The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kantimamai098, 2021-10-25 14:44:55

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

98

หลอดลมคอ Trachea

หลอดลมคอ เปน็ ท่อกลวงมีผนงั แขง็ เละหนาเพราะมีกระดกู อ่อนเรยี งเปน็ รูปเกือกม้าทำให้
หลอดลมคอไมแ่ ฟบ และการทก่ี ระดกู อ่อนของหลอดลมคอ เป็นรปู เกือกมา้ ทำใหห้ ลอดอาหารซึ่งอยู่
ดา้ นหลังสามารถขยายขนาดได้เม่ือมกี ารกลืนอาหารผ่านหลอดอาหารลงสกู่ ระเพาะอาหาร

หลอดลมฝอย Bronchiole

Terminal bronchiole เปน็ หอ่ ที่แยกออกจากหลอดลมแขนงมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
O.5 ถึง 1 ml respiratory bronchiole เปน็ ส่วนแรกท่ีมีการแลกเปล่ยี นแกส๊

99

ทอ่ ลม Alveolar duct

ท่อลมอวยั วะรา่ งเป็นทอ่ สวนสดุ ทา้ ยของสวนที่มีการแลกเปลี่ยนแกส๊
respiratory depression :ซง่ึ ไปสุดที่ถงุ ลม alveolar sac

ปอด lung

ปอด lung เป็นอวยั ระทที่ ำหน้าทใี่ นการหายใจ ปอด ต้ังอยู่ภายในทรวงอก
มีปรมิ าตรประมาณ 2ใน 3 ของทรวงอกปวดขวาจะส้นั กว่าฝง่ั ซ้ายเนอ่ื งจากตับชึ่ง
อยทู่ างดา้ นลา่ งดันขนึ้ มา

การหายใจเขา้ inspiration และการหายใจออก expiration รวมกนั รยี กว่าการหายใจ

100
breathing โดยมี กลา้ มเนือ้ กระบังลม กลา้ มเน้อื ยืดกระดกู ทีค่ รงดา้ นนอก และ กลา้ มเน้ือยดึ กระดกู
ทีค่ รงดา้ นใน เป็นตวั กระทำการหายใจทเี่ กดิ จากกลา้ มเน้ือกระบังลม เรียกวา่ การหายใจสวนทอ้ ง
abdominal breathing ซง่ึ มคี วามสำคญั ประมาณ 75 เปอร์เซน็ ต์

ความจุของปอดปรมิ าตรอากาศท่หี ายใจเข้าปกตแิ ต่ละคร้งั มีประมาณ 500 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร
ถ้าบงั คบั ใหม้ กี ารหายใจเขา้ เต็มทมี่ ากทสี่ ุด จะมอี ากาศเข้าไปยงั ปอดเพิ่มมากขน้ั จนอาจถงึ 600 ลกู บาศก์
เซนติเมตร ซึ่งจะเหน็ วา่ เม่ือหายใจออกเตม็ ที่แล้ว ยงั คงมีอากาศตกคา้ งในปอดประมาณ 1,100 ลูกบาศก์
เซนติเมตร

การแลกเปลีย่ นแก๊สในรา่ งกาย

101

1 ทป่ี อดเปน็ การแลกเปลยี่ นแกส๊ ระหวา่ ง ในถุงลมปอด กบั เสน้ เลือดฝอย
โดยออกซเิ จน จากถงุ ลมปอด จะแพรเ่ ขา้ สเู่ ส้าเลอื ดฝอย รับรอบถุงลมปอด และ
รวมตวั กบั Hemoglobin ทผ่ี วั ของเม็ดเลือดแดงกลายเป็น Oxyhemoglobin

2 ท่เี นื้อเบือ Oxyhemoglobin สลายให้ ออกซเิ จน และ ฮีโมโกลบิน
ออกซเิ จน จะแพร่เขา้ สเู่ ซลล์ ทำให้เซลลข์ องเนือ้ เยี่อไดร้ บั ออกซเิ จน ในขณะท่ี
เนอื้ เย่ือรบั ออกซเิ จนนน้ั คารบ์ อนไดออกไซด์ ท่เี กดิ ขนึ้ ในเซลลก์ ็จะแพรเ่ ขา้ สู่
เลอื ดเสน้ เลอื ด มีคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนใหญ่จะทำปฏกิ ริยา กบั น้ำในเซลล์
เมด็ เลือดแดง เกดิ เป็นกรดคาร์บอนิก

ศนู ย์ควบคุมการสูดลมหายใจ

102

ศูนยค์ วบคุมการสูดลมหายใจ respiratory Center อยู่ที่ สมองส่วน เมดัลลาออบลองกาต้า
โดยเปน็ เซลลป์ ระสาทกระจายอยทู่ างดา้ นขา้ ง ทงั้ สองสว่ นนม้ี ีความไวตอ่ ปรมิ าณของแกส๊

103

CARDIOVASC
ULAR

SYSTEM

104

ภาพรวมของระบบไหลเวยี นโลหิต

105

หัวใจ (The heart)

ขนาดและทตี่ ง้ั (Size and
Location)

หัวใจเป็นอวยั วะที่
ประกอบดว้ ยกล้ามเนอ้ื
ภายในกลวงมขี นาดโตกว่า
กำมอื เลก็ นอ้ ย จะอยู่
ภายใน Pericardial
cavity

ในส่วน Mediasinum
ของทรวงอกระหวา่ งปอดทั้ง
2 ข้าง ประมาณ 13 ของ
หัวใจจะอยู่เอยี งไปทางซา้ ย
ของ Mid-line ของร่างกาย
หัวใจมรี ูป Cone ส่วนฐาน
(Base) อยู่ขา้ งบนค่อนไป
ทางขวา สว่ นยอด (Apex)
อย่ทู างลา่ งกอ่ นไปทางซา้ ย

106

เย่อื หมุ้ หัวใจ (Covering of the hear)

เยื่อหุม้ หัวใจ (Covering of the hear) เรยี กว่า Pericardium ซ่งึ ประกอบดว้ ย fibrous กับ
serous tissue มหี น้าทปี่ ้องกนั อันตรายทจ่ี ะเกิดขน้ึ กับ
หัวใจ จะติดกับเสน้ เลอื ดขนาดใหญท่ เ่ี ขา้ และออกจากหวั ใจ diaphram และ stennum

Pericandium แยกเปน็ 2 ชน้ั ชน้ั นอกเรยี กวา่ Parietal layer ซ่ึงบุด้านในของ Pericardium
ช้นั ในเรียกวา่ Visceral layer จะคลมุ ติดกบั หัวใจจึงเรยี กชอ่ื วา่ Epicardium ระหว่างชน้ั ทง้ั 2 ของ
Pericardium จะมsี pace เรยี กวา่ Pericardial cavity ซงึ่ จะมPี ericardial fluid อยเู่ ลก็ นอ้ ยเพ่ือลด
การเสยี ดสเี วลาหวั ใจบีบตวั

107

ผนงั หวั ใจ

ผนังของหวั ใจประกอบด้วยเนื้อเยื่อสามชั้น ได้แก่

1. เยือ่ หุม้ หัวใจช้นั ใน (Epicardium) เปน็ ช้นั ท่ีตดิ กับเยอ่ื หมุ้ หัวใจ
ด้านทีต่ ิดกบั หวั ใจ (Visceral layer of pericardium) ประกอบดว้ ย
เน้ือเย่ือเกีย่ วพนั ที่เหนยี วและแข็งแรง

2. กล้ามเนอ้ื หวั ใจ
(Myocardium) เป็นช้นั ทห่ี นา
ทีส่ ุด ประกอบดว้ ยกลา้ มเนอื้
หัวใจเกอื บท้ังหมด

3. เยอ่ื บหุ วั ใจ (Endocardium)
เปน็ ชนั้ บาง ๆ ท่ีเจริญมาจาก
เซลลเ์ ย่ือบุหลอดเลือด

108

กลา้ มเนือ้ หวั ใจ

เปน็ กล้ามเนือ้ ลายุชนิดหนง่ึ ทีอ่ ยู่นอกอำนาจจติ ใจ(involuntary) พบทหี่ ัวใจ
ทำหนา้ ที่ในการสบู ฉดี โลหติ ไปยังระบบไหลเวียนโลหิตโดยการหดตวั ของกลา้ มเนือ้

ห้องหวั ใจ

หัวใจจะถกู แบ่งออกเป็นส่หี อ้ ง (heart chambers) และบศิ ทางการไหลของเลอื ดเขา้ สแู่ ตล่ ะห้องจะถกู
ควบคุมโดยสนิ หัวใจ (cardiac valves) ทำใหเ้ ลอื ดไม่ไหลย้อนเมอ่ื มกี ารบีบตัวและคลายตัว ในที่น้ีจะ
กล่าวถึงหอ้ งของหัวใจตามลำดบั ของการไหลของเลือดภายในหัวใจ

109

หวั ใจห้องบนขวา (Right atrium)

มีหน้าทร่ี บั เลอื ดทม่ี าจากทอ่ เลอื ดดำบน (superior vena cava) ซงึ่ รบั เลือดมาจากร่างกาย
สว่ นบน และทอ่ เลือดดำลา่ ง (Inferior vena cava) รบั เลือดมาจากรา่ งกายชว่ งลา่ ง ผนงั ของหัวใจหอ้ งน้ี
ค่อนขา้ งบางโดยเฉพาะทางดา้ นทีต่ ิดกับหวั ใจหอ้ งบนซ้าย จะมีรอยบมุ๋ ท่เี รียกว่า ฟอซซา โอวาเล (ละตนิ :
Fossa ovale) ซึ่งเปน็ ทางเช่อื มระหว่างหวั ใจหอ้ งบนสองห้องระหวา่ งทยี่ ังเปน็ ตวั ออ่ นในครรภ์ เลอื ดจาก
หัวใจหอ้ งบนขวาจะไหลเขา้ สู่หวั ใจห้องล่างขวา ผา่ นทางลนิ้ หวั ใจไทรคัสปดิ (Tricuspid valve)

หวั ใจห้องลา่ งขวา (Right ventricle)

จะอยูท่ างดา้ นหนา้ สดุ ของหวั ใจ และพนื้ ผวิ ทางด้านหลังของหัวใจหอ้ งน้จี ะตดิ กับกะบังลม หวั ใจ
หอ้ งล่างขวาทำหน้าท่รี ับเลอื ดจากหัวใจห้องบนขวาแล้วส่งออกไปยังปอด ผา่ นล้นิ หวั ใจพลั โมนารี
(pulmonary valve) และหลอดเลอื ดแดงปอด (pulmonary arteries) ทผ่ี นังของหัวใจหอ้ งที่จะมีแนว
ของกลา้ มเน้ือหวั ใจที่สานตอ่ กัน และมีเอน็ เลก็ ๆ ทค่ี วบคมุ สิ้นหวั ใจไทรคสั ปิด ซ่งึ เรยี กวา่ คอร์ดี เทน็ ดนิ ี
(chordae tendinae) ซง่ึ ทำหนา้ ทีย่ ึดลิ้นหัวใจไทรคสั ปดิ ไม่ให้ตลบข้ึนไปทางหัวใจห้องบนขวาระหวา่ ง
การบบี ตัวของหัวใจห้องลา่ ง ดังน้ันจงึ ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ ลือดไหลยอ้ นกลบั

110

หวั ใจหอ้ งบนซา้ ย (Left atrium)

มขี นาดเลก็ ทสี่ ดุ ในหอ้ งหัวใจทง้ั ส่ีห้อง และวางตวั อยทู่ างดา้ นหลงั สุด โดยหัวใจห้องน้จี ะรบั เลอื ดที่
ได้รับออกซิเจนจากปอดผ่านทางหลอดเลอื ดดำปอด (pulmonary veins) และจงึ ส่งผา่ นใหห้ ัวใจหอ้ งลา่ ง
ซา้ ยทางลนิ้ หวั ใจไมทรัล (Mitral valve)

หัวใจห้องล่างซา้ ย (Left ventricle)
จัดวา่ มขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ และมผี นังหนาที่สดุ ทำหน้าทห่ี ลกั ในการสูบฉีดเลือดไปยงั ทว่ั ท้ังรา่ งกาย

ผา่ นทางลนิ้ หัวใจเอออรต์ ิก(Aontic valve) และหลอดเลอื ดแดงใหญเ่ อออร์ตา (Aorta)

111

หนา้ ท่ขี องหัวใจ

หน้าที่หลักของหัวใจคือการสูบฉดี เลอื ดผ่านระบบไหลเวยี นเพื่อไปเลยี้ งรา่ งกายทงั้ ร่างการ
ไหลเวยี นนแ้ี บง่ ออกเป็นการไหลเวียนเลย้ี งกายทส่ี ่งเลือดไปเลี้ยงร่างกายและรับเลอื ดท่ใี ช้แล้วกลบั และการ
ไหลเวียนผา่ นปอด ซ่งึ สง่ เลือดไปพอกทปี่ อดและรบั เลือดกลบั จากปอดมาหวั ใจเพ่อื เตรียมสบู ฉดี ตอ่ ไปยงั
รา่ งกาย ขณะที่เลอื ดไหลเวียนผ่านปอดจะมกี ารแลกเปลีย่ นกา๊ ซ รบั เอาออกซิเจนเข้ามาในเลือด และสง่
คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกไปยังปอดผ่านการหายใจหลงั จากนัน้ ระบบไหลเวียนกายจะส่งเลือดแดงทม่ี ี
ออกซเิ จนมากไปยงั รา่ งกาย และรับเลอื ดดำท่ีมคี ารบ์ อนไดออกไซดม์ ากและมีออกซิเจนนอ้ ยกลบั มายงั ปอด

112

หลอดเลือดหวั ใจ

จะอยบู่ รเิ วณภายนอกหวั ใจ (เยอื่ หุ้มหัวใจ )ส่งแขนงเลก็ ๆ ลงไปเลยี้ งกลา้ มเน้อื หวั ใจ หลอดเลอื ด
หัวใจมเี ส้นใหญๆ่ อยู่ 2 เส้น คอื ขวา (right coronary artery)เลยี้ งหัวใจดา้ นขวา และซ้าย (left
coronary artery)เลย้ี งหวั ใจด้านซา้ ยเปน็ สว่ นใหญ่ ดา้ นซา้ ยจะแตกแขนงใหญ่ ๆ 2 แขนง คือ left
antenior descendingantery และ left circumflex artery ซึ่งจะมแี ขนงเล็ก ๆ อกี มากมาย โรคของ
หลอดเลือดหวั ใจอาจเกิดจากหลายสาเหตุ แต่ทพ่ี บบอ่ ยทีส่ ุด เกดิ จากการสะสมของไขมันทผี่ นงั ทำให้
หลอดเลือดหวั ใจตีบและตนั ในท่สี ุด

113

การเต้นของหัวใจ (Heart beat)

ㆍ หัวใจสามารถบบี ตัวไดเ้ อง เพราะ ภายในหัวใจมบี รเิ วณทที่ ำหน้าท่เี ป็นตัวควบคมุ ให้ กล้ามเนื้อหัวใจ
หดตวั (SA node) เป็นผ้ทู ำจงั หวะ (pacemaker) อย่ทู ่ี ผนัง atrium ขวา

・ AV node อยูท่ ี่ผนงั atrium ขวา กับ ventricle ขวา เปน็ กลา้ มเน้ือพเิ ศษท่จี ะทำให้กลา้ มเนอ้ื หัวใจ
ห้อง ventnicle บบี ตัวพร้อมกันทงั้ หอ้ งหวั ใจ ทำใหเ้ กิดแรงดนั มาก เพยี งพอท่ีจะสง่ เลือดไปเล้ียงส่วนต่าง
ๆ ของร่างกายได้

หลอดเลอื ด

หลอดเลอื ดมอี ยู่ทุกส่วนของร่างกาย มหี นา้ ที่นำสารอาหาร และกา๊ ซออกซิเจนท่ลี ำเลียงไปกับ
เลือด เพื่อไปเล้ยี งส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เมือ่ ไปถึงเซลลจ์ ะมีการแลกเปล่ียนอาหารและกา๊ ซตา่ ง ๆ ถา้ นำ
หลอดเลอื ดในรา่ งกายมาต่อกนั จะมคี วามยาวประมาณ 100,000 ไมลห์ ลอดเลือดในร่างกายแบ่งออกเป็น
3 ชนดิ คอื
1.หลอดเลอื ดแดง (Artery)
2.หลอดเลอื ดดำ (Vein)
3.หลอดเลอื ดฝอย (Capillary)

114

หลอดเลอื ดแดง ( Artery )

หมายถงึ หลอดเลอื ดทน่ี ำเลอื ดออกจากหัวใจ ซึ่งจะเปน็ เลือดทม่ี ีปริมาณออกซเิ จนสูงเป็นเลอื ดทมี่ ี
สแี ดงสด ไปเลย้ี งอวัยวะตา่ ง ๆ ทวั่ รา่ งกาย ( ยกเวน้ หลอดเลือดทไี่ ปสปู่ อดชอ่ื pulmonary antery ซึ่งจะ
นำเลอื ดดำจากหัวใจทีม่ ีคารบ์ อนไดออกไซดส์ งู ไปฟอกท่ีปอด )
ลักษณะของหลอดเลือดแดง
- มีผนงั หนา โดยจะมีลักษณะเปน็ ช้ันกลา้ มเนอ้ื ท่หี นาและยดึ หยนุ่ ประกอบไปดว้ ยเนอ้ื เย่ือ 3 ช้นั คอื เน้ือเยอื่
ดา้ นในสดุ เปน็ เนือ้ เย่ือบุผิว ชั้นกลางเปน็ เนอื้ เยื่อกลา้ มเน้อื ทสี่ ามารถยดึ หยุ่นได้ เน้อื เย่อื ชั้นนอกเป็นเนือ้ เยื่อ
เกี่ยวพันที่ยึดหยุ่นได้หลอดเลอื ดแดงมี 3 ขนาด เรยี งจากขนาดใหญ่ไปขนาดเลก็ คอื
- เอออร์ตา ( aorta ) หลอดเลือดแดงขนาดใหญส่ ดุ ทำหน้าท่ลี ำเลียงเลอื ดแดงท่ถี ูกสบู ฉดี ออกจากหัวใจ
ห้องล่างซ้ายโค้งไปทางดา้ นหลัง ทอดผา่ นช่องอกและชอ่ งท้อง ขนาดใหญ่สดุ มเี สน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ
1 น้ิว
- อารเ์ ทอรี ( artery ) หลอดเลือดแดง ทำหน้าท่นี ำเลอื ดไปเลี้ยวส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย หลอดเลอื ดมี
ผนงั กลา้ มเนือ้ หนาเพื่อใหท้ นตอ่ แรงดันเลอื ด
- อารเ์ ทอรโิ อล ( arteriole ) หลอดเลอื ดแดงเล็ก ซ่งึ สามารถจะขยายตวั หรือหดตวั ได้ เพ่อื บังคบั การไหล
ของเลือด

115

หลอดเลือดดำ ( Vein )

หมายถึง หลอดเลือดทน่ี ำเลอื ดทีม่ ขี องเสีย และคาร์บอนไดออกไซด์ ( เลอื ดดำ ) ทรี่ า่ งกายใชแ้ ล้ว
จากสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายกลับเข้าสหู่ วั ใจหอ้ งบนขวา(Right atrium) เพอื่ นำกลับไปพอกที่ปอด
(ยกเว้นหลอดเลือดดำปอดทชี่ ่อื pulmonary vein ซึ่งจะนำเลือดแดงท่ีผ่านการพอกจากปอดแล้วนำกลับ
เข้าสู่หวั ใจหอ้ งบนซ้าย)ภายในหลอดเลือดดำจะมคี วามดนั ต่ำ ถา้ หลอดเลือดดำฉกี ขาด เลือดท่ีไหลออกมา
จะไหลรินๆคงท่ี และสมำ่ เสมอหา้ มเลือดหยดุ ได้ง่ายกวา่ หลอดเลือดแดงฉกี ขาดลักษณะของเส้นเลอื ดดำมี
ผนงั บาง ประกอบด้วยเนอ้ื เย่ือ 3 ชน้ั เชน่ เดยี วกับหลอดเลือดแดงแตบ่ างกวา่ ผนงั มคี วามยืดหยนุ่ ได้นอ้ ย
เพราะมเี นือ้ เยอ่ื กล้ามเนอื้ และเนื้อเย่อื เก่ียวพนั นอ้ ย

- มลี ้นิ กัน้ ไม่ใหเ้ ลือดไหลยอ้ นกลบั

116

หลอดเลือดฝอย (Capillary)

หมายถึง หลอดเลอื ดทเี่ ช่อื มตอ่ ระหวา่ งหลอดเลือดแดงขนาดเลก็ ไปยงั หลอดเลอื ดดำขนาดเล็ก
โดยจะแทรกอยูใ่ นเนื้อเย่อื ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เชน่ ผวิ หนงั กลา้ มเนอื้ สมอง และอวยั วะอืน่ ๆ ยกเว้นเส้น
ผม และเลบ็ จะไมม่ ีหลอดเลอื ดฝอย

ลักษณะของเส้นเลือดฝอย

-หลอดเลือดฝอยเปน็ หลอดเลือดทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ุดในร่างกายมีท้งั เส้นเลือดแดงฝอย

และเส้นเลือดดำฝอย

- มีเน้อื เยอื่ บางมาก มจี ำนวนมากเพราะเปน็ สว่ นทต่ี อ้ งแยกไปสูส่ ว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
มีผนงั บาง มีขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 7 ไมโครเมตร

-ประกอบด้วยเซลลเ์ พยี งชน้ั เดยี ว มหี นา้ ทีเ่ ปน็ แหล่งทมี่ กี ารแลกเปลี่ยนก๊าซ และสารต่าง ๆ
ระหวา่ งเลอื ดกับเซลล์ของรา่ งกายโดยวธิ ีการแพร่

117

การไหลเวยี น

แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ส่วน

1. วงจรไหลเวียนทัว่ กาย (systemic circulation) เลอื ด ทีไ่ หลเวยี นจะออกจากเวนตริเคลิ ซา้ ยไปสู่ส่วน
ต่าง ๆ ของรา่ งกาย แล้วกลบั มาเขา้ เอเทรยี มขวา วงจรนท้ี ำงานกว้างขวางจึงอาจเรยี กวา่ วงจรใหญ่
(greater circulation)

2.วงจรไหลเวียนผา่ นปอด (pulmonary circulation) เลอื ดทสี่ ่งมาเข้าเอเทรยี มขวาจะเทลงสเู่ วนตริเคิล
ขวาแลว้ สง่ ไป ยงั ปอด หลงั จากนนั้ จะกลบั มาเขา้ เอเทรยี มซ้ายใหม่การไหลเวียน วงจรน้ที ำงานนอ้ ยกวา่
จงึ เรียกว่า วงจรเลก็ (lesser circulation)

118

119

120

การเจาะเลอื ด

- Vein
- Supenficial vein
- Intermediate cephalic vein
- Deep vein

ระบบน้ำเหลือง

ประกอบดว้ ย
-Lymphatic vessel
-Lymphoid tissue
-หนา้ ท่ี รกั ษาสมดุลของนำ้ ใน
-ดูดซมึ ไขมันจากลำไสเ้ ล็ก
-ดดู ซมึ โปรตนี กลับสหู่ ลอดเลือด
-ป้องกนั สงิ่ แปลกปลอม

121

NERVOUS
SYSTEM

122

ระบบประสาท

เปน็ ระบบทค่ี วบคมุ การทำหนา้ ทีข่ องส่วนต่าง ๆ ของทกุ ระบบในรา่ งกายให้ทำงานประสาน
สมั พนั ธก์ นั เพอ่ื ให้ร่างกายสามารถปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับสง่ิ แวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกรา่ งกาย ให้
สามารถดำรงชวี ติ อย่ไู ด้ นอกจากนีร้ ะบบประสาทยงั เปน็ แหล่งท่มี าของความคิด ความรสู้ ึก สติปญั ญา
ความฉลาด ไหวพรบิ การตดั สนิ ใจการใชเ้ หตุผลและการแสดงอารมณอ์ ีกด้วย

โครงสรา้ งระบบประสาท

123

โครงสร้างของระบบประสาท

1. ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central nervous system) ประกอบดว้ ยสมองและไขสนั หลัง เปน็ ศูนย์
ควบคมุ และประสานการทำงานของรา่ งกายทง้ั หมด
2. ระบบประสาทปลาย (Peripheral nervous system)เป็นระบบประสาทสว่ นพนื้ ผวิ จะประกอบดว้ ย
2.1 เสน้ ประสาทซึง่ แยกออกจากสมอง คอื ประสาทสมอง(Cranial nerve) มี 12 คู่ และสว่ นแยกออกจาก
ไขสันหลัง เรยี กว่า ประสาทไขสันหลงั (Spinal nerve) มี 31 คู่ซึ่งรวมกนั เรียกวา่
Cranio spinal nerves
2.2 ระบบประสาทอัตโนมตั ิ (Autonomic nervous system) แบง่ เปน็ Sympathetic
nervous system และ Parasympathetic nervous system

124

เซลลป์ ระสาท a Neuron

เปน็ เซลล์เรา้ ไดด้ ว้ ยกระแสไฟฟ้าทท่ี ำหนา้ ทปี่ ระมวลและส่งขอ้ มลู ผา่ นสัญญาณไฟฟา้ และเคมี โดยสง่ ผ่าน
จดุ ประสานประสาท (synapse) ซ่ึงเป็นการเชอ่ื มตอ่ โดยเฉพาะกับเซลลอ์ น่ื ๆ

เดนไดรต์ (Dendrite) เปน็ แขนงท่ียนื่ ออกไปจากตวั เซลล์ท่สี ั้น ส่วนโคนติดกับตัวเซลลแ์ ละคอ่ ยๆ

เรยี วลงแตกแขนงออกไป Dendrite อาจมอี นั เดียวหรือหลายอนั กไ็ ด้ มหี น้าที่นำความรสู้ กึ จากภายนอก
เข้าหาตวั เซลล์ เรียกอกี ช่ือหนึง่ ว่า' Afferent Process

แอ็คซอน (Axon) เป็นแขนงที่ย่นื ออกไปจากตวั เซลล์ ยาวกวา่ Dendrite เปน็ รปกลมยาว ขนาดสน้ั

บ้างยาวบ้างแตกตา่ งกนั ไปตามต่ำแหนง่ ท่ีอยู่ Axonมักจะมีปลอกไมอีลนิ (Myelin sheat) คลุมอยู่ Axon
จะทำหน้าท่ตี รงกันข้ามกบั Dendrite คือ นำกระแสความรสู้ กึ ออกจากเซลล์ของตวั เองไปยังตวั เซลล์
(Cell body) อ่นื หรือไปที่ Dendrite ของเซลลต์ วั อนื่ จงึ เรยี กอีกชอ่ื หนึ่งว่า Efferent process

Node of Ranvier

125
Axon ของ PNS จะถูกหุ้มด้วย myelin sheath ทสี่ ร้างจาก Schwann cell และจดุ ทเ่ี ปน็
รอยต่อระหว่าง myelin sheath จะเรียกวา่ Node of Ranvier เปน็ บรเิ วณทีส่ ่งกระแสประสาทได้
เพราะไมม่ ี myelin sheath ซึง่ เปน็ ฉนวนไฟฟา้ ดงั นนั้ การส่งกระแสประสาจงึ เปน็ แบบกา้ วกระโดด
(Saltatory conduction)

ชนดิ ของเซลลป์ ระสาท

เซลลป์ ระสาทแบง่ ตามลักษณะ
รูปร่าง ออกได้ 3 ประเภท คอื

1.เซลล์ประสากขั้วเดียว
(Unipolar Neuron) เซลล์ประสาท
ทีม่ ี Process เดียวอาจจะมแี ต่
axon ไม่มี dendrite เชน่
olfactory receptor neurons,
rods และ cone cells ของ
retina บางคร้ัง Process ที่ยื่น
ออกมาจะแยกเปน็ 2 แขนง
เรียกวา่ เปน็ Pseudounipolar
neurons ไดแ้ ก่ spinal ganglion cell

2.(Bipolar Neuron) มใี ย
ประสาทยืน่ ออกจากตัว

เซลล์ 2 เสน้ ตวั อย่างเชน่ 126
เซลลป์ ระสาทรับความรูส้ ึก
ทเี่ รตนิ า เซลลร์ บั กลน่ิ และ 3.(Multiipolar Neuron)
เซลลร์ ับเสยี งที่หชู ัน้ ในและ มใี ยประสาทยนื่ ออกจากตวั
บริเวณ ออลแฟกทอรีบลั บ์ เซลล์หลายเสน้ ได้แก่
ในสมอง พวกเซลลป์ ระสาทสั่งการ
และเซลล์ประสาท
ประสานงานในสมองและ
ไขสนั หลงั

127

เซลลป์ ระสาทจำแนกตามหนา้ ท่ีได้ 3 ชนิด ไดแ้ ก่

1. เซลล์ประสาทรับความรสู้ กึ (sensory neuron)
คือ เซลลป์ ระสาททร่ี บั กระแสประสาทจากหน่วยรบั ความร้สู ึก แลว้ ถา่ ยทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์
ประสาทสัง่ การ อาจผา่ นเซลลบ์ ระสาทประสานงานหรอื ไม่ผ่านก็ได้

2. เซลลป์ ระสาทส่งั การ (motor neuron) คือ เซลล์ที่คอยสง่ กระแสประสาทออกจากไขสนั หลังเพ่ือ
นำกระแสประสาทไปยงั หนว่ ยปฏบิ ตั ิงาน เช่น กลา้ มเนอ้ื แขนขา ซึง่ อยู่ห่างไกลจากไขสันหลงั มาก มกั มีใย
ประสาทแอกซอนทย่ี าว

3. เซลลป์ ระสาทประสานงาน (association neuron ) คอื เซลล์ท่ีเชอ่ื มูต่อระหว่างเซลลป์ ระสาทรับ
ความรูส้ ึกกับเซลล์ประสาทสังการ ใยประสาทของเซลลป์ ระสาทประสานงานมกั จะส้ัน

128

เน้ือเยอื่ ประสาท (Nervous tissue)

เน้อื เย่อื ประสาทแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือ
1. Gray matter เป็นตวั เซลล์ (cell body) ของเซลล์ประสาท และสว่ นต้นท่แี ขนง (process) ของมนั
หลายๆอันรวมกนั เขา้ พบทีบ่ ริเวณสว่ นนอก (cortex) สมอง (Brain) และสว่ นแกนของไขสนั หลงั
(spinal cord) ใน nuclei และ Ganglia

(Nucleus หรือ Nuclei เป็นกลุ่มหรือก้อนของ
Nerve cell หรอื cell body ที่อยู่รวมกันเปน็ กล่มุ ในสมอง และไขสนั หลงั สว่ น Ganglian หรอื
Ganglid คือ กลมุ่ หรือ ก้อนของ Nerve cell ทีร่ วมกันอยขู่ า้ งนอกของสมองและไขสันหลงั )

2. White matter ประกอบดว้ ยเนอื้ เยอ่ื ประสาทท่มี ปี ลอก (Myelin sheat) ห่อหมุ้ ซึ่งจะสามารถช่วยให้
นำพลงั ประสาทได้เรว็ ขนึ้ White matter นี้ จะพบในสมอง

129

เยอ่ื หุ้มสมอง meninges

- Dura matter เป็นช้นั ทีห่ นาและเหนียวทส่ี ดุ
- Anachnoid matter ลกั ษณะใสและยดื หยุ่น
- Pia matte ลักษณะเปน็ เยือ่ บางติดสนทิ กับสมองและไขสันหลงั และประกอบเปน็ เยื่อหุ้มหลอดเลือดที่
เข้าส่สู มองเป็นส่วนที่เรียกว่า เพียล แบริเออร์ (pial barrier) ซงึ่ ทำหนา้ ทยี่ บั ยง้ั และคดั กรองสารเคมีที่
เคลื่อนยา้ ยผา่ นเขา้ ออก ระหวา่ งกระแสเลือดใน ซรี บี รมั กับเยือ่ ประสาทของสมอง

130

โพรงสมอง Ventricles

เป็นชอ่ งภายในสมองซึง่ เปน็ ท่ีอย่ขู องนำ้ เลย้ี งสมองและไขสนั หลงั (cerebrospinal fluidCSF)
ประกอบด้วย

1.โพรงสมองดา้ นขา้ ง (lateral ventricle) อย่ใู นซีรีบรมั (cerebrum) มี 2 ข้าง
คอื ข้างขวาและขา้ งซา้ ย

2. โพรงสมองที่ 3 (third ventricle) เป็นชอ่ งเดยี วทอ่ี ยกู่ ง่ึ กลางระหวา่ งทาลามสั (thalamus)

3.โพรงสมองที่ 4 (fourth ventricle).เป็นชอ่ งเดยี วทอี่ ยใู่ ต้ซีรเี บลลัม (cerebellum)ภายในมนี ้ำหลอ่
สมองไขสนั หลงั หรอื น้ำไขสันหลงั (Cerebrospinal fluid : CSF)

131

น้ำไขสนั หลงั Cerebrospinal Fluid (CSF)

สร้างมาจากคอรอยด์ เพลกึ ซสั (chonoid plexus) และถกู กรองออกจากเสน้ เลอื ดในคอรอยด์
เพล็กซัส(choroid plexus) เขา้ ไปอยู่ในโพรงสมอง (ventricle)

ลกั ษณะนำ้ ไขสนั หลัง

เปน็ ของเหลวใสๆ ไหลจากโพรงสมองดา้ นข้าง (lateral ventricle) แต่ละขา้ งผา่ นช่องของมอน
โร(foramen of monro) เขา้ สู่โพรงสมองที่ 3 (third ventricle) จากนั้นจะผา่ นช่องในซีรบี รมั
(cerebral aqueduct) เข้าส่โู พรงสมองที่ 4 (fourth ventricle) แล้วน้ำไขสนั หลงั จะผ่านออกส่ชู อ่ งวา่ ง
ระหวา่ งเยอื่ หมุ้ สมอง (subarachnoid space) ทางช่องของผนังในโพรงสมอง 3 ทาง (foramina in
the roof หรือ foramen of Luschka 2 ขา้ งและ Magendie's foramen) ไปอยู่รอบ ๆ สมองและไข
สันหลังในบริเวณเอว ระดบั ที่ 3-4 (L3-L4) หรือ 4-5 (L4-L5) ซง่ึ จะเปน็ บริเวณท่แี พทย์นิยมใชเ้ จาะนำ้ ไข
สันหลงั

หนา้ ทนี่ ้ำไขสนั หลงั
นำ้ ไขสันหลังที่ไหลเวียนในชอ่ งวา่ งนจ้ี ะนำสารอาหารไปใหเ้ นื้อสมองและไขสนั หลัง แล้วนำของ

เสียเขา้ ส่รู ะบบหมุนเวยี นของหลอดเลอื ดดำทาง อะแรชนอยด์ วลิ ไล (arachnoid งilli) ตอ่ ไป นำ้ ไขสัน
หลงั ยงั ช่วยกันกระเทอื นใหก้ ับสมองและไขสนั หลังดว้ ย

132

ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central nervous system)

ะบบประสาทส่วนกลาง ประกอบดว้ ย
1.สมอง (Brain) บรรจอุ ยใู่ นโพรงกะโหลกศรษี ะ (Cranial cavity) สมองเปน็ ส่วนทป่ี ระกอบดว้ ย
nervous tissue มากทสี่ ดุ มีเย่ือหุ้มอยู่ 3 ช้นั เรียกวา่ meninges สมองจะติดต่อกับไขสนั หลังโดยกา้ น
สมอง (Brain stem) ซงึ่ อยูใ่ นโพรงกะโหลกศรีษะ แล้วก้านสมองทอดผา่ นรทู ีเ่ รยี กวา่ foramen
magnum ของกระดกู Occipital bone ลงไปในช่องของกระดูกสนั หลงั '(Vertebral foramen)

สมองมรี ปู รา่ งคลา้ ยรูปไข่ สมองผู้ใหญ่มนี ำ้ หนักเฉลี่ยประมาณ 1,300 กรมั ผวิ ของสมองมีลกั ษณะ
เป็นลกู คลนื่ สมองมกี ารเจรญิ ต้งั แตเ่ ปน็ ตัวอ่อนในครรภม์ ารดาและเจรญิ อยา่ งรวดเร็วในอายรุ ะหว่าง 1-9 ปี
เจริญเตม็ ทเ่ี มอื อายุ 18-20 ปี ลักษณะของสมองแยกออกเปน็ 3 ส่วนคือ
สมองสว่ นหนา้ (Forebrain or Prosencephalon)
สมองส่วนกลาง (Midbrain or mesencephalon)
และสมองส่วนหลงั (Hindbrain or rhombencephalon)

133

สมองส่วนหนา้ (Forebrain)

มขี นาดใหญท่ ส่ี ดู มรี อยหยักเป็นจำนวนมาก สามารถแบง่ ออกไดอ้ ีกดงั น้ี
ซรี บี รมั (Cerebrum) มีขนาดใหญ่สุด มีรอยหยกั เป็นจำนวนมาก ทำหนา้ ทีเ่ ก่ยี วกบั การเรยี นร้สู ู้
ความสามารถต่าง ๆ เปน็ ศูนย์การทำงานของกล้ามเนือ้ การพูด การมองเห็น การดมกล่ิน การชมิ รส
แบง่ เปน็ สองซกี แต่ละซีกเรียกวา่ Cenebral hemisphere และแต่ละซกี จะแบง่ ไดเ้ ป็น 4 พูดดงั น้ี
1) Frontal lobe ทำหน้าทค่ี วบคุมการเคลอื่ นไหว การออกเสยี ง ความคิด ความจำ สตปิ ัญญา บุคลกิ
ความรู้สึกพ้นื อารมณ์
2) Temporal lobe ทำหน้าทค่ี วบคมุ การไดย้ นิ การดมกล่ิน
3) Occipital lobe ทำหนา้ ทค่ี วบคมุ การมองเหน็
4) Panietal lobe ทำหนา้ ที่ควมคมุ ความรสู้ กึ ด้านการสัมผัส การพูด การรับรส

134

ออลเฟกทอรบี ลั ย์ (olfactory bulb)

อย่ดู ้านหน้าสดุ ทำหน้าที่ ดมกลิ่น (ปลา,กบ และสัตวเ์ ล้อื ยคลานสมองส่วนน้จี ะมขี นาดใหญ่) ใน
สตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยนมออลแฟกทอรบี ัลบ์จะไมเ่ จริญ แต่จะดมกลิน่ ไดด้ โี ดยอาศยั เย่ือบุในโพรงจมูก

ทาลามสั (Thalamus)
อย่เู หนอื ไฮโปทาลามสั ทำหน้าท่ีเปน็ สถานีถ่ายทอดรบั รู้และกระแสประสาทเพื่อสง่ ไปจุดตา่ ง ๆ ใน

สมอง,ตอบสนองความรสู้ ึกเจบ็ ปวด ทำใหม้ ีการสั่งการแสดงออกพฤตกิ รรมดา้ นความเจ็บปวด

ไฮโปทาลามสั (Hypothalamus)
ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ศูนยก์ ลางของระบบประสาทอัตโนมัตแิ ละสรา้ งฮอร์โมนเพอ่ื ควบคุมการผลิตฮอร์โมนู

จากตอ่ มใต้สมองซ่งึ จะทำการควบคมุ สมดลุ ของปรมิ าณน้ำและสารละลายในเลือด และยังเกย่ี วกบั การ
ควบคุมอณุ หภูมิร่างกาย อารมณ์ความรสู้ กึ วงจรการต่นื และกรหลบั การหวิ การอ่ิม และความรู้สกึ ทางเพศ

135

สมองส่วนกลาง (Midbrain)

เปน็ สมองท่ีตอ่ จากสมองส่วนหนา้ เป็นสถานีรบั ส่งประสาท ระหว่างสมองสว่ นหนา้ กบั สว่ นท้าย
และส่วนหน้ากับนัยน์ตาทำหนา้ ท่เี ก่ยี วกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและมา่ นตาจะเจริญดีในสตั วพ์ วกปลา
กบ ฯลฯ ในมนษุ ยส์ มองส่วน obtic lobe นจี้ ะเจรญิ ไปเป็น Corpora quadrigermia ทำหนา้ ท่ีเก่ียวกบั
การได้ยนิ

สมองสว่ นหลัง (Hindbrain) ประกอบด้วย

พอนส์ (Pons)
เป็นส่วนของกา้ นสมอง ตดิ กู บั สมองส่วนลา่ ง ทำหน้าทค่ี วบคุมกล้ามเนื้อบริเวณใบหนา้ และเป็นท่ี

อย่ขู องประสำทค่ทู ่ี 5,6,7,8

เมดัลลา (Medulla)
เปน็ สมองสว่ นท้ายสดุ ต่อกบั ไขสันหลงั เปน็ ทางผา่ นของกระแสประสาทระหว่างสมองกบั ไขสนั

หลัง เปน็ ศูนยก์ ลางการควบคมุ การทำงานเหนืออำนาจจติ ใจ เช่นไอ จาม สะอึก หายใจ การเตน้ ของหวั ใจ
เป็นตน้

ซีรเี บลลัม (Cerebellum)
อยใู่ ตเ้ ซรีบรัม ควบคมุ ระบบกลา้ มเนือ้ ใหส้ ัมพันธก์ นั และควบคุมการทรงตัวของรา่ งกาย

136

2.ไขสันหลงั (spinal cord)

เปน็ ส่วนหนึง่ ของระบบประสาทสว่ นกลาง ทอดตวั อยู่ในไขสนั หลัง (spinal canal )เป็นสว่ นท่ีต่อจาก
medulla oblongataของกา้ นสมอง ไขสันหลงั จะตอ่ ยาวลงไปจนถงึ
กระดกู สนั หลงั ส่วนเอวท่อนท่ี 1 ถึง 2

หนา้ ทีข่ องไขสันหลัง

1) ทำหนา้ ที่สง่ กระแสประสาทไปยงั สมอง เพ่ือตีความและสั่งการ และในขณะเดยี วกันรบั พลงั ประสาทจาก
สมองซ่งึ เปน็ คำสัง่ ไปสอู่ วยั วะตา่ ง ๆ

2) เปน็ ศูนยก์ ลางของปฏิกิรยิ าสะทอ้ น (Reflex reaction)คอื สามารถทีจ่ ะทำงานไดท้ นั ทีเพือ่ ปอ้ งกนั และ
หลีกเล่ียงอันตรายอาจจะเกดิ ขึ้นกบั รา่ งกาย เช่น เมอ่ื เดนิ ไปเหยียบหนามที่แหลมคมเทา้ จะยกหนีทันทโี ดย
ไมต่ อ้ งรอคำสั่งจากสมอง

3) ควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของอวยั วะตา่ ง ๆ ท่มี ีเส้นประสาไขสันหลังไปสู่ ซงึ่ หน้าท่นี ี้เรียกว่า ทรอพฟิค
ฟังชั่น (Trophic function)

137
เม่อื ตดั ตามขวาง จะเห็นเนอ้ื ประสาทสเี ทา(gray matten)เปน็ รปู ตวั H และมเี สน้ ประสาททอดอยู่
สว่ นเนื้อประสาทสขี าว (white matter)เปน็ ทางผา่ นของเซลล์ประสาท

เสน้ ประสาทไขสนั หลังแตล่ ะเสน้ ประกอบด้วยรากบน (Dorsal root) เป็นก่งิ ประสาทรับความรู้สกึ และ
รากล่าง (Ventnal root) เปน็ กงิ่ ประสาทนำคำสั่ง

138

ระบบประสาทสว่ นปลาย (Peripheral nervous system)

ระบบประสากส่วนปลาย เปน็ ระบบประสาทซึง่ เชือ่ มตอ่ สว่ นตา่ ง ๆ ของสมองและไขสนั หลังไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ประกอบด้วย เสน้ ประสาทสมอง 12 คู่ เสน้ ประสาทไขสนั หลัง 31 คู่ และระบบ
ประสาทอตั โนมตั ิ

เสน้ ประสาทสมอง (Cranial nerve) มี 12 คู่ ทอดออกมาจากพื้นล่างของสมองผา่ นรตู า่ ง ๆ

ทพ่ี น้ื กะโหลกศรีษะ ประสาทสมองบางคจู่ ะทำหน้าทีร่ บั ความรสู้ ึก (Sensory nerve) บางคทู่ ำหน้าที่
เก่ียวกับการเคล่ือนไหว (Motor nerve) และบางคทู่ ำหน้าทที่ งั้ รบั ความรู้สึกและเกยี่ วกับการเคลอื่ นไหว
(Mix nerve) เสน้ ประสากสมองท้ัง 12 คู่ จะมีช่ือตามตำแหน่งที่ตั้งและหนา้ ท่ีการทำงาน ดงั น้ี

1.Olfactory nerve ทำหนา้ ทีร่ ับกล่ินโดยมีเซลล์ทีท่ ำหน้าท่ีรบั กลิน่ อยู่ท่เี ยอ่ื บุผวิ (Mucous
membrane) ของจมูก

2.Optic nerve ทำหนา้ ทเี่ กย่ี วกบั การมองเห็น มเี ซลลร์ บั (Recepton)อยู่ท่ี retina ของตา

3.Occulomotor nerve ไปเล้ียง (Innervate) กล้ามเนือ้ ลูกตา(External eye muscles)
ทำให้มกี ารเคล่อื นไหวของลกู ตา

4.Trochlear nerve ไปเลยี้ งกล้ามเนอ้ื ลกู ตามัดที่มชี ่ือวา่ (Superion oblique) ทำใหม้ กี าร
เคลอ่ื นของลูกตาไปในแนวลงล่างและเฉยี งเข้าดา้ นใน (Downward and medially)

5.Trigerminal nerve ทำหน้าทร่ี ับความรสู้ กึ จากบรเิ วณใบหนา้ ศรษี ะฟัน เก่ยี วกับความรสู้ ึก
เจ็บปวด ร้อน-เย็นและไป innervate เนอื้ เย่อื ต้งั แต่ศรษี ะลงไปในปาก ฟนั ขากรรไกร และลนิ้ ส่วนหนา้
เพอ่ื ควบคุมการเคย้ี ว

6.Abducent nerve ไป innervate กลา้ มเนือ้ ลูกตาทชี่ อื่ lateral rectus ทำใหเ้ กดิ การ
เคลื่อนไหวของลูกตาออกไปด้านขา้ ง (Lateral movement)

7.Facial nerve ไปเล้ยี งทล่ี ิ้นส่วนหนา้ ประมาณ 2/3 ทำหนา้ ที่รบั รสอาหาร
และทำหนา้ ทค่ี วบคุมการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนอื้ บรเิ วณหนา้ และศรษี ะ
ทำให้เกิดลกั ษณะการแสดงสีหนา้ ต่าง ๆ

8.Vestibulocochlea nerve มี 2 แขนง คอื vestibular nerveทำหน้าทเ่ี กยี่ วกับการทรงตัว
และ cochlea nerve ทำหนา้ ทเ่ี กย่ี วกับการได้ยนิ

139

9.Glossopharyngeal nerve ไปเล้ยี งลิ้นสว่ นหลงั ประมาณ 1/3ทำหนา้ ทรี่ ับความรูส้ กึ จากลนิ้
การกลืน เร้าใหห้ ลงั่ นำ้ ลาย และยังควบคมุ การทำงานของกลา้ มเน้อื หลอดคอ (Pharynx)

10.Vagus nerve ประกอบดว้ ยเสน้ ประสาทหลายเสน้ รวมกนั ไปสู่อวยั วะต่าง เช่น หูชน้ั นอก,
pharynx, Iarynx, trachea, bronchi,อวยั วะในชอ่ งอก, อวัยวะในชอ่ งทอ้ ง ไดแ้ ก่ หวั ใจ, ปอด
,esophagus, กระเพาะอาหาร, ลำไสเ้ ล็ก, ถงุ นำ้ ดี (Gall bladder)

11.Accessory nerve เลย้ี งกล้ามเนื้อ trapezius และsternocleidomastoid ทำให้ศรีษะและ
ไหลเ่ กดิ การเคล่อื นไหว

12.Hypoglossal nerve ไปสู่กล้ามเนื้อของลิ้น ควบคมุ การหดตวั และการคลายตวั ของกล้ามเนอื้
ล้ิน ทำใหล้ น้ิ มกี ารเคล่ือนไหว

140

เส้นประสาทไขสนั หลัง (Spinal nerve)

เปน็ เสน้ ประสาททีอ่ อกจากไขสันหลงั มี 31 คู่ spinal nerveทุกคู่ เปน็ เสน้ ประสาททร่ี วมทัง้
sensory และ motorทำหนา้ ที่รีบความรสู้ กึ จากผิวหนงั และเนื้อเย่ือ ในขณะเดยี วกนั กค็ วบคู มุ การหดตวั
และการยืดตวั ของกล้ามเนอื้ ระดบั ท่ีเส้นประสาทนนั้ ควบคมุ ด้วย เสน้ ประสาทไขสนั หลังแตล่ ะคูจ่ ะมี 2
ปลาย (root)

- Anterior noot or Ventral root เป็น fibers ท่ีตงั้ ตน้ จาก cell bodies ใน gray matter
ของ anterior horn ของไขสนั หลงั fiber เหลา่ นเ้ี ป็น efferent fibers ซง่ึ นำimpulseจากไขสนั หลังมา
สูส่ ่วนอ่ืน ๆ ของรา่ งกาย เช่นกลา้ มเนื้อ

- Posterior root or Dorsal root เปน็ fibens ทต่ี ้ังตน้ จาก cell ทป่ี ระกอบเป็น ganglion
ของ posterior root cell bodies เหลา่ นเ้ี ป็น afferent หรือ sensory fibersซึ่งนำimpulse จากสว่ น
ต่าง ๆ ของร่างกาย เขา้ ส่ไู ขสันหลงั หรือ medulla oblongata

141

ระบบประสากอตั โนมัติ (Autonomic nervous system)

ระบบประสาทชนดิ น้มี ีการทำงานที่เป็นอสิ ระอยนู่ อกอำนาจจิตใจ ระบบประสาทอตั โนมตั จิ ะทำหนา้ ท่ี
ควบคมุ การทำงานของอวยั วะภายในของร่างกายใหอ้ ยใู่ นสภาพปกติ เชน่ การควบคุมการทำงานของ
กลา้ มเน้อื หัวใจกลา้ มเน้ือเรยี บ การ์ทำงานของตอ่ มตา่ ง ๆ ทวั่ ร่างกายระบบประสาทอตั โนมตั ิมีหน้าท่ี
ควบคมุ การทำงานของโครงสรา้ งของอวยั วะ ๆ ทอ่ี ยนู่ อกอำนาจจติ ใจไดแ้ ก่

- กล้ามเนื้อเรยี บ (smooth muscle) ของอวัยวะต่างๆ

- กล้ามเนือ้ หวั ใจ (cardiac muscle ) ตอ่ มมที ่อ (Exocnine glands)
เช่น sweat gland,salivary gland, Lacrimal gland

- ตอ่ มไร้ทอ่ (Endocrine glands) เช่น adrenal gland เน้อื เยอื่ ท่ถี ูกควบคุมโดยระบบประสาท
อตั โนมัติ

142

ระบบประสาทอัตโนมัติ สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ส่วน คือ

1.ระบบประสาทซมิ พาเทตกิ ( sympathetic nervous system ) เปน็ ประสาทของการทำงาน
โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในสภาวะที่เกดิ ขน้ึ ทนั ทีทนั ใด หรือ ขณะต่ืนเตน้ เชน่ ในการตอ่ สู้กบั ศัตรู การทำงานเมือ่
เกิดเหตุฉุกเฉนิ หรอื ในระยะท่ีเกด็ การป่วยไข้ ทำใหห้ วั ใจเต้นเรว็ มา่ นตาขยาย เป็นต้น

2.ระบบประสาทพาราชมิ พาเทติก (Parasympathetic nervous system ) เปน็ ระบบประสาททที่ ำ
หน้าทพ่ี รอ้ มจะทำงานได้ เชน่ จะทำให้หัวใจเตน้ ชา้ ลง ชว่ ยในการเคลอ่ื นไหวของทอ่ ทางเดนิ ูอาหารเพิม่ ขึน้
ทำให้มกี ารยอ่ ยและการดดู ซมึ อาหารมากขน้ึ เพือ่ เป็นการซ่อมแซมและสรา้ งพลังงานสำหรับร่างกาย

143

144

THANK
YOU


Click to View FlipBook Version