The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุชาดา อํา่ปลอด, 2019-06-04 03:46:24

ใบความรู้ หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์

ใบความรู้ หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 45

หนว่ ยท่ี 4

โรงเรอื น
อปุ กรณใ์ นการเลย้ี งโคเนอื้ และกระบอื

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 46

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลยี้ งโคเนื้อและกระบือ

หวั ข้อเรื่อง

1.มาตรฐานฟาร์มโคเน้ือ
2.หลกั พิจารณาในการต้งั ฟาร์มโคเน้ือและกระบือ
3.ลกั ษณะโรงเรือนที่ดีในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ
4.โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างในฟาร์มโคเน้ือและกระบือ
5.ชนิดของอุปกรณ์ที่ใชใ้ นโคเน้ือและกระบือ

สาระสาคญั

1.สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนด
มาตรฐานในการทาฟาร์มโคเน้ือตอ้ งมีการข้ึนทะเบียนฟาร์มและทะเบียนเกษตรกรกบั หน่วยงานท่ี
รับผิดชอบและมีหลกั การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มโคเน้ือมี 4 องค์ประกอบ คือ ดา้ น
องคป์ ระกอบของฟาร์มโคเน้ือ ดา้ นการจดั การฟาร์ม ดา้ นสุขภาพสตั วแ์ ละดา้ นส่ิงแวดลอ้ มในฟาร์ม

2.หลกั พิจารณาในการต้งั ฟาร์มโคเน้ือและกระบือท่ีสาคญั คือ ลกั ษณะของกิจการ เป็ นแบบ
ขุนขงั คอกหรือเล้ียงแบบปล่อยธรรมชาติ ลกั ษณะของภูมิประเทศท่ีจะสร้างโรงเรือน ลกั ษณะของ
พนั ธุส์ ตั ว์ สตั วส์ ายพนั ธุย์ โุ รปหรือแถบที่มีอากาศหนาวลกั ษณะของโรงเรือนก็แตกต่างจากสายพนั ธุ์
ท่ีมาจากเขตร้อนเพื่อใหส้ ตั วไ์ ดอ้ ยอู่ ยา่ งสบาย จานวนสตั วท์ ี่เล้ียงใชใ้ นการคานวณขนาดของโรงเรือน
และวสั ดุก่อสร้างและแรงงานในทอ้ งถิน่ เพอื่ ใชใ้ นการจดั ทางบประมาณ

3.ลกั ษณะโรงเรือนท่ีดีในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือมีลกั ษะคือแข็งแรงทนทานมีขนาด
พอเหมาะกบั จานวนสัตว์ มที ่ีเก็บอาหารมีวตั ถุรองพ้นื ตลอดจนอปุ กรณ์ที่จาเป็ นท่ีใชใ้ นโรงเรือน มีท่ี
คลอดลกู และที่พกั ของลูกสตั ว์ ถูกหลกั สุขาภิบาล ควรไดร้ ับแสงแดดท้งั เชา้ และบ่าย มกี ารระบายมูล
สตั วด์ ีและมีบ่อพกั มลู สตั วอ์ ยนู่ อกคอก และโรงเรือนควรอยใู่ กลแ้ หล่งน้าที่สะอาด มีเน้ือท่ีภายในคอก
พอเหมาะกบั จานวนสตั ว์ มสี ่วนท่ีจะใหส้ ตั วไ์ ดเ้ ดินเล่นหรือออกกาลงั กาย

4.โรงเรือนและส่ิงก่อสร้างในฟาร์มโคเน้ือและกระบือทจี่ าเป็นประกอบดว้ ย คอกพกั คอก
ปฏิบตั ิการ คอกขนุ และโรงเรือนอื่นๆ เช่น คอกลูกโคหยา่ นม คอกพอ่ พนั ธุ์ คอกโคเตรียมขาย คอกโค
นอกแผนผสมพนั ธุ์

5.ชนิดของอุปกรณ์ที่ใชใ้ นโคเน้ือและกระบือจาแนกเป็ น 5 ประเภท คืออุปกรณ์ให้น้าและ
อาหาร อุปกรณ์ผสมเทียม อุปกรณ์ในการรีดนม อุปกรณ์ในการทาคลอดและอุปกรณ์อ่ืนๆ เช่น คีม
ตอนสัตวใ์ หญ่ ที่เจาะกระเพาะโค ห่วงใส่จมูกโค คีมดึงจมูกโค ที่ถ่างปากโค ปรอทวดั ไข้ เคร่ืองตดั
เขาโค คีมตดั เบอร์หูโลหะและมีดแต่งกีบสตั ว์ เป็นตน้

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 47

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.เพื่อใหส้ ามารถบอกหลกั พจิ ารณาในการต้งั ฟาร์มโคเน้ือและกระบือ
2.เพือ่ ใหอ้ ธิบายลกั ษณะโรงเรือนที่ดีในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ
3.เพื่อใหส้ ามารถบอกประเภทของโรงเรือนโคเน้ือและกระบือ
4.เพื่อใหส้ ามารถเลือกชนิดของอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นโคเน้ือและกระบือ

1.มาตรฐานและการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทด่ี ีสาหรับฟาร์มโคเนือ้
มาตรฐานการปฏิบตั ิทางการเกษตรท่ีดีสาหรับฟาร์มโคเน้ือ ฉบบั น้ี วิธีปฏิบตั ิข้นั พ้ืนฐานดา้ น

องคป์ ระกอบของฟาร์ม การจดั การฟาร์ม การจดั การดา้ นสุขภาพ และการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม เพ่อื ให้
ไดเ้ น้ือโคที่ถูกสุขลกั ษณะสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานเน้ือโคและปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค

1.1 นิยาม

1.1.1 โคเน้ือ ( Beef Cattle ) หมายถงึ สตั วใ์ นวงศ์ Bovidae ท่ีมนุษยเ์ ล้ยี งไวเ้ พ่อื นา
เน้ือเยอ่ื ของร่างกายมาใชบ้ ริโภคเป็นอาหาร

1.1.2 ฟาร์มโคเน้ือ ( Beef Cattle Farm ) หมายถึง สถานที่เล้ียงโคเน้ือโดยมีสิ่งอานวย
ความสะดวกในการเล้ยี ง เพื่อสามารถผลติ โคเน้ือที่มสี ุขภาพดีและเหมาะสมกบั การนาไปบริโภค

1.1.3 สิ่งอานวยความสะดวก ( Facilities ) หมายถงึ เครื่องมอื และอุปกรณ์ที่ใช้
ภายในฟาร์มโคเน้ือ รวมถึงรางหญา้ รางอาหาร และภาชนะใส่น้าด่ืม

1.1.4 บุคลากร ( Farm Personnel ) หมายถงึ ผเู้ ล้ียงสตั ว์ ผดู้ ูแลดา้ นการผลิต และ
ผดู้ ูแลรักษาโรคและสุขภาพสตั วต์ ลอดระยะเวลาการเล้ียงดู

1.1.5 อาหารสตั ว์ ( Animal Feed ) หมายถึง อาหารท่ีมาจากวตั ถุดิบชนิดเดียวหรือ
วตั ถุดิบหลายชนิดท่ีผา่ นกระบวนการอยา่ งสมบูรณ์ ( Processed ) หรือผา่ นกระบวนการเป็นบางส่วน
( Semi – processed ) หรือ ยงั ไม่ไดผ้ า่ นกระบวนการ ( Raw ) กไ็ ดโ้ ดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใชเ้ ล้ียงสตั ว์
สาหรับการบริโภค ( Food Producing Animal )

1.1.6 คอกหรือโรงเรือน ( Pen ) หมายถงึ สิ่งปลกู สร้างท่ีมีหลงั คา แขง็ แรง อากาศ
ถา่ ยเทไดส้ ะดวก พ้นื ไมม่ ีส่ิงปฏิกลู สะสม มที ่ีใหน้ ้าและให้อาหาร โดยภายในอาจแบ่งก้นั เป็นคอกเลก็
ๆ เพือ่ ใชง้ านตามวตั ถปุ ระสงค์

1.1.7 ส่ิงแวดลอ้ ม ( Environment ) หมายถงึ บริเวณรอบฟาร์มโคเน้ือท่ีมีระบบการ
จดั การส่ิงปฏกิ ลู มีระบบการระบายน้าท่ีดี ไม่มีมลภาวะเป็นพิษกบั ธรรมชาติ

1.2 หลกั การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทด่ี ีสาหรับฟาร์มโคเนื้อ
ฟาร์มโคเน้ือตอ้ งมีการข้ึนทะเบียนฟาร์มและทะเบียนเกษตรกรกบั หน่วยงานท่ี

รับผดิ ชอบและหลกั การปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มโคเน้ือมี 4 องคป์ ระกอบ คือ
1.2.1 องคป์ ระกอบของฟาร์มโคเน้ือ

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 48

องคป์ ระกอบของฟาร์มโคเน้ือ ที่สาคญั ไดแ้ ก่
1.2.1.1 ทาเลท่ีต้งั ของฟาร์ม

1) ฟาร์มโคเน้ือตอ้ งต้งั อยใู่ นสถานที่ท่ีเหมาะสมในการเล้ียงสตั ว์ ท่ี
ผเู้ ล้ยี งสามารถทีจ่ ะไปดแู ลไดส้ ะดวก ตอ้ งห่างจากแหล่งน้าสาธารณะ โรงฆา่ สตั วแ์ ละตลาดนดั คา้ สตั ว์

2) ไดร้ ับการยนิ ยอมจากองคก์ ารบริหารส่วนทอ้ งถนิ่ ในกรณีฟาร์ม
ใหม่ ส่วนในกรณีฟาร์มเก่าควรอยหู่ ่างชุมชนเพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดมลภาวะ

1.2.1.2 ลกั ษณะฟาร์ม
1) เน้ือท่ีของฟาร์มเล้ยี งโคเน้ือ ควรมีพ้ืนที่เพยี งพอใหโ้ คทุกตวั ได้

พกั ผอ่ นและมรี ่มเงากนั ความร้อน
2) แหลง่ น้าภายในฟาร์มตอ้ งสะอาดเหมาะสมแก่การบริโภค และ

มีเพียงพอสาหรับใชอ้ ปุ โภค บริโภคตลอดปี
1.1.2.3 ลกั ษณะของโรงเรือน

1) โรงเรือนควรสร้างใหส้ ามารถควบคุมสภาพแวดลอ้ มให้
เหมาะสมแก่โคแต่ละช่วงอายุ มีคอกก้นั เป็นสดั ส่วน

2) โรงเรือน ควรสร้างข้ึนดว้ ยวสั ดุท่ีคงทนถาวรและไม่ก่อใหเ้ กิด
อนั ตรายต่อคนและตวั สตั ว์ มลี กั ษณะเป็นหลงั คายกสูงโปร่งไมต่ ่ากวา่ 2.5 เมตร อากาศถา่ ยเทไดด้ ี มี
วสั ดุบงั ลมและวสั ดุกนั ร้อน

3) พ้ืนที่ปฏิบตั ิงานมขี นาดเหมาะสมกบั จานวนโคที่เล้ยี งและ
สะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน ไมม่ สี ่ิงลอ่ แหลมต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ มซี องบงั คบั สตั วท์ ี่เหมาะสม

4) พ้ืนโรงเรือนควรเป็นพ้นื เรียบ กรณีเป็นพ้นื ดินตอ้ งเป็นพ้นื ดิน
อดั แน่น ไม่ลื่น น้าไมข่ งั ทาความสะอาดง่าย และมีระบบระบายน้าที่ดี ไม่เป็นที่สะสมของส่ิงปฏิกลู ท่ี
เกิดข้นึ ภายในโรงเรือน

5) มีรางอาหารทาดว้ ยวสั ดุท่ีทาความสะอาดง่าย ไมก่ ่อใหเ้ กิด
อนั ตรายต่อตวั สตั ว์ มปี ริมาณเพียงพอกบั ขนาดและจานวนของโคท่ีเล้ยี งในแต่ละโรงเรือน

6) มีภาชนะบรรจุน้ากินที่ทาดว้ ยวสั ดุที่ทาความสะอาดง่าย มี
ปริมาณเพยี งพอ

1.2.2 การจดั การฟาร์ม

การจดั การฟาร์มแบ่งออกเป็นดา้ นต่างๆ ดงั น้ี
1.2.2.1 การจดั การโรงเรือนและอุปกรณ์เล้ียงโค
ตอ้ งมกี ารจดั การโรงเรือนและอปุ กรณ์เล้ยี งโคใหส้ ะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน มคี วามสะอาด
ท้งั น้ีอุปกรณ์พ้นื ฐานที่จาเป็นในการเล้ยี งโค มดี งั น้ี

1) มคี อกพกั สตั ว์ สาหรับโคท่ีนาเขา้ มาใหมห่ รือสตั วป์ ่ วย

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 49

2) คอกขนุ
3) คอกคดั สตั วส์ าหรับคดั แยกโค
4) ซองบงั คบั สตั ว์ สาหรับรักษาสตั วป์ ่ วย ใหย้ าสตั วแ์ ละตรวจการ
ต้งั ทอ้ ง
5) สถานท่ีเก็บอาหารสตั ว์ ตอ้ งมดิ ชิดเป็นสดั ส่วน และมีมาตรการ
ในการป้องกนั สตั วพ์ าหะนาเช้ือ และสามารถป้องกนั การเส่ือมสภาพของอาหารได้
6) สถานที่เกบ็ อปุ กรณ์
7) รางอาหาร สะอาดและเพยี งพอกบั จานวนโค
8) ภาชนะบรรจุน้า สะอาดและเพยี งพอกบั จานวนโค
9) พ้ืนคอกควรทาความสะอาดสมา่ เสมอไม่มมี ูลสะสมขา้ งคอก
1.2.2.2 การจดั การรอบโรงเรือน
เป็นการจดั การทาความสะอาดรอบ ๆ ร้ัวของโรงเรือน มใิ หเ้ ป็นแหล่งเพาะเช้ือโรคและแมลง
ต่าง ๆ ที่เป็นพาหะนาโรค
1.2.2.3 การจดั การฝงู โคตามวตั ถปุ ระสงค์
เป็นการจดั การคดั เก็บโคทดแทนและคดั โคออกจากฝงู โดยมีวธิ ีปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1) มกี ารเกบ็ โคเพศเมียไวท้ ดแทนภายในฝงู
2) มกี ารเปลยี่ นพ่อพนั ธุ์ (ถา้ มี) ไวท้ ดแทนภายในฝงู
3) คดั ออกโคสาวท่ีมีลกั ษณะผดิ ปกติออกจากฝงู
1.2.2.4 การจดั การดา้ นอาหารสตั ว์
เป็นการจดั การดา้ นอาหารสตั ว์ ดงั น้ี
1) จดั ใหม้ อี าหารหยาบและอาหารขน้ ท่ีมีคุณภาพดีเพยี งพอกบั
ความตอ้ งการของสตั วโ์ ดยเฉพาะอาหารขน้ ท่ีซ้ือมาตอ้ งมาจากแหล่งผลติ ที่ไดร้ ับอนุญาตตามกฎหมาย
ควบคุมคุณภาพอาหารสตั ว์
2) การขนส่งอาหารสตั วจ์ ากผขู้ าย ผผู้ ลติ ผนู้ าเขา้ มาสู่ฟาร์ม ตอ้ ง
รักษาสภาพของอาหารสตั วต์ ลอดการขนส่ง
3) กรณีอาหารสตั วผ์ สมเองใหค้ านึงถงึ คุณภาพอาหารสตั วต์ ามช่วง
วยั ของสตั วแ์ ละตอ้ งไมใ่ ชส้ ารตอ้ งหา้ มตามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมคุณภาพอาหารสตั ว์
4) ควรตรวจสอบคุณภาพอาหารสตั วอ์ ยา่ งสม่าเสมอหรือติดตาม
จากการสุ่มตรวจของเจา้ หนา้ ที่
5) อาหารสตั วค์ วรบรรจุในภาชนะท่ีแหง้ สะอาด กนั ความช้ืนได้
ควรเก็บอาหารขน้ ไวใ้ นโรงเรือนสูง โปร่ง สะอาด มกี ารระบายอากาศอยา่ งดี ปราศจากนก หนู อนั จะ
ทาใหเ้ กิดความเสียหายแก่อาหารน้นั

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 50

1.2.2.5 การบนั ทึกขอ้ มูล
การบนั ทกึ ขอ้ มลู ฟาร์ม ประกอบดว้ ยขอ้ มูลดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

1) ขอ้ มลู เครื่องหมายตวั สตั ว์
2) ขอ้ มลู ประวตั ิ พนั ธุแ์ ละการผสมพนั ธุ์
3) ขอ้ มลู ผลผลติ โดยบนั ทึกเป็นน้าหนกั หรือวดั รอบอก ส่วนสูง
ของโคในช่วงอายตุ ่าง ๆ
4) ขอ้ มูลสุขภาพสตั ว์ การรักษา การป้องกนั และควบคุมโรค
5) ขอ้ มูลการจดั การอาหารสตั ว์
1.2.2.6 บุคลากร
มีการจดั แบ่งหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบในแต่ละตาแหน่งอยา่ งชดั เจน ดงั น้ี
1) บุคลากรผดู้ ูแลดา้ นการรักษาและการใชย้ าสาหรับสตั ว์ ซ่ึงเป็น
สตั วแพทยท์ ี่ไดร้ ับใบอนุญาตประกอบการบาบดั โรคสตั วช์ ้นั หน่ึง
2) บุคลากรผจู้ ดั การเล้ียงดูฝงู โค ตอ้ งมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการ
วางแผนปรับปรุงพนั ธุ์ การจดั การฟาร์มและจดั การดา้ นอาหารสตั ว์ ช่วยใหค้ าแนะนาดา้ นการวางแผน
ปรับปรุงพนั ธุโ์ คเน้ือ การจดั การฟาร์มและดา้ นอาหารสตั ว์
3) การเล้ยี งดูฝงู โคควรมจี านวนแรงงานพอเพียงกบั จานวนโคท่ี
เล้ยี งโดยใหม้ จี านวนแรงงานตามส่ิงอานวยความสะดวกที่จดั ไวภ้ ายในฟาร์ม
4) บุคลากรท่ีทางานในฟาร์มควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพเป็น
ประจาทุกปี อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 คร้ัง เพ่อื ป้องกนั โรคท่ีสามารถติดต่อจากสตั วส์ ู่คนหรือจากคนสู่สตั ว์
เช่น โรควณั โรคซ่ึงตรวจโดยวิธีเอก็ ซเ์ รย์
1.2.2.7 การจดั หาคู่มอื การจดั การฟาร์ม
ตอ้ งมเี อกสารเกี่ยวกบั การจดั การฟาร์ม การเล้ียงดู การใหน้ ้า อาหาร การป้องกนั โรค
การจดั การดา้ นสุขภาพสตั ว์ และการจดั การดา้ นส่ิงแวดลอ้ มไวใ้ ชเ้ ป็นคู่มอื สาหรับผปู้ ระกอบการใน
การปฏบิ ตั ิงาน
1.2.3 การจดั การดา้ นสุขภาพสตั ว์
เป็นการจดั การดา้ นสุขภาพสตั ว์ ดงั น้ี
1.2.3.1 การป้องกนั และควบคุมโรค โดยตอ้ งปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1) มีการป้องกนั และทาลายเช้ือโรคก่อนเขา้ และออกจากฟาร์ม
2) มีการควบคุมสุขลกั ษณะของพ้ืนคอก รางอาหารและภาชนะ
บรรจุน้าไมใ่ หเ้ ป็นแหล่งของเช้ือโรค
3) มโี ปรแกรมการสร้างภูมิคุม้ กนั โรคโดยใหว้ คั ซีนโรคปากเทา้
เป่ื อย โรคเฮโมรายกิ เซพติกซีเมีย และโปรแกรมการกาจดั พยาธิภายในและภายนอก

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 51

4) มกี ารตรวจโรควณั โรคและโรคแทง้ ติดต่อเป็นประจาอยา่ งนอ้ ยปี
ละคร้ังและรับรองผลการตรวจโดยสตั วแพทยผ์ คู้ วบคุมฟาร์ม

5) กรณีเกิดโรคระบาดใหป้ ฏบิ ตั ิตามกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุม
โรคระบาดสตั ว์

1.2.3.2 การรกั ษาโรค โดยตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี
1) การรกั ษาโรคและการใชย้ าตอ้ งปฏบิ ตั ิตามคาแนะนาของสตั ว

แพทย์
2) การใชย้ าตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดการใชย้ าสัตวใ์ นมาตรฐาน

ผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม ( มอก.7001-2540 ) และตามใบสง่ั ยาของสตั วแพทยผ์ คู้ วบคุมฟาร์ม
1.2.4 การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม
เป็นการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ดงั น้ี
1.2.4.1 การกาจดั ขยะมูลฝอยตอ้ งมีการรวบรวมไวใ้ นภาชนะรองรับขยะมูล

ฝอยซ่ึงมีฝาปิ ดมิดชิดและนาไปทิ้งในบริเวณที่เหมาะสม
1.2.4.2 การจดั การซากสตั วใ์ หด้ าเนินการอยใู่ นดุลยพนิ ิจของสตั วแพทยผ์ ู้

ควบคุมฟาร์มกรณีทาลายใหท้ าการฝังไวใ้ ตร้ ะดบั ผวิ ดินไมน่ อ้ ยกวา่ 50 เซนติเมตรใชย้ าฆา่ เช้ือโรคราด
หรือใชป้ ูนขาวโรยจนทว่ั แลว้ กลบดินปิดปากหลมุ และพนู ดินกลบหลุมเหนือระดบั ผวิ ดินไม่นอ้ ยกวา่
50 เซนติเมตร

1.2.4.3 มลู สตั ว์ เก็บกวาดไมใ่ หห้ มกั หมมภายในโรงเรือนหรือนาไปทาป๋ ุย
หรือก๊าซชีวภาพ เพ่อื ไมใ่ หเ้ กิดกลนิ่ ท่ีทาใหเ้ กิดความราคาญต่อผอู้ ยอู่ าศยั ขา้ งเคียง

1.2.4.4 น้าเสีย ฟาร์มจะตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบบาบดั น้าเสียใหเ้ หมาะสมและมี
คุณภาพตามที่ทางราชการกาหนดก่อนปลอ่ ยออกนอกฟาร์ม ( สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและ
อาหารแห่งชาติ,2556 )

2.หลกั ท่ัวไปในการพจิ ารณาต้งั ฟาร์มโคเนือ้ และกระบือ

การเร่ิมกิจการการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ การสร้างโรงเรือนและจดั หาอุปกรณ์ที่จาเป็ นมี
ความสาคญั มากเน่ืองจากโรงเรือนและอปุ กรณ์มีผลต่อชีวิตความเป็นอยทู่ าใหส้ ตั วเ์ จริญเติบโตใหผ้ ล
ผลิตอยา่ งมีประสิทธิภาพ การพจิ ารณาในการวางผงั ฟาร์มท่ีสร้างใหม่หรือปรับปรุงของเก่าท่ีลา้ สมยั
สิ่งที่ควรพิจารณาที่สาคญั คือ

2.1 ลกั ษณะของกิจการ กิจการที่จะดาเนินการจะทาในลกั ษณะใด เช่น เแบบขุนขงั คอกหรือ
เล้ยี งแบบปล่อย

2.2 ลกั ษณะของภูมปิ ระเทศที่จะสร้างโรงเรือนเป็นท่ีสูงหรือเชิงเขาหรือท่ีราบลุ่มหากเป็นท่ี
สูงโรงเรือนควรมขี นาดเต้ีย กะทดั รัด

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 52

2.3 ลกั ษณะของพนั ธุส์ ตั ว์ สตั วส์ ายพนั ธุย์ โุ รปหรือแถบที่มีอากาศหนาวลกั ษณะของโรงเรือน
ก็แตกต่างจากสายพนั ธุท์ ่ีมาจากเขตร้อนเพือ่ ใหส้ ตั วไ์ ดอ้ ยอู่ ยา่ งสบาย

2.4 จานวนสตั วท์ ่ีเล้ยี งใชใ้ นการคานวณขนาดของโรงเรือนและใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งเต็มที่
2.5 วสั ดุก่อสร้างและแรงงานในทอ้ งถิ่น เพ่อื ใชใ้ นการจดั ทางบประมาณการก่อสร้างให้
ใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจริงมากที่สุด

3.ลกั ษณะของโรงเรือนท่ีดี
โรงเรือนเล้ียงสตั วท์ ี่ดีควรมีลกั ษณะ ดงั น้ี
3.1 ราคาถูกมีความแขง็ แรงทนทานมขี นาดพอเหมาะกบั จานวนสตั ว์ มีท่ี

เก็บอาหารมวี ตั ถุรองพ้ืนตลอดจนอุปกรณ์ที่จาเป็นท่ีใชใ้ นโรงเรือน
3.2 สตั วอ์ ยสู่ บายและปลอดภยั สามารถคุม้ แดดและคุม้ ฝนและป้องกนั ศตั รู

ต่าง ๆ ได้ พ้ืนควรจะเรียบ ถา้ เป็นพ้นื ไมห้ รือปูนก็ไมค่ วรขดั หรือใสใหเ้ รียบอาจจะทาใหส้ ตั วล์ ืน่ หก
ลม้ ไดร้ ับอนั ตรายได้

3.3 มีท่ีคลอดลกู และที่พกั ของลกู สตั ว์
3.4 ใหค้ วามสะดวกหรือประหยดั เวลาแก่ผปู้ ฏบิ ตั ิงานมคี วามกวา้ งและสูง
พอเหมาะใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิงานและอุปกรณ์ท่ีจาเป็นผา่ นเขา้ ออกไดส้ ะดวกเล้ยี งสตั วไ์ ดท้ ว่ั ถึง
3.5 ถกู หลกั สุขาภิบาล ควรไดร้ ับแสงแดดท้งั เชา้ และบ่าย การระบายอากาศ
ดีมกี ารระบายมูลสตั วด์ ี พ้ืนลาดเทเลก็ นอ้ ยและมีบ่อพกั มลู สตั วอ์ ยนู่ อกคอกเพ่อื ขจดั กลน่ิ ใหน้ อ้ ยลง
3.6 อยใู่ กลแ้ หลง่ น้า คอกสตั วท์ ี่ดีควรอยใู่ กลแ้ หลง่ น้าที่สะอาดเพราะภายใน
คอกสตั วม์ คี วามจาเป็นตอ้ งใชน้ ้าใหส้ ตั วท์ ้งั อาบ กิน และลา้ งทาความสะอาดอปุ กรณ์
3.7 เน้ือที่ภายในคอกควรมขี นาดกวา้ งขวางพอแก่ขนาดและจานวนสตั วท์ ่ีมี
อยู่ และเตรียมพร้อมรับลูกสตั วท์ ี่จะเพิม่ ข้ึน ความแออดั ภายในคอกมผี ลต่อการเจริญเติบโตของสตั ว์
ควรมสี ่วนที่จะใหส้ ตั วไ์ ดเ้ ดนิ เล่นหรือออกกาลงั กาย

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 53

ภาพที่ 4.1 โรงเรือนโคเน้ือ
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

4.โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างในฟาร์มโคเนื้อและกระบือ
โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างมีความจาเป็นในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือเนื่องจามีผลต่อการ

เจริญเติบโตของสตั ว์
4.1 ประเภทของโรงเรือนเล้ยี งสตั ว์
โรงเรือนเล้ยี งสตั วแ์ บ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ
4.1.1 โรงเรือนรวม เป็นเรือนหลงั เดี่ยวที่ยาวมากภายในก้นั เป็นตอน

สาหรับแบ่งสตั วไ์ วต้ ามพนั ธุ์ หรือขนาดของสตั ว์ จุสตั วไ์ ดเ้ ป็นจานวนมากราคาค่อนขา้ งถกู กว่าชนิด
อ่นื แต่สตั วจ์ ะเกดิ โรคไดง้ ่าย

4.1.2 โรงเรือนเด่ียว คลา้ ยกบั ประเภทแรกแต่ส้นั แยกกนั อยเู่ ป็นหลงั ๆ จุ
สตั วไ์ ดน้ อ้ ย ราคาแพง แต่ลดอนั ตรายจากการตดิ โรคไดด้ ี

4.1.3 เรือนเดี่ยวเคลื่อนท่ีได้ เป็นแบบเดียวกบั ประเภทที่ 2 แตกต่างกนั
ตรงท่ีไมไ่ ดฝ้ ังเสาลงดินมขี นาดพอเหมาะท่ีจะเคลอ่ื นที่ ( สมชาย,2557 )

4.2 แบบของโรงเรือนเล้ยี งสตั ว์
4.2.1 โรงเรือนจาแนกตามลกั ษณะของหลงั คาของโรงเรือน แบ่งออกไดเ้ ป็น 5 แบบ
4.2.1.1 แบบเพงิ หมาแหงน
4.2.1.2 แบบเพงิ หมาแหงนกลาย
4.2.1.3 แบบหนา้ จว่ั
4.2.1.4 แบบหนา้ จว่ั สองช้นั กลาย
4.2.1.5 แบบหนา้ จว่ั สองช้นั ( สุวิทย,์ 2536 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 54

ภาพ 4.2 โรงเรือนแบบต่างๆ
ที่มา :http://www.nsru.ac.th/e-learning/animals/lesson5_1.php
4.3 ส่วนประกอบที่สาคญั ของโรงเรือน
ส่วนประกอบที่สาคญั ของโรงเรือนโคเน้ือและกระบือ ประกอบดว้ ย
4.3.1 ร้ัว การเล้ยี งสตั วจ์ าเป็นตอ้ งมรี ้ัว ป้องกนั สตั วอ์ อกไปทาลายพชื ผล
ทางการเกษตรของผอู้ ่นื ยงั เป็นการรักษาสตั วใ์ หอ้ ยใู่ นอาณาเขตที่กาหนดและเพอ่ื ความปลอดภยั ของ
สตั วเ์ ล้ียงจากขโมยผรู้ ้าย ร้ัวแบ่งได้ 2 ประเภทไดแ้ ก่
4.3.1.1 ร้ัวชั่วคราว หมายถึง ร้ัวที่ทาข้ึนเพ่ือใช้ประโยชน์ชั่ว
ระยะเวลาหน่ึงเท่าน้ัน วสั ดุที่ใชอ้ าจจะหาไดใ้ นทอ้ งถ่ิน และเป็ นวสั ดุไม่คงทน เช่น ร้ัวไฟฟ้า ไมไ้ ผ่
หรือไมเ้ ลก็ ๆ ตีก้นั อาณาเขตเป็นคร้ังคราว

ภาพที่ 4.3 ร้ัวแบบชว่ั คราวทาจากไมไ้ ผ่
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 55

4.3.1.2 ร้ัวถาวร หมายถงึ ร้ัวท่จี ดั ทาข้ึนเพื่อใชป้ ระโยชน์อนั
ยาวนาน อาจจะใชเ้ สาไมจ้ ริงหรือคอนกรีต ร้ัวลวดหนาม

ภาพที่ 4.4 ร้ัวแบบถาวร
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

4.1.2 พ้ืนคอก
พ้นื คอกในฟาร์มสตั ว์ แบ่งออกเป็น ดงั น้ี
4.1.2.1 พ้นื ไม้ ควรใชไ้ มท้ ่ีผา่ นการอดั น้ายาภายใตค้ วาม

ดนั สูงไมป้ ระเภทน้ีไมผ่ งุ ่าย เพราะมีน้ายาอยใู่ นเน้ือไมพ้ ้ืนคอกควรอดั ใหแ้ น่นอยา่ ใหม้ ีร่องตรงรอยต่อ
ของเน้ือไม้ ถา้ มีร่องควรอดั ดว้ ยน้ามนั ดิบหรือยางแอสฟัลต์

4.1.2.2 พ้นื คอนกรีต มขี อ้ ดี คือ มคี วามคงทนถาวร ทา
ความสะอาดและฆ่าเช้ือโรคไดง้ ่าย ขอ้ เสีย คือสตั วจ์ ะเกิดรอยถลอกหรือบาดแผลจากพ้ืนคอกคอกโค
ท่ีพ้ืนทาดว้ ยคอนกรีต รางหญา้ ก็ควรใชว้ สั ดุอยา่ งเดียวกนั รางรองอจุ จาระโคควรใหก้ วา้ งพอท่ีจะรอง

อุจจาระไดต้ ลอด 24 ชว่ั โมง
4.1.2.3 พ้ืนคอกดิน ควรบดอดั ใหแ้ น่นก่อนที่จะนาฝงู

สตั วเ์ ขา้ ไปเล้ียงเพอ่ื หลกี เลย่ี งความช้ืนแฉะในคอกสตั ว์ ( ดารงและคณะ,2546 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 56

ภาพท่ี 4.5 พ้นื คอกแบบพ้ืนดิน
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )
4.4 โรงเรือนที่จาเป็นในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ ประกอบดว้ ย
4.4.1 คอกพกั แม่พนั ธุ์

การเล้ยี งโคเน้ือและกระบือในประเทศไทยส่วนใหญ่นิยมเล้ียงแบบปล่อย
แทะแลม็ ในแปลงหญา้ ตอนกลางวนั เน่ืองจากการเล้ยี งแบบตดั หญา้ ขนุ ใหก้ ินในคอกเป็นการ
สิ้นเปลืองค่าใชจ้ ่ายและแรงงาน คอกพกั โคสามารถออกแบบไดห้ ลายลกั ษณะข้ึนกบั จานวนสตั ว์
ลกั ษณะการใชง้ านอาจดดั แปลงเป็นคอกปฏิบตั ิการต่างๆ คอกพกั โคควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี

4.4.1.1 สภาพพ้นื ที่ควรอยทู่ ่ีสูงเป็นที่ดอน น้าไม่ทว่ ม พ้ืนคอกควร
เป็นพ้ืนดินหรือ พ้นื คอนกรีต ตอ้ งมคี วามลาดเทประมาณ 10 เปอร์เซน็ ต์ พ้นื คอนกรีตควรขดั หยาบ
หรือทาร่องป้องกนั โคลืน่

4.4.1.2 ขนาดพน้ื ที่ควรเหมาะสมกบั จานวนสตั วท์ ี่เล้ยี ง พ้นื ที่ท่ี
เหมาะสม 6-8 ตารางเมตรต่อตวั

4.4.1.3 ความยาวของคอกข้ึนอยกู่ บั จานวนโค ควรมีรางอาหาร
บริเวณหนา้ คอกและมพี ้ืนท่ีใหส้ ตั วท์ ุกตวั สามารถเขา้ กินอาหารไดพ้ ร้อมๆกนั รางอาหารควรมกี น้ ราง
โคง้ และลาดเท 2 เปอร์เซ็นต์ ไปทางดา้ นใดดา้ นหน่ึงของคอก มีความกวา้ ง 85 ถงึ 90 เซนติเมตร ส่วน
กน้ ลกึ 35 เซนติเมตรและมอี า่ งน้าอยทู่ า้ ยคอก

4.4.1.4 หลงั คากนั แดดและฝน หลงั คากวา้ งอยา่ งนอ้ ย 4 เมตรและ
มคี วามยาวตลอดคอก หลงั คาควรอยใู่ นแนวตะวนั ออกและตะวนั ตก หลงั คาควรสูงอยา่ งนอ้ ย 4 เมตร
พ้ืนที่นอกชายหลงั คากวา้ งอกี 8 เมตร ( รวมกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 12 เมตร )

4.4.1.5 แผงก้นั หนา้ คอกควรออกแบบใหโ้ คเขา้ กินอาหารได้
สะดวกป้องกนั การเหยยี บยา่ รางอาหาร การขวดิ กนั ขณะกนิ อาหารและการหลดุ รอดของโคขนาดเลก็

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 57

แผงก้นั รอบดา้ นควรสูงอยา่ งนอ้ ย 130 เซนติเมตร ก้นั ตามแนวนอนอยา่ งนอ้ ย 4-5 แนว แนวลา่ งสุดสูง
จากพ้ืน 30 เซนติเมตร

4.4.1.6 ประตูคอกควรกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 2 เมตรและอยใู่ นตาแหน่งที่
เหมาะสม ( สมิต,2551 )

4.4.2 คอกปฏบิ ตั ิการหรือคอกคดั
ฟาร์มโคเน้ื อขนาดใหญ่ เกือบทุกฟาร์มจะมีคอกปฏิบัติการ

เนื่องจากโคและกระบือเป็นสตั วใ์ หญ่และมกี าลงั มาก การจดั การดา้ นต่างๆ เช่น การผสมเทียม การฉีด
วคั ซีน การตอน การตีเบอร์ การคดั แยกและการตรวจสุขภาพ คอกปฏิบตั ิการควรประกอบไปดว้ ย
ส่วนต่างๆดงั ต่อไปน้ี

4.4.2.1 คอกรวบรวมโค ( Holding Pen or Crowding Pen ) เป็น
คอกพกั ชว่ั คราวเพือ่ รวบรวมโคพ้ืนคอก ควรเป็นพ้นื ดินหรือ พ้ืนคอนกรีต แนวคอกควรก้นั ตาม
แนวนอนอยา่ งนอ้ ย 4-5 แนวสูงไม่ต่ากว่า 150 เซนติเมตรป้องกนั โคกระโดด

4.4.2.2 คอกปากแตร ( Funnel Pen ) และประตู ( Swing Door )
เป็นคอกตรงกลางท่ีอยรู่ ะหว่างคอกรวมและซองเรียงเดี่ยวใชแ้ ยกโคบางตวั ออกจากฝงู โคท้งั หมดโดย
อาศยั ประตูที่แกวง่ ไดเ้ พื่อช่วยกวาดตอ้ นโค

4.4.2.3 ซองเรียงเด่ียว ( Chute ) เพื่อไล่ต้อนโค ( Single File ) ตวั
ซองจะทาช่องทางเดินเป็นรูปตวั วี (V) ดา้ นบนกวา้ ง ดา้ นล่างแดบ เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หโ้ คกลบั ตวั บนตวั
ซองจะมีตะแกรงเหล็กท่ีถูกยึดเอาไวด้ ้วยสายโซ่ท่ีสามารถปรับระดบั ข้ึนลงตามความสูงของโคติด
เอาไวเ้ ป็ นช่วงๆ เพ่ือคอยกนั โคเดินถอยหลงั ตวั ซองควรมีความกวา้ ง 60 เซนติเมตร สูง 140 – 150
เซนติเมตร สามารถใชไ้ ดก้ บั โคที่มีน้าหนักถงึ 500 กิโลกรัม โครงสร้างของซองควรมีความแข็งแรง
มากกว่าแผงคอก

4.4.2.4 ประตูหนีบคอ ( Head Gate ) หรือซองบังคับ ( Squeeze
Chute ) เป็ นอปุ กรณ์อยตู่ ่อจากซองเรียงเด่ียวมที ้งั แบบมาตรฐานสาเร็จรูปและแบบประยกุ ต์สร้างข้ึน
เองได้ คอยก้นั โคไม่ใหผ้ ่านออกจากซองและใชห้ นีบคอบงั คบั ใหโ้ คอยู่กบั ที่สาหรับจดั การดา้ นต่างๆ
เช่น ฉีดยา ทาแผล เจาะเลอื ด ตดั เขา ติดเบอร์หู สนตะพาย ผสมเทียม ตรวจทอ้ งและช่วยทาคลอดใน
กรณีคลอดยาก เป็นตน้ ประตูหนีบคอจะต้งั อยบู่ ริเวณตอนปลายสุดของซองบงั คบั โดยส่วนปลายของ
ซองท่ีเช่ือมต่อกบั ประตูหนีบคอตอ้ งแข็งแรงทนต่อแรงดนั แรงกระแทก ควรทาใหท้ ึบ แต่มกั จะนิยม
ทาเป็ นแบบแผงคอก ดา้ นท้ายของซองบงั คบั ควรมีช่องสาหรับสอดท่อนเหล็กหรือท่อนไม้ไวท้ ี่
ส่วนทา้ ยเพ่ือป้องกนั โคเตะขณะปฏบิ ตั ิงาน

4.4.2.5 โต็ะตีเบอร์ ( Branding Table ) ใช้สาหรับการตีเบอร์ข้าง
ติดเบอร์หู ตดั เขา ตอน ฉีดยาและทาวคั ซีน มกี ารทางานคลา้ ยกบั ประตูหนีบคอ แต่จะมคี วามแตกต่าง
ท่ีหลงั จากหนีบคอโคเแลว้ ตวั ซองส่วนปลายกบั ประตูหนีบคอสามารถพบั ลงนอนให้อยูใ่ นท่านอน

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 58

ตะแคง มคี วามสะดวกปลอดภยั กวา่ การลม้ โคดว้ ยวิธีคลอ้ งเชือกโดยจะต้งั อยดู่ า้ นใดดา้ นหน่ึงขา้ งซอง
หลกั มซี องแยกออกมาจากซองหลกั ท่ีเชื่อมต่อกบั ประตูหนีบคอหรือซองบงั คบั บริเวณทางแยกจะทา

ประตูเบี่ยงเอาไวค้ อยบงั คบั โคใหเ้ ขา้ ไปในซองที่ตอ้ งการ

4.4.2.6 ประตูสามเหลี่ยม เป็ นการนาลูกกรงส่ีเหล่ียมจานวน 3

แผงมาประกอบดา้ นกวา้ งติดกนั ข้ึนเป็นโครงสามเหลีย่ มหนา้ จวั่ วางตวั ในแนวนอนถดั จากประตูหนีบ
คอเลก็ นอ้ ย สามารถเปิ ดเบี่ยงซา้ ย ขวา ทาหนา้ ที่คดั แยกโคไปตามช่องหรือคอกตามตอ้ งการ

4.4.2.7 เครื่ องช่ังน้ าหนัก มีท้ังแบบเป็ นเข็มแสดงตัวเลขบน
หน้าปัดวงกลม แบบเล่ือนปรับตุม้ น้าหนักและแบบแสดงผลเป็ นตวั เลขดิจิตอล โครงสร้างทาจาก
เหลก็ กลา้ มปี ระตูบานเล่ือนอยทู่ ี่ส่วนหวั กบั ทา้ ย สามารถชงั่ น้าหนกั ไดถ้ งึ 1,000 กิโลกรัมหรือมากกว่า
มีท้งั แบบติดลอ้ สาหรับใช้เคลื่อนท่ีหรือจะติดต้งั แบบถาวร ถา้ ไม่ตอ้ งการติดต้งั เครื่องช่ังน้าหนักก็
สามารถใชส้ ายวดั ขนาดความยาวรอบอกโคสาหรับคานวณน้าหนกั

4.4.2.8 ทางข้ึนรถ ( Loading Chute ) ควรสร้างใหอ้ ยถู่ ดั จากเคร่ือง
ชงั่ น้าหนกั เล็กนอ้ ย ตอนปลายของซองให้ยกระดบั เป็ นทางลาดสูงข้ึนไปเพอื่ ให้โคสามารถข้ึนรถได้
สะดวก และควรทาประตูบานเลื่อนก้นั บริเวณปากทางที่รถจะมาเทียบเพ่ือป้องกนั โคพลดั ตกขณะที่
รถยงั ไม่เขา้ เทียบหรือป้องกนั โคว่งิ ยอ้ นกลบั เขา้ มายงั ซองหรือถอยกลบั เขา้ ไปในรถ

ภาพท่ี 4.6 ซองบงั คบั โค
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

4.4.3 คอกขนุ
คอกขุนอาจเป็นคอกแบบขงั เด่ียวหรือขงั รวม พ้ืนท่ีคอกขุน สาหรับ

โคน้าหนักนอ้ ยกว่า 250 กิโลกรัมควรใชพ้ ้ืนที่ไม่น้อยกวา่ 8 ตารางเมตรต่อตวั โคน้าหนักขนาด 250
ถึง 550 กิโลกรัม ไม่นอ้ ยกว่า 10 ตารางเมตรต่อตวั และโคน้าหนักเกินกว่า 550 กิโลกรัมใชไ้ ม่นอ้ ย
กว่า 12 ตารางเมตรต่อตัว คอกขุนควรเรียงเป็ นแถวเพื่อประหยดั การสร้างร้ัวก้ันคอก ประตูควร

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 59

สะดวกในการใชเ้ คร่ืองจกั รกล ประตูดา้ นหน้ากวา้ งประมาณ 2.5-3.0 เมตร ประตูระหว่างคอกขุน
และช่องทางเดินควรเฉียงกบั แนวทางเดินในลกั ษณะกา้ งปลาเพ่ือให้โคและเครื่องจกั รกลในการ
ทางาน ประตูดา้ นหลงั น้ีควรกวา้ งประมาณ 3.6-4.5 เมตร ( เนติยะ,2554 )

ภาพที่ 4.7 คอกขุนโค
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

4.4.4 โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอ่ืนๆ
โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอ่ืนๆในการเล้ียงโคเน้ือ เช่น คอกลูกโค

หยา่ นม คอกพ่อพนั ธุ์ คอกแสดงโคท่ีมลี กั ษณะดี คอกโคเตรียมขาย คอกโคนอกแผนผสมพนั ธุ์ โกดงั
อาหาร สานกั งาน

ภาพที่ 4.8 แผนผงั ฟาร์มโคเน้ือ
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 60

5.อุปกรณ์ที่จาเป็ นในฟาร์มโคเนื้อและกระบือ
เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ แบ่งได้ 5 ประเภท ดงั น้ี
5.1 อปุ กรณก์ ารใหอ้ าหารและใหน้ ้า
การจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือและกระบือแบบปลอ่ ยเล้ยี งในแปลงหญา้ รางอาหารส่วน

ใหญ่เป็นรางปูน โคตอ้ งการรางอาหารยาว 50-65 เซนติเมตรต่อตวั อปุ กรณ์ในการใหอ้ าหารและให้
น้า เช่น รางอาหาร รางหญา้ อุปกรณ์การใหน้ ้า สอ้ มตกั หญา้ พลว่ั ตกั อาหาร ถงั ใหน้ มลกู โค เป็นตน้

5.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์การผสมเทียม
เป็นอุปกรณ์สาหรับการผสมเทียมกรณีท่ีไม่มกี ารใชพ้ อ่ พนั ธุค์ ุมฝงู เช่น ถงั บรรจุ

น้าเช้ือ ถงั บรรจุไนโตรเจนเหลว ปื นฉีดน้าเช้ือ ถุงมือพลาสติก พลาสติกชีท แซนนิทารีชีท เป็นตน้
5.3 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ทาคลอด
เป็นอปุ กรณ์สาหรับทาคลอดหรือช่วยคลอดกรณีคลอดยาก คลอดผดิ ปกติ เช่น ที่ถ่าง

ช่องคลอด เข็มขดั ช่วยในการคลอด เครื่องมือช่วยดึง ชุดผา่ ตดั ลูกโคตายในทอ้ ง เป็นตน้
5.4 เครื่องมือและอปุ กรณ์รีดนม
เป็นอปุ กรณ์สาหรับรีดนมกรณีการเล้ยี งเพอ่ื การบริโภคน้านม เช่น ชุดเคร่ืองรีดนม

ถงั บรรจุนม ถว้ ยตรวจน้านม จานทดสอบเตา้ นมอกั เสบ อปุ กรณ์รักษาเตา้ นมอกั เสบ เป็ นตน้
5.5 เครื่องมือและอุปกรณ์อ่นื ๆ
เป็นอปุ กรณ์อืน่ ๆท่ีใชใ้ นงานเล้ยี งโค เชน่ ที่เจาะกระเพาะโค คีมตอนสตั วใ์ หญ่ ห่วง

ใส่จมกู โค คีมดึงจมูกโค ที่ถา่ งปากโค ปรอทวดั ไขอ้ ณุ หภูมิสตั ว์ เครื่องตดั เขาโค คีมตดั เบอร์หูโลหะ
มีดแต่งกีบสตั ว์ เป็นตน้

อุปกรณ์เหล่าน้ีเป็ นสิ่งจาเป็ นที่จะตอ้ งมีอยู่ในโรงเรือนเล้ียงสัตว์ ควรจดั เก็บรักษาไวใ้ นที่
สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย พร้อมท่ีจะมาใชง้ านไดท้ นั ที ขณะเดียวกนั หลงั จากใชง้ านเสร็จแลว้ ควร
ทาความสะอาดและเก็บรักษาเขา้ ไวท้ ่ีเดิมเพื่อท่ีจะไดใ้ ชง้ านในคร้ังต่อไป อุปกรณ์ควรใชต้ ามชนิด
และประเภทของงานใหถ้ ูกตอ้ งไมค่ วรเอาเครื่องมือไปใชผ้ ดิ ประเภทจะทาใหเ้ กิดความเสียหายได้

6.ภาพประกอบอปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ฟาร์มโคเนือ้ และกระบือ

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 61

ภาพท่ี 4.9 รางหญา้ และรางอาหาร
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพที่ 4.10 อปุ กรณ์ใหน้ ้าอตั ิโนมตั ิ
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 62

ภาพที่ 4.11 อา่ งน้าโค
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพที่ 4.12 อุปกรณ์ในการโกยหญา้
ที่มา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 63

ภาพที่ 4.13 ถงั บรรจุน้าเช้ือ
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.14 ปื นผสมเทียม
ที่มา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 64

ภาพท่ี 4.15 Sanitary sheath
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.16 พลาสติกชีท
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 65

ภาพที่ 4.17 อปุ กรณ์ผสมน้าเช้ือสด ( Catetor )
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.18 ถุงมือผสมเทียม
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 66

ภาพท่ี 4.19 ท่ีถ่างช่องคลอดโค
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.20 เครื่องมือดึงช่วยคลอดโค
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 67

ภาพท่ี 4.21 อปุ กรณ์ช่วยคลอด
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.22 ชุดรีดนมแบบเคลอ่ื นท่ี
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 68

ภาพที่ 4.23 ชุดตรวจเตา้ นมอกั เสบเบ้ืองตน้ (Strip cup)

ภาพท่ี 4.24 ขวดน้ายาจุ่มเตา้ นม
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 69

ภาพที่ 4.25 ถงั บรรจุน้านมดิบ
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพท่ี 4.26 อปุ กรณ์ตรวจเตา้ นมอกั เสบ ( CMT Test )
ที่มา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 70

ภาพที่ 4.27 อปุ กรณ์กรอกแท่งแมเ่ หลก็
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพท่ี 4.28 แท่งแม่เหลก็
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 71

ภาพท่ี 4.29 เบอร์หูพลาสติก
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพท่ี 4.30 เบอร์หูโลหะ
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 72

ภาพที่ 4.31 คีมติดเบอร์หู
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

ภาพท่ี 4.32 อปุ กรณ์สกั เบอร์หู
ที่มา :อุษา ( 2557 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 73

ภาพท่ี 4.33 คีมจูงจมกู
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพที่ 4.34 ห่วงจมกู โค
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 74

ภาพท่ี 4.35 เหลก็ ถ่างปากโค
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.36 อุปกรณ์ทาเครื่องหมาย ชุดตีเบอร์เยน็
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 75

ภาพที่ 4.37 อุปกรณ์ทาเครื่องหมายชุดเหลก็ ตีเบอร์ร้อน
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

ภาพที่ 4.38 อปุ กรณ์ป้องกนั โคดดู นม
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 76

ภาพที่ 4.39 อุปกรณ์ตอนโค ( Burdizzo )
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพท่ี 4.40 อุปกรณ์ตอนโคกาแพงแสน
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 77

ภาพท่ี 4.41 อุปกรณ์เจาะกระเพาะโค
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

ภาพท่ี 4.42 คีมตดั เขาโค
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 78

ภาพที่ 4.43 ที่สูญเขาโคแบบไฟฟ้า
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพท่ี 4.44 เหลก็ ร้อนหา้ มเลอื ดที่สูญเขาโค
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 79

ภาพที่ 4.45 คีมเจาะจมูกโค
ที่มา :http:// www.giss.co.th/catalog/index.php?cPath=37

ภาพท่ี 4.46 อุปกรณ์ตดั ขนโค
ท่ีมา :http:// www.giss.co.th/catalog/index.php?cPath=37

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 80

ภาพท่ี 4.47 อุปกรณ์กรอกยาชนิดเมด็
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพท่ี 4.48 อปุ กรณ์กรอกยาชนิดน้า
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 81

ภาพที่ 4.49 อุปกรณ์ใหย้ าบริเวณกระเพาะรูเมน
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.50 ซองบงั คบั โค
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบอื 82

ภาพที่ 4.51 อุปกรณ์ป้องกนั โคเตะ
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพท่ี 4.52 มีดแต่งกีบ
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ยี งโคเน้ือและกระบือ 83

ภาพที่ 4.53 อุปกรณ์บงั คบั ขาโค
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

ภาพที่ 4.54 อปุ กรณ์บงั คบั โคประกวด
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบอื 84

ภาพที่ 4.55 สายวดั ประมาณน้าหนกั
ท่ีมา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 4.56 Marking
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 85

ภาพที่ 4.57 เคร่ืองควบคุมร้ัวไฟฟ้า
ท่ีมา :อษุ า ( 2557 )

ภาพท่ี 4.57 เครื่องช่วยจบั การเป็นสดั
ที่มา :อษุ า ( 2557 )

หน่วยที่ 4 โรงเรือนและอปุ กรณ์ในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือ 86

สรุป
1.มาตรฐานฟาร์มโคเน้ือ โดยสานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวง

เกษตรและสหกรณ์กาหนดมาตรฐานในการทาฟาร์มโคเน้ือตอ้ งมีการข้ึนทะเบียนฟาร์มและทะเบียน
เกษตรกรกับหน่วยงานท่ีรับผิดชอบและมีหลกั การปฏิบตั ิทางการเกษตรท่ีดีสาหรับฟาร์มโคเน้ือ
จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบใน 4 ดา้ น คือ ดา้ นองค์ประกอบของฟาร์มโคเน้ือ ดา้ นการจดั การฟาร์ม ดา้ น
สุขภาพสตั วแ์ ละดา้ นส่ิงแวดลอ้ มในฟาร์ม

2.หลกั พิจารณาในการต้งั ฟาร์มโคเน้ือและกระบือท่ีสาคญั คือ ลกั ษณะของกิจการ เป็ นแบบ
ขนุ ขงั คอกหรือเล้ียงแบบปล่อยธรรมชาติ ลกั ษณะของภูมิประเทศท่ีจะสร้างโรงเรือน ลกั ษณะของ
พนั ธุส์ ตั ว์ สตั วส์ ายพนั ธุย์ โุ รปหรือแถบท่ีมีอากาศหนาวลกั ษณะของโรงเรือนกแ็ ตกต่างจากสายพนั ธุ์
ท่ีมาจากเขตร้อนเพ่ือใหส้ ตั วไ์ ดอ้ ยอู่ ยา่ งสบาย จานวนสตั วท์ ี่เล้ียงใชใ้ นการคานวณขนาดของโรงเรือน
และวสั ดุก่อสร้างและแรงงานในทอ้ งถ่ินเพ่ือใชใ้ นการจดั ทางบประมาณ

3.ลกั ษณะโรงเรือนท่ีดีในการเล้ียงโคเน้ือและกระบือมีลกั ษะคือแข็งแรงทนทานมีขนาด
พอเหมาะกบั จานวนสัตว์ มที ่ีเก็บอาหารมีวตั ถุรองพ้นื ตลอดจนอุปกรณ์ที่จาเป็ นที่ใชใ้ นโรงเรือน มีท่ี
คลอดลกู และที่พกั ของลูกสตั ว์ ถูกหลกั สุขาภิบาล ควรไดร้ ับแสงแดดท้งั เชา้ และบ่าย มกี ารระบายมูล
สตั วด์ ีและมีบ่อพกั มูลสตั วอ์ ยนู่ อกคอก และโรงเรือนควรอยใู่ กลแ้ หล่งน้าท่ีสะอาด มีเน้ือที่ภายในคอก
พอเหมาะกบั จานวนสตั ว์ มสี ่วนท่ีจะใหส้ ตั วไ์ ดเ้ ดินเลน่ หรือออกกาลงั กาย

4.โรงเรือนและส่ิงก่อสร้างในฟาร์มโคเน้ือและกระบือที่จาเป็นประกอบดว้ ย คอกพกั คอก
ปฏบิ ตั ิการ คอกขนุ และโรงเรือนอืน่ ๆ เช่น คอกลกู โคหยา่ นม คอกพอ่ พนั ธุ์ คอกโคเตรียมขาย คอกโค
นอกแผนผสมพนั ธุ์

5.ชนิดของอุปกรณ์ที่ใชใ้ นโคเน้ือและกระบือจาแนกเป็ น 5 ประเภท คืออุปกรณ์ให้น้าและ
อาหาร อุปกรณ์ผสมเทียม อุปกรณ์ในการรีดนม อปุ กรณ์ในการทาคลอดและอปุ กรณ์อ่ืนๆ เช่น คีม
ตอนสัตวใ์ หญ่ ที่เจาะกระเพาะโค ห่วงใส่จมูกโค คีมดึงจมูกโค ท่ีถ่างปากโค ปรอทวดั ไข้ เครื่องตดั
เขาโค คีมตดั เบอร์หูโลหะและมดี แต่งกีบสตั ว์ เป็นตน้


Click to View FlipBook Version