจัดมาตรฐานสหกรณ์ในปี 2560 “ไม่ผ่านมาตรฐาน” ตามข้อ 1,2,6 2. สหกรณ์โคเนื้ออ่างทอง จ ากัด เป็นสหกรณ์ขนาดเล็กอยู่ในอ าเภอ ณ วันสิ้นปีวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีสมาชิกทั้งสิ้น 185 คน ปัจจุบันสหกรณ์ท าธุรกิจด้านสินเชื่อและธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก ผลการด าเนินงานขาดทุนสุทธิ348,928.54 บาท โดยสาเหตุที่ด าเนินธุรกิจขาดทุนเพราะไม่สามารถติดตามการ ช าระหนี้ของสมาชิกให้ส่งช าระตามสัญญาได้และสหกรณ์มีลูกหนี้ค าพิพากษาค้างช าระเป็นเวลานานขาดการ ติดตามอย่างใกล้ชิด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สหกรณ์ได้กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จ านวน 650,000 บาท เพื่อใช้เป็นทุนให้สมาชิกกู้ใช้ในการประกอบอาชีพและช่วยให้สหกรณ์มีสภาพคล่องทางธุรกิจ ผลการ จัดมาตรฐานปี 2561 “ไม่ผ่านมาตรฐาน” ตามข้อ 1,6 3. กลุ่มเกษตรกรในอ าเภอสามโก้ จ านวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรท านามงคลธรรมนิมิต กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลราษฎรพัฒนา กลุ่มเกษตรกรท านาโพธิ์ม่วงพันธ์กลุ่มเกษตรกรท านาอบทม และกลุ่มเกษตรกรท าสวนครัวสุขภาพอ่างทอง กลุ่มเกษตรกรมีธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิกและมี ธุรกิจสินเชื่อ ในภาพรวมสมาชิกของกลุ่มเกษตรกรในความร่วมมือเป็นอย่างดี มีวินัยเป็นอย่างดีในการส่งช าระ หนี้ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร “ผ่านมาตรฐาน” ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์ประสบปัญหาภัยแล้งในปีที่ผ่านมา ท าให้สหกรณ์ประสบปัญหามีหนี้ค้างเพิ่มขึ้น ตลอดจนปริมาณธุรกิจลดลงบางสหกรณ์ พบปัญหาสมาชิกมีหนี้ซ้ าซ้อนหลายทาง จึงท าให้ไม่สามารถส่งช าระ หนี้สหกรณ์ได้ สหกรณ์ประสบปัญหาเกิดข้อบกพร่องภายในสหกรณ์ ข้อบกพร่องทางบัญชี ปลอมแปลง หลักฐานการเป็นหนี้ ปลอมแปลงสัญญาเงินกู้และหนี้การค้า ตลอดจนการรับฝากโดยไม่ได้น ามาบันทึกบัญชี (เงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษ) สมาชิกขาดศรัทธาต่อสหกรณ์เนื่องจากปัญหาทุจริต/ขาดการติดต่อในด้านข้อมูล ข่าวสาร อ าเภอสามโก้


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 46 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์ที่มีปัญหาข้อบกพร่องควรปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูสหกรณ์ที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ ดังนี้ 1.1 ด าเนินการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สอดคล้องและ เหมาะสมกับสภาวะของสหกรณ์ 1.2 ในปีงบประมาณ 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ได้ส่งเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ เข้าไปแนะน า ก ากับ ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ที่มีปัญหา มีการเข้าร่วมประชุมกลุ่มของสมาชิก เพื่อชี้แจงความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหาและกระตุ้นให้สมาชิกมาท าธุรกิจกับสหกรณ์ พร้อมติดตามลูกหนี้ค้าง ช าระเวลานานมาส่งช าระเงิน/จัดท าหนังสือรับสภาพหนี้ ท าให้ในปี 2561 สหกรณ์สามารถจ่ายคืนแก่เจ้าหนี้ ตามค าพิพากษาและเจ้าหนี้เงินฝากออมทรัพย์เป็นจ านวน 3 ครั้ง เป็นเงินประมาณ 5.4 ล้านบาท (ห้าล้าน สี่แสนบาทถ้วน) ซึ่งเป็นการบรรเทาปัญหาความขัดแย้งและความเดือดร้อนของสมาชิก และผู้เกี่ยวข้อง พร้อม สร้างความมั่นใจแก่สมาชิกว่า สหกรณ์มิได้นิ่งนอนใจ แต่ด าเนินการแก้ไขปัญหาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกตลอด 1.3 ด าเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์เพื่อปฏิบัติงานในส านักงาน ด้านการบัญชีและอื่น ๆ ตามที่ ได้รับมอบหมาย 1.4. ด าเนินการเป็นผู้แทนสหกรณ์ขึ้นศาลเพื่อไกล่เกลี่ยกรณีเจ้าหนี้เงินฝากและเจ้าหนี้เงินกู้ฟ้อง ด าเนินการคดีกับสหกรณ์เพื่อไปประนีประนอมกับเจ้าหนี้ 1.5 เชิญเจ้าหนี้เงินฝากและเจ้าหนี้เงินกู้มาประชุม และมาชี้แจงปัญหาที่พบในสหกรณ์ตลอดจนเจรจา ขอผ่อนผันการถอนเงินฝาก การส่งช าระหนี้เงินกู้และขอชะลอการฟ้องด าเนินคดีต่าง ๆ เพื่อให้สหกรณ์มีเวลา ปรับปรุงและฟื้นฟู 1.6 ด าเนินการตรวจสอบที่ดินของสมาชิกที่โอนช าระหนี้ให้กับสหกรณ์ ตรวจสอบสถานะที่ดินกับ ส านักงานที่ดินจังหวัดอ่างทอง ส านักงานที่ดินอ าเภอสามโก้ ว่าปัจจุบันเป็นกรรมสิทธิ์ของใคร 1.7 ประสานงานเจ้าหน้าที่ส านักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร เพื่อเจรจาตกลงการซื้อขายหนี้ ของสมาชิกสหกรณ์ 1.8 ด าเนินการจ้างทนายความเพื่อร้องต่อศาลขอให้ปล่อยทรัพย์ กรณีที่เจ้าหนี้ภายนอกฟ้องด าเนินคดี กับสหกรณ์และบังคับคดี อายัดทรัพย์ที่ดินของสหกรณ์ที่สมาชิกโอนช าระหนี้ให้กับสหกรณ์และท าสัญญาซื้อขาย ที่ดินคืนจากสหกรณ์ มีเอกสารหลักฐานการส่งช าระเงินค่าซื้อที่ดินจนครบสัญญา และบางรายใกล้ครบสัญญา ถ้าเจ้าหนี้อายัดที่ดินซึ่งเป็นชื่อของสหกรณ์จะท าให้เกิดความเสียหายแก่สมาชิกที่ท าสัญญาซื้อขายให้กับสหกรณ์ จึงด าเนินการจ้างทนายความเพื่อขอปล่อยทรัพย์ที่ดินดังกล่าว 1.9 ด าเนินการเชิญสมาชิกที่มีหนี้ค้างนานประชุมเพื่อเจรจาเร่งรัดช าระหนี้ท าสัญญาประนีประนอม ส่งช าระเป็นรายเดือน และก าหนดเงื่อนไขและการส่งช าระหนี้ 1.10 ด าเนินการจัดเรียบเรียงเอกสารของสหกรณ์ให้เป็นหมวดหมู่ และจัดท าทะเบียนคุมให้สามารถ ตรวจสอบและค้นหาได้สะดวกและตรวจสอบพบได้รวดเร็ว 1.11 ด าเนินการตรวจสอบและพิจารณาการไถ่ถอนจ านองที่ดินของสมาชิกที่ช าระหนี้ครบตามสัญญา และไม่มีภาระติดค้ าประกันกับสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 47 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินงานตามปกติ แนะน าให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสาร และการด าเนิน ธุรกิจมีการส ารวจความต้องการปัจจัยการผลิตและจัดหามาบริการแก่สมาชิก ติดตามการส่งช าระหนี้ให้สมาชิก ส่งตามก าหนด พร้อมแนะน าให้เห็นความส าคัญของการรวมตัวเป็นสถาบันเกษตรกรที่ได้รับการช่วยเหลือจาก ทางราชการในกรณีที่ได้รับความเดือดร้อนจากการประกอบอาชีพ ในขณะเดียวกันต้องเน้นให้สมาชิกช่วยเหลือ ตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการ วิธีการสหกรณ์ ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 976 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 372 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) การเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) ในเขตอ าเภอ ป่าโมก ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานที่ดี โดยการช่วยเหลือสมาชิกทั้งทางด้านเงินทุนในการประกอบ อาชีพและสร้างที่อยู่อาศัย (สหกรณ์บ้านมั่นคง) พร้อมทั้งจัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพมาจ าหน่ายแก่สมาชิก ท าให้สมาชิกสหกรณ์มีความกินดีอยู่ดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสหกรณ์ พร้อมทั้งท าให้สหกรณ์มี ระบบการบริหารงานเป็นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ท าให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรกรในเขตอ าเภอป่าโมกไม่มีข้อบกพร่อง และไม่มีการทุจริตในสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบการบริหารงานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร ไม่ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของกิจการจึงไม่ให้ความส าคัญในการปฏิบัติหน้าที่สมาชิกในฐานะ เจ้าของกิจการ เช่น การพิจารณาลงมติตามระเบียบวาระต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สมาชิกไม่มี ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระส าคัญและความจ าเป็นที่ที่ประชุมใหญ่เสนอให้พิจารณา จึงท าให้การออกเสียง ในวาระต่าง ๆ ขาดความเข้าใจในประโยชน์ ผลกระทบ ผลดีเสียที่จะได้รับจากการตัดสินใจ เช่น ระเบียบวาระ การอนุมัติค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ควรต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับระบบการบริหารงานสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจ ความส าคัญและ ความจ าเป็นในการเลือกผู้แทนสมาชิก กรรมการ มาควบคุมการบริหารงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี และที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ อ าเภอ ป่าโมก


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง| 48 สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2560 จ านวน 675 ราย 3. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายและให้สินเชื่อ โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 4. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ จัดหาปัจจัยการผลิตตามความต้องการของสมาชิก และ จัดหาสินค้าอุปโภคบริโภคมาจ าหน่ายแก่สมาชิก 5. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ เข้าร่วมโครงการ รวมพลังปลูกต้น รวงผึ้งเทิดไทองค์ราชัน โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรโครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 6. โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด เข้าร่วม โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ เพื่อพัฒนาศักยภาพของสหกรณ์ให้สามารถรองรับ การปรับตัวของสภาพเศรษฐกิจ และรูปแบบการด าเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปของสมาชิก เพื่อสามารถตอบสนอง ความต้องการของสมาชิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่พึ่งพิงของสมาชิกได้ด้วยความร่วมมือกันระหว่าง คณะกรรมการด าเนินการ เจ้าหน้าที่ และสมาชิกสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 49 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 การจัดตั งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. การด าเนินการจัดตั งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ร่วมประชุมเกษตรกรผู้ซึ่งประสงค์จะจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร และเลือกคณะผู้ก่อการ 1.2 ร่วมประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อรับทราบชื่อกลุ่มเกษตรกร การก าหนด วัตถุประสงค์ของกลุ่มเกษตรกร และพิจารณาร่างข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร เพื่อก าหนดให้เป็น ข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร 1.3 ตรวจสอบเอกสารประกอบของคณะผู้ก่อการที่ยื่นค าขอจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร ต่อนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัด 1.4 จัดส่งเอกสารการขอจดทะเบียนกลุ่มเกษตรกรให้นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ า จังหวัด เพื่อพิจารณารับจดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มเกษตรกร 1.5 แจ้งรับจดทะเบียนกลุ่มเกษตรกรให้กับกลุ่มเกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.6 เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญครั้งแรกของกลุ่มเกษตรกร 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการจัดตั งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2.1 กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านห้วยราชครามสามัคคี 2.2 กลุ่มเกษตรกรท าสวนอ่างทองครัวสุขภาพ 3. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม ประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประชุมใหญ่สามัญครั้งแรก งาน/โครงการตามภารกิจ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 50 การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มีจ านวนสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ที่เลิกและเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี จ านวน 3 แห่ง ดังนี้ 1.1 กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลป่าโมก ได้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2559 ที่ประชุมใหญ่มีมติเป็นเอกฉันท์ให้เลิกกลุ่มเกษตรกรท านาต าบลป่าโมก กลุ่มเกษตรกรจึงต้อง เลิกตามความในมาตรา 32(3) แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ.2547 และด าเนินการ ช าระบัญชี โดยนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรได้ถอนชื่อกลุ่มเกษตรกรท านาต าบลป่าโมก แล้ว ผลการ ด าเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่ การเลิกและผู้ช าระบัญชี ณ วันที่ 16 กันยายน 2559 ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2559 ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี มาตรา 80 ณ วันที่ 16 ธันวาคม 2560 ขั้นที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 23 มกราคม 2561 ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2561 ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน ณ วันที่ 18 มกราคม 2561 ขั้นที่ 7 ส่งรายงานการช าระบัญชี มาตรา 87 ณ วันที่ 19 มกราคม 2561 ขั้นที่ 8 ผู้สอบบัญชีรับรอง มาตรา 87 ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2561 ขั้นที่ 9 ถอนชื่อ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุด ณ วันที่ 28 มีนาคม 2561 1.2 สหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด ได้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 โดยที่ประชุมใหญ่มีมติเป็นเอกฉันท์ให้เลิกสหกรณ์ เนื่องจากสหกรณ์ ประสบปัญหาคณะกรรมการด าเนินการไม่มีเวลาในการบริหารงานสหกรณ์ สมาชิกไม่พร้อมที่จะ มาร่วมประชุม หรือท ากิจกรรมกับสหกรณ์ จึงต้องเลิกตามความในมาตรา 70(3) แห่งพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ.2542 ซึ่งสหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด อยู่ระหว่างด าเนินการช าระบัญชีโดย ด าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่ การเลิกและผู้ช าระบัญชี ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2559 ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 28 มีนาคม 2561 ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี มาตรา 80 ณ วันที่ 29 มีนาคม 2561 ขั้นที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2561 ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2561 ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน อยู่ระหว่างด าเนินการ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 51 เนื่องจากสหกรณ์ผู้เลี้ยงนกกระทาอ่างทอง จ ากัด ยังมีลูกหนี้ที่ค้างช าระอีกหลายราย ปัจจุบันสหกรณ์ได้รับการช าระหนี้จากสมาชิกเป็นบางราย และสหกรณ์ได้เร่งรัดติดตามทวงถามจาก ลูกหนี้ที่ค้างช าระ ผู้ช าระบัญชีอยู่ระหว่างเตรียมการฟ้องร้องด าเนินคดีกับสมาชิกที่ไม่ส่งช าระหนี้เพื่อ ติดตามหนี้สินกลับคืนสหกรณ์ ซึ่งขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน จึงไม่สามารถ ถอนชื่อได้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1.3 สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงศาลาแดง จ ากัด ได้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560 โดยที่ประชุมใหญ่มีมติเป็นเอกฉันท์ให้เลิกสหกรณ์เนื่องจากสหกรณ์ท าหนังสือขอ เช่าที่ดินจากส านักพุทธฯ (ส านักงานใหญ่) และติดปัญหาการบ าบัดน้ าเสียในการสร้างบ้านของ สหกรณ์ และสมาชิกสหกรณ์ได้ลาออกจากสหกรณ์เป็นจ านวนมาก เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่การ ด าเนินงานของสหกรณ์ สหกรณ์จึงมีมติที่ประชุมใหญ่ลงความเห็นให้เลิกกิจการ ตามความในมาตรา 70(3) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 โดยนายทะเบียนสหกรณ์ได้ถอนชื่อ สหกรณ์เคหสถาน บ้านมั่นคงศาลาแดง จ ากัด แล้ว ผลการด าเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่ การเลิกและผู้ช าระบัญชี ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชี มาตรา 80 ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 ขั้นที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุล มาตรา 80 ณ วันที่ 23กุมภาพันธ์2561 ขั้นที่ 5 อนุมัติงบดุลที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ ณ วันที่ 10 เมษายน 2561 ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน ณ วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ขั้นที่ 7 ส่งรายงานการช าระบัญชี มาตรา 87 ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2561 ขั้นที่ 8 ผู้สอบบัญชีรับรอง มาตรา 87 ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2561 ขั้นที่ 9 ถอนชื่อ ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2561 ขั้นที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุด ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2561 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2.1 กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลป่าโมก ถอนชื่อ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 2.2 สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงศาลาแดง จ ากัด ถอนชื่อ ณ วันที่ 9 ตุลาคม 2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 52 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาความเข้มแข็งเพื่อยกระดับชั นสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน วัตถุประสงค์ 1) ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์สหกรณ์โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อให้ทราบสถานะสหกรณ์ 2) ชี้แจงท าความเข้าใจ น าเสนอแผนการแนะน าส่งเสริมเพื่อยกระดับชั้นร่วมกับสหกรณ์ เป้าหมาย 3) ร่วมกับสหกรณ์เป้าหมายขับเคลื่อนน าแผนงานประจ าปี/แผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ ไปสู่การปฏิบัติ เป้าหมาย 1) ผู้แทนสหกรณ์ทุกแห่ง จ านวน 31 แห่ง 2) ข้าราชการ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสานงาน ชี้แจง ให้ค าแนะน า และติดตามให้สหกรณ์เป้าหมาย 18 แห่ง (สหกรณ์ ยกระดับชั้น 2 และชั้น 3 เดิมที่มีสถานะด าเนินงาน ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2561 ตอบแบบ ประเมินผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ ปี 2559 - 2560 2) จัดเก็บข้อมูล รวบรวม ประมวลผล สรุปผล และปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานรายสหกรณ์ให้ เป็นปัจจุบัน ตามเป้าหมาย จ านวน 31 แห่ง และจัดท าร่างแผนการแนะน า ส่งเสริม และพัฒนา ความเข้มแข็งของสหกรณ์ตามบริบทและศักยภาพของสหกรณ์เป็นรายสหกรณ์ 3) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการภายในหน่วยงาน ในวันที่ 20 สิงหาคม 2561 เพื่อร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลรายสหกรณ์ ศึกษาเนื้อหาแผนงานประจ าปี/แผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ พิจารณา ร่างแผนการแนะน า ส่งเสริม และพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ตามบริบทของสหกรณ์และ ศักยภาพของสหกรณ์เป็นรายสหกรณ์สหกรณ์ทั้ง 31 แห่ง 4) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับสหกรณ์เป้าหมาย 31 แห่ง ร่วมกับข้าราชการ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง สร้างความเข้าใจและน าเสนอแผนการแนะน า ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ พร้อมร่วมกับสหกรณ์ขับเคลื่อนน าแผนงานประจ าปี/แผนกลยุทธ์ของ สหกรณ์ไปสู่การปฏิบัติ ในวันที่ 4 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุมชั้น 2 องค์การบริหารส่วนจังหวัด อ่างทอง (โดยมีอาจารย์สุชิน ปลีหะจินดา ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ประจ า ภาควิชาสหกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) เป็นวิทยากรให้ความรู้และขับเคลื่อนการน าเสนอแผนการ แนะน าส่งเสริม 5) สรุปรูปแบบ/วิธีการ การเข้าแนะน า ส่งเสริม และพัฒนาสหกรณ์ตามแผนการส่งเสริม ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 53 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) ผู้แทนสหกรณ์เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ จ านวน 38 คน ข้าราชการ พนักงาน ราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จ านวน 24 คน รวม 62 คน 2) จากการวิเคราะห์ข้อมูลรายสหกรณ์ร่วมกับสหกรณ์ส านักสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มีเป้าประสงค์หลักในการแนะน าส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ในปีงบประมาณ 2562 ดังนี้ 2.1) เป้าประสงค์ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ จ านวน 21 แห่ง - พัฒนาสหกรณ์ให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน (พัฒนาให้เป็นสหกรณ์หลักระดับอ าเภอ) จ านวน 6 แห่ง - พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง จ านวน 8 แห่ง - รักษามาตรฐานการด าเนินงานของสหกรณ์ให้มั่นคง จ านวน 7 แห่ง 2.2) เป้าประสงค์ด้านแก้ไขปัญหาการด าเนินงานของสหกรณ์ จ านวน 18 แห่ง - แก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน จ านวน 12 แห่ง - แก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง จ านวน 2 แห่ง - ฟื้นฟูกิจการสหกรณ์ จ านวน 1 แห่ง - แก้ไขปัญหาอื่น ๆ จ านวน 3 แห่ง (การปิดบัญชีให้ส าเร็จ ,มอบหมายผู้จัดท าบัญชี) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ในจังหวัดอ่างทองมีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการพัฒนาความเข้มแข็งและ ยกระดับชั้นสหกรณ์ มีความเข้าใจหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์ พร้อมน าเสนอ แผนการแนะน าส่งเสริม และพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์เป็นรายสหกรณ์ และจัดท าแผนการแนะน า ส่งเสริมในภาพรวมของจังหวัดเพื่อร่วมกับสหกรณ์ขับเคลื่อนน าแผนไปสู่การปฏิบัติ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค บางสหกรณ์ยังขาดความร่วมมือในการสะท้อนปัญหาของการด าเนินงานของสหกรณ์และ ความต้องการของสหกรณ์ซึ่งจะไม่สามารถก าหนดแผนงานการแนะน าส่งเสริมได้ครอบคลุมกับ ข้อเท็จจริงของสหกรณ์ แนวทางการแก้ไข ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์และ กลุ่มงานเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสหกรณ์ในการก าหนดแผนการแนะน าส่งเสริม ประจ าปีงบประมาณ 2562


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 54 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของโครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการภายในหน่วยงานเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลรายสหกรณ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับสหกรณ์เป้าหมาย 31 แห่ง เพื่อเสนอแผนการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 55 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบายปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร โดยกลไกสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอให้มีความพร้อมในการขับเคลื่อนนโยบาย ปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตร และพัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลางการรับซื้อผลผลิตในชุมชน เป้าหมาย 1) คณะกรรมการบริหารสหกรณ์ ฝ่ ายจัดการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์ การเกษตร ที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอที่มีความเข้มแข็งระดับชั้นที่ 1 จ านวน 5 แห่ง ๆ ละ 50 คน รวม 250 คน รายชื่อสหกรณ์ดังนี้ 1.1) สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด อ าเภอเมืองอ่างทอง 1.2) สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด อ าเภอป่าโมก 1.3) สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด อ าเภอวิเศษชัยชาญ 1.4) สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด อ าเภอแสวงหา 1.5) สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด อ าเภอไชโย 2) ข้าราชการ พนักงานราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน 1) ประสานงาน ชี้แจง สหกรณ์เป้าหมายในการด าเนินงาน และจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์การด าเนินงานของสหกรณ์จ านวน 5 แห่ง 2) ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการด าเนินงานปัจจุบัน สภาพปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อจ ากัด จัดท าฐานข้อมูลสมาชิก รวมถึงปัญหาอุปสรรคของแต่ละสหกรณ์ เพื่อน าไปตั้งประเด็นน าเสนอในการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สหกรณ์ทั้ง 5 แห่ง 3) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ร่วมกับคณะกรรมการ/ฝ่ายจัดการ/ผู้น ากลุ่มสมาชิก/และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ ธกส. จังหวัดอ่างทอง และ พาณิชย์จังหวัดอ่างทอง และได้เชิญวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ ผศ. สุชิน ปลีหะจินดา เป็นวิทยากร เพื่อน าเสนอผลการวิเคราะห์การด าเนินงานสหกรณ์ และร่วมจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์และจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพของสหกรณ์ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอเพื่อให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของสมาชิกและชุมชน จ านวน 1 ครั้ง โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ระหว่าง วันที่ 17 - 20 กันยายน 2561 ณ สหกรณ์การเกษตรทั้ง 5 แห่ง สหกรณ์ละ 2 วัน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 56 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอทั้ง 5 แห่ง มีแผนพัฒนา ความเข้มแข็งสหกรณ์ที่สอดคล้องกับนโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร ทั้ง 4 แผน คือ - แผนพัฒนาความสามารถในการให้บริการสมาชิก - แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ - แผนพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดองค์กร - แผนพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารงาน 2) สหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอ าเภอ ทั้ง 5 แห่ง มีแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์เพื่อ เสริมสร้างศักยภาพของสหกรณ์ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอได้รับการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของเกษตรกรสมาชิกและพัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอในจังหวัดอ่างทอง มีเพียงสหกรณ์ 1 แห่ง คือสหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด ที่มีธุรกิจรวบรวม (ข้าว) แต่ไม่มีธุรกิจแปรรูป ท าให้การเป็นศูนย์กลางในการช่วยเหลือสมาชิกในการรวบรวมผลผลิตยังไม่ครอบคลุมทั้งจังหวัด เนื่องจากสหกรณ์ภาคการเกษตรที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอแห่งอื่นยังขาดศักยภาพและ ความพร้อมเรื่องสถานที่และอุปกรณ์การตลาดในการท าธุรกิจรวบรวมผลผลิต แนวทางการแก้ไข ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองร่วมกับขบวนการสหกรณ์ประชาสัมพันธ์ผ่านสหกรณ์ ต่าง ๆ ให้สมาชิกรับทราบว่ามีสหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด มีจุดรับซื้อข้าวเปลือก


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 57 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของโครงการ ประชุมข้าราชการ/พนักงานราชการ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการด าเนินโครงการฯ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ณ สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด ระหว่างวันที่ 17-18 กันยายน 2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 58 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ณ สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด ระหว่างวันที่ 17-18 กันยายน 2561 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ณ สหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด ระหว่างวันที่ 18-19 กันยายน 2561 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ณ สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด ระหว่างวันที่ 18-19 กันยายน 2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 59 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ณ สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด ระหว่างวันที่ 19-20 กันยายน 2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 60 โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้อาสาสมัครสหกรณ์มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ในฐานะอาสาสมัครสหกรณ์ 2) เพื่อให้อาสาสมัครสหกรณ์ได้จัดท าแผนงาน/โครงการเพื่อส่งเสริมและพัฒนางาน อาสาสมัครสหกรณ์อย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมาย อาสาสมัครสหกรณ์ตามทะเบียนรายชื่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 14 คน 2. ผลการด าเนินงาน 1) คัดเลือกอาสาสมัครสหกรณ์ตามรายชื่อในฐานข้อมูลอาสาสมัครสหกรณ์ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ หรือ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เป็นเกษตรกร จ านวน 14 รายเพื่อเข้ารับ การอบรม โดยมีหลักสูตรดังนี้ 1.1) บทบาทหน้าที่อาสาสมัครสหกรณ์ 2 ชั่วโมง 1.2) ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ 1 ชั่วโมง 1.3) ก าหนดแผนงาน/กิจกรรมในฐานะอาสาสมัครสหกรณ์ 2 ชั่วโมง 1.4) สรุป/ประเมินผลการอบรม 1 ชั่วโมง รวม 6 ชั่วโมง 2) ผู้เข้ารับการอบรมสามารถท าหน้าที่เป็นตัวแทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในการช่วยเหลือ ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดความรู้ ให้ค าแนะน า หลักการ อุดมการณ์ วิธีการและคุณค่า สหกรณ์ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) อาสาสหกรณ์เข้ารับการอบรมจ านวน 14 ราย 2) อาสาสมัครจ านวน 14 คน ได้ท าแบบทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม มีคะแนน เพิ่มขึ้นจ านวนร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ อาสาสมัครสหกรณ์เข้ารับการอบรม มีแผนการปฏิบัติหน้าที่อาสาสมัครสหกรณ์ และ ถ่ายทอดความรู้ในหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ หรือบุคคลอื่น ๆ ได้


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 61 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค รายชื่ออาสาสมัครสหกรณ์บางรายไม่สามารถติดต่อได้ ไม่มีตัวตน และไม่มีความพร้อมที่ จะท าหน้าที่อาสาสมัครสหกรณ์ แนวทางการแก้ไข ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองด าเนินการสรรหาอาสาสมัครสหกรณ์รายใหม่ที่มี ความพร้อมเพื่อแทนอาสาสมัครสหกรณ์รายเก่าที่ไม่สามารถติดต่อได้และปรับปรุงข้อมูลอาสาสมัคร สหกรณ์ในระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันถูกต้องและครบถ้วน 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของโครงการ วิทยากรบรรยายให้ความรู้กับอาสาสมัครสหกรณ์ อาสาสมัครสหกรณ์ฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 62 โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพสร้างมูลค่าเพิ่มในสังกัดสถาบันเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน 1.1 วัตถุประสงค์ 1.1.1 เพื่อสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานพัฒนาให้กลุ่มอาชีพในสังกัดสถาบันเกษตรกรในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 1.1.2 เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าของสหกรณ์/กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 1.1.3 เพื่อเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายและการเชื่อมโยงตลาดสินค้าเกษตรและแปรรูป 1.2 เป้าหมาย 1.2.1 กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน สังกัด สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด 1.2.2 กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปอ่างทอง สังกัด สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด 1.3 พื นที่ด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน อ าเภอแสวงหา และอ าเภอวิเศษชัยชาญ 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 กิจกรรมที่ด าเนินงาน 2.1.1 การประชุมเพื่อจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่ม 2.1.2 การส ารวจข้อมูลสมาชิกและจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม 2.1.3 การจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2.1.4 สนับสนุนปัจจัยพื้นฐาน 2.2 ผลส าเร็จจากการด าเนินโครงการ 2.2.1 การประชุมเพื่อจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่ม - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน ด าเนินการเรียบร้อยแล้ว เมื่อ 21 ธันวาคม 2561 งบประมาณที่ใช้ 3,800 บาท ผู้เข้าประชุม 27 คน ประกอบด้วย ผู้แทนสหกรณ์ 1 คน สมาชิกกลุ่ม 20 คน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6 คน ประกอบด้วย สมาชิกของกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด ผู้จัดการศูนย์ให้บริการ SME ครบวงจร จังหวัดอ่างทอง เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปอ่างทอง ด าเนินการเรียบร้อยแล้ว เมื่อ 15 ธันวาคม 2561 งบประมาณที่ใช้ 3,800 บาท ผู้เข้าประชุม 27 คน ประกอบด้วย ผู้แทนสหกรณ์ 1 คน สมาชิก กลุ่ม 20 คน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6 คน ประกอบด้วย สมาชิกของกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปร


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 63 รูปสัตว์น้ า ผู้แทนสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด ผู้จัดการศูนย์ให้บริการ SME ครบวงจร จังหวัดอ่างทอง เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2.2.2 การส ารวจข้อมูลสมาชิกและจัดท าฐานข้อมูลสมาชิกกลุ่ม - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปอ่างทอง ทั้ง 2 แห่ง จัดท าฐานข้อมูลสมาชิกเรียบร้อยแล้ว 2.2.3 การจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน 1. แผนพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน ผ่านการรับรองมาตรฐาน อย. 1 ผลิตภัณฑ์ (หน่อไม้หยอง) เลขสารบบอาหาร 15-2-00957-6-0001 2. แผนพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปอ่างทอง 1. แผนพัฒนาบรรจุภัณฑ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 64 2.2.4 สนับสนุนปัจจัยพื นฐาน - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน ได้รับสนับสนุน ดังนี้ หม้อต้มสแตนเลส เบอร์ 50 จ านวน 10 ใบ โต๊ะแสตนเลส ขาพับ จ านวน 4 ตัว ได้รับเงินสนับสนุน จ านวน 41,600 บาท กลุ่ม สมทบ 10,400 บาท รวม 52,000 บาท การใช้ประโยชน์ใช้ส าหรับเป็นอุปกรณ์ในขั้นตอนของกระบวนการผลิต และการ แปรรูปผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ - กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปอ่างทอง ได้รับสนับสนุน ดังนี้ เครื่องซีลสุญญากาศ จ านวน 1 เครื่อง ได้รับเงินสนับสนุน จ านวน 88,000 บาท กลุ่ม สมทบ 22,000 บาท รวม 110,000 บาท การใช้ประโยชน์ใช้ซีลบรรจุภัณฑ์ ปลาแดดเดียว สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้ นาน ช่วยคงสภาพ สด ใหม่ ของผลิตภัณฑ์ ทั้ง รสชาติ กลิ่น สี และสะดวกต่อการขนส่ง 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกที่รับประโยชน์ จ านวน 40 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มอาชีพมีแผนพัฒนาธุรกิจ 2. กลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า จ านวน 2 ผลิตภัณฑ์ 3. ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพผ่านการรับรองมาตรฐาน อย. 1 ผลิตภัณฑ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข -


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 65 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ที่สามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือ แสดงผลการด าเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถน าไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ ส ารวจข้อมูลสมาชิก/จัดท าฐานข้อมูลสมาชิก และวิเคราะห์จัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ และได้รับสนับสนุนปัจจัยพื นฐาน ได้แก่ หม้อต้มสแตนเลส เบอร์ 50 จ านวน 10 ใบ โต๊ะแสตนเลส ขาพับ จ านวน 4 ตัว (กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตไผ่หวาน) ส ารวจข้อมูลสมาชิก/จัดท าฐานข้อมูลสมาชิก และวิเคราะห์จัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ และได้รับสนับสนุนปัจจัยพื นฐาน ได้แก่ เครื่องซีลสุญญากาศ จ านวน 1 เครื่อง (กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ผู้ผลิตและแปรรูปสัตว์น า)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 66 โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกร ปี 2561 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน 1.1 วัตถุประสงค์ 1.1.1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่กลุ่มเกษตรกร มีการท าแผนธุรกิจ แผนการพัฒนาการ ด าเนินการ การด าเนินกิจกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการด าเนินธุรกิจ พัฒนาให้กลุ่มเกษตรกรมี การบริหารการจัดการที่เข้มแข็ง 1.1.2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง มีบทบาทการขับเคลื่อนนโยบายรัฐ 1.2 เป้าหมาย กรรมการ/สมาชิกกลุ่มเกษตรกรท านาไชยภูมิจ านวน 38 ราย 1.3 พื นที่ด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน อ าเภอไชโย 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 กิจกรรมที่ด าเนินงาน 2.1.1 พิจารณาคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐานไม่น้อยกว่า 1 กลุ่ม เข้าร่วมโครงการ แนะน าส่งเสริม และติดตามการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร 2.1.2 ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรวิเคราะห์สภาพปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ความต้องการของ สมาชิก วิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องและหาแนวทางแก้ไขปัญหา 2.1.3 ส่งเสริมการระดมทุนภายในกลุ่มเกษตรกร เพื่อสร้างจิตส านึกการแก้ไขปัญหา การพึ่งพาตนเองของกลุ่มเกษตรกรตามหลักการสหกรณ์ 2.1.4 กิจกรรมจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกร 2.1.5 ติดตามผลและรายงานผลการด าเนินโครงการให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ 2.2 ผลส าเร็จจากการด าเนินโครงการ 2.2.1 กลุ่มเกษตรกรสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการของสมาชิก วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องและหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้ 2.2.2 กลุ่มได้จัดท าแผน เพื่อพัฒนาให้กลุ่มได้เกิดความเข้มแข็ง สมาชิกมีความกินดีอยู่ดี จ านวน 3 แผน คือ 1) แผนการระดมทุนจากสมาชิก 2) แผนการขยายธุรกิจสินเชื่อ 3) แผนการจัดหา สินค้ามาจ าหน่าย 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกได้รับประโยชน์ จ านวน 38 ราย


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 67 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มมีแผนพัฒนาธุรกิจ จ านวน 3 แผน - แผนการระดมทุนจากสมาชิก - แผนการขยายธุรกิจสินเชื่อ - แผนการจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 2. แผน : ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ผล : ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.001 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ที่สามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือแสดง ผลการด าเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถน าไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ ประสานงานคัดเลือกกลุ่มเกษตรกร เข้าร่วมโครงการฯ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์สภาพปัญหาของกลุ่มเกษตรกร ความต้องการของสมาชิก วิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องและหาแนวทางแก้ไขปัญหา


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 68 โครงการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้าง มูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2560/61 ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงาน 1.1 วัตถุประสงค์ 1.1.1 เพื่อช่วยชะลอปริมาณข้าวเปลือกที่เข้าสู่ตลาดในช่วงที่ผลผลิตข้าวออกสู่ตลาด 1.1.2 เพื่อเก็บข้าวเปลือกไว้ส าหรับแปรรูปเป็นข้าวสารเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 1.1.3 เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 1.2 เป้าหมาย 1.2.1 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด 1.2.2 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. อ่างทอง จ ากัด 1.3 พื นที่ด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน ทั้ง 7 อ าเภอของจังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 กิจกรรมที่ด าเนินงาน 1 จัดท าโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ 2. จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยสถาบันเกษตรกร ระดับจังหวัด 3. จัดประชุมวางแผนธุรกิจข้าว 4. สรุปและรายงานผล 2.2 ผลส าเร็จจากการด าเนินโครงการ สามารถรวบรวมข้าวเปลือกได้ จ านวน 7,628 ตัน เป็นเงิน 58,306,178.93 บาท 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สมาชิกและประชาชนทั่วไปได้รับประโยชน์ จ านวน 988 ราย 2. ผลการรวบรวมข้าวเปลือก 7,628 ตัน เป็นเงิน 58,306,178.93 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกขายข้าวเปลือกได้ในราคายุติธรรม 2. สมาชิก/เกษตรกร มีความพึงพอใจ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 69 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การจ่ายค่าเหยียบเบรคให้กับรถที่บรรทุกข้าวมาขายให้กับโรงสี ท าให้เกษตรกรเสียประโยชน์จาก การขายข้าว 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ที่สามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือแสดง ผลการด าเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถน าไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 70 โครงการประชุมชี แจงโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึง แหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาดประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินโครงการ กลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรเกษตรกรที่มีความส าคัญ ที่รัฐต้องให้การสนับสนุน เกษตรกรได้ รวมตัวกันจัดตั้งเป็นสถาบันเกษตรกรในรูปนิติบุคคล จดทะเบียนในลักษณะกลุ่มเกษตรกร จุดเด่นของ กลุ่มเกษตรกรคือ มีขนาดเล็ก มีการจัดการให้ความช่วยเหลือกันตามลักษณะแบบพื้นบ้าน ไม่มุ่งเน้น การแสวงหาก าไรจากสมาชิก ท าให้ไม่สามารถสร้างเครดิตให้กับแหล่งเงินทุนในระบบ ยังจ าเป็นต้อง พึ่งแหล่งเงินทุนจากภาครัฐเป็นหลัก โดยเฉพาะกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายที่จะช่วยเหลือเกษตรกร ในการลดต้นทุนการผลิตและ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้น ส่งเสริมการรวมตัวของเกษตรกร เพื่อวางแผนการ ผลิตทางการเกษตร และจัดหาผลประโยชน์ร่วมกัน อีกทั้งยังช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิก กลุ่มเกษตรกร จากต้นทุนการผลิต เช่น ปุ๋ย น้ ามัน อาหารสัตว์ และค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน ที่ส่งผลให้ต้นทุนสูงขึ้นและระดับราคาสินค้าตกต่ า กลุ่มเกษตรกรจึงควรได้รับความช่วยเหลือด้าน เงินทุนดอกเบี้ยต่ า หรือปลอดดอกเบี้ย ในการจัดหาปัจจัยการผลิต และสนับสนุนเงินทุนในด้านอื่น ๆ เช่น ค่าจัดการแรงงาน เพื่อให้มีกิจกรรมการรวบรวมผลผลิต รวมทั้งการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โดยพิจารณาให้เฉพาะกลุ่มเกษตรกรที่ได้มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างสภาพคล่องเงินทุน และลด ความเสี่ยงให้สามารถช าระหนี้และคืนเงินทุนได้ส าเร็จ และเพื่อให้การบริหารเงินกองทุนสงเคราะห์ บรรลุวัตถุประสงค์ ดังนั้น ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและพัฒนา กลุ่มเกษตรกร จึงได้จัดท าโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนใน การผลิตและการตลาด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1.1 วัตถุประสงค์ 1) คัดเลือกกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อเข้าร่วม โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 2) สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่มีมาตรฐาน เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุน หมุนเวียนในแต่ละปี 3) เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้ง สร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจ าหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 4) สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความ ยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 71 1.2 เป้าหมาย กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัดเพื่อคัดเลือก กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วยคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด ราชการ และพนักงานราชการส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จ านวน 30 คน กิจกรรมที่ 2 การประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ประกอบด้วยคณะกรรมการพิจารณา เงินกู้ระดับจังหวัด และผู้เข้าร่วมประชุม จ านวน 20 คน 1.3 พื นที่ด าเนินโครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 รายละเอียดงานที่ท า กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเพื่อคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาคัดเลือก กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปีล่าสุด ซึ่งกลุ่มเกษตรกรในจังหวัด อ่างทอง ทั้งสิ้น 49 กลุ่มฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้งสิ้น จ านวน 36 กลุ่มฯ ซึ่งกลุ่มเกษตรกรที่มีความ ประสงค์ขอกู้เงินกองทุนสงเคราะห์ฯ ในปี พ.ศ. 2562 จ านวน 16 กลุ่มนี้ ได้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่ประกาศเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ ตามค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ พิจารณาเงินกู้ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด ระดับจังหวัด เพื่อด าเนินการตามกรอบอ านาจหน้าที่ รวมทั้งให้สหกรณ์จังหวัดด าเนินการ เกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมแก่สถาบันเกษตรกร ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาเงินกู้ของโครงการฯ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 72 2.2 ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับและที่เกิดขึ นกับหน่วยงาน 1) กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนในการพัฒนาศักยภาพในการด าเนินธุรกิจได้อย่างกว้างขวาง สามารถจัดหาวัสดุอุปกรณ์การผลิต ทั้งพืชและสัตว์มาบริการสมาชิกได้ทั่วถึง สอดคล้องกับความ ต้องการของสมาชิก 2) สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนพอในการประกอบอาชีพการเกษตร สามารถลดต้นทุนการ ผลิต และรายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอแก่การด ารงชีพ 3) กลุ่มเกษตรกรสามารถขยายตลาดจ าหน่ายผลิตผลได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากได้รับการสนับสนุน เงินทุนปลอดดอกเบี้ย ท าให้ต้นทุนการผลิตต่ ากว่าภาคเอกชนมีเงินทุนพอในการประกอบอาชีพ การเกษตร 4) กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมให้ด าเนินธุรกิจครบวงจรไม่ต่ ากว่า 2 ธุรกิจต่อกลุ่ม ได้แก่ ธุรกิจให้เงินกู้ และธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย เนื่องจากโครงการมีวัตถุประสงค์ช่วยเหลือเกษตรกร ครอบคลุมหลายด้าน 5) กลุ่มเกษตรกรมีฐานะการเงินมั่นคง มีทรัพย์สิน มีความเข้มแข็ง สามารถช่วยเหลือตนเอง และสมาชิกได้ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 2. กลุ่มเกษตรกรสามารถส่งช าระหนี้คืนได้ตามก าหนด ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 98 3. กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนภายในเพิ่มขึ้นในภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ในแต่ละปี ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเกษตรกรและบุคลากรของส านักงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและ การตลาด สามารถด าเนินการได้ถูกต้องตามขั้นตอน 2. บุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มีความรู้ความเข้าใจในการแนะน าส่งเสริม ติดตาม การใช้เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กลุ่มเกษตรกรที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง 4. ปัญหา / อุปสรรค - ไม่มี –


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 73 โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิต และการตลาด 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินโครงการ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 และมติคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกร ครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 เห็นชอบและอนุมัติจัดสรรเงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกรให้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ยืมเงินเพื่อด าเนินโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับ กลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด วงเงินจ านวน 1,000 ล้านบาท โดยไม่มีดอกเบี้ย ก าหนดช าระคืนภายใน 5 ปี (พ.ศ. 2559 – 2564) และเงินจ่ายขาด จ านวน 10 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามโครงการของกลุ่มเกษตรกร 1.1 วัตถุประสงค์ 1) สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่ผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี รวม 5 ปี 2) เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้ง สร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจ าหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 3)สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความ ยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป เพื่อให้การด าเนินโครงการข้างต้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ กรมส่งเสริมสหกรณ์จึงก าหนด หลักเกณฑ์การพิจารณาเงินกู้ การเรียกเก็บค่าปรับเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด โดยให้จังหวัดมี ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนากลุ่มเกษตรกร ระดับจังหวัดขึ้น เพื่อด าเนินการตามกรอบอ านาจหน้าที่ รวมทั้งให้สหกรณ์จังหวัดด าเนินการเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมแก่ สถาบันเกษตรกร ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาเงินกู้ของโครงการฯ 1.2 เป้าหมาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดสรรวงเงินกู้จ านวน 9,366,000.00 บาท ให้จังหวัดอ่างทอง พิจารณาจัดสรรให้กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกู้ยืม 1.3 พื นที่ด าเนินโครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 74 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 รายละเอียดงานที่ท า 1) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดท าบันทึกเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด และผู้ว่าราชการจังหวัดได้ลงนามตามค าสั่ง ที่ 974/2559 ลง วันที่ 10 มิถุนายน 2559 2) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดท าบันทึกเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง พิจารณามอบอ านาจ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ มอบอ านาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทนเกี่ยวกับโครงการ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ซึ่งจังหวัดอ่างทองได้มีค าสั่ง ที่ 1058/2559 ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2559 มอบอ านาจดังกล่าวให้ สหกรณ์จังหวัด 3) คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึง แหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด ได้ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2561 ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561 และครั้งที่ 3/2561 เมื่อ วันที่ 7 กันยายน 2561 อนุมัติให้กลุ่มเกษตรกรกู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด จ านวน 8,300,000 บาท ให้กับกลุ่มเกษตรกรจ านวน 16 กลุ่ม ที่ ชื่อกลุ่มเกษตรกร จ านวน วันที่อนุมัติ สัญญาลง วันที่ วันครบ ก าหนดช าระ 1. กลุ่มเกษตรกรท านาสาวร้องไห้ 500,000 11 เม.ย. 61 23 เม.ย. 61 22 เม.ย. 62 2. กลุ่มเกษตรกรท านาม่วงเตี้ย 700,000 11 เม.ย. 61 23 เม.ย. 61 22 เม.ย. 62 3. กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านพราน 500,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 4. กลุ่มเกษตรกรท านาแสวงหา 500,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 5. กลุ่มเกษตรกรท านาชัยฤทธิ์ 500,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 6. กลุ่มเกษตรกรท านาชะไว 200,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 7. กลุ่มเกษตรกรท านาเทวราช 500,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 8. กลุ่มเกษตรกรท านาตรีณรงค์ 500,000 23 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 28 ส.ค. 62 9. กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลราษฎรพัฒนา 600,000 23 ส.ค. 61 30 ส.ค. 61 29 ส.ค. 62 10. กลุ่มเกษตรกรท านาบางระก า 500,000 23 ส.ค. 61 4 ก.ย. 61 31 ส.ค. 62 11. กลุ่มเกษตรกรท านาไผ่จ าศีล 500,000 23 ส.ค. 61 7 ก.ย. 61 31 ส.ค. 62 12. กลุ่มเกษตรกรท านาไชยภูมิ 1,000,000 7 ก.ย. 61 7 ก.ย. 61 6 ก.ย. 62


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 75 13. กลุ่มเกษตรกรท านาอบทม 400,000 7 ก.ย. 61 11 ก.ย. 61 10 ก.ย. 62 14. กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลไผ่ด าพัฒนา 400,000 7 ก.ย. 61 11 ก.ย. 61 10 ก.ย. 62 15. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลร ามะสัก 300,000 7 ก.ย. 61 11 ก.ย. 60 10 ก.ย. 62 16. กลุ่มเกษตรกรท านาป่างิ้ว 700,000 7 ก.ย. 61 24 ก.ย. 61 23 ก.ย. 62 2.2 ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ และที่เกิดขึ นกับหน่วยงาน 1) กลุ่มเกษตรกรมีแหล่งเงินทุนไม่มีดอกเบี้ยให้สมาชิกกู้ยืมไปประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพื่อปรับปรุงพัฒนาอาชีพ สร้างรายได้ ฐานะความเป็นอยู่ของครอบครัวให้ดีขึ้น 2) กรมส่งเสริมสหกรณ์ และส านักงานสหกรณ์จังหวัด ได้รับความเชื่อมั่นและศรัทธาจากกลุ่ม เกษตรกรที่ให้สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดันให้กลุ่มฯ มีความเข้มแข็ง ได้มาตรฐาน สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ในอนาคตตามหลักการและวิธีการสหกรณ์ 3) เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคา ยุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้ง สร้างรายได้เพิ่มจากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจ าหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 4) สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความ ยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุน หมุนเวียน จ านวน 16 กลุ่ม ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเกษตรกรท าเงินทุนหมุนเวียนภายในกลุ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อการประกอบอาชีพ ทางการเกษตรของสมาชิก 2. สมาชิกมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 3.เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้โอนเงินให้จังหวัดหมุนเวียนในการบริหารเงินกองทุน ท าให้เกิดความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค 4.1 ยังมีกลุ่มเกษตรกรที่ไม่ได้มาตรฐาน ดังนั้นต้องพัฒนาปรับปรุง โดยสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่คณะกรรมการ สมาชิก เกี่ยวกับหลักและวิธีการสหกรณ์ เพื่อน ามาปฏิบัติมากขึ้น 4.2 จังหวัดอ่างทองมักประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ อีกทั้งปัญหาภัยแล้งท าให้การประกอบ อาชีพของเกษตรกรสมาชิกไม่ได้ผลหรือได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 76 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินโครงการ เกษตรกรพึ่งพาระบบน้ าชลประทาน และแหล่งน้ าธรรมชาติซึ่ง “น้ า” เป็นปัจจัยส าคัญที่สุด ของการผลิตทางเกษตรกรรมที่จะสร้างโอกาสในการผลิตของเกษตรกร หากเกิดการขาดแคลนน้ า จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อผลผลิตของเกษตรกร เพื่อท าการเกษตร นายกรัฐมนตรีได้ให้แนวคิดใน การบริหารจัดการน้ าเพื่อการเกษตรในระดับไร่นาแบบใหม่ คือเน้นให้เกษตรกรแต่ละราย ต้องมีการ พัฒนาพื้นที่ของตนเองให้มีระบบส ารองน้ าเพื่อการเกษตรไว้ใช้ในเหตุฉุกเฉิน โดยเริ่มขุดสระกักเก็บน้ า ไว้ใช้ในไร่นา หรือขุดเจาะบ่อน้ าดาลไว้ใช้ทดแทนน้ าชลประทานในบางช่วงที่เกิดการขาดแคลนน้ าเพื่อ การเกษตร ซึ่งจะเกิดระบบชลประทานในระบบไร่นาในลักษณะของสระเก็บกักน้ าฝนระบบย่อย ๆ อย่างพอเพียง ในแต่ละฟาร์มของเกษตรกร รวมทั้งสามารถน าระบบน้ าใต้ดิน ซึ่งเป็นระบบส ารองตาม ธรรมชาติจากการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล จึงคาดว่าจะท าให้แก้ไขปัญหาวิกฤตน้ าแล้งได้อย่างเป็นระบบ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงจัดท าโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิก สถาบันเกษตรกร โดยให้สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) เป็นแหล่งรับเงินทุนหมุนเวียน เพื่อน าไปสนับสนุนเงินกู้แก่สมาชิกในการใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการลงทุนพัฒนาแหล่งน้ าใน แปลงไร่นาของตนเองอย่างเป็นระบบ สร้างโอกาสในการผลิตเกษตรกรรม ลดความเสี่ยงจากใช้ น้ าชลประทาน และแหล่งน้ าจากธรรมชาติแต่เพียงอย่างเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2559 อนุมัติจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร ให้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์เพื่อด าเนินการตามโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ า ในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร จ านวน 300 ล้านบาท โดยจัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0 ก าหนดช าระคืนภายใน 5 ปี และเงินจ่ายขาด จ านวน 2,997,500 บาท เพื่อใช้ในการบริหารโครงการ ของส่วนราชการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างโอกาสในการท าเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ า 2) เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ าในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพาน้ าจากระบบชลประทานและแหล่งน้ าธรรมชาติ 3) เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจากระบบการท าเกษตรกรรมแบบพึ่งธรรมชาติ เป็นการเกษตร แบบบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้ า 1.2 เป้าหมาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดสรรวงเงินกู้จ านวน 1,650,000.00 บาท ให้จังหวัดอ่างทอง พิจารณาจัดสรรให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรกู้ยืม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 77 1.3 พื นที่ด าเนินโครงการ สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 รายละเอียดงานที่ท า 1) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดท าบันทึกเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบัน เกษตรกร ระดับจังหวัด และผู้ว่าราชการจังหวัดได้ลงนามตามค าสั่ง ที่ 2249/2559 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 2) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดท าบันทึกเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง พิจารณามอบอ านาจ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ มอบอ านาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทนเกี่ยวกับโครงการ สนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ซึ่งจังหวัดอ่างทองได้มีค าสั่ง ที่ 2284/2559 ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 มอบอ านาจดังกล่าวให้สหกรณ์จังหวัด 3) คณะกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อ สร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระดับจังหวัด ได้ประชุมพิจารณาอนุมัติเงินกู้ ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 อนุมัติให้สหกรณ์กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร จ านวน 1,650,000 บาท ให้กับสหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด 2.2 ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ และที่เกิดขึ นกับหน่วยงาน 1) ลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ า เนื่องจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดน้ า อย่างต่อเนื่อง 2) เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ าต้นทุน ส่งผลให้ผลผลิตทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม 3) ลดภาระหนี้สินที่เกิดความเสี่ยงจากการท าการเกษตรตามระบบธรรมชาติเป็นการเกษตร มีระบบจัดการน้ าจากระบบชลประทาน และแหล่งน้ าตามธรรมชาติและมีแหล่งน้ าเสริมจากระบบน้ า ในแปลงไร่นา 4) กรมส่งเสริมสหกรณ์ และส านักงานสหกรณ์จังหวัด ได้รับความเชื่อมั่นและศรัทธาจาก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ให้สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดันให้สมาชิกมีระบบน้ าในไร่นา จะสามารถสร้าง โอกาสในการท าการเกษตรแบบไม่พึ่งธรรมชาติ วางแผน การผลิตได้ ลดความเสี่ยงจากภัยแล้งหรือ ภัยธรรมชาติ เนื่องจากสามารถวางแผน หรือเลื่อนระยะเวลาการเพาะปลูกได้เอง


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 78 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์กู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ า ในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร จ านวน 1 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ความร่วมมือ ร่วมใจของทุกฝ่าย ทั้งสมาชิก คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง เจริญก้าวหน้า 2.สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรได้รับผลดีจากโครงการ และต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร ของสมาชิก 3.สมาชิกมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้โอนเงินให้จังหวัดหมุนเวียน ในการบริหารเงินกองทุนท าให้เกิดความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค วงเงินที่ได้รับจัดสรรจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของสมาชิก เป็นผลให้สมาชิกได้รับบริการไม่ครบตามจ านวนที่ประสงค์ขอรับบริการสมาชิกได้รับบริการเพียง บางส่วนตามความเห็นชอบของสหกรณ์ในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ก็ได้มีส ารวจความต้องการมาเพื่อที่จะเพิ่มวงเงินให้กับทางจังหวัดเพื่อให้บริการกับสมาชิกต่อไป


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 79 โครงการการสนับสนุนเงินทุนสหกรณ์โดยกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินโครงการ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ได้ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 โดยโอน เงินทุนหมุนเวียนส่งเสริมการสหกรณ์มาเป็นของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2545 ได้มี พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอ านาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 จึงโอนกองทุนพัฒนาสหกรณ์ไปตั้งไว้ที่ กรม ส่งเสริมสหกรณ์ ตั้งแต่วันที่ 6 ตุลาคม 2545 เป็นต้นมา 1.1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้สหกรณ์กู้ยืมส าหรับเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ ได้แก่ เป็นทุนให้สมาชิก กู้ยืม หรือ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย หรือรวบรวมผลผลิต 1.1) กรณีขอกู้เงินเพื่อน าไปด าเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายหรือรวบรวมผลผลิต จะต้องมีสมาชิกท าธุรกิจกับสหกรณ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจ านวนคนทั้งหมด (สมาชิกและ บุคคลภายนอก) ที่มาท าธุรกิจกับสหกรณ์ในแต่ละวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ โดยพิจารณาจากผลการด าเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ปีใดปีหนึ่งในรอบ 4 ปีบัญชีที่ผ่านมา 1.2) ในการพิจารณาจ านวนคนที่ท าธุรกิจกับสหกรณ์ตาม (1.1) ให้ยกเว้นกรณีที่สหกรณ์ ขอกู้เพื่อด าเนินธุรกิจสถานีบริการน้ ามันของสหกรณ์ 1.3) กรณีอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ระเบียบฯ ก าหนด ให้จังหวัดพิจารณาในเบื้องต้น พร้อมทั้งให้ความเห็น หากเห็นสมควรให้สหกรณ์กู้เงิน ให้น าเสนอคณะกรรมการบริหาร กพส. พิจารณาเป็นกรณีไป 2) เพื่อลงทุนในทรัพย์สิน แต่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้ 2.1) ให้กู้ได้ไม่เกิน 80% ของวงเงินลงทุนในทรัพย์สิน และสหกรณ์ต้องสมทบ การลงทุน ไม่น้อยกว่า 20% ของวงเงินลงทุนยกเว้นกรณีสหกรณ์ขอกู้เพื่อสร้างส านักงานให้กู้ได้ ไม่เกิน 70% ของวงเงินลงทุนสร้างส านักงาน และสหกรณ์ต้องสมทบการลงทุนไม่น้อยกว่า 30% ของ วงเงินลงทุน 2.2) ในกรณีที่สหกรณ์ได้รับการสนับสนุนเงินทุนภายใต้โครงการเงินกู้เพื่อป รับ โครงสร้างภาคเกษตรและสามารถบริจาคเงินได้ตามก าหนดในหนังสือยินยอมบริจาคให้มีสิทธิ กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ไปลงทุนเพิ่มเติมในปัจจัยพื้นฐาน โดยไม่ต้องสมทบการลงทุนและคิด ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี 1.2 เป้าหมาย อนุมัติเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดอ่างทอง ที่ได้รับจัดสรรให้ด าเนินการ โครงการปกติ18.580 ล้านบาท โครงการพิเศษ 11.700 ล้านบาท รวมทั้งสิ้น 30.280 ล้านบาท


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 80 ติดตามเร่งรัดหนี้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ถึงก าหนดช าระจ านวนสหกรณ์ 9 แห่ง 14 สัญญา เป็นเงิน 39.410 ล้านบาท 1.3 พื นที่ด าเนินโครงการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน 2.1 รายละเอียดงานที่ท า ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด รวม 3 ครั้ง อนุมัติเงินกู้ กพส. 9 สหกรณ์ 13 สัญญา ดังนี้ ที่ ชื่อสหกรณ์ วัตถุประสงค์ จ านวน(บาท) ดบ.(%) วันอนุมัติ วันโอน 1 สกก.ผู้เลี้ยงและค้าสัตว์ฯ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 2.5 28 ก.พ.61 28 ก.พ.61 2 สกก.แสวงหา จ ากัด เป็นทุนหมุนเวียน 3,000,000 4 28 ก.พ.61 28 ก.พ.61 3 สกก.แสวงหา จก. จัดหาปัจจัยการผลิต 2,000,000 1 28 ก.พ.61 28 ก.พ.61 4 สกก.โพธิ์ทอง จก. จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3,000,000 3 6 ส.ค. 61 6 ส.ค. 61 5 สกก.โพธิ์ทอง จก. จัดหาเมล็ดพันธุ์ 2,000,000 1 6 ส.ค. 61 6 ส.ค. 61 6 สกก.โพธิ์ทอง จก. ให้สมาชิกกู้ 3,000,000 1 6 ส.ค. 61 6 ส.ค. 61 7 ส.ประมงและแปรรูปอ่างทอง อาหารปลา 500,000 1 8 ส.ค. 61 8 ส.ค. 61 8 ส.ประมงและแปรรูปอ่างทอง ให้สมาชิกกู้ยืม 1,000,000 1 8 ส.ค. 61 8 ส.ค. 61 9 สก.ปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น ให้สมาชิกกู้ยืม 1,200,000 1 4 ก.ย. 61 4 ก.ย. 61 10 สกก.วิเศษชัยชาญ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 3 4 ก.ย. 61 4 ก.ย. 61 11 ส.ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ให้สมาชิกกู้เป็นทุน 2,000,000 1 4 ก.ย. 61 4 ก.ย. 61 12 สกก.บางเสด็จ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ยืม 1,930,000 5 7 ก.ย. 61 7 ก.ย. 61 13 ส.โคเนื้ออ่างทอง ให้สมาชิกกู้ยืม 650,000 5 27 ก.ย. 61 27 ก.ย. 61 รวม 30,280,000 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ แจ้งหนังสือเตือนสหกรณ์ให้ช าระหนี้ ก่อนถึงก าหนด 60 วัน ครั้งที่ 1 และก่อนถึงก าหนด 30 วัน ครั้งที่ 2 และติดตามเร่งรัดหนี้โดย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ผลปรากฏว่า สหกรณ์ช าระได้ตามสัญญา 7 แห่ง ครบตามจ านวน สหกรณ์ที่มี หนี้ค้างช าระ 1 แห่ง ดังนี้ตารางการช าระหนี้ของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 81 ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวน(บาท) ครบก าหนด วันที่ช าระ หมายเหตุ 1 สกก.แสวงหา จก. 500,000 15 ก.พ. 61 27 ธ.ค. 60 สกก.แสวงหา จก. 500,000 19 มิ.ย. 61 19 มิ.ย. 61 2 สกก.โพธิ์ทอง จก. 15,000,000 31 ม.ค. 62 11 มิ.ย. 61 สกก.โพธิ์ทอง จก 3,000,000 19 มิ.ย. 61 11 มิ.ย. 61 สกก.โพธิ์ทอง จก 4,000,000 19 มิ.ย. 61 11 มิ.ย. 61 3 สกก.ผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จก 5,000,000 15 ก.พ. 61 1 ก.พ. 61 4 สก.ปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น จก 550,000 27 ส.ค. 61 23 ส.ค. 61 สก.ปลูกพืชไร่วังน้ าเย็น จก 750,000 27 ส.ค. 61 23 ส.ค. 61 5 ส.โคเนื้ออ่างทอง จก 660,000 27 ส.ค. 61 24 ก.ย. 61 ที่ ชื่อสหกรณ์ จ านวน(บาท) ครบก าหนด วันที่ช าระ หมายเหตุ 6 สกก.บางเสด็จ จก 1,950,000 27 ส.ค. 61 15 ส.ค. 61 7 ส.ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จก 1,000,000 27 ส.ค. 61 22 ส.ค. 61 ส.ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จก 1,000,000 27 ส.ค. 61 22 ส.ค. 61 8 ส.ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จก 500,000 28 ส.ค. 61 16 พ.ค. 61 9 สกก.วิเศษชัยชาญ จก 5,000,000 29 ส.ค. 61 10 ก.ค. 61 10 สกก.สามโก้ จ ากัด 3,000,000 7 พ.ค. 59 ค้างช าระ สกก.สามโก้ จ ากัด 2,000,000 31 ก.ค. 58 ค้างช าระ รวม 44,410,000 จัดส่งรายงานการอนุมัติ/จ่ายเงินกู้ การส่งช าระหนี้ ระยะเวลาด าเนินการ การติดตามหนี้ค้าง ช าระ การบริหารความเสี่ยงของ กพส. ทุกเดือน-ไตรมาส ตามก าหนดเวลา 2.2 ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ และที่เกิดขึ นกับหน่วยงาน 1) สหกรณ์ผู้รับบริการได้น าเงินกู้ไปใช้ในการด าเนินธุรกิจเพื่อให้บริการสมาชิกตรงตาม ความประสงค์และเป็นประโยชน์ต่อสมาชิก 2) ส านักงานสหกรณ์ได้บริหารเงินกู้ กพส. ภายใต้วงเงินที่ได้รับจัดสรร ให้เกิดประโยชน์ ต่อสหกรณ์และสมาชิก ตามเจตนารมณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับอนุมัติเงินกู้ กพส. จ านวน 9 สหกรณ์ 13 สัญญา


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 82 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีความเข้าใจระบบการบริหารเงินทุนของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ที่มีระเบียบ ปฏิบัติและขั้นตอนการด าเนินงานที่ชัดเจน 2.มีการประเมินชั้นคุณภาพลูกหนี้ทุกปี ท าให้สหกรณ์พยายามปรับปรุงและพัฒนาตนเองเพื่อ อยู่ในชั้น A ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ต่ ากว่าชั้นอื่น โดยการกู้ยืมและส่งช าระหนี้ให้ตรงตามก าหนด สัญญา ใช้เงินกู้ตรงตามวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมั่นใจว่าจะสามารถส่งช าระหนี้คืน ได้ตามก าหนดด้วยระบบ BARCODE ทุกสหกรณ์ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของสหกรณ์อีกทางหนึ่ง 4. ปัญหา/อุปสรรค จังหวัดอ่างทองมักประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย การแพร่ระบาดของโรค และแมลงระบาด บางครั้งฝนทิ้งช่วง ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกเสียหาย รายได้ไม่ เพียงพอต่อการช าระหนี้หรือต่อการด ารงชีพ


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 83 โครงการ 1 สหกรณ์ 1 หอการค้าสานพลังประชารัฐ จังหวัดอ่างทอง 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ภาคสหกรณ์ 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและเพิ่มช่องทางสร้างโอกาสทางการตลาด 3. เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 1.2 เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 1.3 พื นที่ด าเนินงานโครงการ อ าเภอวิเศษชัยชาญ 2. ผลการด าเนินงาน สหกรณ์ได้ประสานงานกับหอการค้าจังหวัดอ่างทอง เพื่อหาช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของ สหกรณ์ คือ ปลาแดดเดียว และในส่วนของการลดต้นทุนการผลิต ทางหอการค้าได้ติดต่อร้านจ าหน่าย อาหารปลาที่สามารถลดราคาให้ถูกกว่าราคาที่จ าหน่ายโดยทั่วไป จึงท าให้สมาชิกซื้ออาหารปลาในราคา ถูกกว่าท้องตลาดทั่วไป 3.ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 49.07% ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ 2. สมาชิกมีรายได้เพิ่มมากขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - โครงการตามนโยบายส าคัญ (Agenda)


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 84 โครงการการช่วยเหลือด้านหนี สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสบอุทกภัยปี 2559/60 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ ประสบอุทกภัย 2. ผลการด าเนินงาน สหกรณ์ขอรับการสนับสนุนเงินชดเชยดอกเบี้ยตามมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยปี 2559/60 จ านวน 4 สหกรณ์ ดอกเบี้ยชดเชย 127,861.05 บาท ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด จ านวน 73 ราย มูลหนี้ต้นเงิน 6,207,400 บาท ดอกเบี้ยชดเชย 90,531.42 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรป่าโมก จ ากัด จ านวน 16 ราย มูลหนี้ต้นเงิน 796,000 บาท ดอกเบี้ยชดเชย 11,903.86 บาท 3. สหกรณ์การเกษตรแสวงหา จ ากัด จ านวน 6 ราย มูลหนี้ต้นเงิน 748,000 บาท ดอกเบี้ยชดเชย 11,066.31 บาท 4. สหกรณ์การเกษตรโพธิ์ทอง จ ากัด จ านวน 15 ราย มูลหนี้ต้นเงิน 273,720 บาท ดอกเบี้ยชดเชย 14,359.46 บาท 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนภาระหนี้สิน ที่ได้รับผลกระทบอุทกภัย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน รวมถึงสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ไม่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน 4. แนวทางการด าเนินการ ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรขยายระยะเวลาการช าระหนี้ในสัญญาเงินกู้ที่ได้รับผลกระทบจาก อุทกภัยปี 2559/60 ออกไปเป็นระยะเวลา 6 เดือน (การจัดท าบันทึกต่อท้ายสัญญาเงินกู้ด าเนินการใน กรณีที่สัญญาเงินกู้ที่เข้าร่วมโครงการมีการส่งช าระหนี้เกินระยะเวลาที่ก าหนดในสัญญากู้เดิม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 85 โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาให้เกษตรกรสมาชิกของสถาบันเกษตรกรมีศักยภาพทั้งทางด้านการผลิต การแปรรูปและการตลาด ในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และให้เกษตรกรสมาชิก กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น พร้อมที่จะพัฒนาให้มีคุณสมบัติของเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) เป้าหมาย 1) สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด จ านวน 25 ราย 2) สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด จ านวน 10 ราย 3) กลุ่มเกษตรกรท านาเทวราช จ านวน 6 ราย 4) กลุ่มเกษตรกรท าสวนอ่างทองครัวสุขภาพ จ านวน 14 ราย 5) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ต าบลร ามะสัก จ านวน 10 ราย 2. ผลการด าเนินงาน 1) คัดเลือกสหกรณ์ภาคการเกษตร/กลุ่มเกษตรเข้าร่วมโครงการ โดยพิจารณาเยาวชนที่มี อาชีพเกษตรกรรม หรือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เป็นคนรุ่นใหม่ อยู่ในวัยท างานมีความพร้อม สามารถที่จะพัฒนาเป็น Smart Farmer ได้จ านวน 65 ราย ที่มีรายได้ไม่ต่ ากว่า 180,000 บาท 2) จัดท าข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินศักยภาพ รายได้ รายจ่าย และความต้องการความรู้ด้าน การประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มทักษะอาชีพของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3) จัดอบรมถ ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตร ในวันที ่ 18 กรกฎาคม 2561 ให้แก่สมาชิกเป้าหมายจ านวน 65 ราย โดยเชิญวิทยากร พ.จ.ท.เฉลียว น้อยแสง ประธานนาแปลงใหญ่ จ.ชัยนาท และเป็นประธานนาแปลงใหญ่ของกลุ่มบ้านพระแก้ว อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท และเป็นครูดีเด่นระดับภาค ปี 61 เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ 4) คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการที่มีคุณสมบัติพื้นฐานของ Smart Farmer จ านวน 6 ราย เข้ารับการอบรมเพื่อปรับกระบวนความคิด อบรม ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง ระหว่างวันที่ 15-17 สิงหาคม 2561 5) สมาชิกผู้ผ่านการอบรมปรับแนวคิดเพื่อก้าวสู่เป็น Smart Farmer จ านวน 6 ราย มีแผนพัฒนาอาชีพตนเองคนละ 1 แผน 6) ผู้ผ่านการฝึกอบรมปรับแนวคิดจ านวน 6 ราย สร้างเครือข่ายอาชีพขยายผลไปสู่เกษตรกร รายอื่น ๆ รายละ 5 คน


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 86 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) ประเมินคุณสมบัติของ Smart Farmer - Existing Smart Farmer จ านวน 49 ราย - Developing Smart Farmer จ านวน 16 ราย 2) ผู้เข้าร่วมโครงการฯ Smart Farmer ผ่านคุณสมบัติ พื้นฐานครบทั้ง 6 ข้อ จ านวน 49 ราย คิดเป็นร้อยละ 75 ของผู้เข้ารับการอบรม 3) ผู้ที่มีคุณสมบัติของ Smart Farmer เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อปรับกระบวนความคิด ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง จ านวน 6 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกกลุ่มเป้าหมายน าความรู้ที่ได้รับการอบรมไปปรับใช้ท าให้มีรายได้และมีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2) สมาชิกกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถให้ค าแนะน า/ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร รายอื่น ๆ ได้ 3) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองมีข้อมูลในการจัดท าแผน/โครงการ ที่มีความ เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการตามศักยภาพและบริบทของสหกรณ์ 4) สมาชิกสามารถบริหารจัดการ แก้ปัญหาและพัฒนาอาชีพตนเองได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ตามเป้ าหมายของโครงการต้องการเน้นเยาวชน/ท ายาทของสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร อายุไม่เกิน 45 ปี มีความพร้อมพัฒนาสู่การเป็น Smart Farmer แต่พบว่าปัจจุบัน ทายาทของสมาชิกส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่วนใหญ่ท างานด้านอุตสาหกรรมท าให้ เป้าหมายในการอบรมครั้งนี้มีผู้ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณสมบัติของ Smart Farmer ทั้ง 6 ข้อ ในส่วนของ Young Smart Farmer มีเพียง 10 ราย จากจ านวน 49 ราย คิดเป็นร้อยละ 20 ที่ผ่าน เกณฑ์ประเมินคุณสมบัติทั้ง 6 ข้อ แนวทางการแก้ไข พัฒนาต่อยอดสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีความพร้อมให้สามารถน าความรู้ที่ได้รับ ไปต่อยอดให้กับทายาทสมาชิก


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 87 5. ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของโครงการ รูปภาพประกอบการด าเนินโครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ถ่ายทอดความรู้โดย พ.จ.ท.เฉลี่ยว น้อยแสง รูปภาพประกอบโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่สู่การเป็น Smart Farmer ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง คัดผู้แทนจ านวน 6 รายเพื่อต่อยอดปรับแนวคิด


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 88 ชื่องาน/โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้เกิดการรวมกัน ผลิตและร่วมกันจ าหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมี คุณภาพได้มาตรฐานภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป้าหมาย แปลงใหญ่ปี 2559 จ านวน 4แปลง แปลงใหญ่ปี 2560 จ านวน 6แปลง และแปลงใหญ่ ปี 2561 จ านวน 8แปลง พื นที่ด าเนินงานโครงการ 7 อ าเภอ ในจังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ร่วมเป็นวิทยากรบรรยายการรวมกลุ่ม การบริหารจัดการ กลุ่ม โดยบูรณาการร่วมกับส านักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่มีความรู้ความ เข้าใจในการรวมกลุ่มทั้งสิ้น จ านวน 798 ราย และจัดกิจกรรมเพิ่มศักยภาพของคณะกรรมการแปลง ใหญ่ให้มีการบริหารจัดการผลิต ในรูปแบบสหกรณ์ จ านวน 6 แปลง คณะกรรมการได้รับความรู้ใน เรื่องการวางแผนการผลิตร่วมกัน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ถ่ายทอดความรู้เรื่องการบริหารจัดการกลุ่ม จ านวน 18 แปลง เกษตรกร ได้รับความรู้ จ านวน 798 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรเกิดการร่วมกลุ่มท าการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกันในรูปแบบ องค์กรนิติบุคคล จ านวน 3 แปลง คือ กลุ่มเกษตรกรท าไร่นาสวนผสมสมาชิกแปลงใหญ่ต าบลวังน้ า เย็น แปลงใหญ่ปี2559 สหกรณ์ประมงและการแปรรูปอ่างทอง จ ากัด แปลงใหญ่ปี 2560 และ สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอ่างทอง จ ากัด แปลงใหญ่ปี 2561 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 89 ชื่องาน/โครงการ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของศพก. 882ศูนย์ และศูนย์เครือข่าย ให้มีความพร้อมในการให้บริการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการและการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้งการให้บริการทาง การเกษตรด้านต่างๆ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ 2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรของชุมชนโดยมีเกษตรกรต้นแบบเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ 3. เพื่อเป็นกลไกในการบูรณาการการท างานของหน่วยงานต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการเกษตรในพื้นที่ เป้าหมาย ศูนย์หลัก ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) อ าเภอละ 1ศูนย์ รวม 7ศูนย์ พื นที่ด าเนินงานโครงการ 7 อ าเภอ ในจังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ร่วมเป็นวิทยากรบรรยายการรวมกลุ่ม พัฒนาศักยภาพ ศพก.ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ทั้ง 7 ศพก. ร่วมการจัดงานวัดถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้น ฤดูการผลิตใหม่ (Field day) ผลักดันให้เกิดศูนย์เครือข่ายด้านการสหกรณ์ จ านวน 3 ศูนย์เครือข่าย เกิดการรวมกลุ่มอาชีพ 3 กลุ่ม คือกลุ่มแปรรูปกล้วย กลุ่มกระยาสารท และกลุ่มท าน้ าปลา 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ถ่ายทอดความรู้เรื่องการบริหารจัดการกลุ่ม จ านวน 7 ศพก. เกษตรกร ได้รับความรู้ จ านวน 350 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกิดศูนย์เครือข่ายด้านการสหกรณ์จ านวน 3 ศูนย์ คือ สหกรณ์ การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงและค้าสัตว์อ่างทอง จ ากัด และสหกรณ์ การเกษตรแสวงหา จ ากัด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่พบเนื่องจากได้รับความร่วมมือจากเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 90 ชื่องาน/โครงการ เกษตรทฤษฏีใหม่ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อร าลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ที่ทรงมีต่อปวงชนชาวไทย 2. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯมีความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตามระบบ เกษตรทฤษฎีใหม่ และสามารถน าไปปรับใช้เพื่อการประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯมีศักยภาพในการด าเนินกิจกรรม ทางการเกษตร ตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1และสามารถพัฒนาไปสู่ขั้นที่ 2และขั้นที่ 3ได้ต่อไป เป้าหมาย เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง จ านวน 50 ราย พื นที่ด าเนินงานโครงการ อ าเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง 2. ผลการด าเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ลงพื้นที่ติดตามตรวจเยี่ยมระดับจังหวัด เกษตรกรในพื้นที่ จ านวน 50 ราย เพื่อสอบถามการท าการเกษตร การท าบัญชีครัวเรือน และประสานให้เกษตรกรทั้ง 50 ราย เข้ารับการอบรมความรู้เชิงปฏิบัติการ จ านวน 50 ราย และประสานการสนับสนุนปัจจัยการ ผลิตพื้นฐานเพื่อการพึ่งพาตนเองเบื้องต้น 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การส่งเสริมองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ จ านวน 50 ราย พร้อมสนับสนุน ปัจจัยการผลิตพื้นฐาน จ านวน 50 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมประมาณร้อยละ 80 เนื่องจากบางส่วนลดต้นทุนการผลิตได้ และมีการจัดท าบัญชีครัวเรือน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่พบเนื่องจากได้รับความร่วมมือจากเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 91 ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน รูปภาพกิจกรรม


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 92 งบการเงินประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากคลัง 30,000.00 ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 9,672.00 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 44,672.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคาร (สุทธิ) (1) 2,438,971.61 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) (2) 1,555,376.68 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 3,994,348.29 รวมสินทรัพย์ 4,039,020.29 หนี สิน หนี สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 62,974.00 เจ้าหนี้อื่น-หน่วยงานรัฐ 6,152.07 ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย 9,405.39 ใบส าคัญค้างจ่าย 1,372.00 เงินประกันอื่น 30,000.00 รวมหนี สินหมุนเวียน 109,903.46 หนี สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง - ด าเนินงาน 5,000.00 รวมหนี สินไม่หมุนเวียน 5,000.00 รวมหนี สิน 114,903.46


รายงานประจ าปี 2561 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง | 93 ทุน ทุนของหน่วยงาน 1,567,150.00 รายได้ สูง/(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 1,774,927.11 รายได้ สูง/(ต่ า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 582,039,72 รวมส่วนทุน 3,924,116.83 รวมหนี สินและทุน 4,039,020.29


Click to View FlipBook Version