The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการบูรณาการของ Fogarty (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noobenz_lovelove, 2022-04-09 10:50:21

รูปแบบการบูรณาการของ Fogarty (1)

รูปแบบการบูรณาการของ Fogarty (1)

INTEGRATION
FOGARTH

Ten Ways to Lntegrate curriculum

นางสาวพัชรินทร์ สำราญ

ศาสตร์การสอนกับการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน Dr. Robin Fogarty
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี

คำนำ

การเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงเนื้ อหาสาระทั้งหลาย
เข้าด้วยกันอย่างมีความหมาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง อีกทั้งการบูรณาการหลักสูตรยังเป็นวิธีการสร้างการศึกษาให้มี
ความหมายยิ่งขึ้นด้วย

การบูรณาการหลักสูตรเพื่อใช้ในการสอนแบบบูรณาการ มีลักษณะและวิธีการที่แตกต่างกันไป และมีความเหมาะสมกับการสอน
ในระดับชั้นต่างกัน Fogarty (2002) ได้เสนอวิธีการบูรณาการหลักสูตรที่นำตนใจและง่ายต่อการพัฒนาไว้ 10 รูปแบบ ดังนี
1. Fragmented 2. connected. 3. Nested. 4. Sequenced. 5. Share. 6. Webber. 7. Threaded. 8. Integrated. 9. Immersed.
10. Networked.

ผู้จัดทำ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่ งของการศึกษาเรื่อง การบูรณาการของ Fogarty กระบวนการบูรณาการ10 รูปแบบ เป็นต้น เพื่อ
ให้นั กศึกษาและผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้ามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการของ Fogarty มากยิ่งขึ้น

หนั งสือเล่มนี้ จึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในชีวิตประจำวันในปัจจุบันนี้ ผู้จัดจึงได้รวบรวมข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับ
กระบวนการบูรณาการ10 รูปแบบของ Fogarty เพื่อหวังว่าหนั งสือออนไลน์ (e-book) จะเป็นแหล่งความรู้สำหรับที่ผู้สนใจ
ไม่มากก็น้ อย

พัชรินทร์ สำราญ
( ผู้เขียน)

นั กศึกษา สาขาหลักสูตรและการสอน
รายวิชา ศาสตร์การสอนกับการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่

อาจารย์ที่ปรึกษา
รศ. ดร. สริตา บัวเขียว
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี

การบูรณาการของ สารบัญ
Fogarth
หน้ า
ความหมาย การบูรณาการ 1
รู ปแบบการบูรณาการ 2
ประวัติ Dr. Robin Fogarth 4

รูปแบบ การบูรณาการของ Fogarth 5
รูปแบบ Fragmented 6
รูปแบบ connected 9
รูปแบบ Nested 11
รูปแบบ Sequenced 14
รูปแบบ Share 16
รูปแบบ Webber 19
รูปแบบ Threaded 25
รูปแบบ Integrated 28
รูปแบบ Immersed. 31
รูปแบบ Networked. 33
34
บรรณานุกรม

การบูรณาการของ
Fogarth 1

ความหมายการบูรณาการ

การบูรณาการหมายถึง การเชื่อมโยงความรู้ หรือเนื้ อหาสาระ ที่ใกล้เคียงกัน หรืออยู่ในขอบเขตเดียวกัน โดย
กำหนดหัวข้อใหญ่หนึ่ งหัวข้อให้เป็นหลักในการนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกันเพื่อให้ผู้เรียนได้ช่วงเวลาเดียวกันในการเรียนรู้
หลายๆสิ่งไปพร้อมกัน (นางสาวศิริพรรณ ไชยา และคณะ. (2561:63)

การเชื่อมโยงองค์ความรู้ในนศาสตร์สาขาวิชาต่างๆตั้งแต่2 ศาสตร์ขึ้นไปที่มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันมา
จัดกระทําให้เป็นเนื้ อเรื่องเดียวกันจนเกิดการเรียนรู้ที่กว้างขวางและครอบคลุมความรู้ทั้งสามด้านคือพุทธิพิสัย ทักษะ
พิสัย และจิตพิสัย และสามารถนํ าความรู้นั้ นไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างเหมาะสม (อุสมาน, สารีนลิณีย์, อูมูดี
2558:12)




ลักษณะและรูปแบบของการบูรณาการหลักสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามีวิธีการดำเนิ นการเนื้ อหาวิชาต่างๆเข้าด้วยกันได้หลายวิธี
มีทั้งแบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันบูรณาการระหว่างสาระการเรียนรู้แลบูรณาการจากความคิดของผู้เรียนเองการ
เลือกใช้รูปแบบใดนั้ นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้ อหาสาระความคิดรวมยอด เจตคติ และทักษะที่ต้องการเน้ น ซึ่งผู้สร้างหลักสูตร
บูรณาการจะต้องรู้เนื้ อหาสาระของหลักสูตรแล้วพิจารณาเลือกรูปแบบใช้ให้เหมาะสม (สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ ,ม.ป.ป.)

สรุปความหมายของบูรณาการหมายถึงการเชื่อมโยงองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปเกี่ยวข้องและ
สัมพันธ์กันมาจัดกระทำให้เป็นเนื้ อเรื่องเดียวกันแจ้งเกิดความรู้ที่กว้างขวางครอบคลุมรวมไปถึงด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย
และสามารถนำความรู้นั้ นไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

การบูรณาการของ
Fogarth 2

รู ปแบบการบูรณาการ

รูปแบบที่ 1.

การบูรณาการภายในกลุ่มวิชา
หรือสาขาวิชาเดียวกัน

รูปแบบที่ 2.

การบูรณาการระหว่างวิชา

การบูรณาการของ รู ปแบบการบูรณาการ

Fogarth 3. รูปแบบการบูรณาการการสอนแบบบูรณาการ

มีแนวทางในการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอน 2 ประเภทดังนี้

1. การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้

เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเชื่อมโยงสัมพันธ์ภายในกตุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน มุ่งให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง
แนวคิด ทักษะ และความคิดรวบยอดของเนื้ อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ ง การสอนแบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้เดียวกัน มักนิ ยมจัดในการสอนภาษา รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการรัหนั งถือ หรือการอ่านออกเขียนใด้ การบูรณาการดัง
กล่าว เป็นกระบวนการพัฒนาความคิดจากการเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างการฟัง การดู การพูด การอ่าน และการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ที่
หลากหลาย การสอนในลักษณะนี้ จะมีผลทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์
ความรู้ที่จะนำไปสู่ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมหรือโลกรอบตัวได้

2. การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้

การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเรียกว่าการบูรณาการแบบสหวิทยาการเป็นการรวมศาสตร์ต่าง ๆ
ภายใด้หัวข้อเรื่องเดียวกัน เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ครอบคลุมโดยใช้ทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์หรือองค์
ความรู้ต่าง ๆ ตั้งแต่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ขึ้นไปเพื่อการแก้ปัญหาหรือแสวงหาความรู้ความเข้าใจ แนวคิด ในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ งที่ต้องการ ในการปฏิบัติกิจกรรมแบบบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนจะนำความรู้และประสบการณ์
พื้นฐานเดิมของตนมาใช้ร่วมกัน ในการสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงความรู้ใหม่ต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเข้าใจในเรื่องนั้ น ๆ
และรู้ถึงการที่จะต้องปรับเปลี่ยนแนวคิด ความรู้เดิมต่าง ๆ ไปสู่ความรู้หรือแนวคิดใหม่ การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการ
เรียนรู้จะช่วยในการเชื่อมโยงความคิดรวบยอดต่าง ได้มากกว่าการบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียน นั กเรียนสามารถ
เชื่อมโยงความคิดรวบยอดคิ้วยวิธีการที่หลากหลายเป็นวิธีการที่สมบูรณ์มากที่สุด และในการสร้างเครือข่ายความคิดรวบ
ยอดภายได้หัวเรื่องที่กำหนดนี้ ควรวางแผนการจัดกิงกรรมแตะโครงงานด่ง ๆ ไปพร้อม ๆ กันด้วย

การบูรณาการของ
Fogarth 4.

ประวัติ ของ Dr. Robin Fogarty

Dr Robin Fogarty

President of RFA: A Robin Fogarty Company, a Chicago-based,
minority-owned,educational publishing/consulting company,
Robin received her doctorate in curriculum and human
resource development from Loyola University of Chicago.
A leading proponent of the thoughtful classroom,
Robin has trained educators throughout the world in curriculum, instruction and assessment strategies.

She has taught at all levels, from kindergarten to college, served as an administrator, and consulted with state
departments and ministries of education in the United States, Puerto Rico, Russia, Canada, Australia, New Zealand,
Germany, Great Britain, Singapore, Korea and the Netherlands.

Robin has published articles in Educational Leadership, Phi Delta Kappan and the Journal of Staff Development. She
is the author of numerous publications, including Brain-Compatible Classrooms, Literacy Matters, Ten Things New Teachers
Need, How to Integrate the Curricula, The Adult Learner, A Look at Transfer, Close the Achievement Gap, Twelve Brain
Principles, Nine Best Practices, and From Staff Room to Classroom: Planning and Coaching Professional Learning.

Robin received her Bachelor of Arts in Early Childhood Education at SUNY, Potsdam, NY, and her Masters in
Instructional Strategies from National Louis University in Evanston, IL.

การบูรณาการของ
Fogarth 5.

รูปแบบ การบูรณาการของ Fogarty



การบูรณาการหลักสูตรเพื่อใช้ในการสอนแบบบูรณาการ มีลักษณะและวิธีการที่แตกต่างกันไป และมีความเหมาะสมกับ
การสอนในระดับชั้นต่างกัน Fogarty (2002) ได้เสนอวิธีการบูรณาการหลักสูตรที่นำตนใจและง่ายต่อการพัฒนาไว้ 10 รูปแบบ
ดังนี

การบูรณาการของ Fragmented Fragmented
Fogarth 6.


1.
DESCRIPTION
เป็นการมองเหมือนกับกล้องส่ องดูเหนื อผิวน้ำ
Separate and distinct disciplines

ADVANTAGE

Clear and discreet view of a discipline

DISADVANTAGE

Connections are not made clear for
students; less transfer of learning

เป็ นการมองหนึ่ งทิศทาง มองเฉพาะจุด
เ ห มื อ น กั บ ร า ย วิ ช า เ ดี ย ว กั น

เป็นการบูรณาการเนื้ อหาสาระในวิชาเดียวกัน
โดยสั มพันธ์ต่อเนื่ องกันในลักษณะของการ
เรียงลำดับหัวข้อตามความเหมาะสม

การบูรณาการของ Fragmented
Fogarth 7.


รูปแบบ Cellular หรือ Fragmented

เป็นวิธีการบูรณาการเนื้ อหาสาระกายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันโดยสัมพันธ์ต่อเนื่ องกันในลักษณะการเรียงลำคับหัวข้อตามความ
เหมาะสม เช่น เรียงลำดับจากเรื่องที่ง่ายไปหายาก เรื่องที่มีความซับซ้อนน้ อยไปหาเรื่องที่ซับซ้อนมากขึ้น หรือเรียงลำดับจากเรื่องที่ต้อง
เรียนก่อนเป็นพื้นฐานไปหาเรื่องที่สัมพันธ์ต่อเนื่ องกันยากขึ้นแลกว้างขวางขึ้น ในการสอนจะสอนตาม หัวข้อที่กำหนด เมื่อจบหัวข้อหนึ่ งก็
ขึ้นหัวข้อใหม่ต่อไป แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้จะขัดสอนแบบเยกกันโดยไม่มีการเชื่อมโยงหรือบูรณาการเข้าด้วยกัน ทุกกลุ่มสาระการเรียน
รู้มีจุดยืนของตนเอง อย่างชัดเจน และมีมาตรฐานเนื้ อหาที่ชัดเขน แม้จะมีการคาบเกี่ยวกันบ้าง เช่น เนื้ อหาฟิสิกส์และเคมีในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 2 จะเป็นแบบแฝงกันอยู่แต่ไม่แจ่มชัด แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้อาจจะสอนโดยครูแต่ละคน
แยกกันไป จัดตารางสอนแยกเป็นชั่วโมงและโดยทั่วไปจะเนั้ นที่กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก 4 กลุ่ม ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

การจัดการเรียนการสอนแบบ Cellular หรือ Fragmenited มักนิ ยมสอนในโรงเรียนทั่ว ๆไป หรือโรงเรียนขนาดใหญ่ ๆ ที่มีนั กเรียน
จำนวนมาก ๆ และแตกต่างกัน เพราะโรงเรียนสามารถเสนอรายวิชาที่หลากหลายให้แก่ผู้เรียนได้อย่างชัดเจน โดยส่วนใหญ่มักสอนใน
มหาวิทยาลัย ซึ่งมีนั กศึกษาต้องการศึกษาความรู้ให้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่ งโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ยังมีประโยชน์ ต่อครูในการเตรียมการ
สอนว่าต้องการเน้ นที่จุดใด และจะจัดเนื้ อหาให้สมบูรณ์เพียงใด

การบูรณาการของ Fragmented
Fogarth 8.


ตัวอย่าง
การบูรณาการรูปแบบ Cellular หรือ Fragmented

ข้อดีของรูปแบบ Cellular หรือ Fragmented

กลุ่มสาระ สาระ สาระการเรียนรู้ หมายเหตุ เนื้ อหาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีความชัดเจน ครู
การเรียนรู้
1.ชนิ ดและหน้ าที่ของคำ ชั้น ป.5
2.ชนิ ดและหน้ าที่ของกลุ่มคำ เตรียมการสอนคล้ายกับเป็นผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มสาระนั้ น ๆ ครู
ชั้น ป.4
ในประโยค มีโอกาสตอนได้ลุ่มลึกและกว้างเท่าที่ต้องการได้ ให้โอกาสใน
3. ส่วนขยายของประโยค
4. การใช้คำและประโยคในการ การจัดการเรียนการสอน และสะดวกในการประเมินผล ครู

ภาษาไทย สาระที่ 4 สื่ อสาร สามารถจัดลำดับของเนื้ อหาสาระได้ง่าย นั กเรียนมีความ
หลักการใช้ภาษา
1.การสังเกต การสืบค้นข้อมูล ตระหนั กในประโยชน์ ของการทำงานร่วมกับครู
และการอภิปรายเกี่ยวกับ
โครงสร้างของส่ วนประกอบ ข้อจำกัดของรูปแบบ Cellular หรือ Fragmented
ของพืช
วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 รูปแบบนี้ มีข้อจำกัดที่สำคัญ 2 ประการ คือนั กเรียนขาด
สิ่ งมีชีวิตกับ 2.การสำรวจ การสังเกต ส่วน การใช้แหล่งข้อมูลในการเชื่อมโยง หรือบูรณาการความคิด
กระบวนการดำรง ประกอบของดอกและการ รวบยอดที่คล้ายคลึงกันและความดิดรวบยอด ทักษะ หรือเจต
ชีวิต สืบค้นข้อมูลหน้ าที่ของดอก คดิที่คาบเกี่ยวกันไม่ทำให้เกิดความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งแก่
นั กเรียน ไม่เกิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ไปใช้ในสถานการณ์
3. การทดลองและอ๓ปราย ต่าง ๆ อีกทั้งครูมักจะสั่งให้นั กเรียนทำงานมากเกินไป
เกี่ยวกับการเจริญเคิบโตของ
พืช

4. การสำรวจตรวจสอบเกี่ยว
กับการสั งเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช

5. การอธิบายและเขียน
แผนภาพการเปลี่ยนแปลง
ของพืชตั้งแต่ต้นอ่อนจนมีผล

การบูรณาการของ Connected
Fogarth 9.
DESCRIPTION
2. Connected
Topics within a disipline
เปรียบเสมือนอุปรากรแห่งแก้ว

ADVANTAGE

Key concepts are connected, leading to the
review, re-conceptualization and
assimilation of ideas within a discipline

DISADVANTAGE

Disciplines are not related; content focus
remains within the discipline

ในรายวิชาวิชาหนึ่ งๆเนื้ อหารายวิชาสั มพั นธ์กับ
หั วข้ อ แนวคิ ด สู่ แนวคิ ดหนึ่ งเป็ นลำดับ

บูรณาการเนื้ อหาสาระภายในเนื้ อหาของแต่ละวิชา
เชื่อมโยงหัวข้อหรือเชื่อมโยงความคิดต่างๆให้
สั มพันธ์กัน

การบูรณาการของ Connected
Fogarth 10.

เป็นวิธีการบูรณาการเนื้ อหาสาระภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่นเดียวกันกับรูปแบบที่ 1 แต่ในการสอนมีการเชื่อมโยงหัวข้อหรือความ
คิดรวบยอดถึงกัน เชื่อมโยงความคิดต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กันเชื่อมโยงจากหัวข้อหนึ่ ง ไปยังอีกหัวข้อหนึ่ ง ทำให้เห็นความต่อเนื่ องหรือเกี่ยวข้อง
กันของเนื้ อหาที่เรียนในหัวข้อต่าง ๆ เช่น สอนเรื่องเศษส่วนให้สัมพันธ์กับเรื่องทศนิ ยม แล้วเชื่อมโยงต่อด้วยเรื่องเงิน หรืออาจจะมีการสอน
หัวข้อย่อย ๆ เพื่อเชื่อมโยง 2 หัวข้อใหญ่ให้ต่อเนื่ องกันรูปแบบนี้ เป็นการสอนที่ตั้งใจเชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้มาก
กว่าการหวังให้นั กเรียนเข้าใจการเชื่อมโยงเองโดยอัตโนมัติหรือโดยบังเอิญ นั กเรียนจะต้องมีความตระหนั กในการเรียนเพื่อจะได้เกิดความ
เข้าใจเนื้ อหาสาระที่ครูสอน

ตัวอย่าง การบูรณาการรูปแบบ Connected ข้อดีของรูปแบบ Connected

วิทยาศาสตร์ สังคมศึ กษา ศาสนาและ เป็นการเชื่อมโยงความคิดเห็นภายในเนื้ อหาสาระ

วัฒนธรรม นั กเรียนจะสามารถเห็นภาพใด้ดีตามจุดเน้ นที่ต้องการ ใน

ขณะเดียวกันนั กเรียนสามารถเข้าใจความคิดรวบยอดด้วย
สุภาพอนามัย วัฒนธรรม ตนเองทำให้นั กเรียน ได้ทบทวนการสร้างความคิด


รวบยอดและซึมชาบความคิดที่ละเล็กทีละน้ อย และทำให้
การขัดแย้ง การเชื่อมโยงสะดวกมากขึ้น รูปเเบบ Connsetad นี้ เป็น
การดูแลสุขภาพ
บันไดขั้นแรกของการบูรณาการหลักสูตร ครูจะรู้สึก

มีความมั่นใจในการมองหาความสั มพันธ์ของหัวข้อภายใน
การขยายตัวของโลกสมัยใหม่ กตุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
ความสัมพันธ์ของคนกับสิ่ งแวดล้อม
ข้อจำกัดของรูปแบบ Connected
จากตัวอย่างกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หัวข้อที่สอน คือ สุขภาพ
ในหลักสูตรแต่ละหลักสูตรมีวิชาต่าง ๆ มากมาย และ
อนามัย และความสัมพันธ์ของคนกับสิ่งแวดล้อมทั้งสองหัวข้อนี้ มีการดูแล ครูก็ดำเนิ นการสอนแบบแยกกันมาโดยตลอด และไม่
ปรากฏการเชื่อมโยงแต่อย่างใด ครั้นเมื่อต้องการ
สุขภาพเป็นตัวเชื่อมโยงให้เห็นความสั มพันธ์ของสุขภาพอนามัยกับสิ่ งแวดล้อม เชื่อมโยงบูรณาการกัน ครูจึงไม่กล้าที่จะทำงานร่วมกัน
อีกทั้งไม่มีเวลาพอ ดังนั้ นจึงขาดการแผ่ขยายความคิครวบ
และกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ได้จัดให้นั กเรียน ขอดและความคิดที่จะเชื่อมโยงสั มพันธ์กัน

ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม และการขยายตัวของโลกสมัยใหม่ ทั้งสองหัวข้อนี้

อาจจะมีความขัดแข้งกันระหว่างวัฒนธรรมแบบเดิมกับโลกสมัยใหม่ ดังนั้ นจึง

ให้เรียนเกี่ยวกับการขัดแย้งเพื่อจะได้ทำให้เห็นความสั มพันธ์ของวัฒนธรรมกับ

การขยายตัวของโลกสมัยใหม่ ในด้านการขัดแย้งที่คนต้องขอมรับการ

เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

การบูรณาการของ Nested
Fogarth 11.
DESCRIPTION
3. Nested
Social, thinking and content skills
เปรียบเสมือนแก้ว 3 มิติ are targeted within a subject area

ADVANTAGE

Gives attention to Students may be
several areas at once, confused and lose sight
enhanced learning

DISADVANTAGE

Disciplines are not related; content focus
remains within the discipline

เป็ นการมองที่ หลากหลายขึ้ น

การบูรณาการทักษะหลายๆทักษะเข้าด้วยกัน
ในการรวมเป้าหมายหลักของหัวข้อ

การบูรณาการของ Nested
Fogarth 12.

รูปแบบ Nested

เป็นวิธีการบูรณาการเนื้ อหาสาระภายในกลุ่มสาระเดียวกันอีกรูปแบบหนึ่ ง แต่เพิ่มความสับพันธ์เที่ยวข้องกันมากขึ้น คือ
มีการเชื่อมโยงบูรณาการทักษะหลาย ๆ ทักษะหลายกระบวนการ เข้าในเนื้ อหาสาระที่เป็นเป้าหมายหลักทักษะต่าง ๆ เช่น

ลักษณะทั่วไป ทักษะทางสั งคม ความร่วมมือ การเสียสละ
ทักษะการคิด การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์
ทักษะเฉพาะเนื้ อหา
ทักษะการคิด คิดคำนวณ การคิดคำนวณ การคาดคะเน

รูปแบบนี้ เริ่มจากครูตั้งเป้าหมายหลักในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ว่าต้องการให้นั กเรียนฝึกทักษะใดบ้าง ทั้งที่เป็นทักษะโดยทั่วๆ ไป
และทักษะการเรียนรู้เฉพาะเนื้ อหา ทักษะต่าง ๆ ที่นำมาเชื่อมโยงกัน ควรมีความสอคคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ด้วย

การบูรณาการของ Nested
Fogarth 13.

ตัวอย่าง การบูรณาการรูปแบบ Nested หน่วยการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อม

ทักษะทางสั งคม การค้นคว้า การทำงานกลุ่ม/ความรับผิดชอบ
ทักษะการคิด การจัดลำดับ การหาเหตุผล
ทักษะการออกแบบ การจัดข้อมูล การนำเสนอข้อมูล
ทักษะการสื่ อสาร การแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน

ข้อดีของรูปแบบ Nested

การบูรณาการทักษะจะช่วยส่งเสริมให้นั กเรียนเกิดการเรียนรู้ในเนื้ อหาที่ผสมผสาน กลมกลืนอย่างเป็นธรรมชาติ การ
เรียนรู้ของนั กเรียนจะกว้างขวางและดีขึ้นโดยทั่ว ๆ ไปจะเน้ นที่เนื้ อหา กลวิธีการคิด ทักษะทางสังดม และดวามคิดเห็นอื่น ๆ
แต่ละหน่ วยจะมีหลายมุมมอง สามารถสร้างรูปแบบนี้ คนเดียวได้โดยไม่ต้งงอาศัยผู้อื่น การบูรณาการทักษะเข้าใจเนื้ อหาและ
กิจกรรมทำได้ง่าย เนื้ อหาสาระยังคงเข้มข้นเหมือนเดิม

ข้อจำกัดของรูปแบบ Nested

การรวมเป้าหมายในการเรียนรู้หลายเรื่องเน้ นหลายทักษะหลายมาตรฐานในหน่ วยเดียวกัน ถ้ารวมอย่างไม่ระมัดระวัง
อาจทำให้นั กเรียนสับสน การจัดเรียงความคิดรวบยอดของบทเรียนอาจทำให้คลุมเครือ เพราะนั กเรียนถูกกำหนดให้ทำงาน
หลายอย่างในเวลาเดียวกัน

การบูรณาการของ Sequenced
Fogarth 14.


4. Sequenced
DESCRIPTION
เปรียบเสมือน แว่นตา
Similar ideas are taught in concert although subjecys
are separate

ADVANTAGE

Facilitates transfer of learning across content areas

DISADVANTAGE

Requires ongoing collaboration and flexiblity ;as
teachers have less autonomy in have less autonomy in
sequencing curriculum

หั วข้ อและหน่ วยการเรียนรู้ถู กจัดลำดับในแต่ละรายวิชา

การบูรณาการระหว่าง 2 วิชาโดยการนำหน่วยการเรียนรู้
ที่ใช้สอนกันอยู่มาพิจารณาความคิดรวบยอด

การบูรณาการของ Sequenced
Fogarth 15.


รูปแบบนี้ เริ่มเป็นการบูรณาการระหว่างสาระการเรียนรู้ 2 กลุ่มโดยการนำหน่ วยการเรียนรู้ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่

ใช้สอนกันอยู่มาพิจารณาความคิดรวบยอด ทักษะ หรือเจตคติว่ามีหน่ วยใดคล้ายกันบ้าง แล้วจัดเรียงลำดับหน่ วยใหม่ เพื่อจะได้
นำมาสอนในช่วงเวลาเดียวกันโดยที่ทั้ง 2 กลุ่มยังสอนแยกกันอยู่ เป็นการสอนเนื้ อหาสาระของกลุ่มสาระทั้ง 2 คู่ขนานกันไป
โดยกิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้ อหาของกลุ่มสาระหนึ่ งส่งเสริมอีกกลุ่มสาระหนึ่ ง หรือต่างส่งเสริมซึ่งกันและกัน สำหรับ
ในการจัดเรียงลำดับหน่ วยใหม่นั้ น จะต้องไม่มีผลกระทบที่เสียหายต่อการเคลื่อนย้ายหน่ วยการเรียนรู้อื่นการสอนตามรูปแบบนี้
ครูยังคงต่างคนต่างสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตน

ตัวอย่าง การบูรณาการรูปแบบ Sequenced

ภาษาไทย

- คำและประโยค วิทยาศาสตร์
-การอภิปราย - สิ่ งมีชีวิต
- การเขียนเรื่อง -ประเภทของสิ่ งมีชีวิต
- การโต้วาที - ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิต
- การเขียนจดหมาย - เปลือกโลก
- การค้นคว้า - สิ่ งแวดล้อม
- อวกาศ




ข้อดีของรูปแบบ Sequenced
การบูรณาการรูปเแบบนี้ ครูสามารถจัดเรียงลำดับหน่ วยการเรียนรู้และหัวข้อใหม่ให้ง่ายโดยดูจากเนื้ อหาสาระ ความคิครวบยอด

ทักษะที่ต้องการเนั้ น หรือเจตคติ การเรียงลำดับให้เชื่อมโยงหัวข้อข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นไปตามธรรมชาติของเนื้ อหาสาระ ในการ
สอนเมื่อนั กเรียนเห็นครู 2 คน สอนเนื้ อหาที่แตกต่างกัน คาบเวลาต่างกัน สถานที่ต่างกัน แต่จุดเนั้ นกลับคล้ายคลึงกัน จะทำให้การเรียน
รัูของนั กเรียนดีขึ้น เต็มไปด้วยพลังแห่งการเรียนรู้และเป็นวิธีการที่มีความหมายอย่างมาก
ข้อจำกัดของรูปแบบ Sequenced

การบูรณาการแบบนี้ ต้องอาศัยความร่วมมือในการจัดทำ ครูจะต้องไม่ยึดตนเองมากเกินไปในการทำงานกับผู้อื่น กาการจัดลำดับ
หน่ วยการเรียนรู้และหัวข้อขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ซึ่งในปัจจุบันต้องการให้มีความร่วมมือกันและยืดหยุ่นกันได้อย่างเต็มที่ในส่วนของเนื้ อหา
สาระ และบางเนื้ อหาสาระไม่อาจสลับลำดับใหม่ได้

การบูรณาการของ Shared
Fogarth 16.

5. Shared


เปรียบเสมือนกล้องส่ องทางไกล
DESCRIPTION

Team planning and/or teaching that involves two disciplines,
focuses on shared concepts, skills, or attitudes

ADVANTAGE

Shared instructional experiences; with two teachers on a
team it is less difficult to collaborate

DISADVANTAGE

Requires time, flexibility, commitment, and
compromise

นำ2วิชามาประสานเชื่ อมต่อในแนวคิ ดและทักษะ
อันเดียวกัน ด้วยการวางแผน2วิชา

การบูรณาการระหว่าง 2 วิชาโดยการนำหน่วยการเรียนรู้ที่ใช้สอน
กันอยู่มาพิจารณาความคิดรวบยอดแต่มีรูปแบบการวางแผน สอน
ร่วมกันในคาบที่เกี่ยวกัน

การบูรณาการของ Shared
Fogarth 17.

เป็นการบูรณาการระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 กลุ่ม โดยเนื้ อหาสาระที่สอนทั้ง 2 กลุ่มนั้ นมีสาระความรู้ หรือความคิดรวบยอดหรือ
ทักษะที่คาบเกี่ยวหรือเหลือมล้ำกันอยู่ส่วนหนึ่ ง ในการบูรณาการรูปแบบนี้ ต้องมีการวางแผนร่วมกันระหว่างครูผู้สอนทั้ง 2 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ การบูรณาการรูปแบบนี้ ขึ้นอยู่ กับการแสคงความคิดเห็นร่วมกัน ซึ่งมาจากเนื้ อหาสาระในกลุ่มต่าง ๆ เริ่มต้นการบูรณาการจากการ
ที่ครูต้องสำรวจว่าเนื้ อหาสาระของ 2 กลุ่มสาระการเรืยนรู้ได้ที่มีความคิดรวบยอด ทักษะหรือเจตคติ ร่วมกัน คล้ายกัน หรือเนื้ อหาเหลื่อมล้ำ
กัน ก็นำมาบูรณาการร่วมกัน ในการสอนส่วนที่คาบเกี่ยวกัน อาจจัดสอนเป็นหัวข้อร่วมกัน หรือทำโครงงานร่วมกันโดยครูสอนเพียงคน
เดียว และอีกส่วนหนึ่ งที่ไม่คาบเกี่ยวกันนั้ น ครูแยกกันสอนตามปกติ สำหรับ งานที่ทำร่วมกันนั้ นให้ครูประเมินทั้ง 2 กลุ่ม โดยประเมินใน
ส่ วนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มที่ตนสอนหรือรับผิดชอบ

ตัวอย่าง การบูรณาการรูปแบบ Shared

สั งคมศึ กษา
ภาษาไทย ความคิดรวบยอด/เจตคติ/ทักษะ

เรื่อง สิ่งแวดล้อม ความคิดรวบยอด การสั มภาษณ์ เราสามารถเรียนรู้เรื่องสิ่ งแวดล้อมได้หลายทาง
1. สิ่ งแวดล้อม ความสั มพันธ์ 1.เทคนิ คการ
2. ความสั มพันธ์ระหว่างสิ่ ง เจตคติ สั มภาษณ์ ทางหนึ่ งอาจเป็นการเรียน รู้โดยการสัมภาษณ์
แวดล้อมและสิ่ งมีชีวิต ความตระหนั ก 2.การดำเนิ นการ
3.ระบบนิ เวศ ทักษะ สั มภาษณ์ บุคคลในชุมชนที่มี ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
4. ปัญหาสิ่ งแวดล้อม
การทำงานร่วมมือ ( ความสัมพันธ์ โดยวางแผนการทำงานแบบร่วมมือกัน เพื่อให้ได้
กัน ระหว่างบุคคล)
ความคิดรวบยอดว่าทุกสิ่ งใน
1. การรวบรวม
ข้อมูล วิเคราะห์ โลกนี้ จะต้องมีความสัมพันธ์โดยอาจมีความ
และสรุปจากการ
สั มภาษณ์ สั มพันธ์ในทางบวกหรือลบ ทำให้เกิดความ

ตระหนั กในความจำเป็นที่จะต้องช่วยกันอนุรักษ์

สิ่ งแวดล้อมและเห็นคุณค่าของการแสวงหาความรู้

จากบุคคลที่เป็นแหล่งความรู้

การบูรณาการของ Shared
Fogarth 18.

จากตัวอย่างการบูรณาการรูปแบบ Shared ทั้ง 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จะเห็นส่วนที่คาบเกี่ยวเหลื่อมล้ำกันของ 2 หัวข้ออยู่ตรง
กลาง ซึ่งคาบเกี่ยวกับความคิดรวบยอด ทักษะ และเจตคติในส่วนที่คาบเกี่ยวกันนี้ ครูคนใดคนหนึ่ งอาจเป็นผู้รับสอน แต่ถ้าให้
นั กเรียนทำงานในส่วนที่คาบเกี่ยวกันนี้ ครูทั้ง 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถให้คะแนนทั้ง 2 กลุ่มได้

ข้อดีของรูปแบบ Shared

การบูรณาการรูปแบบนี้ เป็นการเรียนบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำใด้ง่ายใช้ง่ายสะดวกต่อการนำความคิดรวบยอดคาบ
เกี่ยวกัน ง่ายต่อการวางแผนจัดตารางสอนสำหรับครู 2 คนลดการสอนที่ซ้ำช้อนกัน นอกจากนี้ ในการวางเผนจัดทำแผนการสอนยัง
ทำให้ครูได้แตกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน ครู 2 คนอาจสอน 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่อกัน หรือสอนร่วมกัน หรือจัดเวลาสอนให้มาก
ขึ้นก็ได้

ข้อจำกัดของรูปแบบ Shared

อุปสรรคของการบูรณาการรูปแบบนี้ คือ เวลาในการทำงานร่วมกันตามรูปแบบ นอกจากเวลาแล้วความยืดหยุ่นและการมีความคิด
เห็นห้องต้องกันก็เป็นสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่ งสำหรับการพัฒนาและการใช้หลักสูตรให้ประสบผลสำเร็จ ต้องการทั้งดวามเชื่อมั่นและ
การทำงานเป็นทีมต้องการการยอมรับจกครูทั้ง 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ทำงานร่วมกันในการหาความคิดรวบยอดหรือสิ่งที่คาบเกี่ยว
กัน ครูจำเป็นต้องใช้เทคนิ คในการสนทนาร่วมกัน แต่ถ้าทั้ง 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้นั้ น สอนโดยครูคนเดียวก็จะไม่มีปัญหาในเรื่องดัง
กล่าว แต่ในด้านความคิดอาจจะสู้ 2 คนร่วมกันคิดไม่ได้ เพราะจะมีความคิดที่หลากหลายและสร้างสรรค์มากกว่า

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 19.
DESCRIPTION
6. Webbed
Thematic teaching, using a theme as a
เปรียบเสมือนกล้องโทรทัศน์ base for instruction in many disciplines
( เครือข่ายใยแมงมุม)
ADVANTAGE

Motivating for students; helps students see connections
between ideas

DISADVANTAGE

Theme must be carefully and thoughtfully selected to
be meaningful, with relevant and rigorous
content

การเชื่ อมโยงกับเนื้ อหาต่างๆ

เป็นการบูรณาการระหว่างวิชาหลายวิชามีการกำหนดหัวข้อ
เรื่องขึ้ นมาแล้วเชื่อมโยงไปสู่ วิชาต่างๆ

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 20.

การบูรณาการรูปแบบ Webbed นี้ อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ งว่า แบบใยแมงมุม ซึ่งเป็นวิธีการบูรณาการระหว่าง กลุ่มสาระการเรียน
รู้หลายกลุ่ม มีลักษณะเป็นการกำหนดหัวข้อเรื่อง (Theme) ขึ้นมาแล้วเชื่อมโยงไปสู่เนื้ อหาสาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่เห็นว่ามี
ความสัมพันธ์กันคล้ายคถึงกัน หรือต่อเนื่ องกันที่จะสามารถนำมาชัดรวมเป็นหัวข้อเรื่องเดียวกัน เพื่อที่จะได้จัดสอนร่วมกันไปอย่าง
กลมกลืน การบูรณาการรูปแบบนี้ จะบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้กี่กลุ่มก็ให้ ขึ้นอยู่กับประเด็นเนื้ อหาสาระ ความคิครวบยอดหรือทักษะ
ที่เห็นว่าจะนำมาร่วมกันสอนเป็นหัวข้อเรื่องเดียวกันได้ ส่วนเนื้ อหาสาระอื่นๆ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ไม่สามารถนำมาบูรณาการ
กับหัวข้อเรื่องใดได้เลยนั้ น ให้ครูจัดการสอนไปตามปกติหรือจัดบูรณาการไนรูปแเบบอื่น ๆ ได้ การบูรณาการด้วยรูปเบบนี้ เป็นการบูรณา
การที่อาจเรียกได้ว่าสมบูรณ์ที่สุด เพราะสามารถบูรณาการเนื้ อหาสาระได้หลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ และในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนก็สามารถบูรณาการได้หลายอย่าง เช่น วิธีการสอน เทคนิ ค ทักษะ และสื่อการเรียนการสอนได้อย่างมากมาย มีสภาพที่สอดคล้องกับ
ชีวิตจริงของนั กเรียนและทำให้นั กเรียนเห็นความหมายของการเรียนรู้มากที่สุด

รูปแบบ Webbed มีวิธีการง่าย ๆ ดังนี้
1. ตั้งหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่ต้องการให้นั กเรียนเกิดการเรียนรู้ ซึ่งการตั้งหัวขัอเรื่องอาจพิจารณาจากหลักสูตร บริบททางสังคม

การเมือง เศรษฐกิจ หรือวัฒนธรรม หรืออาจกำหนดนโยบายการศึกษาจากสภาพแวดล้อม เหตุการณ์ ปัญหา หรือนโยบายของโรงเรียนที่
ต้องการเน้ นก็ได้ เช่น สิ่งแวดล้อมนำรู้ บ้านของฉัน รักเมืองไทย ปัญหาจราจร ควันพิษ สวนหวยน้ำใส ทำไมน้ำจึงเปลี่ยนสี สหบงกช ย้อน
รอยบางระจัน ก้าวภูมิปัญญาไทย เป็นต้น

2. พิจารณาดูว่ามีเนื้ อหาสาระจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดบ้างที่สามารถเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องนั้ น โดยตั้งเป็นหัวข้อย่อย
(Topic) ซึ่งจะมีหลายหัวข้อ จัดเตรียมรายละเอียดที่จะสอนในแต่ละหัวข้อย่อยไว้ให้ชัดเจน

3. จัดลำดับหัวข้อย่อยและเนื้ อหาสาระที่จะสอนให้เชื่อมโยงกัน
4. เขียนเผนผังการจัดการเรียนรู้ให้ครอบคลุมหัวข้อเรื่องตลอดหลักสูตร เละใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแก่
นั กเรียน
5.กำหนดความคิดรวบยอดและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทุกหัวข้อเรื่อง ตลอดจนสื่อประกอบการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
โดยให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่นำมาบูรณาการกัน

6. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และตรวจสอบความครอบคลุมของเนื้ อหาสาระ กิจกรรมและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่เกี่ยวข้อง
ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 21.

การบูรณาการตามรูปแบบ Webbed หรือ แบบใยแมงมุม โดยใช้หัวข้อเรื่องเป็นแกน เป็นการบูรณาการที่มีความเหมาะสมในการ
พัฒนาหลักสูตรบูรณาการเพื่อใช้ในการสอนหลายประการได้แก่

1. ความครอบคลุมของหลักสูตร ในการสอนตามปกติของครูนั้ นมักพบว่า เนื้ อหาสาระบางเรื่องใช้เวลาสอนมากเกินไป และบาง
เนื้ อหาสาระน้ อยเกินไปหรือไม่ได้กล่าวถึง การบูรณาการแบบนี้ จะทำให้ครูเห็นรายละเอียดของหลักสูตรทั้งหมด ครูสามารถจัดเนื้ อหาสาระ
ให้ครอบคลุมได้เป็นอย่างดี

2. ธรรมชาติของการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนพบปัญหาที่ต้องเรียนรู้ ผู้เรียนจะไม่แบ่งแยกรายละเอียดว่าเป็นส่วนของกลุ่มสาระใดจะใช้
ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ทั้งหมดในการแก้ปัญหาร่วมกัน ทำให้มองเห็นปัญหาหลายด้าน ผู้เรียนจะสนใจสิ่งต่าง ๆ ที่เขาได้เห็น ได้ยิน
สั มผัสหรือเกิดตวามรู้สึ ก

3. ครูสามารถแทรกทักษะที่จำเป็นและมีความหมายให้นั กเรียน อาจเป็นทักษะพื้นฐานที่จำเป็นหรือทักษะชั้นสูงที่เหมาะสมกับ
สาระในหัวข้อเรื่องนั้ น การใช้เวลาฝึกทักษะตามเวลาที่พอเหมาะกับการสอน เนื้ อหาสาระ จะทำให้การฝึกทักษะนั้ นมีความหมายมากขึ้น

4. ความยืดหยุ่นในการสอน ตามปกตินั้ นครูมักจะสอนไปตามหัวข้อที่จัดเรียงไว้ตามลำตับ แต่การสอนแบบบูรณาการโดยใช้หัวข้อ
เรื่องเป็นแกน แม้ครูจะวางแผนการสอนไว้ตามหัวข้อเรื่องแล้วก็ตามแต่ยังสามารถจัดกิจรรมการเรียนการสอนให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
หรือตามความเหมาะสมได้

5. กิจกรรมการเรียนการสอนชัดเจนและต่อเนื่ อง การวางแผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้หัวข้อเรื่องเป็นแกนนี้ ครูสามารถมอง
เห็นแนวทางการขัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างรัดเจนและสัมพันธ์ต่อเนื่ องกัน ครูสามารถแนะนำให้นั กเรียนเลือกทำกิจกรรมได้
ตามความเหมาะสมและตามความต้องการของผู้เรียน ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามกาลเวลา

6. การส่งเสริมการดันคว้าหาความรู้การสอนแบบบูรณาการโดยใช้หัวข้อเรื่องเป็นแกนจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นคว้า
หาความรู้จากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทำให้เกิดนิ สัยรักการค้นคว้า

15

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 22.

การตั้งหัวข้อเรื่อง (Theme)

การตั้งหัวข้อเรื่อง เพื่อที่จะใช้เป็นแกนในการบูรณาการนั้ น มีวิธีการที่น่ าสนใจ ดังนี้
1. พิจารณาจากหลักสูตรและบริบททางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมโดยพิจารณาดูว่า สิ่งเหล่านี้ ในช่วงเวลาของการพัฒนา
หลักสูตรบูรณาการนั้ นเป็นอย่างไร มีแนวโน้ มไปในทิศทางใด
2. ครูกำหนดขึ้นเอง โดยศึกษาสภาพแวดล้อมของโรงเรียน หรือมีเหตุการณ์ความจำเป็นเกิดขึ้น เกิดปัญหาในสังคม หรือเป็นนโยบายที่
โรงเรียนต้องการเน้ นในแต่ละปี
3. หัวข้อเรื่องที่ตั้งอาจเป็นความคิดรวบยอด ทักษะ เจตคติ ปัญหา หรือคำถามก็ได้ โดยเลือกใช้คำที่กะทัดรัด ชัดเจน มีความหมายกว้าง ๆ
เพื่อจะให้ครอบคลุมเนื้ อหาสาระได้หลายกลุ่มสาระการเรียนรู้

ตัวอย่าง หัวข้อเรื่อง

โรงเรียนของฉั น สิ่ งแวดล้อมน่ารู้ รักษ์วัฒนธรรมไทย
งานบวชในวัด เห็ดนางฟ้า : อาหารจานเด็ด ชุมชนน่ าอยู่
เบิกฟ้ามหาสงกรานต์ ยาเสพติดพิษร้าย ท่องเที่ยวทั่วไป
เมนูเด็ด หนึ่ งตำบล หนึ่ งผลิตภัณฑ์ หนึ่ งในดวงใจของลูก
มรดกโลกห้วยขาแข้ง เรื่อง กล้วยๆ ปลูกป่าหรรษา

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 23.


คณิ ตศาสตร์ ภาษาไทย
- การการคาดคะเน -การอ่านออกเสี ยง
-ความยาวการวัดความยาว -การอ่านจับใจความสำคัญ
-การวัดความยาว -การอ่านการเขียนคำและประโยค
-การตั้งโจทย์ปัญหาบวกและ -การเขียนเรียงความ
การหาคำตอบ

ภาษาอังกฤษ มหัศจรรย์ วิทยาศาสตร์
-คำศั พท์ที่เกี่ยวกับกล้วย ต้นกล้วย -ลักษณะของต้นกล้วย
-การแต่งประโยค -ชนิ ดของกล้วย
-บริเวณที่เหมาะสมในการปลูก
การงานอาชีพฯ -ประโยชน์ ของกล้วย
-การประดิษฐ์งานใบตอง
-การทำอาหารจากกล้วย สังคมศึ กษา
-ผลผลิตจากกล้วย -อาชีพค้าขาย
-การขยายพันธุ์กล้วย -เศรษฐกิจในชุมชน
-ลักษณะภูมิประเทศ

สุขศึ กษาฯ ศิ ลปะ
-คุณค่าทางอาหารที่ทำจากกล้วย -การพิมพ์ภาพจากกล้านกล้วย
-การละเล่นเกี่ยวกับกล้วย -การปั้ น
-การวาดภาพ

การบูรณาการของ Webbed
Fogarth 24.

ข้อดีของรูปแบบ Webbed

การบูรณาการตามรูปแบบ Webbed ทำให้เกิดการเลือกหัวข้อเรื่องที่น่ าสนใจ ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ กว้างขวาง ครูที่มี
ประสบการณ์ ในการสอนจะพัฒพาได้ง่ายขึ้นและมีอิสระในการติดเป็นรู ปแบบการบูรณาการหลักสูตรที่เข้าใจง่ยสำหรับครู ที่มี
ประสบการณ์น้ อย หัวข้อเรื่องเป็นหน่ วยการเรียนรู้ที่เป็นสหวิทยาการที่ง่ายต่อการใช้มาตรฐานการเรียนรู้ของเนื้ อหาสาระในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ต่าง ๆ และง่ายต่อการทำงานเป็นกลุ่มในการสร้างหัวข้อเรื่องที่สอดคต้องกันเนื้ อหาทุกวิชา ทำให้ผู้เรียนมองเห็นภาพรวม
ทั้งหมด เห็นความแตกต่างของกิจกรรมทั้งหลาและมองเห็นการเชื่อมโยงสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้ ทำให้สิ่งที่เรียนรู้มีความหมายต่อผู้เรียน
การบูรณาการจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่ งที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนเพราะเขาเห็นประโยชน์ ของสิ่งที่ได้เรียนรู้ และ
การเรียนรู้กับชีวิตจริงเป็นเรื่องเดียวกัน

ข้อจำกัดของรูปแบบ Webbed

การตั้งหัวข้อเรื่องบางครั้งอาจเป็นเรื่องยากสำหรับครู มักจะตั้งหัวข้อเรื่องที่มีความหมายแคบและตื้น มองแต่ผิวเผิน แต่ก็ตามจะไป
สู่การพัฒนาหลักสูตรได้ในระดับหนึ่ ง ข้อควรระวังคือ ต้องไม่ทิ้งเค้าโครงที่จำเป็นและถามารถใช้เหตุผลได้อย่างมีระบบ รวมทั้งลำดับของ
เนื้ อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการบูรณาการรูปแบบนี้ ครูอาจเสียเวลาอยู่กับการเขียนนานไม่ทันเวลาที่จะเขียนหัวข้อเรื่อง
การเรียนรู้ให้ตลอดทั้งปี อย่างไรก็ตามถ้ำสามารถสร้างขึ้นและได้ใช้แล้ว จะสามารถพัฒนาปรับปรุง ทั้งปริมาณและคุณภาพของหน่ วยการ
เรียนรู้ไปได้เรื่อยๆ เพื่อใช้ ซ้ำเวลาจะมีค่ามากในการพัฒนาหน่ วยการเรียนรู้แบบนี้ ข้อจำกัดอีกประการหนึ่ งสำหรับรูปแบบนี้ คือ ตรจะเนั้
นที่กิจกรรมมากกว่าการพัฒนาให้นั กเรียนเกิดความคิครวบยอด ดังนั้ น จึงควรระวัง และตระหนั กถึงตวามสำคัญ รวมทั้งความเข้มข้นของ
เนื้ อหาสาระด้วย

การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการด้วยรูปแบบ Webbed นี้ ครูต้องใช้เวลามาก จึงควรใช้เวลา ในช่วงปิดภาคเรียนซึ่งครูจะมีเวลาหา
หัวข้อเรื่องให้ในหลายรูปแบบและกำหนดเกณฑ์ของคุณภาพ ได้ดี รูปแบบนี้ ต้องมีการวางแผนและการทำงานร่วมกันระหว่างหลายฝ่าย
รวมทั้งใช้เนื้ อหาสาระ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่หลากหลาย และต้องมีการกำหนดเวลาที่จะใช้ในการสอนแต่ละหัวข้อเรื่องให้หมาะสม ซึ่ง
ในเรื่องของเวลานี้ ครผู้สอนจะต้องเตรียมไว้สำหรับสอนทั้งเนื้ อหาสาระที่ บูรณาการตามหัวข้อเรื่องและเนื้ อหาสาระที่ไม่สามารถบูรณา
การกับเนื้ อหาอื่นได้เลยด้วย ดังนั้ นจึง ต้องมีความยืดหยุ่นในเรื่องของเวลาแต่ไม่เสียโครงสร้างโดยรวม นอกจากนี้ หากครูสู้สอนมีความ
เห็นว่าในการสอนแบบบูรณาการนั้ น นั กเรียนยังหย่อนในเนื้ อหาสาระหรือทักษะใด ครูก็สามารถหาเวลาเติมเต็มหรือฝึกเพิ่มเติมให้แก่
นั กเรียนได้ เหมือนกับการสอนหรือฝึกเพิ่มเติมให้ในการสอนแบบปกติ ก็จะทำให้การเรียนรู้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

การบูรณาการของ Thread
Fogarth 25.
DESCRIPTION
7. Threaded
Thinking skills, social skills, multiple
เปรียบเสมือนแว่นขยาย intelligences, and study skills are
"threaded" throughout the disciplines


A D V A N T A G E

Students learn how they are learning, facilitating
future transfer of learning

DISADVANTAGE

Disciplines remain separate

การนำหั วข้ อที่ ใหญ่ จะถู กนำมาขยาย

เป็นการบูรณาการที่ใช้ทักษะใดทักษะหนึ่ ง
ที่ต้องการฝึกเป็นหลัก

การบูรณาการของ Thread
Fogarth 26.

รูปแบบ Threaded

การบูรณาการแบบ Threaded เป็นวิธีการบูรณาการที่ใช้ทักษะใดทักษะหนึ่ งที่ต้องการฝึกเป็นหลัก เช่น ทักษะการคาดเดาทักษะ
การแก้ปัญหา ทักษะการวิเคราะห์ แล้วกำหนดเนื้ อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้สัมพันธ์กับ
ทักษะที่กำหนดซึ่งอาจจะเป็นกี่กลุ่มสาระการเรียนรู้ก็ได้ รูปแบบนี้ เหมาะที่จะใช้เป็นทางเลือกหนึ่ งของการบูรณาการ เพราะสร้างง่าย
เนื้ อหาสาระของกตุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ยังคงอยู่บริบูรณ์ เพียงแต่ใน การจัดกิจกรรมใส่ทักษะที่ต้องการเน้ นเข้าไปเพื่อให้นั กเรียนฝึก
เท่านั้ น แต่ทักษะนั้ นควรมีความเหมาะสมกับเนื้ อหาสาระกลุ่มต่าง ด้วยหากเหมาะสมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวให้สอนตามปกติ รูป
แบบนี้ เป็นการทำงานร่วมกันแบบข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูต้องปรึกษาหารือร่วมกันคิดเกี่ยวกับทักษะที่มุ่งหวังจะให้นั กเรียนเกิดการ
เรียนรู้หรือปฏิบัติได้ เมื่อคิดได้แล้วให้เขียนทำเป็นบัญชีไว้ก่อนแล้วจึงเลือกทักษะที่ต้องการเน้ น ซึ่งควรสอดคล้องกับกาลเวลาด้วย แล้ว
จึงร้อยเรียงไปฝึกทักษะนั้ น ในการสอนตามเนื้ อหาสาระของกลุ่มการเรียนรู้ต่าง ๆ

ทักษะหลัก 4 ทักษะที่เป็นหลักในการบูรณาการรูปแบบ Threaded




ทักษะการสื่ อสาร ทักษะการสร้างทีมงาน การเป็นผู้นำ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง

-การใช้ทักษะการฟังการพูดการอ่าน -การเป็นคนใจกว้าง -การช่วยเหลือกันการมีความรับผิด -การไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นไม่ใช่ตัว
การเขียนการดูและการสั มผัส -การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ชอบ บุคคล
-การสร้างความเข้าใจการถอดความ -การนั บถือความคิดเห็นของผู้อื่น -การยอมรับบทบาทของกลุ่ม -การลงมติมหาชนการสร้างทางเลือกที่
-การให้ตัวอย่างการแสดงความรู้สึ ก- -การฟังอย่างตั้งใจการระดมสมอง -การสนั บสนุนความคิดเห็น หลากหลาย
การขยายความคิดเห็น -การทำงานร่วมกันการกระตุ้นให้ผู้ -การแสดงเหตุผลการตัดสิ นใจ
-การทำให้ผู้อื่นเชื่อถือ อื่นมีส่ วนร่วม -การเรียนรู้ว่าการเห็นด้วยกับการไม่
-การวิเคราะห์สั งเคราะห์ความคิด เห็นด้วยเป็นอย่างไร
เห็น

ตัวอย่างทักษะต่างๆเหล่านี้ อาจเลือกฝึกทีละ 1 ทักษะตามความเหมาะสมกับเนื้ อหาสาระ

การบูรณาการของ คณิ ตศาสตร์ Threaded
Fogarth 27.
ภาษาไทย
การแก้โจทย์ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์

เหตุการณ์ ปัจจุบัน สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
-สาเหตุที่ประเทศไทย
ต้องกู้ยืมเงินต่างชาติ พระพุทธศาสนา

-ผลกระทบ คำสอนตามหลักศาสนา
-แนวทางการ
ป้องกัน/แก้ไข

- พฤติกรรมของบุคคล

- สาเหตุของพฤติกรรม

-ผลที่บุคคลจะได้รับ

จากพฤติกรรมนั้ น ชีวิตสุนทรภู่

- เหตุการณ์สำคัญที่มี


ผลกระทบต่อชีวิตสุนทรภู่
-ผลงานที่เกิดขึ้นในช่วง
เหตุการณ์ ต่างๆ

ตัวอย่างทักษะต่างๆเหล่านี้ อาจเลือกฝึกทีละ 1 ทักษะตามความเหมาะสมกับเนื้ อหาสาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้หลาย ๆ กลุ่ม ใน
การเเลือกฝึก 1 ทักษะนั้ น หมายถึง ทักษะเด่นที่ต้องการเน้ นในครั้งนั้ น ๆ ซึ่งอาจจะมีทักษะอื่น 1 บูรณาการอยู่ในการเรียนรู้ครั้งนั้ นด้วย
อีกหลายทักษะ เช่น ครูเลือกทักษะที่ต้องการฝึกเน้ น คือ ทักษะการฟัง แต่ในการเรียนรู้ครั้งนั้ นจะมีทักษะการพูด การอ่าน การเขียน และ
การดูรวมอยู่ด้วยนอกจากนี้ ยังอางมีทักมะการทำงานกลุ่ม การระดมสมอง หรือการตัดสินใจรวมอยู่ด้วย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ
กิจกรรม แต่ทักษะการฟิงจะได้รับการฝึกเน้ นมากกว่า และอางเป็นเช่นนี้ กับการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียน และในทำนองกลับกัน เมื่อ
ตรูต้องการให้นั กเรียนฝึก เน้ นทักษะอื่น ๆ ทักษะการฟังก็รวมอยู่ด้วยเช่นกัน ดังนั้ น จึงคูเหมือนว่าในการ
บูรณาการรูปแบบThreaded นอกจากจะเป็นการบูรฌาการที่เนั้ นทักษะเดียวแต่หลายกลุ่มสาระการเรียนรู้แล้ว ภายในกลุ่มสาระการเรียน
รู้จะมีการบูรณาการรูปแบบ Nested แฝงอยู่ในตัวด้วย เพราะมีการเนั้ นทักษะหลายทักพะทั้งทักษะเด่นและทักษะรองร่วมกันอยู่อีกหลาย
ทักษะ

จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่าทุกกลุ่มตาระการเรียนรู้จะสอนเรื่องต่าง ๆ กันแต่บูรณาการทักษะการดิด : การหาเหตุและผลเหมือนกัน
ส่วนในการสอนตรูที่สอนกรุ่มสาระไดก็สอนกลุ่มนั้ นไปตามปกติของตน

การบูรณาการของ Threaded
Fogarth 28.

ข้อดีของรูปแบบ Threaded

การบูรณาการตามรูปแบบนี้ จะทำให้เนื้ อหาสาระของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ยังคงอยู่สมบูรณ์ ให้นั กเรียนตามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์
ของการคิดแบบต่าง ๆ ที่สามารถถ่ายโยงไปเป็นทักษะชีวิตได้ ทำให้นั กเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรียน การถ่ายโยงความรู้ทำได้สะควก
ขึ้นThreaded เป็นทางเลือกหนึ่ งของการบูรณาการ สามารถสร้างได้ง่าย ไม่เสียความสมบูรณ์ของ เนื้ อหาสาระ เพียงแต่ใส่การฝึกทักษะ
เข้าไปในกิจกรรมการเรียนรัของเนื้ อหาสาระเท่านั้ น ซึ่งจะช่วยทำให้นั กเรียนมีความชำนาญในการปฏิบัติมากขึ้น
ข้อจำกัดของรูปแบบ Threaded
ข้อจำกัดของรูปแบบนี้ คือ จำเป็นต้องสอนวิธีการกิศ ทักษะทางสังคมหรือทักษะอื่นที่ต้องการเน้ นให้ผู้เรียนเข้าใจวิธีการก่อน จึงจะทำให้ผู้
เรียนใช้ทักษะนั้ นในการปฏิปัติกิงกรรมได้ดีการเชื่อมไยงเนื้ อหาข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่สามารถทำได้อย่างชัดเขน และครูควรทำความ
เข้าใจทักษะ และกลวิธีต่าง ๆ ให้ดีก่อน

การบูรณาการของ Lntegrated
Fogarth 29.

8. Lntegrated

เปรียบเสมือน กล้องคาเลโดสโคป

DESCRIPTION

Priorities that overlap multiple disciplines
are examined for common skills, concepts, and attitudes


A D V A N T A G E

Encourages students to see interconnectedness
and interrelationships among disciplines,
students are motivated as they see these
connections

DISADVANTAGE

Requires interdepartmental teams with common
planning teaching time

พื้ นฐานของแต่ละศาสตร์มาออกแบบใหม่ จัดเป็ นวิธี
ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ภ า ย ใ น ศ า ส ต ร์

เป็นการจัดหลักสูตรบูรณาการแบบสหวิทยาการ
ที่นำเอาความรู้มาคิดรวบยอด

การบูรณาการของ Lntegrated
Fogarth 30.

รูปแบบ Integrated

รูปแบบ Integraied เป็นการบูรณาการแบบสหวิทยาการที่นำเอาสาระความรู้ ความคิดรวบยอดหรือทักษะที่คาบเกี่ยวหรือเหลื่อมล้ำ
กันอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ศิลปะ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หรือวิทยาศาสตร์
มาวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกันเป็นทีมเพื่อให้นั กเรียนเกิดความซาบซึ้งระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ และช่วยสร้างความ
เข้าใจได้ดี ในการสอนส่วนที่คาบเกี่ยวกันนั้ น ครูอาจสอนร่วมกันเป็นทีม หรือครูคนใคคนหนึ่ งหรือสองคนรับหน้ าที่เป็นผู้สอนก็ได้
ให้นั กเรียนทำงานขึ้นเดียวกัน และประเมินผลร่วมกันในการจัดทำรูปแบบนี้ สามารถทำได้โดยเมื่อจัดเรียงลำคับหัวข้อย่อยแล้วหา
ทักษะความคิดรวบยอด หรือเจตคติที่คาบเกี่ยวกันของทุกหัวข้อย่อยว่าจะมีหัวข้อย่อยใดบ้าง เสร็จแล้วนำบูรณาการร่วมกันทักษะ
ความคิดรวบยอด หรือเจตตติ ที่ตาบเกี่ยวกันนั้ น มาวางแผนการจัดการเรียนการสอนแบบซึ่งจะดาบเกี่ยวกับกึ่กลุ่มสาระการเรียนรู้
ก็ได้ และสิ่งที่ไม่ควรลืมในการบูรณาการรูปแบบนี้ คือ ประสบการณ์ในการเรียนของนั กเรียน

ข้อดีของรูปแบบ Integrated

รูปแบบ Integrated เป็นการบูรณาการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
ได้ง่าย สร้างความเข้าใจในการทำงานร่วมกัน เกิดความซาบซึ้ง
ในเนื้ อหาสาระและความเชี่ยวชาญ ประสบความสำเร็จในการนำไปใช้ สามารถใช้สิ่งแวคล้อมในการเรียนรู้ และสร้างแรงจูงใจ
ในการเรียนแก่สู่ เรียนได้ง่าย

ข้อจำกัดของรูปแบบ Integrated

การบูรณาการรูปแบบนี้ เป็นการยากแก่ครูในการใช้อย่างเต็มรูปแบบ ครูต้องใช้ทักษะอย่างมากในการสร้าง ครูต้องมี
ความมั่นใจแจะเข้าใจในเนื้ อหา มาตรฐานการเรียนรู้ ทักษะ และเจตคติที่จะทำให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เชื่อมโยง
กันได้ คณะครูต้องใช้เวลาในการร่วมกันวางแผนทำงานและสอนนั กเรียน และถ้ำทำโดยปราศจากการให้แนวคิดที่
ชัดเจน จะทำให้การบูรณาการไม่ราบรื่น

การบูรณาการของ Lmmersed
Fogarth 31.


9. Lmmersed DESCRIPTION

เปรียบเสมือน กล้องจุลทรรศน์ Learned integrates by Priorities that overlap
multiple disciplines are examined for


common skills, attitudesviewing all learning through the

perspective of one
area of interest

ADVANTAGE

Integration takes place within the learner connections

DISADVANTAGE

May narrow the focus of the learner

เป็ นการมองที่ เข้ มข้ นด้วยการนำเนื้ อหาที่ จำเป็ นที่ สุด

เป็นรู ปแบบบูรณาการที่นั กเรียนได้เรียนรู้เนื้ อหาสาระในวิชา
ต่างๆและมีความสนใจเนื้อหาวิชาใดวิชาหนึ่ ง

การบูรณาการของ Lmmersed
Fogarth 32.

รูปแบบ Immersed

รูปแบบนี้ เป็นวิชีการบูรณาการของนั กเรียนแต่ละคนในการใช้ข้อมูลทั้งหมดที่ให้จากการเรียนรู้เนื้ อหาสาระจากกลุ่มสาระการเรียน
รู้ต่าง ๆ และมีความสนใจในเนื้ อหาสาระค้านใดด้านหนึ่ งเพิ่มเติมโดยนั กเรียนใช้ความรู้เนื้ อหาสาระนั้ น ในการศึกษาค้นคว้า เป็นการ
เดิมเต็มการเรียนรู้เนื้ อหาสาระจากหลักสูตรทั้งหมด เป็นการบูรณาการที่เกิดจากภายในตัวของนั กเรียนเองและเป็นการบูรณาการตาม
ชีวิตจริงของนั กเรียน ซึ่งเปรียบเหมือนการใช้แว่นขยายขยายประสบการณ์ของตนเอง สร้างประสบการณ์ของตนเองให้กว้างขวางขึ้นกา
รบูรณาการรูปแบบ Immersed นี้ เริ่มจากครให้คำแนะนำแก่นั กเรียนในการเลือกประเด็นที่ตนสนใจก่อน แล้วจึงเลือกแนวทางการ
เรียน รู้ หรือองค์ความรู้ แถ้ววางกรอบหรือแผนการทำงานหรือโดรงการ และครูติดตามการทำงานและการเรียนรู้ของนั กเรียน






ข้อดีของรูปแบบ Immersed



รูปแบบ Immensed นี้ มีข้อคื คือ ทำให้นั กเรียนเป็นผู้บูรณาการด้วยตนเอง เกิดแรงขับเคลื่อนภายในตนเอง ด้วยความกระตือรือร้นที่
จะรู้และเข้าใจสิ่งที่สนใจเพิ่มมากขึ้น นั กเรียนจะขุดคุ้ยความสนใจในการเรียนในสิ่งที่สนใจให้ลึกซึ้ง เกิดการเชื่อมโยงความรัของ
นั กเรียนแต่ละคนเป็นเหมือนผู้เชี่ยวชาญพัฒนาความก้าวหน้ าในสาขาของตน ซึ่งการเรียนรู้องค์ดวามรู้ต่างๆ จะเป็นเครื่องกรองที่ทำให้
นั กเรียนมีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ

ข้อจำกัดของรูปแบบ Immersed

การกลั่นกรองความคิดเห็นทั้งหลายของนั กเรียนด้วยตนเอง อาจจะทำให้จุดเน้ นแคบไป มุมมองของนั กเรียนจะลึกและกว้างได้ ต้อง
อาศัยประณบการณ์ที่กว้างขวาง การที่จะทำให้นั กเรียนมีภูมิหลังขององค์ความรู้ มีประสบการณ์กว้างขวางและสมบูรณ์ จะต้องใช้เวลา
มาก

การบูรณาการของ Networked
Fogarth 33.
DESCRIPTION
10. Networked

Leamer directs the integration procer,s throgh s election
เปรียบเสมือน แก้วปริซึม
of a networked of experts and resarces

ADVANTAGE

Pro-achtive ; with leamer stimulated by new
information ,sklls or concepts

DISADVANTAGE

Leamer canbe spread too thin efforts become
ineffective

การมองที่ สามารถสร้างภาพ
ไ ด้ ห ล า ก ห ล า ย มิ ติ แ ล ะ ห ล า ย จุ ด

เป็นการบูรณาการที่กลั่นกรองความรู้
ที่ได้จากการเรียนรู้จากบุคคลอื่น

การบูรณาการของ 10. Networked Networked
Fogarth 34.

เปรียบเสมือน แก้วปริซึม

การบูรณาการตามรูปแบบ Nerworked เป็นการบูรณาการที่กลั่นกรองความรู้ที่มิใช่จากการศึกษาค้นคว้าของนั กเรียนเพียงอย่าง
เดียวแต่นั กเรียนจะได้เรียนรู้จากครู ผู้เชี่ยวชาญ นั กวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมทั้งการใช้เครือข่ายการเรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้ทั้ง
ภายในและภายนอกกลุ่มสาระการเรียนรู้ องค์ความรู้จะขยายกว้างขวาง แล้วกลั่นกรองความคิดเพื่อให้มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญ
มากขึ้น

การบูรณาการแบบ Nctworked นี้ ไม่เหมือนรูปแบบที่ผ่านมา รูปแบบนี้ นั กเรียนจะกำหนดการบูรณาการของตนด้วยการเลือก
เครือข่ายของตนเอง ซึ่งมีความละเอียดซับซ้อนและลุ่มลึกในสาขาของตน สามารถวางเป้าหมาแหล่งเรียนรู้ที่จำเป็น ดวามสนไจตาม
ธรรมชาติของนั กเรียนจะนำไปสู่ความสนใจในตาขาอื่น ๆ จะทำให้เกิดความเข้าใจลึกซึ้ง และการเรียนขยายกว้างขวางขึ้น

รูปแบบ Networked เป็นเหมือนกับการสื่อสาร 3 - 4 ทาง ซึ่งอาจเรียกได้ว่า "ถนนแห่งการตำราและการอภิปราย"
ถึงแม้ดวามคิดเห็นหลากหลายอาจจะยังไม่เกิดขึ้นทันที แต่การบูรณาการรูปแบบนี้ จะช่วยเปิดทางให้การเรียนรู้ในหลายองค์ประกอบ
ที่ทำให้สามารถกลั่นกรองและจำแนก เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ รูปแบบ Networked เหมือนกับเป็นเครือข่ายข่าวที่มีทั้งภาพ
และเรื่องจากรอบโลกที่ให้ข้อมูลจากทุกที่ รูปแบบนี้ นิ ยมใช้ในการฝึกงานหรือฝึกอาชีพเป็นการบูรณาการข้ามหลายกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ที่เหมือนชีวิตจริง




ข้อดีของรูปแบบ Networked



การบูรณาการแบบ Networked เป็นการให้นั กเรียนได้ฝึกปฏิบัติการบูรณาการ ที่เป็นธรรมชาติของชีวิตจริงมากที่สุด เพราะโดยปกติ
ของคนเราจะมีความสนใจ อยากรู้อยากเห็นในสิ่งต่างๆตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นจุดดีที่จะให้นั กเรียนเป็นผู้ริเริ่มนคว้าด้วยตนเอง และติค
ตามสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น นั กเรียนจะได้รับการกระตุ้นด้วยข้อมูล ทักษะ หรือความคิดรวบยอดต่าง ๆ ที่จะทำให้การเรียนรู้ของนั กเรียน
เริ่มต้นขึ้น และดำเนิ นไปอย่างเป็นธรรมชาติ ทั้งนี้ ครูสามารถเป็นตู้ให้คำแนะนำและให้การสนั บสนุนแก่นั กเรียนได้

ข้อจำกัดของรูปแบบ Networked



การบูรณาการรูปแบบ Networked ก็เหมือนกับรูปแบบอื่น ๆ คือ ต้องพัฒนาให้นั กเรียนเกิดความสนใจที่หลากหลายด้วยตัวของ
นั กเรียนเอง ซึ่งสิ่งนี้ ต้องใช้เวถาในการพัฒนาพอสมควรหากครูไม่ให้พัฒนาสิ่งนี้ แล้วเป็นผู้กำหนดทุกสิ่งทุกอย่างให้แก่นั กเรียน หรือ
จับสิ่งที่ครูต้องการให้นั กเรียนเรียนรู้ใส่สมองลงไปเลย ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่ง่าย มีประโยชน์ และน่ ากระทำ แต่ผลที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่ไม่มี
คุณค่ ดังนั้ น ครูควรพยายามจัดกิจกรรมเพื่อกระดันให้นั กเรียนเกิดความสนใจในสิ่งต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การเรียนรู้ด้วยตัวของ
นั กเรียนเองจะดีกว่า

การบูรณาการของ
Fogarth 35.

สรุ ปวิธีการบูรณาการของ

FOGARTH

จากรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการของ Fogary
สรุปได้ว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้ มี 4 รูปแบบ การสอนแบบสอดแทรก หรือ การสอนแบบค รูสอน เพียงคนเดียว สอนบูรณาการ
แบบคู่ขนาน แบบพหุวิทยาการ และแบบข้ามวิชา ซึ่งการเลือกใช้รูปแบบใดนั้ นขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเนื้ อหาสาระความคิดรวมยอด
และทักษะที่ต้องเน้ น สรุปรูปแบบการบูรณาการแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
1. การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ Cellular, Connccted และ Nested
2. การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใด้แก่ Squcnced, Shared, Webbed,Threaded และ Integrated
3. การบูรณาการภายในตัวผู้เรียนเอง ได้แก่ Immersed และ Networked

รูปแบบการบูรณาการทั้ง 10 รูปแเบบ จะเห็นได้ว่ามีลักษณะเด่นหรือจุดเน้ นของการบูรณาการมากหรือน้ อย กว้างหรือแตกต่างกัน
ถ้จะดูตั้งแต่รูปแบบที่ 1 ไปจนถึงรูปแบบที่ 10 ครูผู้สอนทุกคนจะเห็นว่า ตนให้สอนแบบบูรผาการแล้ว เพียงแต่จะเป็นรูปเบบใดเท่านั้ น
อย่างน้ อยก็เป็นรูปแบบที่ 1 คือ แบบ Cellular หรือ Fragmented แต่ทำอย่างไรครวัสอนจึงจะพัฒนา
รูปแบบการสอนของตนให้บูรณาการมากขึ้นเป็นรูปแบบอื่น ๆ ที่เพิ่มความเข้มชันสมบูรณ์มากขึ้นและการบูรณาการมีหลายรูปแบบก็
เป็นการดีสำหรับครูอีกประการหนึ่ ง คือ ครูจะสามารถเลือกบูรณาการใด้ด้วยวิธีที่หลากหลาย และเป็นการช่วยให้ครูจัดการเรียนการ
สอนแบบบูรณาการได้มากยิ่งขึ้น เพราะบางเนื้ อหาสาระไม่สามารถบูรณาการด้วยวิธีนี้ ใด้ ก็หาวิธีอื่นมาบูรณาการใหม่ให้ซึ่งจะช่วยทำให้ครู
สามารถจัดการเรียนการสอบแบบบูรณาการใด้ด้วยความสบายใจ และสะดวกมากขึ้น

การบูรณาการของ บรรณานุกรม
Fogarth 36.


Click to View FlipBook Version