72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา สอดคล้องและเป็นไปตาม นโยบายคุณธรรมพื้นฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ แ ล ะ ต า ม ห ล ั ก ป ร ั ชญ า เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้ง โครงการพัฒนานักเรียน นักศึกษาด้านบุคลิกภาพ และมนุษย์สัมพันธ์ ารขับเคลื่อน มศักยภาพ มชุดแนวคิด ักดันนโยบาย ที่ให้เด็กมา สนอความคิด งการ ร่วมกัน นกลไก สภา าวชนเป็นผู้ จกรรม ที่การมีส่วน ภาเด็กและ 1) จัดให้มีสภาเด็กและ เยาวชนตำบลและสภา เด็กและเยาวชน เทศบาล แล้วแต่กรณี (มาตรา 22 ) 2) จัดทำแผนพัฒนาเด็ก และเยาวชนในระดับ ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนแห่งชาติ และ จัดสรรงบประมาณเพื่อ การพัฒนาเด็กและเยาวชน ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ (มาตรา 8) 1) ประสานงาน อบต. แ ล ะ ป ร ะ ส า น ง า น เครือข่ายเรื่องงบประมาณ เพื่อนำมาพัฒนาเด็กใน โรงเรียน 2) สนับสนุนงบประมาณ การเข้าร่วมกิจกรรม 3) สร้างพื้นที่ให้เด็กแสดง ศักยภาพ สนับสนุน การ ฝึกทักษะ และเปิดพื้นที่ทำ กิจกรรมในชุมชน 4) ตั้งคณะกรรมการเด็ก ในโรงเรียน 1)ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ในสถานศึกษาเกิดความสนใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมสภา เด็กและเยาวชน 2)ผลักดัน สร้างการคิดเข้าสู่ สังคม เยาวชนจังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น ร่วมกับเด็กและ เยาวชน สู่สภาเด็กและ เยาวชน 70 6970
หัวข้อ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อเพื่อการเยาวชนได้อย่างแท้จริง - เป็นพลังทีให้กับเด็ก เข้และสานพลัง- เสริมสร้าแลกเปลี่ยนระดับชุมชนในพื้นที่ส่วนระดับตำบจังหวัด” 3. งบประมาณ สนับสนุน งบประมาณสภาเด็กและ เยาวชน ทุกระดับจังหวัด นครราชสีมา 1) งบอุดหนุนสภาเด็กและ เยาวชนตำบล/เทศบาล แห่ง ละ 20,000 บาทจำนวน 333 แห่ง มีการสนับสนุนในด้านเรื่อง การประสานผู้เข้าร่วม ก ิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ก ารจัด กิจกรรมสำหรับสภาเด็ก และเยาวชนแต่ระระดับ ได้รับการจัดสโดยบูรณาการเด็กและครอบนครราชสีมา
72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา มีส่วนร่วม ที่ช่วยเสริม ข้าใจสิทธิเด็ก งเครือข่าย างสภาเด็ก นเรียนรู้ใน น ให้มีโอกาส นรวม “เวที ล/อำเภอ/ 5) ส่งเสริมการเรียนรู้ โรงเรียนในเครือข่ายซึ่ง เป็นโรงเรียนภายนอก 6) สนับสนุนส่งเสริม ทุนการศึกษา โครงการ ต่าง ๆ 7) ประชุมสภาเด็กและ เยาวชนระดับตำบล/ อำเภอ ในการจัดกิจกรรม โครงการการแก้ปัญหา ขับเคลื่อนตามแบบสภา เด็กและเยาวชน ประสาน เครือข่ายมาช่วยศึกษา ปัญหาของพื้นที่ สรรจาก สสส. รกับบ้านพัก บครัวจังหวัด 1) ได้รับงบประมาณจาก บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา และ จากการบรรจุลงในแผน ของ อปท. 2) ได้รับงบประมาณจาก หน่วยงานเอกชนในพื้นที่ มูลนิธิและเครือข่ายที่ เกื้อหนุนในพื้นที่ร่วม สนับสนุนงบประมาณใน การจัดกิจกรรม จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน เพื่อตั้งงบประมาณจาก หน่วยงานเสนอโครงการ และรายงานการปฏิบัติงาน ตามลำดับขั้น 71 71
หัวข้อ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อเพื่อการ2) งบอุดหนุนสภาเด็กและ เยาวชนอำเภอ แห่งละ 30,000 บาท จำนวน 32 อำเภอ 3) งบอุดหนุนสภาเด็กและ เยาวชนจังหวัดนครราชสีมา เป็นเงิน 100,000 บาท 4. แนวทางการ พัฒนา/แผนกลุ่ม สภาเด็กและเยาวชน จัดทำแผนดำเนินงานฯ/ โครงการสภาเด็กและเยาวชน ภายใต้หลักการ "เด็กคิด เด็ก ทำ เด็กนำ ผู้ใหญ่หนุน" เ ม ื ่ อ ม ี โ ค ร ง ก า ร ห รื อ กิจกรรมที่เป็นการพัฒนา ศักยภาพเด็กและเยาวชน สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จะ แผนปฏิบัติ1) พ ั ฒ น าทักษะ ส่งเยาวชนเป็อาสา (นักสร้สื่อสารนักปฏิ
72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา ได้แก่ บ้านพักเด็กและ ค ร อ บ ค ร ั ว จ ั ง ห วั ด นครราชสีมา/องค์การ บริหารส่วนตำบลดอน อำเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชส ี มา/ศ ู นย์ คุ้มครอง คนไร้ที่พึ่ง จังหวัดนครราชสีมา (ศคพ.)/สำนักงานกองทุน สนับสนุน การสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.)/สำนักงาน หลัก ประกันสุขภาพ แห่งชาติ (สปสช.) / YCK /ศูนย์การศึกษาพิเศษเขต 11 /ภาคเอกชนในพื้นที่ ติการ 4 ด้าน า ศ ักยภาพ งเสริมเด็ก นพลเมือง ร้างสรรค์นัก ฏิบัติการ) 1) สร้างการมีส่วนร่วม ให้แก่เด็กจริงๆ เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้สภาเด็ก และเยาวชน กระตุ้นให้ เด็กและเยาวชนคิดริเริ่ม ทำตั้งแต่ต้นเอง สร้าง 1) แผนปฏิบัติงานของ โรงเรียนดำเนินการต่อไป ให้เข้มแข็งขึ้น 2) สร้างความร่วมมือให้ เข้มแข็งขึ้น 1) จัดทำแผนปฏิบัติการ ฝึกอบรมและบริการวิชาชีพ ร่วมกับแผนกวิชาและงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดไว้ใน แผนปฏิบัติการประจำปี 72
หัวข้อ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อเพื่อการประสานให้สภาเด็กและ เยาวชนเข้าร่วมเสมอ 2) พื้นที่ปฏิบัสร้างสรรค์ พชุมชนสร้างส3) ขับเคลื่สาธารณะรณเด็กเยาวชนสร้างนิเวศสร้างสรรค์เยาวชนและใ4) กลไกควกับทุกภาคส่ชุมชน สถาบัท้องถิ่น ภขับเคลื่อน โสร้างสรรค์ เการเรียนรู้ เด็กเยาวชนและทุกคน
72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา บัติการ พื้นที่ พื้นที่เรียนรู้ สรรค์ อนสื่อสาร ณรงค์ประเด็น น และการ ศปลอดภัย รอบตัวเด็ก ในชุมชน วามร่วมมือ สวน เยาวชน บันการศึกษา ภาคเอกชน โคราช เมือง เมืองส่งเสริม สร้างสุขเพื่อ นครอบครัว ความเชื่อมั่นและหา เทคนิคในการสร้างความ มั่นใจให้กับเด็กและ เยาวชน 2) เครือข่ายต้องร่วม/ ประสาน/เอื้อให้กับเด็ก มีแนวทาง นโยบายมาร่วม พัฒนาตนเอง/สร้างสรรค์ สังคม 3) กระบวนการสร้าง Passion ให้กับเด็กและ พี่เลี้ยง คือ ออกแบบ กลไกและเข้าใจสิทธิเด็ก เข้าใจปัญหาและสถานการณ์ เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน 4) เติมเครื่องมือและเสริม สร้างทักษะให้เข้มแข็งขึ้น 5) เสริมการทำงานเป็น กลุ่ม รู้จักการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และรู้จักการ ประสานงาน ช่วยนำทาง 3) ทำความเข้าใจ “สิทธิ เด็ก” 4) แนวทางการส่งเสริม ทักษะการทำงาน แก้ไข ปัญหาประเด็นทางสังคม 5) สร้างกิจกรรมที่เด็กควร ได้รับความรู้ ทราบถึงปัญหา และเกิดการมีส่วนร่วม 6) สนับสนุนให้เด็กมี กระบวนการคิดที่เป็นเชิง บวก มีความคิดเป็นระบบ เสริมทักษะ ครู/ผู้ใหญ่/ เด็ก 2) ดำเนินการโครงการฝึก อบรมและบริการวิชาชีพ เคลื่อนที่ร่วมกับจังหวัด ท้องถิ่น และหน่วยงานอื่น ๆ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรม และการให้บริการที่ตอบ สนองต่อชุมชนและสังคม ตามนโยบาย เช่น โครงการ ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน โครงการอาชีวะร่วมด้วย ช่วยประชาชน โครงการ อาชีวะบริการ และโครงการ ช่วยเหลือให้บริการอื่น ๆ กรณีเกิดภัยพิบัติหรือเหตุ เร่งด่วนตามที่ได้รับมอบหมาย 4) เผยแพร่องค์ความรู้ ทักษะวิชาชีพแก่ประชาชน เพื่อการมีงานทำแ ล ะ ประกอบอาชีพ 5) ดำเนินงาน ประสานงาน ป้องกัน และปราบปราม 73
หัวข้อ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อเพื่อการ5. ปัจจัยส่งเสริม กิจกรรมโครงการ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การจัดให้มี และการดำเนิน กิจกรรมของสภาเด็กและ เยาวชนตำบล/ เทศบาล สภา เด็กและเยาวชนอำเภอ สภา เด็กและเยาวชนจังหวัด เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งในเด็กและเยาวชน การส่งเสริมการขับเคลื่อน งา น ข อ งส ภาเด็กและ เยาวชนจึงมีความสำคัญ อย่างยิ่งในการพัฒนาให้ตัว เด็กและเยาวชนที่อยู่ใน สภาเด็กและเยาวชนมี ความเป็นผู้นำและแบบ อย่างที่ดี การมีเครือchild and มูลนิธิเพื่อนการพัฒนา แลทั้ง 4 ภาคส่วเอกชน สถาบและภาคปรตระหนักแลสำคัญของคุณภาพชีวิตและส่งเสริมเรียนรู้ให้เด็ก
72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา พาเด็กทำกิจกรรมร่วม กันได้รับการยอมรับจาก สังคม 7) ถอดบทเรียนหลังการ เข้าร่วมกิจกรรมสรุปผล การในแต่ละปี มีการ ติดตามและประเมินผล ว่าทำได้ไหม เด็กเป็น อย่างไร สารเสพติด งานแก้ปัญหา ป้องกันโรคเอดส์ งานอาสา พัฒนาและป้องกันตนเอง อข่าย korat youth care นเยาวชนเพื่อ ละคณะทำงาน วน คือภาครัฐ บันการศึกษา ระชาสังคม ละเห็นความ การพัฒนา ตเด็ก เยาวชน มพื้นที่การ ก เยาวชนได้ 1) ส่งเสริมให้คณะ บริหารสภาเด็กและ เยาวชนพิจารณาให้ ข้อเสนอแนะ/คำแนะนำ ความเห็นชอบในการ พิจารณาแผนการดำเนิน งานสภาเด็กและเยาวชน 2) ส่งเสริมให้เด็กและ เยาวชนพูดคุยหารือถึง ปัญหาหรือความต้อง การต่างๆ เกี่ยวกับเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ 1) สร้างผู้นำเด็กส่งเสริม การมีเครือข่ายระหว่างกัน และกัน เพื่อแสดงศักยภาพ 2)การออกนอกพื้นที่ของ นักเรียนต้องมีผู้ดูแลที่ เหมาะสม 3) มีเวทีถอดบทเรียน/ โครงการ/กิจกรรม ในการ ทำกิจกรรม 1) สร้างระบบเครือข่าย การแนะแนวอาชีพร่วมกับ หน่วยงานภายนอกทั้ง ภาครัฐและเอกชน และ ชุมชน 2) ดำเนินการแนะแนว อาชีพพร้อมทั้งส่งเสริม การศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพอิสระ 3) ประสานงานและให้ ความร่วมมือกับหน่วยงาน 7 4
หัวข้อ บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อเพื่อการสร้างประสบและสร้างประหว่างกันทักษะจำเป็ชีวิตในสังคมได้ด้วยตนเอเรียนรู้ที่มีกตนเองกับชุมแวดล้อม
72 อนเยาวชน รพัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา บการณ์จริง ปฏิสัมพันธ์ น เพื่อสร้าง นต่อการใช้ สร้างผลงาน อง เน้นการ ารเชื่อมโยง ชนและสังคม ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา 7 5
ตารางที่ 5 สรุปรูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าหัวข้อ บ้านพักเด็ก และครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อนการพั1) การมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ จาการที่บ้านพักเด็ก แ ล ะครอบครัวจังหวัด นครราชสีมา มีหน้าที่ใน การจัดสรรงบประมาณ ให ้ ก ั บ ส ภ า เด ็กและ เยาวชน ดังนั้นจึงเป็น หน้าที่ของบ้านพักเด็ก และเยาวชนมีหน้าที่ใน การตัดสินใจในการ พิจารณากิจกรรมที่มี ความเหมาะสม เนื่องจากสำนักงาน พมจ.นครราชสีมา มี ภารกิจในการดูแลคนทุก ช่วงวัย และวัยเด็กและ เยาวชนเป็นวัยที่มี ค ว า ม ส ำ ค ัญสำหรับ อนาคตของชาติ ดังนั้น การดูแลเด็กจึงมีความ จำเป็นย่างยิ่ง เนื่องจากมูลนิในการพัฒนเยาวชนอยู่การตัดสินใเพื่อเด็กและเป็นสิ่งที่ตัดเพื่อให้เด็กแเติบโตมาเป็ศักยภาพ 2) การมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติการ จากอำนาจหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องกับสภาเด็ก และเยาวชน บ้านพักเด็ก และครอบครัวจังหวัด นครราชสีมามีหน้าที่ใน การส่งเสริมศักยภาพ พัฒนาทักษะให้กับสภา เมื่อมีโครงการหรือกิจกรรม ที่เป็นการพัฒนาศักยภาพ เด็กและเยาวชน สำนักงาน พมจ. นครราชสีมาจะ ประสานให้สภาเด็กและ เยาวชนเข้าร่วมเสมอ มูลนิธิเพื่อนการพัฒนาเกี่ยวข้องกัเยาวชนอยู่การปฏิบัติงและเยาวชนอย่างสม่ำเสม
72 ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและเยาวชน เยาวชนเพื่อ พัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจ และการท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา นิธิมีเป้าหมาย นาเด็กและ แล้ว ดังนั้น ใจในการทำ ะเยาวชนจึง สินใจได้ง่าย และเยาวชน นผู้ใหญ่ที่มี การตัดสินใจในการมี ส่วนร่วมขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น อาจเกิดจากตัวผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงานที่มี ประสบการณ์หรืออยาก ทำงานเพื่อให้สภาเด็ก และเยาวชนให้เกิดความ เข้มแข็ง เพราะมองเห็น ความสำคัญของเด็กที่จะ เติบโตมาเป็นผู้พัฒนา ท้องถิ่นต่อไป การตัดสินใจเข้าร่วม กิจกรรมของทางโรงเรียน สามารถกล่าว ได้ว่าอาจ เป็นการประชาสัมพันธ์ ขององค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นเห็นความสำคัญ ของงานสภาเด็กและ เยาวชน การตัดสินใจในการมี ส่วนร่วมงานสภาเด็ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ข อ ง วิทยาลัยฯ เกิดจากการ ประชาสัมพันธ์และเชิญ ชวนจากองค์กรปกครอง ท้องถิ่นในพื้นที่ และ มองเห็นความสำคัญใน การเข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนเพื่อ มีภารกิจที่ กับเด็กและ แล้ว ดังนั้น งานกับเด็ก นจึงเกิดขึ้น มอ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ ในการจัดตั้งสภาเด็กและ เยาวชนตาม ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และแก้ไข โรงเรียนถือเป็นส่วนสำคัญ ในการทำกิจกรรมของ สภาเด็กและเยาวชนใน พื้นที่ เนื่องจากการทำ กิจกรรมจำเป็นต้อง ประสานไปทางโรงเรียน เพื่อให้อาจารย์อำนวย เนื่องจากวิทยาลัยบริหาร ธุรกิจและการท่องเที่ยว เป็นวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง กับการอาชีพ ดังนั้นเมื่อ อาจารย์ส่งเสริมให้ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 76
หัวข้อ บ้านพักเด็ก และครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อนการพัเด็กและเยาวชนดังนั้นจึง เกิดการจัดกิจกรรม ร่วมกับสภาเด็กและ เยาวชนในพื้นที่เพื่อให้ สภาเด็กและเยาวชนเกิด ความเข้มแข็ง 3) การมีส่วนร่วมใน ผลประโยชน์ เมื่อมีการทำงานร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานไม่ว่า จะเป็นเจ้าหน้าที่บ้านพัก เด็กและเยาวชนไ ด้ เสริมสร้างทักษะในการ ทำงานในตนเองและ บรรลุเป้าหมายในการ จัดกิจกรรม ส่วนทางด้าน สภาเด็กและเยาวชน สามารถเพิ่มทักษะใน การทำงานร่วมกันเป็น กลุ่มและมีความกล้า แสดงออก เมื่อมีการทำกิจกรรม ร่วมกันทำให้เกิดการ พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ ข อ ง เจ้าหน้าที่เองและการ พัฒนาตัวเด็กเอง เกิด ความ สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ซึ่งเป็นการประชาสัมพันธ์ หน ่ วยงาน ไ ป ใ น ตั ว เนื่องจากสำนักงาน พมจ. นครราชสีมา เป็น หน่วยงานที่ทำงานกับ คนทุกช่วงวัย จ า ก เ ป ้ า หองค์กร คือ เความคิดขอเยาวชนที่ยอมรับ แลเย า ว ชน มีออกแบบสปฏิบัติการการเปลี่ยนแปสู่สังคม เมืกิจกรรมจึงพลังเครือข่เยาวชน
72 เยาวชนเพื่อ พัฒนา องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจ และการท่องเที่ยวจังหวัด นครราชสีมา เพิ่มเติม พ.ศ.2560 ดังนั้น อปท. จึงถือว่า เป็นหน่วยงานที่สำคัญใน การปฏิบัติงานร่วมกับ สภาเด็กและเยาวชน ความสะดวกในการให้ เด็กเข้าร่วมกิจกรรรม จึงเป็นการพัฒนาศักยภาพ ให้กับตัวนักเรียนด้วย ห ม า ย ข อ ง เกิดพื้นที่ทาง องเด็กและ ได้รับการ ละเด็กและ ส ่ ว น ร ่ ว ม สร้างสรรค์ รสร้างสรรค์ ปลง สู่ชุมชน ื่อมีการจัด งถือว่าสาน ายเด็กและ เมื่อมีการจัดกิจกรรมใน พ ื ้ น ที ่ ส ภ า เ ด ็ ก แ ล ะ เยาวชนเองก็จะมีการ พัฒนาทักษะการดำรง ชีวิตทำให้มีควา มรู้ ความสามารถ เมื่อเด็ก และเยาวชนเหล่านั้น เติบโตขึ้นก็สามารถ กลับมาพัฒนาชุมชนและ ท้องถิ่นของตนเองให้ ก้าวหน้าขึ้นได้ เมื่อนักเรียนเข้าร่วมกิจ กรรรมสภาเด็กและ เยาวชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น เด็กที่ชอบทำกิจกรรมอยู่ แล้ว ซึ่งเด็กเหล่านั้น สามารถสร้างชื่อเสียง ให้กับทางโรงเรียนได้ ซึ่ง เป็นการประชาสัมพันธ์ โรงเรียนไปในตัว เนื่องจากวิทยาลัยฯ เป็น วิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกับ การอาชีพ การส่งเสริม ให้นักเรียนเข้าร่วม กิจกรรมสภาเด็กและ เยาวชนย่อมเกิดประโยชน์ ในการพัฒนาตัวเด็กเอง และเป็นการประชาสัมพันธ์ วิทยาลัยฯ 7 7
ตารางที่ 6 สรุปการมีส่วนร่วมบ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อนเยาวชนเพื่อ การพัฒนา องหน่วยงานภาคเอกชนเข้ามาให้ การสนับสนุนการดำเนินงาน บ้านพักเด็กและครอบครัว จังหวัดนครราชสีมา โดยการ ให้พื้นที่ในการจัดกิจกรรม เช่น ห้างเดอะมอลโคราช ห้างเซ็นทรัล เนื่องจาก ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นและ คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ชุมชน ใกล้เคียง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และนำเสนอ องค์กรในภาพลักษณ์ที่ดีของ องค์กรที่ดีสู่สังคม มีการบูรณาการการจัด กิจกรรมร่วมกับบ้านพัก เด็กและครอบครัวจังหวัด นครราชสีมาในการหา เครือข่ายในการจัดกิจกรรม เนื่องจากมูลนิธิเพื่อน เยาวชนเพื่อการพัฒนา มุ่งมั่นและมีหน้าที่จะสร้าง การมีส่วนร่วมของเด็กและ เยาวชนให้มีพลังสร้างการ เปลี่ยนแปลงสู่สิ่งที่ดีงาม ให้กับตนเอง เพื่อน ชุมชน สังคม เนื่องจากสังคมต้อง การเห็นความเปลี่ยนแปลง โรงสถกาบริเคียขอใช้ทมามุ่งอย่
72 มของเครือข่ายตามหลัก CSR งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน วิทยาลัยบริหารธุรกิจ และการท่องเที่ยว จังหวัดนครราชสีมา งเรียน วัด โรงพยาบาล านีตำรวจ สถานประกอบ รในชุมชน เช่น ห้างร้าน ิษัท โรงงาน บริเวณใกล้ ยงต่างคำนึงถึงผลประโยชน์ งชุมชนเป็นหลักด้วยการ ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กร ช่วยเหลือสังคม โดย เน้นการอยู่ร่วมกับสังคม างปกติสุข โรงเรียนถือว่าเป็นทั้ง ผู้รับการสนับสนุนจาก เครือข่ายและเป็นผู้ให้ ความช่วยเหลือสังคม วิทยาลัยฯ มุ่งที่จะบำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคม เพื่อให้ เกิดการพัฒนาเนื่องจากเป็น วิทยาลัยฯ ที่เกี่ยวข้องกับ การอาชีพ 78
7983 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการศึกษา โครงการวิจัย “แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็ก และเยาวชนให้เกิดความเข้มแข็ง ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบ วิธีการ และ กระบวนการของเครือข่ายทางสังคมในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชน เพื่อศึกษาปัจจัยที่ มีผลต่อการตัดสินใจของเครือข่ายทางสังคมในการสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชน เพื่อศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและเยาวชน การศึกษาแนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชน ให้เกิดความเข้มแข็ง ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) โดยคัดเลือกบุคคลที่มีการ ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา เพื่อนำเสนอข้อมูลแบบพรรณนา เกี่ยวกับแนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชนให้ เกิดความเข้มแข็งในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ดังนี้ 1. ศึกษารูปแบบ วิธีการ และกระบวนการของเครือข่ายทางสังคมในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของสภา เด็กและเยาวชน 1.1 รูปแบบการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน การดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนเกิดจากพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและ เยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ได้กำหนดให้กรมกิจการเด็กและ เยาวชนดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดตั้ง สภาเด็กและเยาวชนระดับตำบล และสภาเด็ก และเยาวชนเทศบาล สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ และสภาเด็กและเยาวชนเขต สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย และได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2566 -2570) โดยสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดนครราชสีมา จากการศึกษาวิจัยพบว่า มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อแสดงศักยภาพและแต่งตั้งคณะบริหารสภาเด็กและ เยาวชน ซึ่งมีผู้นำชุมชนชักชวนมาทำกิจกรรมร่วมกัน รวมถึงตัวของเด็กและเยาวชนต้องการที่จะมีส่วนร่วมใน การทำกิจกรรมด้วย ซึ่งมีกิจกรรมและโครงการต่างๆ ดังนี้ การอบรมเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า โครงการสอนน้อง ว่ายน้ำโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการอบรมต่อต้านยาเสพติด โครงการ stop bully โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นรำวงคองก้า โครงการเดิ่นดอนยิ้ม (ขนมหูช้าง) โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางการดำเนิน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน การจะมีกระบวนการติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสาร เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์ ตลอดจนการพัฒนาเครือข่ายมีกระบวนการติดต่อสื่อสารอย่างสม่ำเสมอ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนอย่าง ต่อเนื่องและมีการสรุปความก้าวหน้าในผลการดำเนินการของสมาชิกและเครือข่าย
8480 1.2 วิธีการดำเนินงาน วิธีการดำเนินงานของเครือข่ายแต่ละเครือข่ายทางสังคมที่มีการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของสภาเด็กและเยาวชนในแต่ละพื้นที่ แต่ละหน่วยงานนั้นมีความแตกต่างกันเนื่องจากบริบท อำนาจ หน้าที่ ของแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกัน โดยบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา กรมกิจการเด็กและ เยาวชน โดยบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัดส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การจัดให้มี และการดำเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนตำบล/เทศบาล สภาเด็กและเยาวชนอำเภอ สภาเด็กและ เยาวชนจังหวัด สำนักงานหรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ มูลนิธิเพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา มีเป้าหมายในการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กเยาวชน มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สู่สังคม ดำเนินงานเพื่อ ส่งเสริมกระบวนการคิด การรู้เท่าทัน ส่งเสริมทักษะชีวิตเด็กและเยาวชน และสร้างภูมิคุ้มกันผลักดันให้เกิดการ จัดสภาพแวดล้อมลดสภาวะเสี่ยงรอบตัวเด็กและเยาวชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางในการ ประสานงานการมีส่วนร่วมของสภาเด็กในการจัดกิจกรรมต่างๆ และประสานงานกับโรงเรียน และเครือข่าย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง มีความสามารถกล้าแสดงออก เป็นกระบอกเสียงในชุมชน เพื่อสร้างเครือข่ายสมาชิกเด็กและเยาวขนในพื้นที่ การดำเนินงานของโรงเรียนใน เขตพื้นที่ผลักดันเด็กเข้าสู่สภาเด็กและเยาวชน เปิดโอกาส ประสานงาน เพื่อให้เด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ อย่างการเรียนรู้ชุมชน ส่วนวิทยาลัยบริหารธุรกิจและเยาวชน มุ่งเน้นส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้เกิด
8581 ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม และผลักดันให้เด็กและเยาวชนในอาชีวศึกษาให้เข้าสู่สภาเด็กและเยาวชน แต่ละหน่วยงานและองค์กรแม้จะมีอำนาจหน้าที่แตกต่างกัน แต่ก็มีความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงระหว่างสมาชิกอาจ เป็นตัวบุคคล บุคคลต่อกลุ่ม กลุ่มต่อกลุ่ม เครือข่ายต่อเครือข่ายทำให้เกิดการสนับสนุนเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 1.3 กระบวนการดำเนินงาน 1) สภาเด็กและเยาวชนมีการสื่อสารกับเครือข่ายทางสังคม เป็นความต้องการมีส่วนร่วม ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานที่มีเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วมกับเครือข่ายทางสังคม 2) สภาเด็กและเยาวชนมีกิจกรรมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ้านพักเด็กและ ครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาและชุมชน โดยเฉพาะการกำหนดแผนงานโครงการรวมทั้งกิจกรรมต่างๆ สภาเด็กและเยาวชนควรทำงานเกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน การจัดกิจกรรม เป็นต้น ควรมีกรอบงานทั้งกลุ่มโครงการ กิจกรรมที่สอดคล้องกับหน่วยงานต่างๆ ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การเขียนแผนงานโครงการเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในแต่ละพื้นที่ในประเด็นที่ เกี่ยวข้อง 3) สภาเด็กและเยาวชน มีผลการดำเนินงานเชิงประจักษ์ กล่าวได้ว่าผู้ให้ข้อมูลการวิจัย มุ่งเน้นการสร้างผลงานของสภาเด็กและเยาวชน ที่สัมผัสได้จริงถึงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ที่มีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจริง สภาเด็กและเยาวชน ควรได้มีผลงานเชิงประจักษ์ที่จับต้องได้เป็นความสำเร็จที่ได้ผล ลัพธ์จริง 1.4 การมีส่วนร่วมของเครือข่ายทางสังคม จากรูปแบบ วิธีการ และกระบวนการของเครือข่ายทางสังคมในการสร้างเสริมความ เข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชน จากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและจากการระดมความคิดเห็นจากกลุ่มผู้ให้ ข้อมูลทั้งบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน เครือข่ายทางสังคมที่ได้ข้อมูลจากบุคคลหลายหน้าที่ และหลายตำแหน่ง ความรับผิดชอบงานกิจกรรมด้านสภาเด็กและเยาวชน ได้ค้นพบว่าบ้านพักเด็กและ ครอบครัวจังหวัดนครราชสีมามีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนและนำพาให้กิจกรรมสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่าง ราบรื่นในหลายพื้นที่ สามารถสรุปได้ดังนี้ 1) ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับต้องมีความเป็นตัวของ ตัวเองมีความคิดเป็นอิสระในการพูดคุย แสดงความคิดเห็น และการปฏิบัติหน้าที่ 2) มีการสื่อสารองค์กรสู่สาธารณะ เป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และสื่อสารสภาเด็กและ เยาวชนให้สังคมรู้จัก ให้ชุมชนเข้าใจเด็กและเยาวชนจำนวนมากในท้องถิ่นที่มีสภาเด็กและเยาวชนแต่ยังไม่ ทราบหน้าที่ใดๆ ของสภาเด็กและเยาวชน
826 3) สภาเด็กและเยาวชน มีแหล่งทุนเป็นกองทุนสนับสนุนโครงการของสภาเด็กจากบ้านพัก เด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาและจากทั้งหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ หรือแหล่งเงินทุนภาคเอกชนในพื้นที่ ภาคธุรกิจที่ต้องการมีส่วนร่วมในการทำประโยชน์สาธารณะแสดงออกถึงการรับผิดชอบทางสังคม (CSR) 4) สภาเด็กและเยาวชน มีระบบการเรียนรู้ สภาเด็กและเยาวชนมีชุดความคิดในการพัฒนา ตนเองในความเป็นผู้นำเป็นคณะบริหารทั้งเป็นการอบรมให้สมาชิกเด็กและเยาวชนในแต่ละพื้นที่มีความใส่ใจ และสมัครใจเข้ามารับการเรียนรู้ในทักษะชีวิตต่างๆ ให้มีวุฒิภาวะความเป็นเด็กที่สมวัยมีพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและวุฒิอารมณ์เหมาะสมนำมาซึ่งพัฒนาการให้มีความพร้อมเติบโตเป็นผู้ใหญ่ 5) ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ เข้าใจและให้โอกาส สภาเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนอยู่ใน วัยรุ่น วัยเรียนทั้งวัยเด็กทุกคน เมื่อได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนของเด็กและเยาวชนในแต่ละพื้นที่ แต่ละระดับ สภาเด็กและเยาวชนมีความรับผิดชอบในชีวิตมากขึ้นที่ต้องมีการบริหารเวลา บริหารการเรียนรู้ บริหารวิธีการเข้าสังคมต่างๆ 6) รูปแบบการทำงานของสภาเด็กและเยาวชน จะประสบความสำเร็จต้องเกิดจากการมีส่วน ร่วมจากผู้บริหารองค์กรภาครัฐ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาครัฐ ทีมที่ปรึกษา คณะทำงาน
87 แนวทางตามนโยบายการดำเนินงานด้านสภาเด็กและเยาวชน จัดทำโดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ 2550 กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ กรมกิจการเด็ก และเยาวชน สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ สภาเด็กและเยาวชน องค์กรปกครองส่วนท้อถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน สภาเด็กแห่งประเทศ ไทย In put (การสนับสนุน ระดับนโยบาย ปฏิบัติการ) Process (กระบวนการดำเนินงาน) Output – ผลลัพธ์ (คุณภาพสภาเด็กตามเกณฑ์ตัวชี้วัด) ระดับชาติ ระดับอ าเภอ ระดับต าบล ระดับจังหวัด 1. ส่งเสริมสนับสนุนและเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้านวิชาการและกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษา กีฬา 2. ส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้ มีความรู้ความสามารถและจริยธรรม 3. กำหนดแนวทางในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการ พัฒนาเด็กและเยาวชนทุกระดับ มาตรฐานและตัวชี้วัดสภาเด็กและเยาวชน (นำร่อง 21 ตัวชี้วัด) ระดับจังหวัด 47 ตัวชี้วัด ระดับอ าเภอ 45 ตัวชี้วัด ระดับต าบล 38 ตัวชี้วัด แนวทาง 83
8488 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเครือข่ายทางสังคมในการสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและ เยาวชน จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเครือข่ายทางสังคมในการสนับสนุนการขับเคลื่อนงาน ของสภาเด็กและเยาวชน สามารถจำแนกเป็น 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัย ด้านจิตวิทยา มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ปัจจัยด้านบุคคล จากการศึกษาปัจจัยด้านบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมสนับสนุนงานด้านสภาเด็ก และเยาวชนนั้น พบว่าปัจจัยด้านบุคคลของผู้ที่เข้ามาสนับสนุนงานด้านสภาเด็กและเยาวชนล้วนเป็นผู้ที่มี ประสบการณ์ หรือการดำรงชีวิตที่เกี่ยวข้องกับเด็กมาโดยตลอด ทำให้มีทัศนคติที่ดีต่อเด็ก มองเห็นคุณค่าใน งานด้านสภาเด็กและเยาวชน เกิดความรู้สึกต้องการที่จะสนับสนุนศักยภาพของสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ได้แก่ เจ้าหน้าที่บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาที่มีความใกล้ชิด มีความรู้ มีประสบการณ์ทำงาน กับเด็ก, เจ้าหน้าที่ อปท.ที่ได้รับมอบหมายดูแลงานด้านสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ ซึ่งเป็นบุคคลในพื้นที่ ทำให้เกิดความรู้สึกเอาใจใส่เหมือนลูกหลาน คณะครูที่ดำเนินงานด้านสภาเด็กและเยาวชนในส่วนของโรงเรียน หรือวิทยาลัยฯ ต่างมองเห็นคุณค่าในตัวเด็กที่มีศักยภาพสามารถพัฒนาต่อยอดเป็นต้นแบบที่ดี เช่น เด็กที่มี ความกล้าแสดงออก เด็กที่มีความเป็นผู้นำ เด็กที่มีความสามารถต่างๆ มาผลักดันให้เข้าสู่สภาเด็กและเยาวชน เป็นต้นแบบเยาวชนที่ดี ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรเอกชนที่สนับสนุนงานด้านสภาเด็กและเยาวชนเป็นผู้ที่ทำงาน ด้านจิตอาสามาโดยตลอด ทำให้มีความสนใจและพร้อมที่จะสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของสภาเด็กและเยาวชน และปัจจัยด้านบุคคลของเด็กที่เป็นสภาเด็กและเยาวชนที่ทำให้เครือข่ายมองเห็นคุณค่าและตัดสินใจสนับสนุน คือ เด็กมีความสามารถ เป็นผู้นำ กล้าแสดงออกอย่างถูกต้องเหมาะสมรู้ถึงบทบาทหน้าที่ของสภาเด็กและ เยาวชน ดำเนินงานด้านสภาเด็กและเยาวชนอย่างสร้างสรรค์เป็นประโยชน์ต่อสังคม ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรม โดยมีผู้ปกครองสนับสนุนให้เด็กสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ของงานของสภาเด็กได้ สอดคล้องกับ แนวคิดของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์.(2552) ที่กล่าวว่า ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal factor) ในการตัดสินใจซื้อของ ผู้ซื้อได้รับอิทธิพลจากลักษณะส่วนบุคคลของคนในด้านต่างๆ ดังนี้ อายุ (Age) อายุที่แตกต่างกันจะมีความ ต้องการต่างกัน วงจรชีวิตครอบครัว (Family life cycle stage) การดำรงชีวิตในแต่ละขั้นตอนเป็นสิ่งที่มี อิทธิพลต่อความต้องการทัศนคติและค่านิยมของบุคคล รายได้ การศึกษา ค่านิยมหรือคุณค่า (Value) และ รูปแบบการดำรงชีวิต (Lifestyle) ค่านิยมหรือคุณค่า 2.2 ปัจจัยด้านสังคม จากการศึกษาปัจจัยด้านสังคมที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมสนับสนุนงานด้านสภาเด็กและ เยาวชนของเครือข่ายทางสังคม พบว่าเกิดจากการที่องค์กรภาครัฐมีภารกิจที่เกี่ยวข้องกับงานสภาเด็ก ตามพ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2560 ที่กำหนด บทบาทหน้าที่และแผนประจำปีในการดำเนินงานด้านสภาเด็กและเยาวชนไว้ชัดเจน ได้แก่ บ้านพักเด็กและ ครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา, สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และ อปท. ในพื้นที่
8589 จังหวัดนครราชสีมา และในส่วนขององค์กรเอกชนที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับงานสภาเด็กและเยาวชน คือมูลนิธิ เพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา ดังนั้นบทบาทภารกิจองค์กรจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เครือข่ายต่างๆ เข้ามา สนับสนุนงานด้านสภาเด็กและเยาวชน และนอกจากนั้นผู้บริหารองค์กรให้ความสำคัญด้านสภาเด็กและ เยาวชน ทำให้มีอิทธิพลกำหนดทิศทางการดำเนินงานขององค์กรและผู้ปฏิบัติงานได้ เช่น ผู้บริหารโรงเรียนและ วิทยาลัยฯให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพเด็ก ในการเป็นตัวแทน/ต้นแบบเยาวชนที่กล้าแสดงออกในทาง ที่ถูกต้องเหมาะสม โดยผลักดันเด็กเข้าสู่การเป็นสภาเด็กและเยาวชน โดยคณะครูเป็นที่ปรึกษาและเปิดโอกาส ให้เด็กนำกิจกรรมจากจังหวัด งานสภาเด็ก มาดำเนินการในโรงเรียน ซึ่งครูเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายเรื่อง งบประมาณเพื่อนำมาพัฒนาเด็กในโรงเรียน และการยอมรับจากชุมชน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เครือข่ายเข้ามา สนับสนุนงานสภาเด็กและเยาวชน เนื่องจากกิจกรรมสภาเด็กและเยาวชนคือกิจกรรมจิตอาสา ให้ความรู้ รณรงค์ ต้านภัยยาเสพติด การคุมกำเนิด หรือทำประโยชน์ต่างๆ ให้แก่สังคมชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์.(2552) ที่กล่าวว่า ปัจจัยด้านสังคม (Social factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน และมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ ลักษณะทางสังคมจะประกอบด้วย กลุ่มอ้างอิง (Reference group) เป็นกลุ่มที่บุคคลเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยมีอิทธิพลต่อทัศนคติ ความคิดเห็น และค่านิยมของบุคคลในกลุ่มอ้างอิง เนื่องจากบุคคลต้องการให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่ม จึงต้องปฏิบัติตามและยอมรับความคิดเห็นจากกลุ่มอ้างอิง ครอบครัว (Family) บุคคลในครอบครัวถือว่ามีอิทธิพลอย่างมากต่อทัศนคติ ความคิดและค่านิยมของบทบาท และสถานะ (Roles and statuses) บุคคลจะเกี่ยวข้องกับหลายกลุ่ม เช่น ครอบครัว กลุ่มอ้างอิง องค์กร และสถาบันต่างๆ บุคคลจะมีสถานะที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม ฉะนั้นในการตัดสินใจมักจะมีบทบาทหลาย บทบาทที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของตนเองและผู้อื่นด้วย 2.3 ปัจจัยด้านจิตวิทยา จากการศึกษาปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมสนับสนุนงานด้านสภาเด็ก และเยาวชนของเครือข่ายทางสังคม พบว่าแรงจูงใจหลักคือการสร้างการยอมรับ เช่น โรงเรียน และวิทยาลัยฯ ต้องการผลักดันเด็กที่มีความสามารถเข้าสู่การเป็นสภาเด็ก นอกจากจะเป็นการสนับสนุนแล้วยังเป็นการสร้าง ชื่อเสียงให้แก่สถาบันอีกด้วย และการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ถือเป็นอีกปัจจัยด้านจิตวิทยา คือการ ได้รับทราบข้อมูลส่งผลให้การดำเนินงานด้านสภาเด็กเกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติงานมีแรง บันดาลใจในการดำเนินงานต่อไป เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาเผยแพร่องค์ความรู้ จัดการประชุม หรือจัดการอบรมงานด้านสภาเด็กและเยาวชน ให้แก่ภาคีเครือข่าย หรือ อปท.ขอข้อมูลหรือ คำแนะนำด้านสภาเด็กจากบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมาในการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนและ เสนอโครงการเพื่อของบประมาณในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ หรือการมีเป้าหมายร่วมกันถือเป็นแรงจูงใจใน การเข้ามาร่วมดำเนินงานขององค์กรเอกชน คือต้องการเครือข่ายที่มีเป้าหมายเดียวกันในการช่วยกันขับเคลื่อน งานด้านสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศิริวรรณ เสรีรัตน์.(2552) ที่กล่าวว่า ปัจจัยด้าน
8690 จิตวิทยา (Psychological factor) หรือปัจจัยภายใน การตัดสินใจของบุคคลได้รับอิทธิพลจากปัจจัยด้าน จิตวิทยา ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ ประกอบด้วย การจูงใจ (Motivation) หมายถึง พลังสิ่งกระตุ้น (Drive) ที่อยู่ภายในตัวบุคคลซึ่งกระตุ้นให้บุคคลปฏิบัติการจูงใจเกิดภายในตัวบุคคล แต่อาจถูกกระทบจากปัจจัยภายนอกได้ พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นต้องมีแรงจูงใจ (Motive) ซึ่งหมายถึง ความต้องการที่ได้รับการกระตุ้นจากภายในตัวบุคคลที่ต้องการแสวงหาความพอใจด้วยพฤติกรรมที่มีเป้าหมาย ของตัวบุคคล
9187 แผนที่ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเครือข่ายทางสังคมในการสนับสนุนการขับเคลื่อน งานสภาเด็กและเยาวชน การมีส่วนร่วมของ สภาเด็กและเยาวชน ปัจจัยด้านการรับรู้ เกี่ยวกับสภาเด็ก ฯ ฐานะทางการเงิน ของครอบครัว ทำงานหารายได้ เลี้ยงตนเอง ช่วยผู้ปกครอง ทำมาหากิน ไม่รู้จักสภาเด็กฯ มาก่อน สภาเด็กคืออะไร ปัจจัยผลักดันจากผู้นำ คุณครู หน่วยงานที่ รับผิดชอบ ผู้ปกครอง ปัจจัยด้านออกแบบ นโยบาย คณะบริหารสภาเด็ก และเยาวชน หน่วยงานที่ควร รับผิดชอบ ฝ่ายการศึกษา โรงเรียน ช่วงอายุของ ผู้บริหารสภาเด็กฯ วาระการดำรง ตำแหน่ง ปัจจัยด้านเวลา ลักษณะการใช้ชีวิต ทำงานจิตอาสา ทำกิจกรรม ครอบครัว โลกส่วนตัวสูง ติด โทรศัพท์มือถือ การใช้เวลา ทำงานหา รายได้พิเศษ ว่าง ไม่มีอะไรทำ เรียนพิเศษ ออกไปเที่ยว กับครอบครัว
8928 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและเยาวชน จากการระดมความคิดเห็นของภาคีเครือข่ายทางสังคม ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่มีความเกี่ยวข้องในการสร้างความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมา หากกล่าวถึงแนวทางการมีส่วนร่วมขึ้นอยู่กับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเป็นสำคัญซึ่งทั้งสองฝ่าย จะต้องมีความต้องการที่จะทำงานร่วมกันจึงจะเกิดการมีส่วนร่วมขึ้น ในทางกลับกันถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้ง สองฝ่ายไม่พึงประสงค์ที่จะทำงานร่วมกัน การมีส่วนร่วมก็จะไม่เกิดขึ้น ปัจจัยทั้งสองเป็นเงื่อไขสำคัญของการมี ส่วนร่วมในการบริหาร 3.1 การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของภาคีเครือข่ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและ เยาวชน คุณลักษณะที่ดีของเครือข่ายทางสังคมที่จะสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย 1) ภาคี เครือข่ายทางสังคมที่มีระบบโครงสร้างองค์กรและการจัดการที่ดี 2) ภาคีเครือข่ายทางสังคมมีระบบฐานข้อมูล เด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อใช้ในการทำงานสภาเด็กและเยาวชน 3) ภาคีเครือข่ายทางสังคมมีคณะทำงานที่ พร้อมให้การสนับสนุนกิจกรรมสภาเด็กและเยาวชน 4) ภาคีเครือข่ายทางสังคมเห็นคุณค่าและความสำคัญของ สภาเด็กและเยาวชน ในการมีส่วนร่วมทำงานด้านเด็กและเยาวชน 5) ภาคีเครือข่ายทางสังคมมีการจัดการ ความรู้ สนับสนุนกิจกรรมสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด อัษฎายุธ สุนทรศารทูล (2547 : 34) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจมี 4 ด้าน คือ 1. ปัจจัยทางด้านสังคม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ค่านิยม ความเชื่อ หลักธรรมของสังคม ระบบการศึกษาและสิ่งแวดล้อม 2. ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อาชีพ การทำมาหากิน รายได้ การเพิ่มผลผลิตอาหาร เงินทุนและสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ 3. ปัจจัยด้านผู้ตัดสินใจ เช่น ระดับการศึกษา ระดับสติปัญญา ความรอบรู้ในเรื่องต่างๆ รวมถึงประสบการณ์เดิม วุฒิภาวะ นิสัย อารมณ์ และความจำเป็นส่วนตัวของผู้ตัดสินใจ 4. ปัจจัยด้านเวลาสถานที่และข้อเท็จจริง ทั้งนี้พราะการ ตัดสินใจที่กระทำในเวลา สถานที่และข้อเท็จจริงที่ได้รับมีปริมาณและคุณภาพแตกต่างกัน วิธีเลือกใช้อาจจะ แตกต่างกันด้วย 3.2 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติของภาคีเครือข่ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและ เยาวชน เกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่าย มีทั้งรูปแบบการมีส่วนร่วมทางตรงและการมีส่วนร่วม ทางอ้อมระหว่างบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่นๆ อีกหลายคนหรือความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างกันและกันของ บุคคลต่างๆ ที่อยู่ในเครือข่ายนั้นๆ ส่งผลให้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัด กิจกรรมร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการสนับสนุนเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด มณฑล จันทร์แจ่มใส (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะของการมีส่วนร่วมไว้ว่า การมีส่วนร่วมของบุคคลจะต้องมีและ เกิดขึ้นมาโดยตลอด ทั้งนี้เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการวางแผน โครงการ การบริหารจัดการ ดำเนินงานตามแผน การเสียสละกำลังแรงงานของบุคคล ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ กำลังเงินหรือทรัพยากรที่มีอยู่
9389 3.3 การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ การที่เครือข่ายทางสังคมได้มีส่วนในการสนับสนุนงานสภาเด็กและเยาวชนนั้น ล้วนเกิดประโยชน์ ทั้งสองฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นคุณค่าทางจิตใจ การทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ด้านการพัฒนาตนเอง ของสภาเด็กและเยาวชน หรือแม้แต่บุคลากรที่มีส่วนร่วมในการทำงาน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด บุญเลิศ จิตตังวัฒนา (2548) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมว่า การที่ปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มคนเข้ามามีส่วนร่วมเกี่ยวข้อง ร่วมมือ ร่วมรับผิดชอบในกิจกรรมการพัฒนาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมในขั้นตอนต่างๆ ของการดําเนินกิจกรรมนั้นๆ โดยมีกลุ่มหรือองค์กรรองรับ บุคคลที่เข้ามามีส่วนร่วมการพัฒนาภูมิปัญญา การรับรู้ สามารถคิดวิเคราะห์ และ ตัดสินใจ เพื่อกำหนดการดําเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง 4. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายตามหลัก CSR จากการศึกษา ระดมความคิดเห็น และการลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึก ได้พบว่า หน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนต่างมีความมุ่งมั่นที่จะรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อที่จะสร้งความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน และเพื่อแสดง ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรที่ดีออกสู่ภายนอก เช่น โรงเรียน สถานประกอบการต่างๆ ที่เข้ามาสนับสนุนงาน ด้านสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดนครราชสีมา นอกจากนี้องค์กรที่มีภารกิจในการที่จะรับผิดชอบต่อสังคม โดยตรงคือมูลนิธิต่างๆ ที่เข้ามาสนับสนุนงานสภาเด็กเพื่อตอบสนองบทบาทหน้าที่ขององค์กร ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด (พิพัฒน์ ยอดพฤดิการ,2549) 1. การให้คุณค่าสูงสุดต่อผู้ถือหุ้นเป็นหลัก CSR ภายใต้ฐานคิดดังกล่าวจะหมายถึงการปฏิบัติตาม กฎหมาย 2. การให้คุณค่าต่อผู้ถือหุ้นเป็นหลักร่วมกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง อาทิ ลูกค้า คู่ค้า แรงงาน ชุมชน CSR ภายไต้ฐานคิดดังกล่าวจะหมายถึงการปฏิบัติตามกฎหมายและปฏิบัติโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อ พวกเขาเหล่านั้น 3. การให้คุณค่าต่อผู้ถือหุ้นเป็นหลักร่วมกับประชาชนทั่วไป CSR ตามแนวคิดดังกล่าวจะหมายถึง การปฏิบัติโดยคำนึงถึงประชาชนทุกภาคส่วน 4. ให้ความสำคัญต่อมาตรฐาน International Organization for Standardization (ISO) หรือ ISO 26000 ได้ตกลงร่วมกัน เพื่อให้การรับรององค์กรธุรกิจที่สามารถปฏิบัติตามแนวคิด CSR ซึ่งหากองค์กรใดที่ ได้รับใบรับรองมาตรฐานดังกล่าว นอกจากจะส่งผลดีในด้านภาพลักษณ์ตลอดจนตัวสินค้าหรือบริการของ องค์กรแล้ว ยังช่วยให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการซื้อสินค้าหรือบริการขององค์กรนั้น ทั้งนี้ มีแนวโน้มว่าใน อนาคตหากองค์กรใดไม่ปฏิบัติตามแนวคิด CSR อาจเกิดปัญหาในการทำการค้ากับกลุ่มประเทศบริษัทที่ให้ ความสำคัญกับการปฏิบัติตามแนวคิดดังกล่าว
9094 แผนภาพการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทางสังคมในการขับเคลื่อนงานสภาเด็กและเยาวชน แนวทางการพัฒนาสภา เด็กและเยาวชน เครือข่ายทางสังคม กระบวนการสนับสนุน แนวคิดและนโยบาย ปัจจัยส่งเสริมกิจกรรม โครงการ ส่งเสริมและสร้างพื้นที่การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ร่วมผลักดันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ร่วมคิด ร่วมลงมือทำ ร่วมออกแบบ/เชิงประเด็น มีการทำงานแบบบูรณาการร่วมกับเครือข่ายต่างๆ เสริมศักยภาพ สร้างพื้นที่เสริมสร้างพลังให้แก่เด็ก เชื่อมร้อยเครือข่ายร่วมกับสภาเด็กและเยาวชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับชุมชน ให้มีโอกาสในพื้นที่ส่วนรวม สร้างความเข้าใจสิทธิ เด็กและสานพลัง เครือข่าย สร้างพื้นที่การมี ส่วนร่วมให้แก่เด็ก อุปสรรค ในการทำงาน - เครือข่ายต้องร่วมประสาน เอื้อให้กับเด็ก มีแนวทาง นโยบายมาร่วมพัฒนาตนเอง สร้างสรรค์สังคม - เข้าใจปัญหาและสถานการณ์เกี่ยวกับเด็ก และเยาวชน - เติมเครื่องมือและเสริมสร้างทักษะให้ เข้มแข็งขึ้น - กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนคิดริเริ่มทำตั้งแต่ ต้นเอง - ถอดบทเรียนหลังการเข้าร่วมกิจกรรม - มีการติดตามและประเมินผล ว่าทำได้ไหม เด็กเป็นอย่างไร การประสานงานมีความล่าช้าและมีข้อจำกัด ในระบบราชการ เช่น หนังสือช้า เด็กไม่มีเวลาขออนุญาตผู้ปกครอง (ทำเรื่องไม่ทัน) ทำความเข้าใจกับผู้บริหารเกี่ยวกับงานสภาเด็กและเยาวชน
9591 5. ข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ 5.1 ข้อคิดเห็น 1) ด้านที่มาและการจัดตั้ง 1.1) มีความหลากหลายของวิธีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน เช่น การจัดตั้ง โดยสภา นักเรียน/กลุ่มองค์กรเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เป็นต้น 1.2) การประชาสัมพันธ์ที่ไม่ทั่วถึง การรับทราบข้อมูลจะเป็นการทราบเฉพาะกลุ่ม 2) ด้านการจัดองค์กรและการบริหารจัดการ 2.1) มีความหลากหลายของโครงสร้างคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน 2.2) มีการกำหนดโครงสร้างของคณะบริหารที่ชัดเจน แต่การขับเคลื่อนงานมีเพียง คณะบริหารสภาเด็กบางส่วนที่ดำเนินงาน 2.3) กลไกการบริหารจัดการสภาเด็กและเยาวชนขึ้นอยู่กับพี่เลี้ยง/ผู้รับผิดชอบหลัก 3.) ด้านการมีส่วนร่วม 3.1) การมีส่วนร่วมของสภาเด็กและเยาวชน ยังไม่ชัดเจนในกระบวนการคิดกำหนดแผนงาน แต่จะมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 3.2) ภาคีเครือข่ายภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมตามบทบาท ภารกิจ แต่ขาดการมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนและการพัฒนาศักยภาพคณะบริหาร สภาเด็กและเยาวชน 5.2 ปัญหาและอุปสรรค 1) แนวทางปฏิบัติไม่ชัดเจนและมีความล่าช้า เช่น “ค่ายเยาวชนค้นหาตัวตน ต้นกล้าดี” 2) แนวทางขับเคลื่อนสภาเด็กและเยาวชน มีส่วนกลางเป็นผู้กำหนด 3) การจัดสรรงบประมาณควรมีการจัดสรรตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถบริหาร จัดการการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็ว 4) บุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านงานสภาเด็กและเยาวชนจำนวนไม่เพียงพอและไม่เหมาะสมกับ ปริมาณงาน 5) มีการสับเปลี่ยนบุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านงานสภาเด็กและเยาวชนบ่อยๆ ส่งผลให้การทำงานไม่ ต่อเนื่องรวมถึงคณะกรรมการบริหารสภาเด็กและเยาวชนด้วย 5.3 ข้อเสนอแนะ 1) แนวทางปฏิบัติ/นโยบาย ควรมีความชัดเจนเพื่อให้การดำเนินงานมีความคล่องตัว และมีแนวทางไปในทิศทางเดียวกัน 2) เจ้าหน้าที่/บุคลากร ควรได้รับการส่งเสริมให้มีความมั่นคง จากพนักงานจ้างเหมาเป็นพนักงาน ราชการ และควรเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมกับจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
962 3) การกำหนดนโยบายจากส่วนกลางควรกำหนดให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ โดยการรับฟังเสียงสะท้อนจากผู้ปฏิบัติงาน 4) การจัดสรรงบประมาณควรได้รับการจัดสรรตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 5) เพิ่มงบประมาณในทุกระดับให้กับสภาเด็กและเยาวชน 6) ควรถ่ายโอนงานสภาเด็กและเยาวชนให้กับส่วนท้องถิ่น เพื่อให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ ดำเนินงานโดยเฉพาะ และเพื่อให้สภาเด็กและเยาวชนมีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น
973 บรรณานุกรม กนกวรรณ วงศ์กระพันธุ์, (2562). การมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในเด็กและเยาวชน : กรณีศึกษา สภาเด็ก และเยาวชนเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร (สารนิพนธ์ หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต) คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมกิจการเด็กและเยาวชน. (2560). พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์. กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, (2563). รายงานการพัฒนา เด็กและเยาวชนประจำปี 2563 จัดทำโดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, (2564). รายงานการพัฒนา เด็กและเยาวชนประจำปี 2564 จัดทำโดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, (2565). รายงานการพัฒนา เด็กและเยาวชนประจำปี 2565 จัดทำโดย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ชานนท์ โกมลมาลย์, (2561). นวัตกรรมทางสังคม เพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะโดยการมีส่วนร่วมของเด็กและ เยาวชน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ชุมพล สอนฤทธิ์. (2545). ความพร้อมของการนำ ISO 14000 และ ISO 18000 มาใช้ในบริษัท ผู้รับเหมาก่อสร้างไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี. ณัฐพร แสงประดับ, (2527) การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่เป็นผลกระทบมาจากการ พัฒนาการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาวิทยาลัยมหิดลนครปฐม. ธาราริทร์ ใจเอื้อพลสุข, (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีคุณภาพ ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ การศึกษาตามหลักสูตรบัญชีมหาบัญฑิต คณะบัญชี) : มหาวิทยาลัย ศรีปทุม ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์, (2544) กระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ประชาคม ประชาสังคม ขอนแก่น : คลังนานา วิทยา. ธนากรณ์ เมทณีสดุดี. (2543). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการรับบริหารสื่อวีดีทิศน์ วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล, บัณฑิตวิทยาลัย นภัทร์ แก้วนาค, วาสนา มะลินิน, (2563). แบบจำลองการมีส่วนร่วมของเครือข่ายทางสังคมสร้างเสริมความ เข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2563)
9498 บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรสแอนด์ดีไซน์. ปิยะนันท์ ทรงสุนทรวัฒน์, (2559). บทบาทของสภาเด็กและเยาวชนในการขับเคลื่อนกิจกรรม เทศบาลนคร นครราชสีมา (การค้นคว้าอิสระ) หลักสูตรรัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง สำหรับนัก บริหารคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปภาพินท์ คำอุดม, (2558). การศึกษากระบวนการเสริมพลังในสภาเด็กและเยาวชนกรณีศึกษาสภาเด็กและ เยาวชนตำบลเหมืองหม้อ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่. สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประชุม สุวัติถี, (2551). การตลาดอุสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์. ประเวศ วะสี, (2541). ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคม และศีลธรรม. กรุงเทพฯ: หมอ ชาวบ้าน. พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์และพสุ เดชะรินทร์, (2542) การจัดการเชิงกลยุทธ์และนโยบายเชิงธุรกิจ.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิพัฒน์ ขอดพฤติการณ์, (2550). การใช้การสร้างตัวชี้วัดเพื่อวิเคราะห์เศรษฐกิจพอเพียงโดยเปรียบเทียบกับ พุทธศาสตร์. ปริญญาพุทธศาสตรคุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์. ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม, (สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม, 2541 อ้างถึงในชาติชาย ณ เชียงใหม่, 2543: 289) พระมหาสุทิตย์ อากากโร, (อบอุ่น). (2547) เครือข่าย: ธรรมชาติความรู้และการจัดการ. กรุงเทพฯ : โครงการ เสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.) พิมพ์วัลย์ ปรีดาสวัสดิ์ และวาทินี บุญชะลักษี, 2533. การศึกษาเชิงคุณภาพ: เทคนิคการวิจัยภาคสนาม. การวิเคราะห์เครือขายสังคม. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิคล. มงคล จันทร์ส่อง, (2544). ระดับความรู้และการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่าไม้ของสมาชิก อบต. อำเภอชน แดน จังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. มนัส สุวรรณ, (2553)."กาลและเทศะกับพฤติกรรม เชิงพื้นที่ของมนุษย์". บทความทาง วิชาการเสนอต่อที่ ประชุมราชบัณฑิต และภาคีสมาชิก สำนักธรรมศาสตร์ และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน. มงคล ชาวเรือ, (2546). การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อชุมชน ตอนที่ 1 วารสารพัฒนาชุมชน. มณฑล จันทร์แจ่มใส, (2551). ปัจจัยการสื่อสารการตลาดที่มีต่อการเลือกสถานที่ท่องเที่ยว กรณีศึกษาเกาะมุก จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวางแผนชุมชนเมืองและ สภาพแวดล้อมบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทกโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
9995 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580), https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF ราชบัณฑิตยสถาน (2556 : ออนไลน์) https://dictionary.orst.go.th/ วิบูลอร นิลพิบูลย์, (2563) การบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเขต ประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 (วิทยานิพนธ์) ภาควิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2563 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2556 : ออนไลน์) https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99#%E0%B8%AD%E 0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87 วีรกร ตรีเศศ, (2546). "เศรษฐศาสตร์เข้าใจทุนทางสังคมอย่างไร". มติชนรายสัปดาห์ (4 เมษายน : 20) วรรณา วงษ์วานิช, (2549). ความคาดหวังและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศิริชัย กาญจนวาส, (2547). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของเกาะช้าง จังหวัดตราด. กรุงเทพมหานคร: บุญศิริ. ศิลปพร ศรีจั่นเพชร, (2560). การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคม, วารสารวิชาการบริหารธรกิจสมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม - มิถุนายน 2560. ศราภรณ์ สุภัคกุล, (2563). ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการดำเนินงานในการใช้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ของบริษัท ไออาร์พีซี จำกัด, วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) คณะบริหาร การพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2552. การบริหารการตลาดยุคใหม่ (Marketing management) ฉบับปรับปรุงใหม่ ปี 2552. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, (2560) โครงการประเมินผลการดำเนินงานสภาเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชนและสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 กระทรวงการพัฒฯ สังคมและความมั้นคงของมนุษย์. สนธยา พลศรี, (2550). เครือข่ายการเรียนรู้ในการพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์. สมกูล ถาวรกิจ, (ม.ป.ป. 15-16 อ้างถึงในสนธยา พลศรี , 2550) อัษฎายุธ สุนทรศารทูล, (2547) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้วงจรระบบดิจิตอล ของบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ของลูกค้าประเภทธนาคาร. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร/กรุงเทพฯ.
10096 อนันธนวิชญ์ อนุศาสนัน, ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา, รัญจวน คำวชิรพิทักษ์, (2565). ปัจจัยทางจิตวิทยาที่ ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารสภาเด็กและเยาวชน จังหวัดชัยภูมิ. จิตวิทยาเพื่อการพัฒนา ศักยภาพมนุษย์, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต อานนท์ บัวภา, (2564). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยกับการพัฒนา ศักยภาพของเยาวชนไทย (วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิติ) สาขาวิชานิเทศาสาตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิย์ อุบลวรรณา กวากานันท์, (2555). จิตวิทยาการรู้คิดและปัญญา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Blocher, Edward J. and Other. 2010. Cost Management A Strategic Emphasis. Boston: MgGRAW-HILL. Bullen, C.V. and Rockart, J.F. (1981) A Primer on Critical Success Factors. Massachusetts Institute of Technology, Sloan School of Management, Massachusetts, USA. Coleman, J. S. (1990). Foundations of social theory. Cambridge: Harvard University Press. Eduzone (2556 : ออนไลน์) http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2558/115204/chapter2.pdf Good, Carter. V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw Hill. Goldstein, E. Bruce. (2008). Cognitive Psychology. California : Thomson & Wadsworth. Griffiths, D.E. (1959). Administrative theory. New York, N.Y. : Appleton-Century Crofts. Kowalski, Robin and Westen, Drew. (2009). Psychology. 5 ℎ ed. Denvers : John Wiley & Sons. Douglas Schuler. (1996). New Community Networks. Wire for change. New York : AMC. Press.
10197 ภาคผนวก ประเด็นคำถามการสนทนากลุ่ม สำหรับคณะกรรมการบริหารสภาเด็กและเยาวชน 1. ความเป็นมา - การจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน - เป้าหมายในการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน - แผนพัฒนา 2. โครงสร้าง - องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารสภาเด็กและเยาวชน - วาระการทำงานของคณะกรรมการบริหารสภาเด็กและเยาวชน - การบริหารจัดการ - บทบาทความรับผิดชอบ 3. กิจกรรม/โครงการ - การมีส่วนร่วมของกิจกรรม/โครงการ - กระบวนการดำเนินงาน 4. หน่วยงานและการสนับสนุน - การสนับสนุนของหน่วยงานในพื้นที่ - การสนับสนุนภาคประชาสังคม/ภาคประชาชน - การสนับสนุนของภาคเอกชน/NGOs 5. ผลที่เกิดขึ้น - ต่อการพัฒนาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน - ต่อชุมชน - ต่อหน่วยงาน/องค์กร - ต่อสังคม 6. ความสำเร็จในการดำเนินงานสภาเด็กและเยาวชน 7. ปัญหาอุปสรรค - ด้านการบริหารจัดการ - ด้านการขับเคลื่อนกิจกรรม/โครงการ - ด้านงบประมาณ 8. ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชน
102 98 ประเด็นคำถามสัมภาษณ์เชิงลึก สำหรับหัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา/ผู้บริหาร อปท. ที่ศึกษา/เครือข่ายทางสังคม 1. บทบาทการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชน - ภารกิจหน่วยงาน/องค์กร - โครงสร้างหน่วยงาน/องค์กร - ผู้รับผิดชอบหลัก - ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับสภาเด็กและเยาวชน 2. กระบวนการการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชน - งบประมาณ - การมีส่วนร่วมของสภาเด็กและเยาวชน - รูปแบบ/ลักษณะกิจกรรม 3. ปัจจัยที่ส่งเสริมการขับเคลื่อนงานของสภาเด็กและเยาวชน - ด้านนโยบายผู้บริหารองค์กร - ด้านการรับฟังความคิดเห็นและการเสนอนโยบาย - ด้านการพัฒนาศักยภาพ - ด้านการอุดหนุนงบประมาณ
10399 คณะทำงาน ที่ปรึกษาโครงการ 1. อาจารย์สิริกร บุญสังข์ อาจารย์โปรแกรมการพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2. อาจารย์จันทร์เพ็ญ เกตุสำโรง อาจารย์โปรแกรมการพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ทีมนักวิจัย 1. นางรชธร พูลสิทธิ์ หัวหน้าโครงการ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 2. นางดวงดาว ปรอยกระโทก หัวหน้ากลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย 3. นางสาวขนิษฐา ตรากลาง นักพัฒนาสังคมชำนาญการ 4. นางสาวเสาวลักษณ์ ดวงรัตน์ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ 5. นางสาวพลอยวลี วินทะไชย นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ 6. นางสาวกนกจันทร์ จันทรวารีย์ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ 7. นางสาวอารยา จ่าโนนสูง นักพัฒนาสังคม 8. นางสาวณภัทร แสวงผล พนักงานบริการ ผู้ดำเนินการวิจัยร่วม 1. นางสาวฐิติกานต์ สว่างจิตร นักพัฒนาสังคม บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา 2. นางสาวสุนิสา ขวัญเกตุ ช่วยปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา ผู้สนับสนุนข้อมูล สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดนครราชสีมา มูลนิธิเพื่อนเยาวชนเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนเทพารักษณ์ราชวิทยาลัยและโรงเรียนหินดาดวิทยา